The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มประเมินโครงการเด็กไทยฟันดีวัดท่านา(2)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by unname.monobo, 2021-03-28 12:44:05

เล่มประเมินโครงการเด็กไทยฟันดีวัดท่านา(2)

เล่มประเมินโครงการเด็กไทยฟันดีวัดท่านา(2)

คำนำ

รายงานโครงการพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดีฉบับนี้เป็นส่วนหน่ึงของโครงการเครือข่าย
เด็กไทยฟันดี ซึ่งเป็นโครงการท่ีจัดทาข้ึนเพื่อเป็นประโยชน์สาหรับโรงเรียนและนักเรียนด้านสุขภาพช่องปาก
และฟัน ตลอดจนการพัฒนาด้านองค์ความรู้ท่ีเก่ียวข้องกับสุขลักษณะของนักเรียน โดยมีการจัดกิจกรรมท่ี
สอดคล้องกับโครงการ มีการจัดทาโครงงานของนักเรียน การขยายความรู้สู่ชุมชนและผู้ที่เก่ียวข้อง รวมทั้ง
ความรว่ มมอื จากภาคเี ครือขา่ ยต่างๆ เพ่ือใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงคข์ องโครงการเครอื ข่ายเด็กไทยฟนั ดี

คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารโครงการพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดีฉบับน้ี จะได้
รวบรวมเนื้อหาท่ีเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจ เพ่ือนาไปปรับใช้ให้เข้ากับบริบทของโรงเรียนที่สนใจเข้าร่วม
โครงการเครือข่ายเด็กไทยฟันดี และสร้างความเข้าใจ ตลอดจนทาการศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติม เพ่ือนาไปจัดทา
และพัฒนาโรงเรียนเพื่อให้มีความเหมาะสมในเชิงการปฏิบัติมากข้ึน และสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน
ตอ่ ไป

คณะผ้จู ดั ทำ

สำรบัญ หนำ้

เรือ่ ง ข-ค
คำนำ 1
สำรบัญ 2
ขอ้ มูลทั่วไป 2
2
ประวตั ิโรงเรียน 2
อาณาเขต 2
ผูอ้ านวยการโรงเรียน 3
ขอ้ มูลบคุ ลากร 4
ข้อมูลนกั เรียน 5
แผนผงั โรงเรยี น 6
หมวดท่ี 1 กิจกรรมสง่ เสริมทันตสขุ ภำพในโรงเรียน 7
1.1 โครงงาน นวตั กรรม หรืองานวจิ ัย เรือ่ ง ทนั ตสุขภาพ 8
1.2 การจัดทาหลักสูตรการเรียนรเู้ รื่องทนั ตสุขภาพ ในเครือข่าย 9
1.3 การควบคมุ คราบจุลนิ ทรีย์ในเครอื ขา่ ย 10
1.4 การควบคุมการบรโิ ภคอาหารว่างทเ่ี สี่ยงตอ่ ฟนั ผใุ นเครือขา่ ยฯ 11
1.5 ระบบเฝ้าระวงั ทนั ตสขุ ภาพของโรงเรียน 12
หมวดท่ี 2 ผลลัพธ์/ผลกระทบดำ้ นทนั ตสุขภำพ 13
2.1 รอ้ ยละของนักเรยี นชนั้ ป.1-ป.6 แปรงฟนั ก่อนนอนทุกวัน 14
2.2 ร้อยละของนักเรียนชน้ั ป.1-ป.6 รับประทานอาหารว่างไม่เกนิ 15
16
2 คร้ังตอ่ วนั (ไมน่ บั รวมนมโรงเรยี น) 17
2.3 ร้อยละของนักเรยี นชั้นป.6 ปราศจากโรคฟันผุ 18
2.4 รอ้ ยละนักเรียนชั้นป.6 ไม่มีเหงอื กอักเสบ 19
2.5 รอ้ ยละของโรงเรียนในเครือข่าย ปลอดน้าอดั ลม เคร่อื งด่มื 20

ไอศกรมี รสหวาน
หมวดท่ี 3 กำรมีส่วนร่วมของภำคีเครอื ข่ำย

3.1 หนว่ ยงานสาธารณสขุ มกี ารสนับสนุนเครอื ข่าย
และมสี ่วนรว่ มในการพัฒนา

3.2 ผปู้ กครอง/ผู้ดูแลเด็ก มีการสนับสนุนเครือข่าย
และมีส่วนร่วมในการพฒั นา

3.3 ชมุ ชนมกี ลไกการสนับสนนุ และมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนา
3.4 ท้องถนิ่ มีการสนับสนุนและการมสี ่วนรว่ มในการพฒั นา

สำรบัญ(ต่อ)

เรอ่ื ง หนำ้

หมวดท่ี 3 กำรมสี ว่ นรว่ มของภำคีเครือข่ำย(ต่อ)

3.5 สพป.มีกลไกการสนับสนุนและการมีส่วนร่วมในการพัฒนา 21

3.6 เครอื ขา่ ยมีภาคเี พม่ิ ข้นึ 22

3.7 ภาคนี าแนวคิด/ผลการดาเนินงานไปขยายในชุมชนหรือหน่วยงานอื่น 23-24

หรอื ขยายสู่ประเดน็ สุขภาพอนื่

หมวดท่ี 4 กำรนำและกำรบรหิ ำรจัดกำรเครอื ขำ่ ย 25

4.1 มที ีมงานเครอื ขา่ ยโรงเรยี นเดก็ ไทยฟนั ดีและมีการประชมุ อย่างสม่าเสมอ 26-29

4.2 มีการกาหนดนโยบายการดาเนนิ งานส่งเสริมทนั ตสุขภาพของเครือขา่ ย 30-31

4.3 มกี ารกาหนดเป้าหมาย แผนการดาเนนิ งานและตวั ช้ีวดั 32-35

4.4 กลไกการถ่ายทอดนโยบายของเครือข่ายไปสู่การปฏบิ ัติ 36-40

4.5 มกี ารบริหารจดั การทรัพยากรร่วมกัน 41-43

4.6 มีระบบการจดั การข้อมลู 44-46

4.7 มกี ระบวนการจดั การความรเู้ ทคโนโลยี นวัตกรรมของเครือขา่ ย 47-52

4.8 มีกลไกการชว่ ยเหลอื สนบั สนุน และประเมินผล 53-54

ภำคผนวก 55

รปู ภาพประกอบการประเมนิ 56-68

1

ข้อมลู ท่วั ไป

1. ประวัตโิ รงเรียนวัดท่ำนำ

โรงเรยี นวดั ทำ่ นำ ตัง้ อยู่หมู่ท่ี ๑๒ ตำบลเกยไชย อำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ ตัง้ ข้นึ เม่ือ
วนั ที่ ๑ พฤศจกิ ำยน ๒๔๗๘ ซึง่ แตเ่ ดมิ อำศัยเรยี นที่ศำลำกำรเปรยี ญของวดั ท่ำนำ เปดิ สอนต้งั แต่ชั้น.
๑ ถงึ ป. ๔ โดยมนี ำยดอกบวั พูลสวัสดิ์ เป็นครูใหญ่

ตอ่ มำในปี พ.ศ. ๒๕๑๖ ไดร้ ว่ มมือกับเจำ้ อำวำส คณะครู คณะกรรมกำรศึกษำและพ่อค้ำ
ประชำชนจดั หำเงินจำกผู้มจี ิตศรัทธำบรจิ ำคซือ้ ทด่ี ิน จำนวน ๓ ไร่ ๒ งำน (ท่ีอยปู่ จั จุบัน) และ
ไดร้ ับงบประมำณจำกทำงรำชกำรจำนวน ๓๐๐,๐๐๐ บำท สร้ำงอำคำรเรียนแบบกรมสำมัญ ๐๑๗
จำนวน ๖ หอ้ งเรยี น กอ่ สรำ้ งเสร็จเมอื่ วนั ที่ ๒๐ สงิ หำคม ๒๕๑๖ ไดย้ ้ำยนกั เรียนมำเรียนทีอ่ ำคำรหลงั
ใหม่จนถึงปจั จบุ นั ผู้อำนวยกำรโรงเรียน คนปจั จุบัน นำงสำวอรวรรณ สมเมือง

โรงเรียนวดั ท่านา สังกัดสานกั งานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิด
สอนตงั้ แตร่ ะดับช้นั ก่อนประถมศกึ ษาถงึ ระดับชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6

2. ผู้อำนวยกำรโรงเรียนวดั ท่ำนำ

นางสาวอรวรรณ สมเมอื ง ดารงตาแหน่งปี พ.ศ.2562 – จนถงึ ปจั จบุ นั

3. คำขวญั โรงเรยี น

“อนรุ ักษว์ ฒั นธรรมไทย ใฝ่เรียนรู้คู่เทคโนโลยี วธิ ีเศรษฐกิจพอเพียง”
4. อัตลักษณโ์ รงเรยี น

ส่งเสริมกจิ กรรมด้านดนตรี
ป.1-3 เรียนขลุ่ย
ป.4-6 เรียนดรุ ยิ างค์
5.เอกลกั ษณ์ การแสดงความเคารพดว้ ยการไหว้

2

6. ข้อมูลบคุ ลำกรโรงเรียนวดั ท่ำนำ วิทยฐำนะ ตำแหนง่
ชานาญการ ผอู้ านวยการโรงเรยี น
ท่ี ชอ่ื -นำมสกุล ชานาญการ
1 นางสาวอรวรรณ สมเมือง ชา่ งไฟฟา้ 4 ครู
2 นางสมฤดี คงพราหมณ์ นกั การภารโรง
3 นายศภุ ณฏั ฐ์ เผา่ พงษน์ ิธกิ ุล - ครพู เ่ี ล้ยี งเด็กพิการ
4 นางสาวรัดดา ชูเชดิ - ธรุ การโรงเรยี น
5 นางสาวชนิดา ปานอนิ ทร์ - ครอู ตั ราจา้ ง
6 นายธนกฤต แกว้ พลู ศรี -
7 นางสาวเปณิกา ปตั เตนงั ครพู ี่เลย้ี ง

7. ข้อมลู นกั เรยี น ชน้ั ปี ชำย หญิง รวม
ระดบั ช้นั
อ.2 10 1
อนบุ ำล อ.3 21 3
รวม 31 4
ป.1 20 2
ประถมศกึ ษำ ป.2 22 4
ป.3 31 4
รวม ป.4 30 3
ป.5 10 1
รวมทั้งส้ิน ป.6 65 11
17 8 25

20 9 29

8. แผนที่โรงเรยี น ( Google Map)

3

9. แผนผงั โรงเรยี นวัดทำ่ นำ

แผนผังโรงเรยี นวัดท่านา ถนนรอบโรงเรยี น
ตาบลเกยไชย อาเภอชุมแสง จงั หวัดนครสวรรค์
สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1

ถนนนครสวรรค์-ชุมแสง
ป้ำยโรงเรียน

ถนนรอบโรงเรยี น

ประตู

สนำมฟุตบอล

ถนนรอบโรงเรียน ถนนรอบโรงเรียน อาคาร
เอนกประสงค์
ลำนหูกวำงหนำ้ อำคำรเรียน สนำมหน้ำเสำธง

อำคำรเรียนประถม หอ้ งอนบุ าล

ห้องน้า แปลงผัก โรงเพาะ ห้องนา้
ประถม อนบุ าล
เหด็

4

หมวดที่ 1
กจิ กรรมสง่ เสรมิ ทันตสขุ ภาพ

ในโรงเรยี น

5

หมวดท่ี 1 กจิ กรรมส่งเสริมทนั ตสุขภำพในโรงเรียน

ตัวชีว้ ดั ที่ 1.1 โครงงาน นวตั กรรม หรืองานวิจยั เรือ่ ง ทันตสุขภาพ

โรงเรียนวัดทา่ นามีการดาเนินงานโครงงาน นวตั กรรมหรืองานวจิ ัยเร่ือง ทนั ตสขุ ภาพ ดังน้ี
ประเภทโครงงำน

1. โครงงานสยี อ้ มคราบฟนั สมุนไพรจากฝาง (ภาคผนวก,ภาพท่ี 1.1)

นวัตกรรม
1. ทแ่ี ขวนแก้ว แปรง และยาสฟี ัน
2. สยี ้อมคราบฟนั สมุนไพรจากฝาง

โครงกำรในโรงเรยี น
1. โครงการยุวทนั ตน้อย (ภาคผนวก,ภาพที่ 1.2)
2. โครงการเดก็ ไทยแขง็ แรงสุขภาพทางร่างกายและลกั ษณะจิตสังคม
(ภาคผนวก,ภาพท่ี 1.3)

6

หมวดท่ี 1 กิจกรรมสง่ เสรมิ ทันตสุขภำพในโรงเรียน

ตวั ชวี้ ดั ท่ี 1.2 การจดั ทาหลกั สูตรการเรยี นรูเ้ ร่ือง ทนั ตสุขภาพ ในเครือข่าย ฯ

โรงเรียนวัดท่านามีการจัดการเรียนการสอนเร่ือง ทันตสุขภาพในโรงเรียนในรูปแบต่างๆ อาทิ เช่น
รูปแบบออนไลน์ สื่อ ใบความรู้ และใบงาน โดยการบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ โดยมีการกาหนด
โครงสร้างเวลาเรียนในการเรียนการสอนเร่ือง ทันตสุขภาพ ตั้งแต่ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 6 โดยมีเป้าหมายเพื่อให้นักเรียนมีความรู้ เจตคติ ทักษะ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงเชิง
พ ฤ ติ ก ร ร ม ใ น ก า ร ดู แ ล ทั น ต สุ ข ภ า พ แ ล ะ มี แ ห ล่ ง เ รี ย น รู้ ห รื อ แ ห ล่ ง สื บ ค้ น เ รื่ อ ง
ทันตสขุ ภาพ ในโรงเรยี น (ภาคผนวก,ภาพที่ 1.2.1,ภาพที่ 1.2.2)

กระบวนการจดั การเรยี นการสอนเรอ่ื ง ทนั ตสุขภาพ พร้อมผลงานนกั เรยี น

7

หมวดท่ี 1 กจิ กรรมส่งเสริมทนั ตสุขภำพในโรงเรยี น

ตวั ชว้ี ดั ท่ี 1.3 การควบคุมคราบจลุ ินทรีย์ในเครอื ข่าย

โรงเรียนวัดท่านามีกิจกรรมการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ก่อนข้ึนเรียนและหลังอาหาร
กลางวัน โดยมีระบบการประเมินประสิทธิภาพการทาความสะอาดช่องปาก คือ สามารถบรรลุตามเป้าหมาย
แ ล ะ มี แ น ว โ น้ ม ท า ง ด้ า น อ น า มั ย ช่ อ ง ป า ก ดี ขึ้ น โ ด ย มี ก า ร จั ด ท า แ บ บ บั น ทึ ก ก า ร
แปรงฟนั ของนกั เรียนแต่ละระดับชน้ั และจดั กิจกรรมทเ่ี กยี่ วข้องการดูแลรักษาความสะอาดฟัน

กิจกรรมแปรงฟนั ดว้ ยยาสีฟันผสมฟลอู อไรด์กอ่ นข้ึนเรียนและหลงั อาหารกลางวันและ
มกี ารบันทึกการแปรงฟนั ทุกวัน(ภาคผนวก,ภาพท่ี 1.3.1)

การรบั ประทานอาหารกลางวันที่มขี องวา่ งเป็นผลไม้ ปราศจากนา้ หวาน ขนมกรุบกรอบ

กิจกรรมคุณหมอมาใหค้ วามรู้เรือ่ งการดูแลรกั ษาสุขภาพฟนั และบริการตรวจฟนั นกั เรยี น

8

หมวดท่ี 1 กิจกรรมส่งเสริมทนั ตสุขภำพในโรงเรียน

ตวั ชี้วดั ที่ 1.4 การควบคุมการบรโิ ภคอาหารว่างท่ีเสยี่ งต่อฟันผใุ นเครอื ข่ายฯ
โรงเรียนวดั ท่านา มีการออกนโยบายการควบคุมการบรโิ ภคอาหารทเ่ี สี่ยงต่อฟนั ผุ โดยการกาหนดแนว
ทางการปฏบิ ตั ริ ว่ มกันเปน็ เขตปลอดอาหารเสย่ี งตอ่ ฟันผใุ นโรงเรียนได้แก่ นา้ อดั ลม ขนมกรบุ กรอบ และลูกอม
มีกจิ กรรมรณรงค์ใหน้ ักเรียนลดการบรโิ ภคอาหารวา่ งที่เสี่ยงต่อการเกิดฟนั ผใุ นโรงเรียน และกาหนดมาตรการ
ร่วมกบั รา้ นค้าในโรงเรยี น รอบโรงเรียน บ้านและชมุ ชน

กจิ กรรมรณรงคร์ ่วมกับร้านค้าในโรงรยี น รอบโรงเรียน บา้ นและชมุ ชน

มกี ารจดั ตารางอาหารวา่ งที่เป็นผลไม้ตามฤดูกาล หรือขนมพืน้ บ้าน (ภาคผนวก,ภาพท่ี 1.4.1)

9

หมวดท่ี 1 กจิ กรรมส่งเสรมิ ทนั ตสขุ ภำพในโรงเรยี น

ตัวชีว้ ัดท่ี 1.5 ระบบเฝ้าระวงั ทันตสุขภาพของโรงเรียน

โรงเรียนวัดท่านา มรี ะบบเฝ้าระวงั ทันตสุขภาพครอบคลมุ ทุกระดบั ช้ัน โดยได้รบั ความอนุเคราะห์จาก
เจ้าหน้าที่สาธารณสุขเป็นผู้ตรวจ และนาข้อมูลท่ีได้ไปทาการวิเคราะห์ และแปลผล เพ่ือสะท้อนให้เห็นถึง
ขอ้ มูลและเผยแพร่ให้ผู้บรหิ าร ผปู้ กครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ และเพื่อจะนาข้อมูลมาวางแผนในการ
จัดทาโครงงาน นวัตกรรม และวิจยั ทันตสุขภาพในโรงเรียน รวมถึงการสง่ ต่อเพื่อรับบริการทนั ตกรรม

กจิ กรรมการตรวจสขุ ภาพฟันจากเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสุข

การจัดทาโครงงานดา้ นนวัตกรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับทันตสุขภาพ ได้แก่ ท่แี ขวนแปรง
และสีย้อมคราบฟนั สมนุ ไพรจากฝาง ภาคผนวก,ภาพที่ 1.5.1

10

หมวดที่ 2
ผลลพั ธ์/ผลกระทบ
ด้านทันตสขุ ภาพ

11

หมวดที่ 2 ผลลพั ธ/์ ผลกระทบดำ้ นทนั ตสุขภำพ

ตัวชี้วัดท่ี 2.1 รอ้ ยละของนกั เรยี นช้ันป.1-ป.6 แปรงฟันก่อนนอนทกุ วนั

สรุปพฤติกรรมการแปรงฟนั ก่อนนอนทกุ วนั ของนักเรียนโรงเรยี นวัดทา่ นา
ปีการศกึ ษา 2563

ท่ี ชน้ั /จำนวนนักเรียน แปรงฟันทกุ วนั แปรงฟันบำงวนั ไมแ่ ปรงฟัน หมำยเหตุ
- -
1 อ.2/1 คน 1 - -
- -
2 อ.3/3 คน 3 - -
- -
3 ป.1/2 คน 2 - -
- -
4 ป.2/4 คน 4 - -
0 0
5 ป.3/4 คน 4 0 0

6 ป.4/3 คน 3

7 ป.5/1 คน 1

8 ป.6/11 คน 11

รวม นักเรียน 29 คน 29

คิดเปน็ ร้อยละ 100

พฤติกรรมกำรแปรงฟันกอ่ นนอนของนักเรียน

12 11

10

8

6

44

43 3

2

21 1

0 00000000
แปรงฟันทกุ วนั แปรงฟันบางวนั

อ.2 อ.3 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

12

หมวดท่ี 2 ผลลพั ธ์/ผลกระทบดำ้ นทนั ตสขุ ภำพ

ตวั ช้วี ดั ที่ 2.2 ร้อยละของนักเรยี นชน้ั ป.1-ป.6 รับประทานอาหารวา่ งไม่เกนิ 2 คร้งั

สรปุ พฤติกรรมการรับประทานอาหารวา่ งไมเ่ กิน 2 คร้งั /วนั (ทบ่ี า้ น)
ของนักเรยี นโรงเรยี นวัดทา่ นา ปกี ารศกึ ษา 2563

ที่ ช้ัน/จานวนนกั เรยี น นา้ หวาน ขนม น้าอดั ลม ลกู อม

1 อ.2/1 คน 1 1 11

2 อ.3/3 คน 3 3 33

3 ป.1/2 คน 2 2 2 2

4 ป.2/4 คน 4 4 4 4

5 ป.3/4 คน 4 4 4 4

6 ป.4/3 คน 3 3 3 3

7 ป.5/1 คน 1 1 1 1

8 ป.6/11 คน 11 11 11 11

รวม นกั เรยี น 29 คน 100 100 100 100

คดิ เป็นร้อยละ 100 100 100 100

จากตารางสรุปพฤติกรรมการรบั ประทานอาหารวา่ งไมเ่ กนิ 2 คร้งั /วัน (ท่ีบา้ น) ของนักเรียนโรงเรยี น
วดั ท่านา พบว่านกั เรียนมีการรับประทานอาหารว่าง(นา้ หวาน)ไม่เกนิ 2 ครง้ั /วัน จานวนทง้ั หมด 29 คนโดยคดิ
เป็นร้อยละ 100 ,นักเรยี นมีการรับประทานอาหารว่าง(ขนม)ไม่เกิน 2 ครง้ั /วนั จานวนทง้ั หมด 29 คนโดยคดิ
เป็นรอ้ ยละ 100,นกั เรยี นมีการรับประทานอาหารว่าง(นา้ อัดลม)ไม่เกิน 2 ครัง้ /วนั จานวนท้ังหมด 29 คนโดย
คิดเปน็ รอ้ ยละ 100,นักเรียนมีการรับประทานอาหารว่าง(ลูกอม)ไม่เกนิ 2 ครงั้ /วัน จานวนทง้ั หมด 29 คนโดย
คดิ เป็นรอ้ ยละ 100

13

หมวดท่ี 2 ผลลัพธ์/ผลกระทบดำ้ นทนั ตสขุ ภำพ

ตัวชี้วดั ที่ 2.3 ร้อยละของนักเรยี นชั้นป.6 ปราศจากโรคฟนั ผุ

รอจากหมอ

14

หมวดท่ี 2 ผลลพั ธ/์ ผลกระทบดำ้ นทนั ตสขุ ภำพ

ตัวชี้วดั ที่ 2.4 รอ้ ยละนักเรยี นชั้นป.6 ไม่มเี หงือกอกั เสบ

รอจากหมอ

15

หมวดที่ 2 ผลลพั ธ์/ผลกระทบด้ำนทนั ตสุขภำพ

ตวั ชีว้ ัดที่ 2.5 รอ้ ยละของโรงเรียนในเครือข่าย ปลอดน้าอัดลม เคร่อื งดื่ม ไอศกรีม
รสหวาน

สรุปผลการดาเนินงานของโรงเรียนภายในเครอื ขา่ ยปลอดน้าอดั ลม เครื่องด่ืม
ไอศกรีมรสหวาน(น้าตาลไมเ่ กิน 5% ) ลูกอม ลูกกวาด
ปีการศึกษา 2563

ท่ี ชอื่ โรงเรยี น คดิ เปน็ ร้อยละ หมายเหตุ
1 โรงเรียนบา้ นประชาสามัคคี 100
2 โรงเรียนวดั เนินสะเดา 100
3 โรงเรยี นวดั บา้ นลาด 100
4 โรงเรยี นวัดบางเคยี น 100
5 โรงเรยี นบา้ นทา่ กรา่ ง 100
6 โรงเรียนบ้านบงึ หมนั 100
7 โรงเรยี นวดั ดงกะพี้ 100
8. โรงเรียนดอนสนวน 100
9. โรงเรียนวดั ท่านา 100

จากตารางสรุปผลการดาเนินงานของโรงเรียนภายในเครือข่ายปลอดน้าอัดลม เครื่องด่ืม ไอศกรีมรส
หวาน(น้าตาลไม่เกิน 5% ) ลูกอมและลูกกวาด ปีการศึกษา 2563 พบว่า โรงเรียนในเครือข่ายเด็กไทยฟันดี
โรงเรียนบ้านประชาสามัคคี สามารถดาเนินการในโรงเรียนให้ปลอดน้าอัดลม เครื่องด่ืม ไอศกรีมรสหวาน
(นา้ ตาลไมเ่ กิน 5% ) ลูกอมและลูกกวาดไดค้ รบทกุ โรงเรยี น โดยคิดเปน็ รอ้ ยละ 100

โดยมีการทา MOU ร่วมกันระหว่างโรงเรียนบ้านประชาสามัคคีกับโรงเรียนลูกข่ายจานวน
7 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนวัดเนินสะเดา,โรงเรียนวัดบ้านลาด,โรงเรียนวัดบางเคียน,โรงเรียนบ้านท่ากร่าง,
โรงเรยี นบา้ นบึงหมัน,โรงเรียนวดั ดงกะพี้,โรงเรยี นวดั ท่านาและโรงเรียนดอนสนวน (ภาพผนวก,ภาพที่ 8)

16

หมวดที่ 3
การมีสว่ นรว่ มของภาคี

เครอื ข่าย

17

หมวดที่ 3 กำรมสี ว่ นร่วมของภำคีเครอื ข่ำย

ตัวชว้ี ัดที่ 3.1 หน่วยงานสาธารณสขุ มกี ารสนับสนนุ เครือข่าย และมีส่วนร่วมในการพัฒนา
หวาน
โรงเรียนวัดท่านา ได้รับสนับสนุนจากหน่วยงานสาธารณสุข โดยเครือข่ายโรงเรียนและเจ้าหน้าท่ี
สาธารณสุขร่วมเป็นเจ้าของ ร่วมคิด ร่วมทาและร่วมรับผลประโยชน์ร่วมกัน รวมท้ังมีการสร้างกระบวนการ
เรียนรู้ร่วมกัน เพ่ือให้เกิดผลลัพธ์เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ และบรรลุวัตถุประสงค์ โดยมีโครงการเข้ามา
ให้บริการในการให้ความรู้ ตรวจสุขภาพนักเรียน ฉีดวัคซีน และบริการทางทันตกรรม(เคลือบฟลูออไลน์)(ภาค
ผนวก,ภาพที่ 3.1.1)

18

หมวดที่ 3 กำรมีส่วนรว่ มของภำคเี ครอื ข่ำย

ตัวช้ีวดั ที่ 3.2 ผู้ปกครอง/ผดู้ แู ลเดก็ มกี ารสนับสนุนเครือข่าย และมีส่วนรว่ มในการพฒั นา
หวาน
โรงเรียนวัดท่านา ได้รับสนับสนุนจากผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก โดยเครือข่ายโรงเรียนและผู้ปกครอง/
ผู้ดแู ลเด็ก รว่ มคิด ร่วมทาและร่วมรับผลประโยชน์ร่วมกนั รวมทั้งมีการสร้างกระบวนการเรียนรูร้ ่วมกนั เพื่อให้
เกิดผลลัพธ์เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ และบรรลุวัตถุประสงค์ โดยผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กให้ความร่วมมือใน
การทากิจกรรมและให้ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับนกั เรียนเกี่ยวกบั การแปรงฟันและการรบั ประทานอาหารว่างที่เสี่ยง
ตอ่ ฟนั ผุ

กจิ กรรมประชมุ ผปู้ กครองเพื่อสรา้ งความเขา้ ใจในการจัดกิจกรรมเกยี่ วกับทนั ตสุขภาพ

กิจกรรมการลงพน้ื ท่ีใหค้ วามรู้และขอความร่วมมอื รณรงค์กิจกรรมท่ีเกยี่ วข้องกับทนั ตสุขภาพ
โดยมบี ันทกึ การผลการลงพนื้ ที(่ ภาคผนวก,ภาพท่ี 3.2.1)

19

หมวดที่ 3 กำรมีสว่ นร่วมของภำคีเครอื ข่ำย

ตัวชวี้ ดั ที่ 3.3 ชมุ ชนมกี ลไกการสนับสนุน และมีส่วนร่วมในการพฒั นา

โรงเรียนวดั ท่านา ได้รบั สนบั สนนุ จากชุมชน โดยเครือขา่ ยโรงเรียนและชุมชน ร่วมคิด รว่ มทาและร่วม
รับผลประโยชน์ร่วมกนั รวมทั้งมีการสร้างกระบวนการเรยี นรรู้ ่วมกัน เพ่ือให้เกดิ ผลลัพธ์เป็นไปตามเป้าหมายที่
วางไว้ และบรรลุวตั ถุประสงค์ โดยชุมชนให้การสนับสนุนและส่งเสรมิ ในการทากิจกรรมที่เกยี่ วข้องกับโรงเรยี น
และโครงการต่างๆ ของโรงเรยี นเป็นอยา่ งดี(ภาคผนวก,ภาพที่ 3.3.1)

20

หมวดที่ 3 กำรมีส่วนร่วมของภำคเี ครือข่ำย

ตัวช้ีวดั ที่ 3.4 ทอ้ งถิน่ มีการสนบั สนนุ และการมสี ่วนร่วมในการพัฒนา

โรงเรียนวัดท่านา ได้รับสนับสนุนจากท้องถิ่น โดยเครือข่ายโรงเรียนและท้องถิ่น ร่วมคิด ร่วมทาและ
ร่วมรับผลประโยชน์ร่วมกัน รวมทั้งมีการสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน เพ่ือให้เกิดผลลัพธ์เป็นไปตาม
เป้าหมายท่ีวางไว้ และบรรลุวัตถุประสงค์ โดยท้องถิ่นให้การสนับสนุนและส่งเสริมในการทากิจกรรมท่ี
เกยี่ วข้องกบั โรงเรยี นและโครงการตา่ งๆ ของโรงเรยี นเป็นอย่างดี(ภาคผนวก,ภาพท่ี 3.4.1)

21

หมวดที่ 3 กำรมสี ว่ นร่วมของภำคีเครอื ขำ่ ย

ตัวชี้วัดที่ 3.5 สพป.มกี ลไกการสนบั สนุนและการมีสว่ นรว่ มในการพฒั นา

โรงเรียนวัดท่านา ได้รับสนับสนุนจากท้องถ่ิน โดยเครือข่ายโรงเรียนและท้องถิ่น ร่วมคิด ร่วมทาและ
ร่วมรับผลประโยชน์ร่วมกัน รวมทั้งมีการสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน เพ่ือให้เกิดผลลัพธ์เป็นไปตาม
เป้าหมายที่วางไว้ และบรรลุวัตถุประสงค์ โดยท้องถ่ินให้การสนับสนุนและส่งเสริมในการทากิจกรรมที่
เกยี่ วข้องกบั โรงเรยี นและโครงการตา่ งๆ ของโรงเรยี นเป็นอยา่ งดี(ภาคผนวก,ภาพที่ 3.5.1)

22

หมวดที่ 3 กำรมสี ่วนรว่ มของภำคเี ครือข่ำย

ตวั ชว้ี ดั ท่ี 3.6 เครือข่ายมีภาคีเพ่มิ ข้นึ

โรงเรียนวัดท่านา ได้เข้าร่วมเครือข่ายเด็กไทยฟันดี ร่วมคิด ร่วมทาและร่วมรับผลประโยชน์ร่วมกัน
รวมท้ังมีการสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน เพ่ือให้เกิดผลลัพธ์เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ และบรรลุ
วัตถุประสงค์ โดยภาคีเครือข่ายสนับสนุนและส่งเสริมในการทากิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับโรงเรียนและโครงการ
ต่างๆ ของโรงเรียนเป็นอย่างดี โดยมีการทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือโรงเรียนเครือข่ายจัดกิจกรรมทันต
สุขภาพและบันทึกข้อตกลงความร่วมมือโรงเรียนเครือข่ายจัดกิจกรรมงดการบริโภคขนมกรุบกรอบ น้าหวาน
น้าอัดลม และลูกอม (ภาคผนวก, ภาพท่ี 3.6 และ 1.3)

23

หมวดที่ 3 กำรมีสว่ นรว่ มของภำคเี ครอื ขำ่ ย

ตัวช้วี ัดที่ 3.7 ภาคีนาแนวคิด/ผลการดาเนินงานไปขยายในชมุ ชนหรือหนว่ ยงานอ่นื

ภาพนกั เรยี น ก่อน-หลัง แปรงฟัน

24

ภาพกิจกรรมการประชมุ แกนนานักเรยี น

25

หมวดท่ี 4
การนาและการบริหารจัดการ

เครอื ข่าย

26

หมวดที่ 4 กำรนำและกำรบรหิ ำรจดั กำรเครือขำ่ ย

ตัวชี้วดั ที่ 4.1 มที ีมงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟนั ดแี ละมีการประชมุ อยา่ งสมา่ เสมอ

โรงเรยี นวัดทา่ นา ไดเ้ ขา้ ร่วมเครือขา่ ยเด็กไทยฟันดี โรงเรยี นบ้านประชาสามคั คี และมโี รงเรียนท่เี ขา้
ร่วมทั้งหมด 7 โรงเรยี น เพื่อกาหนดแนวทางในการทางานร่วมกนั จึงมีการแต่งตัง้ คณะดาเนินงานโครงการ
เครอื ข่ายเดก็ ไทยฟนั ดีและมกี ารประชุมอยา่ งสม่าเสมอ เพ่ือรว่ มวางแผนในการดาเนินกิจกรรมเดก็ ไทยฟันดใี น
ระดบั โรงเรยี นและระดับภาคเี ครอื ขา่ ย (ภาคผนวก, ภาพที่ 4.1.1)

27
ภาพท่ี 4.1.2 รายช่อื การประชมุ เครอื ข่ายโรงเรยี นเดก็ ไทยฟนั ดี

28
ภาพท่ี 4.1.3 รายช่อื การประชมุ เครอื ข่ายโรงเรยี นเดก็ ไทยฟนั ดี

29
ภาพท่ี 4.1.4 รายช่อื การประชมุ เครอื ข่ายโรงเรยี นเดก็ ไทยฟนั ดี

30

หมวดที่ 4 กำรนำและกำรบริหำรจดั กำรเครอื ข่ำย

ตัวชีว้ ดั ท่ี 4.2 มกี ารกาหนดนโยบายการดาเนินงานสง่ เสริมทนั ตสขุ ภาพของเครอื ขา่ ย

ภาพท่ี 4.2.1 บันทึกข้อตกลงความรว่ มมือโรงเรยี นเครือข่ายจัดกจิ กรรมงดการ
บรโิ ภคขนมกรุบกรอบ นา้ หวาน น้าอัดลม และลูกอม

31

ภาพท่ี 4.2.2 บนั ทกึ ข้อตกลงความรว่ มมือโรงเรียนเครือข่ายจัดกจิ กรรมทันต
สุขภาพ

32

หมวดท่ี 4 กำรนำและกำรบรหิ ำรจัดกำรเครือข่ำย

ตัวชีว้ ดั ที่ 4.3 มีการกาหนดเป้าหมาย แผนการดาเนนิ งานและตัวชวี้ ดั

โครงกำร เดก็ ไทยแข็งแรง (สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม)

แผนงำน บรหิ ารงานวชิ าการ

สนองกลยุทธท์ ่ี 3 ยกระดับคณุ ภาพสถานศึกษาใหเ้ ข้าสู่มาตรฐานการศกึ ษาชาติ พัฒนาผู้เรียน

สมรรถนะครู และบุคลากรทางการศึกษาอย่างเป็นระบบเพิ่มประสทิ ธภิ าพใน

การบรหิ ารหลกั สตู รการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานอย่างเต็มตามศกั ยภาพ

สนองมำตรฐำนที่ 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น ด้านคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผู้เรยี น (ตบช.ที่ 1.2.5-

1.2.6)

ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงกำร นางสมฤดี คงพราหมณ์

ลักษณะโครงกำร โครงการใหม่

ระยะเวลำดำเนินกำร ปกี ารศกึ ษา 2563 (1 พฤษภาคม – 31 มีนาคม 2563)

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1. หลกั กำรและเหตุผล

การจะพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้บรรลุจุดหมาย ผู้เรียนควรมีสุขภาพกายและจิตท่ีดี โรงเรียนจึงมี

โครงการพัฒนาคุณภาพนักเรียน ให้มีสุขภาวะท่ีดีและมีสุนทรียภาพ เพ่ือสร้างสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของ

ตนเอง ปกปอ้ งตนเองให้พ้นสภาวะท่ีเสี่ยงทีส่ ่งผลต่อสขุ ภาพ เห็นคณุ ค่าของตนเอง ส่งผลให้เกิดความเชอ่ื มั่น มี

มมุ มองทีด่ ีและกลา้ แสดงออกในทางสร้างสรรค์

2. วัตถุประสงค์

1. เพ่ือให้นักเรียนมสี ุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกาลังกายสมา่ เสมอ

2. เพื่อใหน้ กั เรยี นมนี ้าหนกั ส่วนสงู และมสี มรรถภาพทางกายตามเกณฑม์ าตรฐาน

3. เพื่อให้นักเรยี นสามารถป้องกันตนเองจากสิง่ เสพตดิ ให้โทษและหลีกเลีย่ งตนเองจากสภาวะท่ีเสย่ี ง

ตอ่ ความรุนแรง โรค ภัย อุบตั เิ หตุ และปญั หาทางเพศ

4. เพ่ือให้นกั เรยี นเห็นคณุ ค่าในตนเอง มีความมั่นใจ และกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสม

5. เพ่ือให้นกั เรยี นมีมนษุ ยสัมพนั ธท์ ่ีดแี ละให้เกียรติผู้อ่ืน

6. เพื่อสร้างผลงานจากการเข้าร่วมกจิ กรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศลิ ป์ กฬี า/นนั ทนาการ ตาม

จนิ ตนาการ

3. เป้ำหมำย

ด้ำนปรมิ ำณ

1. นักเรยี นร้อยละ 80 มสี ขุ นสิ ัยในการดูแลสขุ ภาพและออกกาลังกายสม่าเสมอ

2. นกั เรียนร้อยละ 80 มนี ้าหนกั สว่ นสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน

3. นักเรยี นร้อยละ 80 สามารถปกป้องตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเล่ียงตนเองจากสภาวะท่ี

เสี่ยงต่อความรุนแรง โรค ภัย อุบัตเิ หตุ และปัญหาทางเพศ

4. นักเรียนร้อยละ 80 เหน็ คุณค่าในตนเอง มีความม่นั ใจ และกลา้ แสดงออกอยา่ งเหาะสม

5. นักเรยี นร้อยละ 80 มมี นุษยสัมพันธ์ท่ีดีและให้เกยี รติผู้อ่ืน

6. นักเรียนร้อยละ 80 สรา้ งผลงานจากการเข้าร่วมกิจกรรมดา้ นศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/

นันทนาการ ตามจินตนาการ

33

4. สำระสำคัญของโครงกำร ผู้รับผดิ ชอบ

โครงกำร ครูประจาชั้น
ครปู ระจาชน้ั
1. ดา้ นสขุ ภาพนกั เรียน ครปู ระจาช้ัน
- ความสะอาดของร่างกาย เสือ้ ผา้ ของใช้ ฯลฯ ครูประจาช้นั
- การวัดน้าหนัก สว่ นสงู เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสุข, คณะครู
- ตรวจสขุ ภาพร่างกายและหรอื การสง่ ตอ่ เจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสขุ
- การปฐมพยาบาลและหรือการส่งตอ่ เจา้ หน้าท่สี าธารณสุข, คณะครู
- การอบรม อย.น้อย นางสมฤดี คงพราหมณ์
- ตรวจสุขภาพช่องปาก และหรอื การสง่ ต่อ นางสมฤดี คงพราหมณ์
- การตรวจวดั สายตาและการสง่ ตอ่ คณะครู
- อาหารกลางวนั อาหารเสริม (นม)
- ศึกษานอกสถานท่ี ครทู ุกคนตามเวรประจาวนั
- การประชาสมั พนั ธ์ เผยแพรข่ า่ วสารความรู้ ครูประจาวิชา
ครปู ระจาชมุ นุม
2. การออกกาลังกาย
- กายบริหารหน้าเสาธง
- ชวั่ โมงเรยี นด้านวชิ าการ (ศิลปะ, ดนตร,ี กีฬา)
- ชมุ นุม (ศิลปะ, ดนตรี, กีฬา)

5. ปฏทิ นิ กำรปฏบิ ตั งิ ำน ปกี ำรศกึ ษำ 2563

กิจกรรม 5 6 7 8 9 10 11 12 1 2 3 4

1. การรกั ษาความสะอาดรา่ งกายเส้อื ผา้ ของใช้ ฯลฯ
2. การวัดน้าหนัก สว่ นสูง
3. การตรวจสขุ ภาพรา่ งกายและการส่งต่อ
4. การปฐมพยาบาลและการส่งต่อ
5. การอบรม อย.นอ้ ย
6. การตรวจสขุ ภาพชอ่ งปาก และการสง่ ต่อ
7. การตรวจวัดสายตาและการส่งต่อ
8. อาหารกลางวัน อาหารเสริม (นม)
9. การศึกษานอกสถานท่ี
10. การประชาสัมพันธ์ เผยแรข่ ่าวสารความรู้
11. การทากายบรหิ ารหน้าเสาธง
12. การเรยี นดา้ นวิชาการ ศลิ ปะ, ดนตรี, กีฬา
13. การเข้าชุมนมุ ศลิ ปะ, ดนตร,ี กีฬา

6. งบประมำณ

รับเงนิ จากอุดหนนุ การจัดการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน 500 บาท

รายละเอยี ดคา่ ใชจ้ ่าย

หมวดรำยจำ่ ย จำนวนเงิน รำยละเอียดค่ำใชจ้ ำ่ ย
ค่ำวสั ดุ
(บำท) คำ่ ตอบแทน อน่ื ๆ
500
1. คา่ ดาเนนิ การกิจกรรม 500

2. ค่าวสั ดุกจิ กรรม

34

7. กำรประเมนิ ผล

ตวั บ่งชีค้ วำมสำเรจ็ วธิ ปี ระเมินผล เครือ่ งมือทใี่ ช้ประเมิน

1. ร้อยละของนกั เรียนท่ีมสี ขุ นสิ ัยในการ - ตรวจสอบแฟ้มกจิ กรรม - แบบบนั ทึกการสังเกต
- แบบบนั ทกึ การสัมภาษณ์
ดแู ลสุขภาพและออกกาลงั กาย - ตรวจสอบแฟม้ กิจกรรมในการปฏิบัติ - สรุปผลการปฏิบตั กิ ิจกรรม
- ผลงานของผเู้ รยี น รปู ภาพ
สม่าเสมอ กจิ กรรมของโรงเรยี น - ระเบยี บ คาสง่ั โล่ เกยี รติบตั ร รางวลั
- รายงานการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
2. รอ้ ยละของนักเรยี นทีม่ ีนา้ หนกั - สังเกต บันทึก ของสถานศกึ ษา
- รายงานคณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์
สว่ นสงู และมีสมรรถภาพทางกายตาม - ดูแฟม้ งานและการปฏิบัตกิ จิ กรรม - แฟม้ กิจกรรมการปฏิบตั งิ าน
- แบบสอบถา แบบสงั เกต
เกณฑม์ าตรฐาน - ดแู ฟม้ บนั ทึกกจิ กรรมครู บันทกึ ความ - แผนการจดั การเรยี นรู้
- บญั ชีลงเวลา
3. รอ้ ยละของนกั เรยี นท่ีสามารถปกป้อง ดีของนักเรยี น - สมดุ คาสง่ั

ตนเองจากส่งิ เสพติดใหโ้ ทษ และ - ตรวจการเข้าร่วมกิจกรรม

หลกี เล่ยี งตนเองจากสภาวะทเี่ ส่ียงตอ่ - ตรวจสอบความพึงพอใจของชมุ ชน

ความรุนแรง โรค ภยั อุบตั เิ หตุ และ สังคม ผูป้ กครอง

ปญั หาทางเพศ

4. ร้อยละของนักเรียนท่เี ห็นคณุ คา่ ใน

ตนเอง มคี วามม่ันใจ และกลา้ แสดงออก

อยา่ งเหมาะสม

5. ร้อยละของนกั เรยี นทม่ี มี นุษยสมั พนั ธ์

ทีด่ ีและใหเ้ กยี รตผิ ูอ้ น่ื

6. ร้อยละของนักเรยี นทสี่ รา้ งผลงาน

จากการเขา้ ร่วมกิจกรรมด้านศลิ ปะ

ดนตร/ี นาฏศลิ ป์ กีฬา/นนั ทนาการ ตาม

จินตนาการ

8. ผลทคี่ ำดว่ำจะได้รบั
1. นกั เรียนมีสุขนิสยั ในการดูแลสขุ ภาพอนามัยของตนเองอย่างยั่งยนื และแนะนาผอู้ น่ื ได้
2. ปอ้ งกันตนเองให้พ้นจากสภาวะเส่ียงอนั จะเกดิ อนั ตรายตอ่ ตนเอง และให้คาแนะนาผู้อ่ืนได้
3. เหน็ คณุ ค่าของตนเองและผอู้ น่ื ม่ันใจในตนเอง กลา้ แสดงออกในทางสรา้ งสรรค์
4. เมอื่ ร่วมกจิ รรมดา้ นศลิ ปะ ดนตรี กฬี า สามารถสรา้ งผลงานตามจนิ ตนาการของตนเองได้

ลงชื่อ................................................................. ผ้เู สนอโครงการ
(นางสมฤดี คงพราหมณ)์

ครชู านาญการ โรงเรยี นวัดท่านา

ลงชือ่ ................................................................. ผ้อู นมุ ตั ิโครงการ
(นางสาวอรวรรณ สมเมือง)
ผูอ้ านวยการโรงเรยี นวัดทา่ นา

35

รำยละเอยี ดของโครงกำร นำเสนอเปน็ ตำรำงดงั นี้

เด็กไทยแข็งแรง (สุขภำวะทำงร่ำงกำยและลกั ษณะจิตสังคม)

ตวั บ่งชี้ สภำพควำมสำเร็จที่ รำยละเอยี ดกจิ กรรม งบประมำณ ผ้รู บั ผดิ ชอบ

ต้องกำร

1. เพ่ือใหน้ กั เรียนมี 1. นกั เรยี นรอ้ ยละ 80 มี 1. การรกั ษาความสะอาด งบประมาณ นางสมฤดี คง

สุขนิสยั ในการดแู ล สุขนสิ ัยในการดูแล รา่ งการเสอ้ื ผ้าของใช้ 500 บาท พราหมณ์ และ

สขุ ภาพและออกกาลัง สุขภาพและออกกาลงั 2. การวดั น้าหนกั ส่วนสงู รายละเอยี ด คณะครู

กายสม่าเสมอ กายสม่าเสมอ 3. การตรวจสุขภาพรา่ ง ประกอบการใช้

2. เพ่อื ให้นักเรียนมี 2. นักเรียนร้อยละ 80 มี การและการสง่ ต่อ 1. ค่าวัสดใุ น

น้าหนัก ส่วนสงู และ น้าหนกั ส่วนสงู และมี 4. การปฐมพยาบาลและ การดาเนิน

มสี มรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกาย การสง่ ตอ่ กจิ กรรมต่างๆ

ตามเกณฑม์ าตรฐาน ตามเกณฑม์ าตรฐาน 5. การอบรม อย.น้อย ของโรงเรยี น

3. เพอ่ื ใหน้ กั เรยี น 3. นักเรียนรอ้ ยละ 80 6. การตรวจสุขภาพชอ่ ง 2. ค่าเวชภัณฑ์

สามารถปกปอ้ ง สามารถปกป้องตนเอง ปาก และการสง่ ต่อ 3. คา่ พาหนะครู

ตนเองจากสิ่งเสพตดิ จากสิง่ เสพตดิ ใหโ้ ทษ 7. การตรวจวดั สายตาและ นักเรียนศกึ ษาดู

ใหโ้ ทษและหลกี เลยี่ ง และหลีกเลย่ี งตนเอง การส่งตอ่ งาน

ตนเองจากสภาวะท่ี จากสภาวะทเ่ี สยี่ งต่อ 8. อาหารกลางวัน อาหาร

เส่ยี งต่อความรุนแรง ความรนุ แรง โรค ภัย เสรมิ (นม)

โรค ภัย อบุ ตั เิ หตุ อุบตั เิ หตุ และปัญหา 9. การศึกษานอกสถานท่ี

และปญั หาทางเพศ ทางเพศ 10. การประชาสมั พันธ์

4. เพื่อใหน้ กั เรยี นเหน็ 4. นักเรยี นร้อยละ 80 เผยแพรข่ ่าวสารความรู้

คณุ คา่ ในตนเอง มี เห็นคณุ คา่ ในตนเอง มี 11. การทากายบริหาร

ความมนั่ ใจ และกล้า ความมั่นใจ และกล้า หนา้ เสาธง

แสดงออกอย่าง แสดงออกอย่างเหาะสม 12. การเรยี นด้านวชิ าการ

เหมาะสม 5. นักเรียนรอ้ ยละ 80 มี 13. การเขา้ ชุมนุม ศลิ ปะ,

5. เพอ่ื ให้นักเรียนมี มนษุ ยสมั พนั ธท์ ีด่ แี ละ ดนตร,ี กฬี า

มนษุ ยสมั พันธท์ ดี่ แี ละ ใหเ้ กียรตผิ ูอ้ ่นื

ให้เกียรตผิ อู้ ื่น 6. นักเรียนร้อยละ 80

6. เพอ่ื สร้างผลงาน สรา้ งผลงานจากการเข้า

จากการเขา้ ร่วม ร่วมกิจกรรมดา้ นศิลปะ

กจิ กรรมด้านศลิ ปะ ดนตร/ี นาฏศลิ ป์ กฬี า/

ดนตร/ี นาฏศลิ ป์ นนั ทนาการ ตาม

กฬี า/นนั ทนาการ จนิ ตนาการ

ตามจนิ ตนาการ

36

หมวดที่ 4 กำรนำและกำรบริหำรจัดกำรเครือขำ่ ย

ตัวช้วี ัดท่ี 4.4 กลไกการถ่ายทอดนโยบายของเครือข่ายไปสู่การปฏบิ ัติ

ภาพท่ี 4.4.1 ภาพสมดุ บันทึกเยย่ี มบา้ นโครงการยุวทันตน้อย

37
ภาพท่ี 4.4.2 ภาพแบบันทกึ ใหค้ วามร้กู ารดแู ลรักษาฟนั ตามโครงการยวุ ทันตน้อย

38
ภาพที่ 4.4.3 ภาพใบสมัครสมาชกิ กิจกรรมยุวทนั ตน้อย

39
ภาพท่ี 4.4.4 ภาพโครงการยวุ ทันตนอ้ ย

40
ภาพที่ 4.4.5 ภาพแผนปฏบิ ัติการของยวุ ทนั ตน้อย

41

หมวดท่ี 4 กำรนำและกำรบรหิ ำรจดั กำรเครือข่ำย

ตัวชีว้ ดั ท่ี 4.5 มกี ารบรหิ ารจัดการทรัพยากรรว่ มกัน

ภาพท่ี 4.5.1 ภาพบัญชแี ปรงสฟี นั +ยาสฟี นั

42
ภาพที่ 4.5.2 ภาพใบเบิกแปรงสฟี นั +ยาสีฟนั

43

ภาพกจิ กรรมการมอบแปรงสฟี นั และยาสฟี นั ใหก้ ับโรงเรียนในเครือขา่ ย

หมวดท่ี 4 กำรนำและกำร

ตวั ชี้วดั ที่ 4.6 มรี ะบบการจัด

ภาพท่ี 4.6.1 ภาพแผ่นพับกิจกร

รบรหิ ำรจัดกำรเครือขำ่ ย 44
ดการข้อมูล

รรมเดก็ ไทยฟันดี

ภาพท่ี 4.6.2 ภาพแผน่ พับกจิ


Click to View FlipBook Version