The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by autthapon.kun, 2023-06-22 06:13:59

หมวดที่ 7 ผลลัพธ์

หมวดที่ 7

รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2565 P a g e | 6 กราฟ 1.2 ความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ จากตาราง 1.2 และ กราฟ 1.2 ความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้พบว่า รายการส่วนมากมีความพึงพอใจอยู่ระดับ “มาก” โดยรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจสูงที่สุด คือ “หนังสือ/ตำรา/ เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนนักเรียน” (3.65 คะแนน) และรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ “ใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้” (3.43 คะแนน) และเมื่อจำแนก ตามกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามพบว่า รายการที่มีความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ สูงที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนนักเรียน (3.28) นักเรียน : สื่อประกอบการสอนเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้และนักเรียน (3.72) ผู้ปกครอง : หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนนักเรียน (3.96) รายการที่มีความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้น้อยที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : สื่อ วัสดุอุปกรณ์ เพียงพอกับจำนวนนักเรียน (3.06) นักเรียน : ใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้(3.48) ผู้ปกครอง : ใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้(3.73)


รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2565 P a g e | 7 กล่าวได้ว่า ความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้โดยรวมอยู่ในระดับ “มาก” อย่างไรก็ตาม ควรมีการจัดหาหรือสร้างสื่อประกอบการเรียนการสอนให้เพียงพอต่อจำเป็นของนักเรียน รวมทั้งควร บูรณาการใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2. ด้านกระบวนการใช้หลักสูตร 2.1 กระบวนการเรียนรู้ ตาราง 2.1 ความพึงพอใจต่อกระบวนการเรียนรู้ ข้อที่ 2.1 กระบวนการเรียนรู้ คะแนน แปลผล ครู/ผู้บริหาร นักเรียน ผู้ปกครอง เฉลี่ย 5 นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.31 3.79 3.98 3.69 มาก 7 มีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 3.38 3.73 3.94 3.68 มาก 1 มีรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้และวิธีการที่หลากหลาย 3.34 3.73 3.96 3.68 มาก 6 ส่งเสริมให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 3.35 3.74 3.91 3.67 มาก 10 โรงเรียนมีกิจกรรมส่งเสริมทักษะผู้เรียนตามแผนการเรียนเฉพาะ 3.37 3.67 3.96 3.67 มาก 3 ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา 3.3 3.75 3.94 3.66 มาก 4 ส่งเสริมทักษะการสื่อสารและการนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ 3.3 3.77 3.91 3.66 มาก 11 ความพึงพอใจโดยรวมต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.3 3.71 3.96 3.66 มาก 2 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะจำเป็นในศตวรรษที่ 21 3.35 3.66 3.91 3.64 มาก 9 เน้นนักเรียนเป็นสำคัญตามแนวทางการเรียนรู้เชิงรุก (active learning) 3.32 3.64 3.92 3.63 มาก 8 ใช้กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียน 3.21 3.69 3.88 3.59 มาก กราฟ 2.1 ความพึงพอใจต่อกระบวนการเรียนรู้


รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2565 P a g e | 8 จากตาราง 2.1 และ กราฟ 2.1 ความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้พบว่า รายการส่วนมากมีความพึงพอใจอยู่ระดับ “มาก” โดยรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจสูงที่สุด คือ “หนังสือ/ตำรา/ เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนนักเรียน” (3.65 คะแนน) และรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ “ใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้” (3.43 คะแนน) และเมื่อจำแนก ตามกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามพบว่า รายการที่มีความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ สูงที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนนักเรียน (3.28) นักเรียน : สื่อประกอบการสอนเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้และนักเรียน (3.72) ผู้ปกครอง : หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนนักเรียน (3.96) รายการที่มีความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้น้อยที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : สื่อ วัสดุอุปกรณ์ เพียงพอกับจำนวนนักเรียน (3.06) นักเรียน : ใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้(3.48) ผู้ปกครอง : ใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้(3.73) 2. ด้านกระบวนการใช้หลักสูตร 2.2 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตาราง 2.2 ความพึงพอใจต่อการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ข้อที่ 2.2 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ คะแนน แปลผล ครู/ผู้บริหาร นักเรียน ผู้ปกครอง เฉลี่ย 1 การวัดและประเมินผลอ้างอิงตามตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ของรายวิชา 3.38 3.69 3.95 3.67 มาก 2 มีการแจ้งวิธีการวัดและประเมินผลให้นักเรียนทราบล่วงหน้า 3.37 3.67 3.96 3.67 มาก 5 การวัดและประเมินผลเป็นเพื่อการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพของนักเรียน 3.31 3.67 3.96 3.65 มาก 4 ใช้วิธีการ และเครื่องมือ ที่หลากหลายเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เพียงพอ 3.31 3.69 3.89 3.63 มาก 3 วัดและประเมินผลอย่างรอบด้านทั้งความรู้ทักษะ และเจตคติ 3.27 3.66 3.92 3.62 มาก 7 ความพึงพอใจโดยรวมต่อการวัดและประเมินผล 3.24 3.65 3.92 3.60 มาก 6 นักเรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบและกำหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล 3.28 3.55 3.8 3.54 มาก


รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2565 P a g e | 9 กราฟ 2.2 ความพึงพอใจต่อการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จากตาราง 2.2 และ กราฟ 2.2 ความพึงพอใจต่อการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ พบว่า ทุกรายการมีความ พึงพอใจอยู่ระดับ “มาก” โดยรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจสูงที่สุด คือ “การวัดและประเมินผลอ้างอิงตามตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ของรายวิชา” (3.67 คะแนน) และรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ “นักเรียนมีส่วน ร่วมในการออกแบบและกำหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล” (3.54 คะแนน) และเมื่อจำแนกตามกลุ่มผู้ตอบ แบบสอบถามพบว่า รายการที่มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สูงที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : การวัดและประเมินผลอ้างอิงตามตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ของรายวิชา (3.38) นักเรียน : การวัดและประเมินผลอ้างอิงตามตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ของรายวิชา (3.69) วัดและประเมินผลอย่างรอบด้านทั้งความรู้ทักษะ และเจตคติ(3.69) ผู้ปกครอง : มีการแจ้งวิธีการวัดและประเมินผลให้นักเรียนทราบล่วงหน้า (3.96) การวัดและประเมินผลเป็นเพื่อการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพของนักเรียน (3.96) รายการที่มีความพึงพอใจต่อการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ น้อยที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : ความพึงพอใจโดยรวมต่อการวัดและประเมินผล (3.24) นักเรียน : นักเรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบและกำหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล (3.55) ผู้ปกครอง : นักเรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบและกำหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล (3.80)


รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2565 P a g e | 10 3. ด้านประสิทธิผล/ 3.1 คุณภาพผู้เรียน ตาราง 3.1 ความพึงพอใจต่อคุณภาพผู้เรียน ข้อที่ 3.1 คุณภาพผู้เรียน คะแนน ครู/ แปลผล ผู้บริหาร นักเรียน ผู้ปกครอง เฉลี่ย 2 นักเรียนปฏิบัติตนและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย 3.24 3.86 4.07 3.72 มาก 1 นักเรียนเป็นพลเมืองดีของชาติศรัทธาศาสนาที่ตนนับถือ เคารพสถาบัน พระมหากษัตริย์ 3.25 3.7 4.1 3.68 มาก 3 นักเรียนปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคมอยู่เสมอ 3.2 3.74 4.03 3.66 มาก 14 นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อเพื่อร่วมโลกและรู้จักใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า 3.13 3.82 3.99 3.65 มาก 9 นักเรียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ 3.15 3.8 3.97 3.64 มาก 5 นักเรียนสามารถเลือกแนวทางการแก้ปัญหาที่ดีที่สุดได้จากการลำดับความคิด และแนวทางในการแก้ปัญหาที่นักเรียนคิดได้ 3.18 3.77 3.93 3.63 มาก 4 นักเรียนสามารถลำดับปัญหา และวิธีการในการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.2 3.75 3.92 3.62 มาก 6 นักเรียนสามารถอธิบายและเข้าใจหลักการ ที่ใช้ในการแก้ปัญหา 3.18 3.75 3.92 3.62 มาก 15 นักเรียนมีทักษะสำคัญที่ใช้ในการดำเนินชีวิต 3.1 3.81 3.94 3.62 มาก 8 นักเรียนมีกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ โดยอาศัยตรรกะ/องค์ความรู้ที่ได้ ศึกษามา 3.17 3.75 3.9 3.61 มาก 16 ความพึงพอใจโดยรวมในต่อประสิทธิผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน 3.1 3.73 3.97 3.60 มาก 17 ความพึงพอใจโดยรวมต่อหลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2565 3.08 3.68 4.02 3.59 มาก 7 นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์และการคิดขั้นสูง เพื่อหาแนวทางในการ แก้ปัญหาได้ 3.17 3.71 3.89 3.59 มาก 13 นักเรียนมีจิตสำนึกในเกียรติภูมิและมีความเข้าใจในประวัติศาสตร์ชาติ 3.15 3.69 3.92 3.59 มาก 12 นักเรียนมีนิสัยรักการเรียนรู้และค้นคว้าอย่างเป็นระบบ 3.15 3.7 3.89 3.58 มาก 11 นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.15 3.66 3.89 3.57 มาก 10 นักเรียนสามารถผลิตชิ้นงาน หรือนวัตกรรม เพื่อแก้ปัญหาได้ 3.15 3.62 3.84 3.54 มาก


รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2565 P a g e | 11 กราฟ 3.1 ความพึงพอใจต่อคุณภาพผู้เรียน จากตาราง 3.1 และ กราฟ 3.1 ความพึงพอใจต่อคุณภาพผู้เรียน พบว่า ทุกรายการมีความพึงพอใจอยู่ระดับ “มาก” โดยรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจสูงที่สุด คือ “นักเรียนปฏิบัติตนและยึดมั่นในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย” (3.72 คะแนน) และรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ “นักเรียนสามารถผลิตชิ้นงาน หรือนวัตกรรม เพื่อแก้ปัญหาได้” (3.54 คะแนน) และเมื่อจำแนกตามกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามพบว่า รายการที่มี คุณภาพผู้เรียน สูงที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : นักเรียนปฏิบัติตนและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย (3.24) นักเรียน : นักเรียนเป็นพลเมืองดีของชาติศรัทธาศาสนาที่ตนนับถือ เคารพสถาบันพระมหากษัตริย์(3.69) ผู้ปกครอง : นักเรียนเป็นพลเมืองดีของชาติศรัทธาศาสนาที่ตนนับถือ เคารพสถาบันพระมหากษัตริย์(3.96) รายการที่มีความพึงพอใจต่อคุณภาพผู้เรียน น้อยที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : นักเรียนมีทักษะสำคัญที่ใช้ในการดำเนินชีวิต (3.10) ความพึงพอใจโดยรวมในต่อประสิทธิผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน (3.55) นักเรียน : นักเรียนสามารถผลิตชิ้นงาน หรือนวัตกรรม เพื่อแก้ปัญหาได้(3.84) ผู้ปกครอง : นักเรียนสามารถผลิตชิ้นงาน หรือนวัตกรรม เพื่อแก้ปัญหาได้(3.54)


รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2565 P a g e | 12 3.2 คุณภาพผู้เรียนตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล (OBECQA) ตาราง 3.2 ความพึงพอใจต่อคุณภาพผู้เรียนตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล (OBECQA) ข้อที่ 3.2 คุณภาพผู้เรียนตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล (OBECQA) คะแนน ครู/ แปลผล ผู้บริหาร นักเรียน ผู้ปกครอง เฉลี่ย 6 นักเรียนมีทักษะสำคัญและคุณลักษณะจำเป็นในยุคปัจจุบัน 3.17 3.77 3.89 3.61 มาก 5 นักเรียนตระหนักสถานการณ์โลก ยอมรับความแตกต่างของวัฒนธรรม ประเพณี 3.1 3.78 3.89 3.59 มาก 4 นักเรียนวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบและผลิตผลงานอย่างมีคุณภาพ 3.18 3.63 3.77 3.53 มาก 3 นักเรียนมีทักษะการคิดขั้นสูงและการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถ ปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ปัจจุบัน 3.1 3.65 3.79 3.51 มาก 1 นักเรียนมีความเป็นเลิศด้านความรู้และทักษะทางวิชาการตามแผนการ เรียน 3.08 3.6 3.77 3.48 ปานกลาง 2 นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 3.2 3.49 3.63 3.44 ปานกลาง กราฟ 3.2 ความพึงพอใจต่อคุณภาพผู้เรียนตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล (OBECQA) จากตาราง 3.2 และ กราฟ 3.2 ความพึงพอใจต่อคุณภาพผู้เรียนตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล (OBECQA) พบว่า รายการส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ระดับ “มาก” โดยรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจสูงที่สุด คือ “นักเรียนมีทักษะสำคัญและคุณลักษณะจำเป็นในยุคปัจจุบัน” (3.61 คะแนน) และรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจ น้อยที่สุด คือ “นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ” (3.44 คะแนน) และเมื่อจำแนกตาม


รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2565 P a g e | 13 กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามพบว่า รายการที่มีคุณภาพผู้เรียนตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล (OBECQA) สูงที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ (3.20) นักเรียน : นักเรียนตระหนักสถานการณ์โลก ยอมรับความแตกต่างของวัฒนธรรม ประเพณี(3.78) ผู้ปกครอง : นักเรียนมีทักษะสำคัญและคุณลักษณะจำเป็นในยุคปัจจุบัน (3.89) นักเรียนตระหนักสถานการณ์โลก ยอมรับความแตกต่างของวัฒนธรรม ประเพณี(3.89) รายการที่มีความพึงพอใจต่อคุณภาพผู้เรียนตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล (OBECQA) น้อยที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : นักเรียนมีความเป็นเลิศด้านความรู้และทักษะทางวิชาการตามแผนการเรียน (3.08) นักเรียน : นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ (3.49) ผู้ปกครอง : นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ (3.63) 4. ด้านการวางแผน/การจัดทำ/การใช้หลักสูตรสถานศึกษา ตาราง 4 ความพึงพอใจต่อ การวางแผน/การจัดทำ/การใช้หลักสูตรสถานศึกษา ที่ รายการประเมิน เฉลี่ย แปลผล 1 เปิดสอนแผนการเรียนหลากหลายสอดคล้องกับความสนใจของนักเรียน 3.44 ปานกลาง 2 มีคณะกรรมการบริหารและรับผิดชอบหลักสูตรสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ 3.41 ปานกลาง 3 การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอย่างเหมาะสม 3.37 ปานกลาง 4 มีการวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสูตรสถานศึกษา 3.35 ปานกลาง 5 เป้าหมายของหลักสูตรสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ของโรงเรียน 3.31 ปานกลาง 6 มีขั้นตอนการดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาเป็นระบบ 3.30 ปานกลาง 7 มีการประชาสัมพันธ์หลักสูตรและการใช้หลักสูตรสถานศึกษา 3.30 ปานกลาง 8 บุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผนและจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา 3.27 ปานกลาง 9 มีการนิเทศ ติดตามการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง 3.27 ปานกลาง 10 มีกระบวนการพัฒนาบุคลากรด้านการวางแผนการใช้และพัฒนาหลักสูตร 3.27 ปานกลาง 11 บุคลากรมีความเข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมายหลักสูตรสาระการเรียนรู้ 3.27 ปานกลาง 12 มีการติดตามผลและสะท้อนการใช้หลักสูตรสถานศึกษามาปรับปรุงและพัฒนา 3.24 ปานกลาง 13 จัดเวลาสำหรับกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) สำหรับครู 3.21 ปานกลาง 14 ส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 3.21 ปานกลาง 15 มีการเผยแพร่ผลการดำเนินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง 3.21 ปานกลาง 16 มีการสรุปผลการดำเนินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง 3.20 ปานกลาง 17 ชุมชน ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการพัฒนาการใช้หลักสูตรสถานศึกษา 3.18 ปานกลาง 18 ความพึงพอใจโดยรวมต่อการวางแผน/การจัดทำ/การใช้หลักสูตรสถานศึกษา 3.24 ปานกลาง


รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2565 P a g e | 14 กราฟ 4 ความพึงพอใจต่อการวางแผน/การจัดทำ/การใช้หลักสูตรสถานศึกษา จากตาราง 4 และ กราฟ 4 ความพึงพอใจต่อคุการวางแผน/การจัดทำ/การใช้หลักสูตรสถานศึกษา โดย สอบถามความพึงพอใจจากผู้บริหารและคณะครูพบว่า ทุกรายการมีความพึงพอใจอยู่ระดับ “ปานกลาง” โดยรายการ ที่มีคะแนนความพึงพอใจสูงที่สุด คือ “เปิดสอนแผนการเรียนหลากหลายสอดคล้องกับความสนใจของนักเรียน” (3.44 คะแนน) และรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ “ชุมชน ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการพัฒนาการใช้ หลักสูตรสถานศึกษา” (3.18 คะแนน) ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม จุดเด่นของหลักสูตรสถานศึกษา ข้อเสนอแนะ/ปรับปรุงเพิ่มเติม ความคิดเห็นของครู ผู้บริหารสถานศึกษา ▪หลักสูตรหลากหลาย ▪ทันสมัย ▪จัดการสอนแบบ Active Learning ▪ควรพัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้เฉพาะด้าน ให้เหมาะสมกับ หลักสูตรนั้น ๆ ▪วิชาเพิ่มเติมมากเกินจำเป็น และบางวิชาไม่สอดคล้องกับ แผนการเรียน ถ้าสามารถปรับลดหรือปรับวิชาเพิ่มเติมให้ สอดคล้องกับแผนการเรียนของนักเรียนมากขึ้นจะดีมาก ▪นำข้อเสนอเกี่ยวกับหลักสูตรมาวิเคราะห์เพื่อพัฒนาหลักสูตร ▪ควรพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกันการเรียนรู้ของผู้เรียนและ พัฒนาครูไปพร้อมกัน ▪อยากให้มีสื่อและวัสดุเยอะ ๆ สำหรับแต่ละหลักสูตร


รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2565 P a g e | 15 จุดเด่นของหลักสูตรสถานศึกษา ข้อเสนอแนะ/ปรับปรุงเพิ่มเติม ▪ควรให้หนังสือหลักสูตรไว้ในทุกกลุ่มสาระฯ เพื่อครูทุกคนจะได้รู้ และเข้าใจหลักสูตร เพื่อจัดการเรียนการสอนตามจุดเน้น หลักสูตรเปิดเยอะเกินไป ความคิดเห็นของนักเรียน ▪หลักสูตรหลากหลาย ▪หลักสูตรแตกต่างจากเตรียมเครือข่ายอื่นๆ ▪เอาใจใส่นักเรียน ▪ทันสมัย/ใช้เทคโนโลยี ▪เน้นหลักภาษาและวิชาทางการคิดคำนวณ ▪ อยากให้ครูเข้าตรงเวลาแล้วก็เข้าสอนทุกคาบ ▪ ควรหาครูผู้สอนที่ตรงจุดและมีความถนัดของวิชาE-sport ▪ ครูดีมีมากกว่า 90% แต่ครู10% ชอบพูดนักเรียนดสีย ความรู้สึก ให้รู้สึกแย่ๆ เลิกได้จะดีมาก ▪ ควรปรับปรุงหลักสูตรการเรียนให้เหมะสมกับการนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันมากที่สุดและลดหลักสูตรที่ค่อยได้ใช่ใน ชีวิตประจำวันลง ▪ ตารางเรียนมั่วเกินไปเดินกลับไปกลับมาไม่เรียงตามลำดับของ ตึก ▪ อุปกรณ์พังแล้วยังไม่ได้การแก้ไข ▪ ซ่อมโปรเจคเตอร์ อยากให้มีการจัดการศึกษานอกสถานที่มาก ขึ้น ▪ อยากให้พัฒนาตึกเรียนใหม่และห้องน้ำ ▪ อยากให้พัฒนาเรื่องกฎ เช่น การที่นักเรียนบางคนแต่งตัวไม่ถูก ใส่รองเท้าผิดกฎ ความคิดเห็นของผู้ปกครองนักเรียน ▪มีระบบเทคโนโลยีดีมากในการเช็คชื่อ นักเรียน ▪มีการจัดการเรียนการสอนหลากหลาย ▪เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแข่งขันกับ บุคคลภายนอก ▪ อยากให้มีอุปกรณ์และสื่อการสอนมีมากกว่านี้ค่ะ ▪ ควรส่งเสริมเรื่องคุณธรรม จริยธรรม เพราะกลับบ้านแล้ว ผู้ปกครองพูดด้วยไม่ได้ นักเรียนไม่ค่อยฟัง ▪ อยากให้มีห้องเรียนให้เพียงพอกับจำนวนนักเรียนจัดกิจกรรม อื่นๆนอกจากการเรียนให้น้อยลง ▪ ติดตามนักเรียนที่ขาดภาระงานที่ครูประจำวิชา ▪ ให้ใส่ใจพฤติกรรมนักเรียนมากกว่านี้ ▪ สร้างห้องเรียนประจำให้นักเรียน ▪ เน้นการดำเนินชีวิตในสังคมปัจจุบัน ▪ ควรสอนให้ละเอียดเข้าใจง่ายกว่านี้โดยเฉพาะวิชาฟิสิกส์ เพราะเด็กบางคนค่อนข้างจะเข้าใจวิชาพวกนี้ได้ยาก


รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2565 P a g e | 16 จุดเด่นของหลักสูตรสถานศึกษา ข้อเสนอแนะ/ปรับปรุงเพิ่มเติม ▪ อุปกรณ์เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้ ▪ วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ควรหลากหลาย ▪ ควรส่งปฏิทินการศึกษาให้ผู้ปกครองด้วย เพื่อติดตาม บทสรุป ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการดำเนินงานและการใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พัฒนาการอุบลราชธานี โดยการสอบถามครู ผู้บริหาร นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียน ปีการศึกษา 2565 ทั้งหมด จำนวน 1,269 คน โดยใช้แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ใช้ค่าเฉลี่ยและค่าร้อยละ และวิเคราะห์ข้อมูล เชิงเนื้อหาผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจต่อการใช้หลักสูตรสถานศึกษา ดังนี้ 1) ด้านปัจจัยพื้นฐาน คุณภาพครู รายการที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุด คือ ครูตรวจสอบ ติดตามงานที่ มอบหมายนักเรียนและให้ข้อมูลย้อนกลับ ส่วนรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ ครูมีความ ตรงต่อเวลา และติดตามการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง 2) ด้านปัจจัยพื้นฐาน สื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้รายการที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุด คือ หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนนักเรียน ส่วนรายการที่มีคะแนนความพึง พอใจน้อยที่สุด ใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3) ด้านกระบวนการใช้หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ รายการที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุด คือ นักเรียนมี ส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ส่วนรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ ใช้ กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียน 4) ด้านกระบวนการใช้หลักสูตร การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รายการที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุด คือ การวัดและประเมินผลอ้างอิงตามตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ของรายวิชา ส่วนรายการที่มีคะแนนความ พึงพอใจน้อยที่สุด คือ นักเรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบและกำหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล 5) ด้านประสิทธิผล: คณภาพผู้เรียน รายการที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุด คือ นักเรียนปฏิบัติตนและยึด มั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย ส่วนรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ นักเรียน สามารถผลิตชิ้นงาน หรือนวัตกรรม เพื่อแก้ปัญหาได้ 6) ด้านประสิทธิผล: คณภาพผู้เรียนตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล (OBECQA) รายการที่ได้รับความ พึงพอใจมากที่สุด คือ นักเรียนมีทักษะสำคัญและคุณลักษณะจำเป็นในยุคปัจจุบัน ส่วนรายการที่มี คะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 7) ด้านการวางแผน/การจัดทำ/การใช้หลักสูตรสถานศึกษา รายการที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุด คือ เปิด สอนแผนการเรียนหลากหลายสอดคล้องกับความสนใจของนักเรียน ส่วนรายการที่มีคะแนนความพึง พอใจน้อยที่สุด คือ ชุมชน ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการพัฒนาการใช้หลักสูตรสถานศึกษา


รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2565 P a g e | 17 8) ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม จุดเด่นของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี คือ มีหลักสูตรหลากหลาย รองรับความสนใจและความถนัดของนักเรียนทั้งด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ภาษา และกีฬา หลักสูตรมีความทันสมัยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลกโดยเฉพาะการ เปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning อย่างไรก็ตามโรงเรียนยังมี ความจำเป็นต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ด้านคุณภาพครู เช่น การพัฒนาผู้สนอให้มีความรู้เฉพาะด้าน ในสาขาที่สอน มีความรับผิดชอบต่อการจัดการเรียนการสอน ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ ควรมีสื่อ ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เพียงพอต่อจำนวนนักเรียนและเหมาะสมกับเนื้อหาการเรียนรู้ รวมทั้งมีการจัดหา ดูแล อุปกรณ์ส่งเสริมการสอน เช่น โปรเจคเตอร์ ให้เพียงพอและมีประสิทธิภาพใน การใช้งาน


Click to View FlipBook Version