The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pandaping2546, 2021-06-22 23:28:27

อารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ

อารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ

อารยธรรม HISTORY LESSON | VS SCHOOL
ตะวันตก
สมัยโบราณ

ประวตั ิศาสตรส์ ากล 01

02 HISTORY LESSON | VS SCHOOL

หัวขอ้

1 อารยธรรมสาํ คัญของโลกตะวนั ตก
2 อารยธรรมเมโสโปเตเมยี
3 อารยธรรมอียปิ ต์
4 อารยธรรมกรกี
5 อารยธรรมโรมนั

อารยธรรม 03 HISTORY LESSON | VS SCHOOL
สาํ คัญของโลก
ตะวนั ตก

อารยธรรมตะวนั ตก(Western Civilization)มแี หล่ง
กําเนดิ ในดนิ แดนเมโสโปเมยี (Mesopotamia) ในภาษา
กรกี หมายถึง ดนิ แดนระหวา่ งแมน่ าํ 2 สาย) หรอื แถบ
ล่มุ แมน่ าํ ไทกรสิ และยูเฟรทีส(Tigris-Euphrates)
ในตะวนั ออกใกล้ (ปจจุบนั คือประเทศอิรกั ) และล่มุ แมน่ าํ
ไนล์ ในประเทศอียปิ ต์ ซงึ ตังอยูท่ างตอนเหนอื ของทวปี
แอฟรกิ า ปจจุบนั ดนิ แดนทังสองแหง่ นจี ดั อยูใ่ นภมู ภิ าค
ตะวนั ออกกลาง

หลักฐาน 04 HISTORY LESSON | VS SCHOOL

หลักฐานทางโบราณคดบี ง่ ชวี า่ อาณาจกั รซูเมอร์ (Sumer) หรอื ชี
นาร(์ Shinar) ทีปรากฏชอื ในพระคัมภีรไ์ บเบลิ เปนอู่ของอารยธรรมทีมี
ความเก่าแก่กวา่ อียปิ ต์ กําเนดิ เมอื ประมาณ 3,500 ปก่อนครสิ ต์ศักราช
รวมทังเปนจุดเรมิ ต้นของสมยั ประวตั ิศาสตร์ ดงั ความเหน็ ของนกั
ประวตั ิศาสตรว์ า่ “ประวตั ิศาสตรเ์ รมิ ขนึ ทีซูเมอร”์ (History begins at
Sumer) เนอื งจากชาวซูเมเรยี (Sumerian) เปนชนชาติแรกทีประดษิ ฐ์
ตัวอักษรเพอื บนั ทึกเรอื งราวต่างๆ ซงึ ถือวา่ เปน “หลักฐาน” สาํ คัญหรอื
หวั ใจในการศึกษาวชิ าประวตั ิศาสตร์ และการแบง่ เสน้ เวลาออกเปน
“สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร”์ และ “สมยั ประวตั ิศาสตร์

อารยธรรม HISTORY LESSON | VS SCHOOL
เมโสโปเตเมยี

Mesopotamian civilization

05

1.1 ดินแดนเมโสโปเตเมยี ( HISTORY LESSON | VS SCHOOL
สภาพทาง Mesopotamia) คือบรเิ วณ
ภมู ศิ าสตรข์ อง ดินแดนทีตังอยูร่ ะหวา่ งแมน่ าํ ทําใหบ้ รเิ วณนีเหมาะแก่การเพาะ
อารยธรรมเม ไทกรสิ (Tigris) และยูเฟรติส ปลกู และเลียงสตั ว์ ดินแดนจาก
โสโปเตเมยี (Euphrates) หรอื บรเิ วณ เมโสโปเตเมยี ไปจนถึงชายฝง
ประเทศอิรกั ในปจจุบนั เปน ทะเลเมดิเตอรเ์ รเนียนจงึ มชี อื วา่
06 ดินแดนทีมคี วามเจรญิ ดินแดนพระจนั ทรเ์ สยี วอันอุดม
รงุ่ เรอื งจนกลายเปนอู่ สมบูรณ์ ( The Fertile
อารยธรรมทีสาํ คัญของโลก Crescent) หรอื วงโค้งแหง่
ดินแดนแหง่ นีมคี วามอุดม ความอุดมสมบูรณ์
สมบูรณ์เนอื งจากแมน่ ําทัง
สองสายท่วมท้นตลิงในฤดู
ใบไมผ้ ลิ เมอื นําลดพนื ดินจงึ
เต็มไปด้วยโคลนตมทีกลาย
เปนปุยอันอุดมสมบูรณ์

1.2 ผตู้ ังหลักแหล่งพวกแรกของ HISTORY LESSON | VS SCHOOL
การตังถินฐานของ อารยธรรมเมโสโปเตเมยี คือ พวกสุ
ชาติพนั ธุต์ ่างๆ เมเรยี น ภายหลังจากนนั จงึ มพี วก
เซมติ ิกและสาขา เชน่ พวกฟนเี ชยี
นอมอไรต์และฮิบรู พวกอินโด-ยูโร
เปยน และสาขา ไดแ้ ก่ พวกฮิตไตท์
และเปอรเ์ ซยี น อพยพจากดนิ แดน

ตอนเหนอื เขา้ มาตังถินฐานในดนิ
แดนเมโสโปเตเมยี ในเวลาต่อมา

07

ชนกล่มุ ต่างๆ 08 HISTORY LESSON | VS SCHOOL
ทีสรา้ งอารยธรรม

ในดินแดนเมโสโปเตเมยี 2. อมอไรต์ หรอื บาบโิ ลน

1. สเุ มเรยี น – เปนเผา่ เซมติ ิก อพยพมาจากทะเลทรายอาระเบยี น มายดึ ครองนครรฐั
ของสเุ มเรยี น
– ตังอยูใ่ นบรเิ วณภาคตะวนั ออกเฉียงใต้ของทีราบเมโสโปเตเมยี ทีเรยี กวา่ “ซูเมอร”์ – ขยายอาณาจกั รไปกวา้ งขวางและสถาปณาจกั รวรรดิบาบโิ ลเนีย
– ปกครองแบบนครรฐั (CITY STATES) แต่ละนครรฐั เปนอิสระไมข่ นึ แก่กัน – กษัตรยิ ท์ ีสาํ คัญคือพระเจา้ ฮัมมูราบี
มกี ษัตรยิ เ์ ปนผนู้ ํา นครรฐั ทีสาํ คัญเชน่ เมอื งอูร์ เมอื งเออรุคและเมอื งอิรดิ ู เปนต้น – มกี ารประมวลกฎหมายลายลักษณ์อักษรทีเก่าแก่ทีสดุ ในโลก คือกฎ
– นับถือเทพเจา้ หลายองค์ มเี ทพเจา้ ประจาํ นครรฐั เน้นโลกนีเปน หมายฮัมมูราบี มบี ทลงโทษแบบ “ตาต่อตา ฟนต่อฟน”
สาํ คัญ ไมเ่ ชอื เรอื งโลกหน้า
– สรา้ งซกิ กแู รต (วหิ ารบูชาเทพเจา้ ) อักษรคนู ฟิ อรม์ (รปู ลิม)
– วรรณกรรมกิลกาเมช กล่าวถึงการพจญภัยของสรี บุรุษชาวสเุ มเรยี น
– วรรณกรรมเอนลิล กล่าวถึงการสรา้ งโลกและนําท่วมโลก
– รูจ้ กั ใชร้ ะบบชลประทาน เชน่ อ่างเก็บนํา เขอื นกันนํา ประตรู ะบายนํา
– ดํารงชพี ด้วยการเพาะปลกู พชื ทีสาํ คัญคือ ขา้ วสาลี
– รูจ้ กั ใชย้ านพาหนะเชน่ รถมา้
– รูจ้ กั ใชโ้ ลหะผสม(สาํ รดิ ) ทําเครอื งมอื เครอื งประดับ
– รูจ้ กั ทอผา้
– รูจ้ กั การบวก ลบ คณู ทําปฏิทินจนั ทรคติ(ขา้ งขนึ ขา้ งแรม) การนับวนั เวลา
– ประดิษฐอ์ ักษรคนู ิฟอรม์ (รูปลิม) เขยี นลงบนแผน่ ดินเหนียวด้วยปากกาทีทําจากต้น
อ้อแล้วนําไปตากแหง้

3. ฮิตไทต์และคัสไซต์ 4. แอสซเี รยี น HISTORY LESSON | VS SCHOOL

ฮิตไทต์ พระราชวงั ซารก์ อน – เปนเผา่ เซมติ ิกมาจากทะเลทรายอาหรบั
– เปนเผา่ อินโดยุโรเปยน
– เดิมอยูท่ างตอนใต้ของรสั เซยี ขยายตัว สวนลอยแหง่ บาบโิ ลน 09– ศูนยก์ ลางอยูท่ ีเมอื งนิเนเวห์
มาตามล่มุ แมน่ ํายูเฟรติส โจมตีทางเหนือ
ของซเี รยี ปล้นกรุงบาบโิ ลนและปกครอง – สามารถในการรบและการค้า
ดินแดนเมโสโปเตเมยี ต่อมา – ขยายอํานาจถึงฟนิเชยี ปาเลสไตน์ อียปิ ต์และ
– มคี วามสามารถในการรบมาก เปอรเ์ ซยี
– เปนชนเผา่ แรกทีรูจ้ กั ใชเ้ หล็กทําเปน – กองทัพแขง็ แกรง่ มรี ะเบยี บวนิ ัยสงู
อาวุธ รูจ้ กั ใชร้ ถเทียมมา้ ทําศึก – ใชเ้ หล็กทําอาวุธ
– ตรงกับสมยั ทีอียปิ ต์เรอื งอํานาจ – มกี ารก่อสรา้ งทีใหญ่โตมหมึ า มาํ ทําเปนโดม เชน่
– กษัตรยิ ฮ์ ัตตซู ลิ ิที 3แหง่ ฮิตไทต์ และ พระราชวงั ซารก์ อน
ฟาโรหร์ ามเสสที 2แหง่ อียปิ ต์ได้ทําสนธิ – มกี ารปนแบบนูนตัวและลอยตัว ใหอ้ ารมณ์สมจรงิ
สญั ญาไมร่ ุกรานกัน และหากบุคคลที 3มา – มกี ารแกะสลักภาพ เคลือนไหวแบบธรรมชาติ
โจมตี ต้องชว่ ยเหลือกัน – กษัตรยิ อ์ งค์สดุ ท้ายคือ “พระเจา้ อัชชูบานิปาล” เปน
คัสไซต์ สมยั ทีเจรญิ สงู สดุ มกี ารสรา้ งหอสมุดรวบรวมขอ้ มูล
-เขา้ ยดึ ครองกรุงบาบโิ ลน มหาศาลและยงั รวบรวมแผน่ ดินเหนียวทีมอี ักษรคนู ิ
ฟอรม์ 22,000แผน่

5.แคลเดียน

– เปนเผา่ เซเมติก โค่นล้มแอสซเี รยี นได้
– สถาปณาจกั รวรรดิแคลเดียนหรอื บาบโิ ลเนียใหม่
– สรา้ งสวนลอยแหง่ บาบโิ ลน ในสมยั พระเจา้ เนบูชดั เนสซาร์
– ทําแผนทีดวงดาว
– คํานวณการเกิดสรุ ยิ ุปราคา จนั ทรุปราคา
– แบง่ สปั ดาหเ์ ปน 7 วนั 6. เปอรเ์ ซยี

ชนเผา่ อินโดยุโรเปยน 10 HISTORY LESSON | VS SCHOOL
ปกครองบรเิ วณทีราบสงู อิหรา่ น
มรี าชวงศ์ต่างๆปกครอง ดังนี

1) ราชวงศ์อะคีเมนดิ 7) ราชวงศ์ซาฟาวี
– ขบั ไล่มองโกลไปได้ ยา้ ยเมอื งหลวงไปทีอิสฟาฮาน
– ก่อตังโดยพระเจา้ ไซรสั มหาราช ขยายอํานาจไปจนถึงแมน่ าํ สนิ ธุ – กษัตรยิ ท์ ีสาํ คัญคือ ชาห์ อับบาสมหาราช ปฏิรปู การ
อียปิ ต์ ปกครอง
– พระเจา้ ดารอิ ุส ขยายจกั รวรรดกิ วา้ งขวางไปอีก สรา้ งเมอื งหลวงทีสวยงามชอื – นบั ถืออิสลามนกิ ายชอี ะห์
“เปอรช์ โี ปลิช” สรา้ งถนนเชอื มดนิ แดนในจกั รวรรดิ ไดช้ อื วา่ เปนยุคทองของเปอรเ์ ซยี 8) ราชวงศ์คะจาร์
– มศี าสนาโซโรแอสเตอร์ เปนศาสนาประจาํ ชาติ มเี ทพเขา้ อาหรุ ามาสดาเปนเทพฝายดี – เชอื สายเติรก์ ไมค่ ่อยมอี ํานาจ ปกครองแบบเผดจ็ การ
และอาหรมิ นั ปนเทพฝายชวั – รสั เซยี และอังกฤษขยายอํานาจ
– ถกู กษัตรยิ อ์ เล็กซานเดอรม์ หาราชแหง่ กรกี ยดึ ครอง ทําใหเ้ สอื มลง 9) ราชวงศ์ปาเลวี
2) ราชวงศ์เซลิวชดิ – กษัตรยิ ค์ นแรกคือ เรซา ชาห์ ปาเลวี เปลียนชอื จาก
– ก่อตังโดยทหารของกษัตรยิ อ์ เล็กซานเดอรม์ หาราชแหง่ กรกี แต่ไมม่ อี ํานาจ เปอรซ์ ยี เปนอิหรา่ น
3) จกั รวรรดิของชาวปารเ์ ถียน – สมยั พระเจา้ มุฮํามดั เรซาห์ ชาห์ นาํ กฎหมายฝรงั เศส
– ยา้ ยเมอื งหลวงไปทีแบกแดด มาใช้ มกี ารปฏิรปู ทีดนิ แต่เศรษฐกิจก็ถดถ้อย
4) ราชวงศ์ซลั ซานดิ 10) สมยั สาธารณรฐั อิสลาม
– ปกครองเปนเวลา 400ปเศษ มศี าสนาอิสลามมาแทนทีศาสนาซโี รแอสเตอร์ – อยาโตลลา โคไมนี โค่นราชวงศ์ปาเลวี เปลียนการ
5) ราชวงศ์อับบาสดิ หรอื อาหรบั มุสลิม ปกครองเปนสาธารณรฐั
– มุสลิมรงุ่ เรอื งทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ – ต่อต้านสหรฐั อเมรกิ า
– กษัตรยิ ท์ ีสาํ คัญคือ ฮารณู อัล ราชดิ สง่ เสรมิ ดา้ นการค้าจนรงุ่ เรอื ง – เมอื อยาโตลลา โคไมนถี ึงแก่กรรม ผนู้ าํ ไดด้ าํ เนนิ
6) สมยั มองโกลปกครอง นโยบายสายกลาง ปฏิรปู เศรษฐกิจ ใหเ้ สรภี าพ ใหส้ ทิ ธิ
– ฮุลากขุ า่ นหลานเจงกิสขา่ นมายดึ กรงุ แบกแดด ปกครองเปนเวลา 200ปครงึ สตรี

ชนบางกล่มุ ทีสรา้ งอารยธรรมในเอเชยี ไมเนอร์ 11 HISTORY LESSON | VS SCHOOL

1.) ฮิตไตท์
-เปนชาติแรกทีรูจ้ กั ใชเ้ หล็ก
2.)ลิเดียน
-เปนชาติแรกทีมผี ลิตเหรยี ญกษาปณ์ขนึ ใช้
3.)ฟนิเชยี น
-สรา้ งเรอื ใบขนาดใหญ่ รวมทังเมอื งท่าขนาดใหญ่ด้วย
-นําอักษรของอียปิ ต์และล่ิมมาดัดแปลงเปนอักษรอัลฟาเบต(อักษรทีใช้
เสยี งสระและพยญั ชนะประสมกัน)ซงึ เปนต้นกําเนิดของภาษากรกี -ละติน
4.)ฮิบรู
– เปนบรรพบุรุษของชาวยวิ
– เรอื งราวของชาวฮิบนูปรากฏอยูม่ นภาคแรกของคัมภีรไ์ บเบลิ
– กษัตรยิ เ์ ดวดิ เปนปฐมกษัตรยิ ์
– กษัตรยิ ท์ ียงิ ใหญ่ทีสดุ คือ กษัตรยิ โ์ ซโลมอน
– นับถือลัทธยิ ูดาย
หลังจากกรกี -โรมนั เรอื งอํานาจในเอเชยี ตะวนั ตก แต่อารญธรรมเมโสโป
เตเมยี ก็ไมส่ ญู สลายก็มวี ฒั นธรรมกรกี -โรมนั เปนรากฐานวฒั นธรรมโลก
ต่อมา

1.3 12 HISTORY LESSON | VS SCHOOL
ด้านการเมอื งการปกครอง

-ชาวสเุ มเรยี นรวมตัวกันเปนแวน่ แควน้ แบบนครรฐั มเี จา้ ผคู้ รองนครทําหนา้ ทีเปนผปู้ กครอง
และผนู้ าํ ทางศาสนา มฐี านะเสมอื นเทพเจา้ ประจาํ นคร ปกครองแบบนครรฐั อิสระไมข่ นึ ต่อกัน
ต่อมาเรมิ มกี ารแยง่ ชงิ ดนิ แดนและแหล่งนาํ ระหวา่ งรฐั จนในทีสดุ ถกู โจมตีจากพวกคาลเดยี น
ทีมอี ํานาจจนสามารถตังอาณาจกั รทีมศี ูนยก์ ลางอยูท่ ีกรงุ บาบโิ ลน ภายหลังจากนนั ก็มพี วกอืน
เขา้ มาโจมตีอาณาจกั รนี จนกระทังผนู้ าํ เผา่ อมอไรต์(เปนสาขาหนงึ ของพวกเซมติ ิก) เขา้ ยดึ
อาณาจกั รบาบโิ ลนพรอ้ มทังสถาปนาผนู้ าํ ขนึ เปนกษัตรยิ ์
-ชาวอมอไรต์ มกี ษัตรยิ ช์ อื พระเจา้ ฮัมมูราบี เปนผมู้ ชี อื เสยี ง เนอื งจากทรงขยายอํานาจและ
ทําการปกครองอยา่ งมรี ะบบ เหน็ ไดจ้ ากการทีทรงโปรดใหป้ ระมวลกฎหมายของนครรฐั ต่างๆ
เปนกฎหมายชอื “ประมวลกฎหมายฮัมมูราบ”ี ซงึ ถือเปนประมวลกฎหมายทีจารกึ ไวเ้ ปนลาย
ลักษณอ์ ักษรเปนครงั แรก บนั ทึกไวด้ ว้ ยอักษรรปู ลิม ลักษณะกฎหมายมคี วามเขม้ งวดกวา่
กฎหมายเดมิ ของชาวสเุ มเรยี น ซงึ ลงโทษโดยเสยี เงินค่าปรบั แต่ประมวลกฎหมายฮัมมูราบี
เปนการลงโทษโดยใชห้ ลัก “ตาต่อตา ฟนต่อฟน”

พวกอัสซเี รยี น (Assyrian) (เปนสาขาหนึงของ 13 HISTORY LESSON | VS SCHOOL
พวกสเุ มเรยี น) เขา้ ปกครองอาณาจกั รบาบโิ ลน
พวกฮิบรู (Hebrew) (เปนสาขาหนึงของพวกเซเมติก) เดิมเปนเผา่ เลียงสตั วร์ อ่ นเร่
จงึ ได้สบื ทอดความเจรญิ และปรบั ปรุงการ ต่อมาพวกนีเขา้ มาตังถินฐานในนครรฐั สเุ มเรยี น แต่ยงั ไมส่ ามารถตังอาณาจกั รเปน
ปกครองโดยแบง่ อาณาจกั รออกเปนมณฑล
ต่างๆ มขี า้ หลวงปกครองโดยขนึ ตรงต่อกษัตรยิ ์ ของตนเองจนกระทังพระเจา้ เดวดิ (ครองราชยป์ ระมาณ 470 – 430 ป ก่อน
พุทธศักราช) ได้ตังอาณาจกั รอัคคัท (Akkad) ของฮิบรูได้สาํ เรจ็ อาณาจกั รฮิบรูมคี วาม
เจรญิ รุง่ เรอื งในสมยั พระเจา้ โซโลมอน (Solomon) (ครองราชยป์ ระมาณ 430 – 390

ปก่อนพุทธศักราช) แล้วจงึ สลายไปในเวลาต่อมา

14 HISTORY LESSON | VS SCHOOL

พวกเปอรเ์ ซยี น (Persian) (เปนสาขาหนึงของพวกอินโด-ยูโรเปย
น) ทีอพยพเคลือนยา้ ยจากดินแดนเอเชยี กลางเพอื แสวงหาทีดนิ อัน
อุดมสมบูรณ์ จนในทีสดุ จงึ ตังถินฐานบรเิ วณดินแดนดังแต่ทะเลสาบ
แคสเปยนจนถึงอ่าวเปอรเ์ ซยี กษัตรยิ ท์ ีมชี อื เสยี ง ได้แก่ พระเจา้ ไซรสั

มหาราช (Cyrus the Great)

กษัตรยิ เ์ ปอรเ์ ซยี องค์ต่อมาคือ พระเจา้ ดารอิ ุสมหาราช
(Darius the Great) ทรงขยายอํานาจออกไปปกครองดนิ
แดนรปู พระจนั ทรเ์ สยี วอันอุดมสมบูรณ์ ภายหลังรชั กาล
ของพระองค์เมอื พ.ศ. 143 พระเจา้ อเล็กซานเดอรม์ หาราช
แหง่ กรกี เขา้ โจมตีเมอื งเปอรซ์ โี ปลิส ทําใหอ้ ิทธพิ ลกรกี แผ่

เขา้ มาในอาณาจกั รเปอรเ์ ซยี

HISTORY LESSON | VS SCHOOL

15

1.4
้ดานเศรษฐ ิกจ

บรรดาชนเผา่ ทีเขา้ มาตังถินฐานในดนิ แดนเมโส 16 HISTORY LESSON | VS SCHOOL
โปเตเมยี ชาวสเุ มเรยี นนบั วา่ มคี วามเชยี วชาญ
ดา้ นเกษตรกรรม ไดแ้ ก่ การปลกู ขา้ วสาลี และ
เลียงสตั วเ์ พอื ใชแ้ รงงานและทําผลิตภัณฑ์จาก
สตั วเ์ พอื บรโิ ภค ไดแ้ ก่ เนอื นม เนย และใชข้ น
สตั วท์ ียอ้ มสแี ล้วทอเปนผา้ สาํ หรบั นงุ่ หม่ และทํา

เปนพรมใชใ้ นชวี ติ ประจาํ วนั

การทีชาวสเุ มเรยี นมคี วามรใู้ นการคํานวณและความรทู้ าง
ดาราศาสตรส์ ามารถทําปฏิทินแบบจนั ทรคติอาศัยคาบเวลา
ระหวา่ งดวงจนั ทรว์ นั เพญ็ โดยกําหนดใหเ้ ดอื นหนงึ เฉลีย
นาน 29กับ ½ วนั และแบง่ ปออกเปน 12 เดอื น ทําใหร้ เู้ วลา
ทีเหมาะสมในการเพาะปลกู และยงั ทําใหส้ ามารถกําหนดวนั ที
ควรจะออกเดนิ ทางไปติดต่อค้าขาย เชน่ การใชค้ วามรเู้ กียว
กับการเคลือนทีของดวงดาวเปนเครอื งนาํ ทางใหเ้ ดนิ ไปถึง
จุดหมาย นอกจากนคี วามรดู้ า้ นการบวก ลบ คณู และระบบ
การชงั ตวง วดั ทําใหช้ าวสเุ มเรยี นมคี วามสามารถในดา้ น

การค้า

17 HISTORY LESSON | VS SCHOOL

เมอื ประมาณ 1,750 ปก่อนพุทธศักราช อาณาจกั รบาบโิ ลนมคี วามมนั คงทางการ
เมอื งการปกครองและการค้า พอ่ ค้าเมโสโปเตเมยี เดนิ ทางค้าขายกับเมอื งต่างๆในดนิ
แดนเอเชยี ตะวนั ออกกลางไปจนถึงดนิ แดนทีไกลออกไป ไดแ้ ก่ อินเดยี และจนี โดยใช้

โลหะ เงิน และทองคํา ซอื -ขายสนิ ค้าจาํ พวกธญั พชื ผา้ และสนิ ค้ามคี ่าอืนๆ ทําให้
อาณาจกั รบาบโิ ลนกลายเปนศูนยก์ ลางการค้าทีสาํ คัญของโลกในยุคนนั

1.5 HISTORY LESSON | BOCKFORD SCHOOL
ด้านสงั คม

18 หลักฐานการจดั ระเบยี บสงั คมในดนิ แดนเมโส
โปเตเมยี ไดแ้ ก่ ประมวลกฎหมายฮัมมูราบที ี
สะท้อนใหเ้ หน็ วา่ โครงสรา้ งสงั คมในดนิ แดนนี
ประกอบดว้ ยชนชนั ผปู้ กครอง ไดแ้ ก่ กษัตรยิ ์
พระราชวงศ์และขุนนาง กล่มุ ขุนนางมหี นา้ ทีรบั
ผดิ ชอบทังดา้ นการปกครองและศาสนา สว่ น
คนทีถกู ปกครอง ไดแ้ ก่ ชา่ งฝมอื พอ่ ค้า ซงึ เปน
ชนชนั กลาง สว่ นกรรมกรและทาสถือวา่ เปน
ชนชนั ตําในสงั คม กฎหมายฮัมมูราบนี บั วา่ ทัน
สมยั ในยุคนนั คือ การรบั รองสทิ ธใิ นทรพั ยส์ นิ
ของคนในสงั คม และคนในสงั คมมคี วามรบั ผดิ

ชอบต่างกัน

1.6 ด้านศาสนา 19 HISTORY LESSON | BOCKFORD SCHOOL

ในดา้ นความเชอื คนในดนิ แดนเมโสโปเตเมยี มคี วามเชอื ถือ
โชคลาง เทพเจา้ ทีสถิตในธรรมชาติซงึ มอี ยูห่ ลายองค์ ยกเวน้
พวกฮิบรซู งึ เปนชนเผา่ ทีนบั ถือพระ เจา้ องค์เดยี ว มพี ระนามวา่
“พระยะโฮวาห”์

ความเชอื ในศาสนาทําใหเ้ กิดการสรา้ งศาสนสถาน เชน่
ชาวสเุ มเรยี นนาํ ดนิ เหนยี วมาสรา้ งศาสนสถานขนาดใหญท่ ี
เรยี กวา่ “ซกิ กแู รต” เพอื บูชาเทพเจา้ ทีมหี ลายองค์ เชน่ เทพเจา้
แหง่ ท้องฟา ดวงอาทิตย์ และดวงจนั ทร์ สว่ นเทพเจา้ สงู สดุ
ไดแ้ ก่ เทพทีควบคมุ ฤดกู าล สงิ ของทีนาํ มาบูชาเทพเจา้ ไดแ้ ก่
โลหะ เงิน ทอง และสงิ มคี ่าอืนๆ รวมทังการบูชายญั

201.7 ดา้ นภาษาและวรรณกรรม

การประดิษฐต์ ัวอักษรของชาวสเุ มเรยี นเมอื ประมาณ 2,500 ปก่อน วรรณกรรมของชาวสเุ มเรยี นสว่ นใหญ่เกียวขอ้ งกับวทิ ยาศาสตร์
พุทธศักราชนนั นกั โบราณคดเี ชอื วา่ ชาวสเุ มเรยี นเปนชนชาติแรกทีคิด และชวี ติ ในทางเศรษฐกิจ ชาวเมโสโปเตเมยี ยงั สรา้ งมหากาพยเ์ ทพ
ประดษิ ฐอ์ ักษรไดก้ ่อนชนชาติอืน ตัวอักษรดงั กล่าวเรยี กวา่ ตัวอักษรคนู ิ ตํานานและประวตั ิศาสตร์ เชน่ คือ มหากาพยก์ ิลกาเมช บรรจุเรอื ง
ฟอรม์ (Cuneiform) หรอื อักษรรปู ลิม มลี ักษณะเปนอักษรภาพเชน่ ราวเทพตํานานทีเปนหลักของตน โครงเรอื งทีเปนหลักของกาพยน์ ี
เดยี วกับอักษรภาพของชาวอิยปิ ต์ ซงึ ประกอบดว้ ยเครอื งหมายรปู ลิม คือ ชยั ชนะของกิลกาเมชแสดงสญั ลักษณ์ของมนุษยเ์ หนือ
จาํ นวนหลายรอ้ ยตัว เขยี นโดยการกดก้านอ้อแหลมๆลงบนแผน่ ดนิ ธรรมชาติ วรรณกรรมศาสนา บทสวด และธรรมจรยิ าก่อใหเ้ กิด
เหนยี วทียงั ไมแ่ หง้ แล้วนาํ ไปตากหรอื เผาจนแขง็ อักษรรปู ลิมนกี ลาย วรรณกรรมของ
เปนต้นแบบตัวอักษรของโลกตะวนั ตก คือ กรกี และโรมนั ในเวลาต่อมา บาบโิ ลเนียนในบรรดาสงิ ทีปราชญ์กล่าวไว้ เชน่ “อยา่ เรง่ รบี ในการ
จุดมุง่ หมายของการประดษิ ฐอ์ ักษรรปู ลิมนเี พอื อํานวยความสะดวกใน พูดในทีสาธารณะ” “หลีกเลียงความชวั รา้ ย และการเกลียดชงั ”
การค้า และใชใ้ นการเขยี นคําประพนั ธบ์ ทกวตี ่างๆ สง่ ผลใหค้ นในยุคนนั
รวบรวมเหตกุ ารณแ์ ละความรตู้ ่างๆจดเปนบนั ทึกไวใ้ หค้ นรนุ่ ต่อมาไดม้ ี
หลักฐานในการศึกษาประวตั ิศาสตรย์ ุคนี

1.8 HISTORY LESSON | VS SCHOOL
วทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยี
และศิลปกรรม

ในดินแดนเมโสโปเตเมยี ไดม้ กี ารพฒั นาเทคโนโลยตี ่างๆหลายอยา่ ง เชน่
ชาวสเุ มเรยี นได้ประดษิ ฐค์ ิดค้นล้อเกวยี น ซุม้ โค้ง (Arch) ซงี ชว่ ยทําให้
อาคารแขง็ แรงขนึ แปนหมุนทีใชใ้ นการทําเครอื งปนดนิ เผา ความรทู้ างการ
คํานวณ การแบง่ ชวั โมงออกเปน 60 นาที รูจ้ กั ทําสาํ รดิ โดยนําทองแดงมา
หลอมกับดีบุก ทําเครอื งมอื โลหะทีใชใ้ นการทําไรท่ ํานา

ชาวอัสสเี รยี นเปนชาติทีชาํ นาญในดา้ นการรบไดผ้ ลิตอาวุธทีทําดว้ ยโลหะ เชน่ ดาบ หอก ธนู โล่ และเกราะ รวมทังยุทธวธิ ใี น HISTORY LESSON | VS SCHOOL
การรบ เชน่ การใชต้ ้นซุงเขา้ กระท้งุ กําแพงเมอื งและรวบรวมตําราพชิ ยั สงคราม โดยเขยี นไวใ้ นแผน่ ดนิ เหนยี วเปนจาํ นวน
มาก ผนู้ าํ อัสซเี รยี นไดข้ ยายการปกครองจนมอี าณาเขตทีกวา้ งใหญ่ ในสมยั ของพระเจา้ อัสซูรบ์ านปิ าล (ASHUBANIPAL)
ไดส้ รา้ งหอ้ งสมุดทีใหญท่ ีสดุ ขณะนนั ขนึ ทีเมอื งนเิ นเวห์ (NINEVEH) ซงึ เปนเมอื งหลวงเปนทีสาํ หรบั เก็บแผน่ จารกึ ดนิ
เหนยี วไวถ้ ึง 22,000 แผน่ ศิลปกรรมทีสาํ คัญของชาวอัสซเี รยี น คือ ภาพสลักนนู ตํา ซงึ แสดงชวี ติ ประจาํ วนั และการทํา

สงครามของชาวอัสซเี รยี น

ชาวสเุ มเรยี นยงั สรา้ งพาหนะทีมลี ้อใช้ ชาวสเุ มเรยี นทีตังถินฐานในบรเิ วณนี ต้องเผชญิ กับนาํ ท่วมจากการไหลบา่ ของแมน่ าํ ไทกรสิ – ยูเฟรติส ดงั นนั
สตั วล์ าก การประดษิ ฐล์ ้อลากเพอื ท่นุ จงึ ต้องหาวธิ แี ก้ปญหาโดยการขุดคลองระบายนาํ หรอื ทําทํานบกันนาํ นบั เปนความพยายามในการแก้ปญหาโดย
แรง ซงึ นบั วา่ เปนพนื ฐานในการพฒั นา
พาหนะประเภทเกวยี นและรถยนต์ในโลก ควบคมุ ธรรมชาติ ความรเู้ กียวกับเกษตรกรรมของพวกสเุ มเรยี นเปนพนื ฐานแก่ชนเผา่ อืนๆ เชน่ พวกบาบโิ ล
เนยี นทีไดส้ รา้ งสวนลอยมตี ้นไมเ้ ขยี วขจตี ลอดป เรยี กกันวา่ สวนลอยแหง่ บาบโิ ลน (HANGING GARDEN OF
จนถึงปจจุบนั
BABYLON) สวนลอยแหง่ กรงุ บาบโิ ลนไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เปนหนงึ ในสงิ มหศั จรรยข์ องโลกยุคโบราณ
นอกจากนชี าวเมโสโปเตเมยี ยงั รจู้ กั การสรา้ งอุโมงค์นาํ ใต้ดนิ เพอื สง่ นาํ มาใชใ้ นเมอื งหลวงไดอ้ ีกดว้ ย ความเจรญิ
ของคนในดนิ แดนเมโสโปเตเมยี ยงั ไดแ้ พรห่ ลายไปสดู่ นิ แดนใกล้เคียงและมอี ิทธพิ ลต่ออารยธรรมอียปิ ต์ กรกี

และโรมนั ในเวลาต่อมา

22

23 HISTORY LESSON | VS SCHOOL

อารยธรรม
อียปิ ต์

EGYPTIAN CIVILIZATION

ทีตังทางภมู ศิ าสตร์ HISTORY LESSON | VS SCHOOL

อารยธรรมล่มุ แมน่ ําไนล์หรอื อารยธรรมอียปิ ต์โบราณก่อกําเนิดบรเิ วณ
ดินแดนสองฝง แมน่ ําไนล์ ตังแต่ปากแมน่ าํ ไนล์จนไปถึงตอนเหนือของ
ประเทศซูดานในปจจุบนั จากสภาพภมู อิ ากาศดงั กล่าวจะเหน็ วา่ บรเิ วณ
ล่มุ แมน่ ําไนล์เปรยี บเสมอื นโอเอซสิ ท่ามกลางทะเลทราย จงึ เปนปราการ
ธรรมชาติปองกันการรกุ รานจากภายนอกได้

ทิศเหนอื ติดกับ ทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี นและคาบสมุทรไซนาย
ทิศตะวนั ตก ติดกับ ทะเลทรายลิเบยี และทะเลทรายซาฮารา
ทิศตะวนั ออกและทิศใต้ ติดกับทะเลทรายนเู บยี และทะเลแดง

24

25 HISTORY LESSON | VS SCHOOL

สภาพภมู ปิ ระเทศของล่มุ แมน่ าํ ไนล์
ก่อนทีจะรวมเปนปกแผน่

แบง่ ออกเปนบรเิ วณล่มุ นําออกเปน 2 สว่ น ไดแ้ ก่
- สว่ นทีเปนบรเิ วณอียปิ ต์ล่าง (Lower Egypt) อยูบ่ รเิ วณทีราบล่มุ
ปากแมน่ ําไนล์ ซงึ เปนบรเิ วณทีแมน่ ําไนล์แยกเปนแมน่ ําสาขาทีมี
ลักษณะเปนรูปพดั แล้วไหลลงทะเลเมดิเตอรเ์ รเนียน ชาวกรกี
โบราณเรยี ก บรเิ วณนีวา่ เดลตา
- บรเิ วณอียปิ ต์บน (Upper Egypt) ได้แก่ บรเิ วณทีแมน่ ําไนล์ไหล
ผา่ น หบุ เขา เปนทีราบแคบๆ ขนาบด้วยหน้าผาทีลาดกวา้ งใหญ่ ถัด
จากหน้าผา คือ ทะเลทราย ต่อมาเมเนส (Menes) ประมุขแหง่ อียปิ ต์
ล่างจงึ ได้รวมดินแดนทังสองเขา้ ด้วยกัน

ป จ จั ย 1 ทีตัง 2 ทรพั ยากรธรรมชาติ HISTORY LESSON | VS SCHOOL
ที ส่ ง ผ ล ต่ อ
ก า ร เ กิ ด หมิ ะละลายในเขตทีราบสงู เอธโิ อเปย ทําให้ แมจ้ ะแหง้ แล้งแต่สองฝงแมน่ ําไนล์ก็
อารยธรรม บรเิ วณแมน่ ําไนล์มดี ินตะกอนมาทับถมจงึ ประกอบด้วยหนิ แกรนิตและหนิ ทรายช้
ลุ่ ม นาํ ไ น ล์ เปนพนื ทีมคี วามอุดมสมบูรณ์แล ได้เปรยี บ ก่อสรา้ งและพฒั นาความเจรญิ รุง่ เรอื ง
ทางธรรมชาติ เนืองจากประเทศอียปิ ต์เปน ด้านสถาปตยกรรมวสั ดเุ หล่านีมคี วาม
ดินแดนทีล้อมรอบด้วยทะเลทรายทําใหม้ ี แขง็ แรงคงทนแขง็ แรงชว่ ยรกั ษามรดก
ปราการธรรมชาติในการปองกันศัตรูภาย ทางด้านอารยธรรมของอียปิ ต์ใหป้ รากฏ
นอกะ แก่ชาวโลก

3 ระบบการปกครอง 4 ภมู ปิ ญญาของชาวอียปิ ต์

ชาวอียปิ ต์ยอมรบั อํานาจและเคารพนับถือ ชาวอียปิ ต์คิดค้นเทคโนโลยแี ละ
กษัตรยิ ฟ์ าโรหด์ จุ เทพเจา้ องค์หนึงมอี ํานาจ วทิ ยาการความเจรญิ ด้านต่างๆเพอื
ในการปกครองและบรหิ ารอยา่ งเต็มทีทัง ตอบสนองการดําเนินชวี ติ ความเชอื
ด้านการเมอื งและศาสนา โดยมขี ุนนางเปน ทางศาสนาและการสรา้ งความเจรญิ
ผชู้ ว่ ยในการปกครอง และพระเปนผชู้ ว่ ย รุง่ เรอื งใหแ้ ก่อียปิ ต์
ด้านศาสนา ซงึ การทีพาโรหม์ อี ํานาจเด็ด
ขาดทําใหอ้ ียปิ ต์สามารถพฒั นาอารยธรรม
ของตนได้อยา่ งเต็มที

1 สมยั อาณาจกั รเก่า HISTORY LESSON | VS SCHOOL

สมยั อาณาจกั รอียปิ ต์ มคี วามเจรญิ ในชว่ งประมาณป 2,700 – 2,200 ก่อนค.ศ. เปนสมยั ทีอียปิ ต์มี
ความเจรญิ ก้าวหนา้ ในดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละศิลปกรรม มกี ารก่อสรา้ งพรี ะมดิ

27 2 สมยั อาณาจกั รกลาง

ฟาโรหม์ อี ํานาจปกครองอยูใ่ นชว่ งราวป 2050 – 1652 ก่อน ค.ศ.ในสมยั นี
อียปิ ต์มคี วามเจรญิ ก้าวหนา้ ทางดา้ นทางวทิ ยาการและภมู ปิ ญญามากโดยเฉพาะ
ดา้ นการชลประทาน ไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เปนยุคทองของอียปิ ต์ ในชว่ งปลายสมยั
เกิดความวุน่ วายภายในประเทศ จนต่างชาติเขา้ มารกุ รานและปกครองอียปิ ต์

3 สมยั อาณาจกั รใหม่

ชาวอียปิ ต์ขบั ไล่ชาวต่างชาติได้ และกลับมาปกครองดนิ แดนของตนอีกครงั หนงึ
ในชว่ งประมาณป 1567 – 1085ก่อน ค.ศ.สมยั นฟี าโรหม์ อี ํานาจเดด็ ขาดในการ
ปกครองและขยายอาณาเขตเหนอื ดนิ แดนใกล้เคียงจนเปนจกั รวรรดิ

4 สมยั เสอื มอํานาจ

จกั รวรรดอิ ียปิ ต์เรมิ เสอื มอํานาจตังแต่ประมาณป 1,100ก่อนค.ศ.ในสมยั นชี าว
ต่างชาติ พวกอัสซเี รยี นและพวกเปอรเ์ ซยี จากเอเชยี รวมทังชนชาติในแอฟรกิ าได้
เขา้ มายดึ ครอง จนกระทังเสอื มสลายในทีสดุ

1 สมยั อาณาจกั รเก่า HISTORY LESSON | VS SCHOOL

ด้านการเมอื ง ฟาโรหม์ อี ํานาจสงู สดุ มผี ชู้ ว่ ยในการปกครองคือ 3 สมยั อาณาจกั รใหมฟ่ าโรห์อเมนโฮเตปที 4
การปกครอง ขุนนาง หวั หนา้ ขุนนางเรยี กวา่ “ วเิ ซยี ร์ ” แต่ละ
ชุมชนถกู เกณฑ์มาทํางานใหท้ างการคือการสรา้ ง เปลียนแปลงความเชอื ในเรอื งการนับถือเทพเจา้
28 พรี ะมดิ อํานาจปกครองเหนอื มณฑลต่าง ๆเรยี กวา่ หลายองค์มาเปนการนับถือเทพเจา้ องค์เดียว
โนเมสต่อมามกี ารรวมกันเปนอาณาจกั รใหญ่ 2 ทําใหเ้ กิดความไมพ่ อใจในหมูข่ ุนนางและประชาชน
แหง่ คืออียปิ ต์บนและอียปิ ต์ล่างต่อมาทัง รชั กาลนีจงึ ตกตํา แต่เมอื ฟาโรหต์ ตุ ันคาเมนขนึ
2อาณาจกั รไดถ้ กู รวมเขา้ ดว้ ยกันเกิดราชวงศ์ ครองราชยจ์ งึ เปลียนกลับไปนับถือเทพเจา้ หลาย
อียปิ ต์โดยประมุขแหง่ อียปิ ต์ การสรา้ งพรี ะมดิ องค์เชน่ เดิม แต่เมอื ฟาโรหต์ ตุ ันคาเมนขนึ ครอง
ขนาดใหญ่ เปนการบนั ทอนเศรษฐกิจและแรงงาน ราชยจ์ งึ เปลียนกลับไปนับถือเทพเจา้ หลายองค์
ของอียปิ ต์ เชน่ เดิม

2 สมยั อาณาจกั รกลาง

ฟาโรหเ์ ปลียนภาพลักษณ์ ปนผปู้ กปองประชาชน ลด
การสรา้ งพรี ะมดิ แต่ประชาชนต้องตอบแทนด้วยการ
ทํางานสาธารณะต่าง ๆ เชน่ การระบายนําในบรเิ วณ
สามเหลียมปากแมน่ ํา

ด้านเศรษฐกิจ 25 HISTORY LESSON | VS SCHOOL

อาชพี หลักของชาวอียปิ ต์ คือ เกษตรกรรม เพราะวา่ ดนิ อุดมสมบูรณ์ ทําให้
ผลิตอาหารเกินความต้องการ การผลิตทางการเกษตรทีเปนหลักของ
อียปิ ต์คือ ขา้ วสาลี บารเ์ ลย์ ขา้ วฟาง ถัวฝกยาว ถัว ผกั และผลไม้ และต่อมา
ชวี ติ ทีมงั คังและฟุมเฟอยของบางคนนาํ ไปสกู่ ารพฒั นางานหตั ถกรรมและ
อุตสาหกรรม บางสว่ นทอผา้ บางสว่ นผลิตเครอื งตกแต่ง หมอ้ ลินนิ

และอัญมณี เหล็กและทองแดงมกี ารถลงุ นาํ มาใชใ้ นการทําเครอื งมอื แก้ว
และเครอื งปนดนิ เผา มกี ารผลิตทังแบบเรยี บ ๆ และวาด ทังยงั มวี ศิ วกร
จติ รกร ประติมากร และสถาปนกิ อีกดว้ ย

29

ด้านสงั คม HISTORY LESSON | VS SCHOOL
เปนสงั คมแบบลําดบั ชนั ผปู้ กครองสงู สดุ คือ ฟาโรห์ และชนชนั
ปกครองอืน ๆ คือ ขุนนางและนกั บวช ชนชนั รองลงมาคือ พอ่ ค้าและ
ชา่ งฝมอื ชนชนั ล่าง คือ ชาวนา และทาส ซงึ เปนคนสว่ นใหญ่ ทีดนิ
ทังหมดเปนของฟาโรห์ สาํ หรบั ขุนนางและนกั บวชก็ไดค้ รอบครองทีดนิ
จาํ นวนมาก ชาวนาอาศัยอยูใ่ นหมูบ่ า้ นหรอื เมอื งเล็กๆ และเสยี ภาษีเปน
ผลผลิตใหฟ้ าโรห์ ขุนนาง และพระ รวมทังต้องถกู เกณฑ์แรงงานไป
ทํางานใหร้ ฐั และเปนทหารสตรมี บี ทบาทสงู ไมน่ อ้ ยกวา่ ผชู้ าย คือ ให้
สถานภาพแก่สตรสี งู ยอมใหส้ ตรขี นึ ครองราชบลั ลังก์ได้ มสี ทิ ธใิ นการ
มที รพั ยส์ นิ และมรดก ราชนิ ที ีมชี อื เสยี งของอียปิ ต์ คือ แฮตเชพซุตซงึ
ปกครองในศตวรรษที 15 ก่อนครสิ ต์ศักราช และทําความงดงามใหก้ ับ
เมอื งคารน์ กั
ชาวอียปิ ต์ไมย่ อมใหช้ ายแต่งงานกับสตรเี ปนภรรยามากกวา่ 1 คน
แมว้ า่ การมเี มยี นอ้ ยเปนเรอื ง ปกติและยอมรบั ทัวไป ลักษณะทีแปลก

30ของระเบยี บสงั คมนี คือชอบใหพ้ ชี าย-นอ้ งสาวแต่งงานกัน หรอื
แต่งงานภายในตระกลู ฟาโรหแ์ ต่งงานกับตระกลู ของตน เพอื รกั ษา
ความบรสิ ทุ ธขิ องสายเลือด ประเพณนี ไี ดม้ ผี อู้ ืนนาํ ไปใชต้ ่อมา

ด้านศาสนา 31 HISTORY LESSON | VS SCHOOL

ชาวอียปิ ต์นบั ถือเทพเจา้ หลายองค์ทีเกียวขอ้ งกับอํานาจธรรมชาติโดยเทพเจา้ ทีไดร้ บั การ
เคารพสงู สดุ คือ เร หรอื รา (Re or Ra) เทพเจา้ แหง่ ดวงอาทิตย์ และเปนหวั หนา้ แหง่
เทพเจา้ ทังปวง ซงึ ปรากฏในหลายชอื และหลายรปู ลักษณ์ เชน่ ผมู้ รี า่ งกายเปนมนษุ ย์ มหี วั
เปนเหยยี ว และในรปู ของมนษุ ยค์ ือ ฟาโรห์ ผไู้ ดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เปนบุตรของเร และมี
เทพเจา้ สาํ คัญองค์อืน ๆ อีก เชน่ เทพเจา้ แหง่ แมน่ าํ ไนล์หรอื โอซริ สิ และยงั เปนผพู้ ทิ ักษ์
ดวงวญิ ญาณหลังความตาย เทพเจา้ แหง่ พนื ดนิ หรอื ไอซสิ เปนผสู้ รา้ งและชุบชวี ติ คนตาย
เปนต้น การยกยอ่ งกษัตรยิ ใ์ หเ้ ทียบเท่าเทพเจา้ ทําใหส้ ถาบนั กษัตรยิ ม์ คี วามศักดสิ ทิ ธิ
ประดจุ เปนเทพเจา้ ความเชอื นมี ผี ลต่อการสรา้ งอารยธรรมดงั เชน่ การสรา้ งพรี ะมดิ

32 HISTORY LESSON | VS SCHOOL

ด้านภาษาและวรรณกรรม

ชาวอียปิ ต์ได้พฒั นาระบบการเขยี นทีเรยี กวา่ เฮียโรกรฟิ ค
(Hieroglyphic) เปนคําภาษากรกี มี ความหมายวา่ การ
จารกึ อันศักดิสทิ ธิ เรมิ ต้นดว้ ยการเขยี นอักษรภาพแสดง
สญั ลักษณ์ต่างๆ แล้วค่อย ๆ พฒั นาขนึ มาเปนรูปแบบ
พยญั ชนะ ในระยะแรก ชาวอียปิ ต์จารกึ เรอื งราวดว้ ยการ
แกะสลักอักษรไวต้ ามกําแพงและผนงั ของสงิ ก่อสรา้ ง เชน่
วหิ ารและพรี ะมดิ ต่อมาจงึ ค้นพบวธิ กี ารทํากระดาษจากต้น
ปาปรสุ ทําใหม้ กี ารบนั ทึกแพรห่ ลายมากขนึ

331 ด้านดาราศาสตร์ HISTORY LESSON | VS SCHOOL
เกิดจากการสงั เกตปรากฏการณจ์ ากการเกิดนาํ ท่วม
ของแมน่ าํ ไนล์ ซงึ ไดน้ าํ ความรนู้ มี าคํานวณเปนปฏิทิน

แบบสรุ ยิ คติทีแบง่ วนั ออกเปน 365 วนั ใน 1 ป ซงึ มี 12

ด้านศิลปวทิ ยาการ เดอื น และในรอบ 1 ป ยงั แบง่ ออกเปน 3 ฤดกู าล ที
กําหนดตามวถิ ีการประกอบอาชพี คือ ฤดนู าํ ท่วม ฤดไู ถ
หวา่ น และฤดเู ก็บเกียว

2 ด้านคณติ ศาสตร์

ความรดู้ งั กล่าวเปนฐานของวชิ าฟสกิ สท์ ีใชค้ ํานวณใน
การก่อสรา้ งพรี ะมดิ

3 ด้านการแพทย์

มคี วามรทู้ างการแพทยส์ าขาทันตกรรมซงึ มหี ลักฐาน
การบนั ทึก และต่อมาถกู นาํ ไปใชแ้ พรห่ ลายในทวปี ยุโรป
ตลอดจนวธิ เี สรมิ ความงามต่าง ๆ

4 ด้านสถาปตยกรรม 34 HISTORY LESSON | VS SCHOOL

เอกลักษณค์ ือพรี ะมดิ ทีบรรจุศพของฟาโรห์ ซงึ สรา้ งขนึ ดว้ ยจุดประสงค์ทางศาสนาและอํานาจ
ทางการปกครองนอกจากพรี ะมดิ ยงั มกี ารสรา้ งวหิ ารจาํ นวนมาก เพอื บูชาเทพเจา้ ในแต่ละองค์
และเปนสสุ านของกษัตรยิ ์

5 ด้านประติมากรรม

สรา้ งประติมากรรมไวจ้ าํ นวนมากทังทีเปนรปู ปนและภาพสลักทีปรากฏในพรี ะมดิ และวหิ าร ภาพ
สลักสว่ นใหญจ่ ะประดบั อยูใ่ นพรี ะมดิ และวหิ าร ในพรี ะมดิ มกั พบรปู ปนของฟาโรหแ์ ละพระมเหสี
รวมทังเรอื งราววถิ ีชวี ติ ของอียปิ ต์ สว่ นภายในวหิ ารมกั จะเปนรปู ปนสญั ลักษณข์ องเทพและสตั ว์
ศักดสิ ทิ ธิ

6 ด้านจติ รกรรม

ผลงานดา้ นจติ รกรรมมเี ปนจาํ นวนมาก มกั พบในพรี ะมดิ และสสุ านต่างๆ ภาพวาดของชาวอียปิ ต์
สว่ นใหญม่ สี สี นั สดใส มที ังภาพสญั ลักษณข์ องเทพเจา้ ทีชาวอียปิ ต์นบั ถือ พระราชกรณยี กิจของ
ฟาโรหแ์ ละสมาชกิ ในราชวงศ์ ภาพบุคคลทัวไปและภาพทีสะท้อนวถิ ีชวี ติ ของชาวอียปิ ต์

35 HISTORY LESSON | VS SCHOOL

อารยธรรมกรกี

GREEK CIVILIZATION

สภาพภมู ศิ าสตรข์ องกรกี 2.ภาคกลาง 36 HISTORY LESSON | VS SCHOOL

ดนิ แดนของกรกี บนพนื แผน่ ดนิ ในทวปี ไดแ้ ก่ บรเิ วณทีเปนเนนิ เขาสงู เปนทีตังของนครทีบส์
ยุโรปแบง่ ไดเ้ ปน 3 สว่ น คือ (THEBES) นครเดลฟ (DELPHI) ชอ่ งเขาเทอรม์ อปเล

(THERMOPYLAE) และยอดเขาพารแ์ นสซสั
(PARNASSUS) ซงึ เปนทีสถิตของอะพอลโล (APOLLO)
หรอื สรุ ยิ เทพ ตรงปลายสดุ ของดา้ นตะวนั ออก คือ แควน้ อัตติ
กา (ATTICA) ซงึ มเี มอื งหลวง คือ นครเอเธนส์ (ATHENS)

แหล่งกําเนดิ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย

1.ภาคเหนือ 3.บรเิ วณคาบสมุทรเพโลพอนนี
ซสั
ไดแ้ ก่ แควน้ มาซโิ ดเนยี (Macedonia)
เทสซาลี (Thessaly) และอิไพรสั อยูต่ อนใต้อ่าวคอรนิ ท์ เปนทีตังของ
(Epirus นครรฐั สปารต์ า (Sparta) ทีมชี อื เสยี ง
ดา้ นการรบ และโอลิมเปย (Olympia)
ซงึ เปนทีสงิ สถิตของบรรดาเทพเจา้ กรกี

ปจจยั ทางภมู ศิ าสตรท์ ีสง่ ผลต่อ 37 HISTORY LESSON | VS SCHOOL
อารยธรรมกรกี

ภมู ปิ ระเทศของกรกี ประกอบดว้ ย ภเู ขา พนื ดนิ และทะเล โดยกรกี มพี นื ทีราบนอ้ ย พนื ทีสว่ นใหญเ่ ปนภเู ขา และหมู่
เกาะในทะเลอีเจยี น ประชาชนอาศัยอยูต่ ามหมูบ่ า้ นในบรเิ วณทีราบเล็กๆ ในหบุ เขาทีล้อมรอบดว้ ยภเู ขาสงู ซงึ เปน
อุปสรรคสาํ คัญในการติดต่อสอื สาร ซงึ สภาพภมู ศิ าสตรเ์ ชน่ นที ําใหแ้ ยกชุมชนต่างๆออกจากกัน สง่ ผลใหแ้ ต่ละ
เมอื งแตกแยกเปนนครรฐั ต่าง ๆ มากมายซงึ เปนอิสระไมข่ นึ แก่กัน นครรฐั ทีสาํ คัญไดแ้ ก่ นครรฐั เอเธนส์ และนคร
รฐั สปารต์ า พนื ดนิ สว่ นใหญข่ องกรกี ขาดความอุดมสมบูรณแ์ ละมพี นื ดนิ ขนาดเล็ก ประกอบกับมแี มน่ าํ สายสนั ๆ
นาํ ไหลเชยี วและพดั พาเอาความอุดมสมบูรณข์ องดนิ ไป และจากลักษณะภมู ปิ ระเทศทีมลี ักษณะคล้ายแหลมยนื ไป
ในทะเล ทําใหก้ รกี มชี ายฝงทะเลทียาว ซงึ ความเวา้ แหวง่ ของทะเลเปนทีกําบงั คลืนลมไดเ้ ปนอยา่ งดี ใชเ้ ปนอ่าว
สาํ หรบั จอดเรอื ทําใหช้ าวกรกี เปนคนชอบค้าขายทางทะเล นอกจากนดี นิ แดนกรกี ยงั เปนดนิ แดนทีมี
ทรพั ยากรธรรมชาติมากมาย เชน่ เหล็ก ทอง เงิน หนิ อ่อน เปนต้น

อารยธรรม 381. อารยธรรมไมนวน (Minoan Civilization) HISTORY LESSON |VS SCHOOL
เรมิ ต้นของ เปนอารยธรรมทีเกิดขนึ ทีเกาะครตี โดยมชี าว
อารยธรรม ครตี หรอื ชาวครตี ันเปนชนพนื เมอื งของเกาะ
กรกี นี กษัตรยิ ท์ ีมอี ํานาจมากทีสดุ คือ พระเจา้ มิ
นอส พระราชวงั ทีสาํ คัญ คือ พระราชวงั คน
อสซุส

ความเสอื มของอารยธรรมไมโนน

1) เกิดจากการปะทขุ องภเู ขาไฟทีทําลายเมอื ง

2) การรกุ รานของพวกไมซนิ จี ากแผน่ ดนิ ใหญ่

2. อารยธรรมไมซนิ ี 39 HISTORY LESSON | VS SCHOOL
(Mycenae Civilization)
มรดกของอารยธรรมไมซเี น คือ
เปนอารยธรรมของพวกไมซเี นียน มี การนบั ถือเทพเจา้ หลายองค์รวม
ศูนยก์ ลางอยูท่ ีเมอื งไมซเี นบนคาบสมทร ทังเทพเจา้ ซุส (Zeus) เฮรา
เพโลพอนนีซสั โดย บรรพบุรุษของชาวไม (Hera) และโพไซดอน เปนต้น
ซเี นียน คือ พวกเอเคียน มคี วามสามารถ
ในการรบและการค้า ซงึ พวกนีโจมตีเกาะ ความเสอื มของอารยธรรมไมซเี น
ครตี ทําลายพระราชคนอสซุส และได้สรา้ ง คือถกู พวกดอเรยี นซงึ เปนชาว
เมอื งไมซเี นขนึ ซงึ มปี อมปราการทีแขง็ กรกี เผา่ หนงึ เขา้ มารกุ รานจน
แรง ทําใหพ้ วกเอเคียนมชี อื ใหมว่ า่ ไมซี ทําใหค้ วามเจรญิ หยุดลงชวั ขณะ
เนียนตามชอื เมอื ง ต่อมาพวกเอเคียนได้
ไปทําสงครามกับเมอื งทรอยในสงครามโท
จนั เนืองจากเมอื งทรอยตังอยูท่ างทิศ
ตะวนั ออกเฉียงเหนือของเอเชยี ไมเนอร์
ซงึ เปนค่แู ขง่ ทางการค้ากับเมอื งไมซเี นจน
สาํ เรจ็

40 HISTORY LESSON | VS SCHOOL

กรกี ยุคมดื
เนอื งจากการขาดหลักฐานการเขยี นทําใหค้ วามรขู้ องเราเกียวกับเรอื งนี
ถกู จาํ กัด โดยสงครามเปนเหตใุ หเ้ ศรษฐกิจกรกี พนิ าศ ซงึ สรา้ งความ
ยากจนและสบั สน ทางการเมอื งซงึ ยาวนาน กษัตรยิ ไ์ มซเี นยี นถกู
แทนทีดว้ ยหวั หนา้ เล็ก ๆ ผมู้ อี ํานาจและทรพั ยส์ นิ จาํ กัด ศิลปนหยุดการ
วาดคนและสตั วบ์ นหมอ้ ไห กรกี เพาะปลกู ในพนื ดนิ นอ้ ยนดิ มคี นมาตัง
ถินฐานนอ้ ย และการค้าสากลนอ้ ยกวา่ ทีเคยมมี าก่อน ซงึ เรอื งราวต่าง
ๆ ของกรกี ยุคมดื ปรากฏอยูใ่ นวรรณกรรมมุขปาฐะ เรอื งมหากาพยอ์ ิ
เลียด และโอดสิ ซี ของมหากวโี ฮเมอร์ (HOMER) ซงึ มหากาพยอ์ ิเลียด
เปนเรอื งเกียวกับการทําสงครามกับทรอย สว่ นมหากาพยโ์ อดสิ ซเี ปน
เรอื งเกียวกับชยั ชนะจากการทําสงครามกับทรอย

อารยธรรมของ 1.1. นครรฐั สปารต์ า HISTORY LESSON | VS SCHOOL
กรกี
ชาวสปารต์ าเปนชาตินักรบ เนืองจาก 1.2 นครรฐั เอเธนส์
อารยธรรมกรกี ประกอบดว้ ย อารยธรรมเฮ ต้องต่อสเู้ พอื ใหไ้ ด้ครอบครองลาโค เนืองจากชาวเอเธนสอ์ พยพแบบค่อย
เลนกิ และอารยธรรมเฮเลนสิ ติค เนียและเมอซเี นีย และเพอื ปองกันการ เปนค่อยไปเขา้ มาในคาบสมุทรกรกี
กบฏของลาโคเนียและเมอซเี นีย ชาว และสภาพภมู ปิ ระเทศของชาวเอเธนส์
1. อารยธรรมเฮเลนกิ (Hellenic สปารต์ าจงึ ต้องสรา้ งกองทัพใหเ้ ขม้ มงั คังด้วยแรธ่ าตแุ ละท่าเรอื ทีดี จงึ
Civilization) หรอื ยุคคลาสสกิ (Classical แขง็ จรทําใหช้ าวสปารต์ ากลายเปน ทําใหม้ พี ฒั นาการทางด้านการค้าและ
Age) ชาตินักรบ มกี ารปกครองแบบ มคี วามเจรญิ ทางด้านวฒั นธรรม จงึ
ในสมยั นมี กี ารสรา้ งอาณานคิ มเกิดขนึ มกี าร คณาธปิ ไตย และเนืองจากสภาพ ทําใหน้ ครรฐั แหง่ นีปกครองด้วย
ปฏิรปู ทางเศรษฐกิจและผนู้ าํ ชุมชนเรมิ ตัง ภมู ปิ ระเทศของชาว สปารต์ าไมม่ ี ระบอบประชาธปิ ไตย ทําใหช้ าวเอเธนส์
สภาและกล่มุ ต่าง ๆ เพอื จดั กิจกรรม ท่าเรอื ทีดี และตังอยูอ่ ยา่ งโดดเดียว เปนนักประชาธปิ ไตย และรกั ความ
สาธารณะทีอกอรา ซงึ เปนทีพบปะสงั สรรค์ ขนาบด้วยภเู ขาจงึ ทําใหช้ าวสปารต์ า ก้าวหน้า
กันของผคู้ นในนครรฐั ซงึ ยุคคลาสสคิ นไี ด้ ขาดการติดต่อจากโลกภายนอก และ
เกิดนครรฐั ขนาดใหญ่ 2 นครรฐั ไดแ้ ก่ นคร ยงั เปนผลใหส้ ปารต์ าเปนรฐั ทีมคี วาม
รฐั สปารต์ า และนครรฐั เอเธนส์ สามารถในการรบอีกด้วย

41

ในยุคคลลาสสคิ นีเกิดสงครามครงั ยงิ 2) สงครามเพโลพอนเนเชยี น HISTORY LESSON | VS SCHOOL
ใหญ่ 2 ครงั ได้แก่ สงครามเปอรเ์ ซยี และ
สงครามเพโลพอนเนเชยี น ชาวกรกี เกิดความคิดในการเตรยี มการปองกันชาวเปอรเ์ ซยี นครรฐั
ต่างๆ ของกรกี จงึ ต่างเขา้ มาเปนสมาชกิ และสมาชกิ แต่ละนครรฐั มสี ทิ ธิ
1) สงครามเปอรเ์ ซยี เท่าเทียม ทําใหน้ ครรฐั กรกี รว่ มกันตังสหพนั ธแ์ หง่ เกาะเดลอส
สหพนั ธรฐั ใชเ้ ปนศูนยก์ ลางและเปนทีเก็บทรพั ยส์ มบตั ิ แต่ในความเปน
สาเหตเุ กิดจากความขดั แยง้ ระหวา่ ง จรงิ แล้วนครรฐั เอเธนสม์ อี ิทธพิ ลในการเปนผนู้ ํา ต่อมาสหพนั ธรฐั
เอเธนสก์ ับเปอรเ์ ซยี เพราะเปอรเ์ ซยี ขยาย เปลียนสภาพเปนจกั รวรรดิของเอเธนส์ เอเธนสใ์ ชเ้ งินเพอื ผลประโยชน์
อํานาจเขา้ มาในเอเชยี ไมเนอร์ ผลของ ของตนเอง ลดฐานะสมาชกิ อืน ๆ ใหอ้ ยูใ่ นฐานะบรวิ าร และหา้ มไมใ่ หร้ ฐั
สงคราม คือ เอเธนสช์ นะเปอรเ์ ซยี สมาชกิ แยกตัวออกจากสหพนั ธ์ เมอื รฐั ใดก่อกบฏก็จะใชก้ ําลังปราบโดย
ยดึ กองทหารเรอื และเก็บเครอื งราชบรรณาการ วธิ นี ีทําใหน้ ครรฐั สปาร์
42 ตากลัววา่ เอเธนสจ์ ะเปนผนู้ ํากรกี ทังหมด และเนืองจากสภาพสงั คมของ
ทัง 2 รฐั แตกต่างกัน จงึ ทําใหเ้ กิดสงครามขนึ ผลของสงคราม คือ นคร
รฐั สปารต์ าชนะ ทําใหน้ ครรฐั สปารต์ าได้เอเธนสไ์ วใ้ นอํานาจ และนําระบอบ
การปกครองแบบคณาธปิ ไตยมาใช้ แต่การปกครองของสปารต์ าไม่
มนั คงจงึ ทําใหน้ ครรฐั สปารต์ าพา่ ยแพต้ ่อกองทัพของนครธบี สี และ
เอเธนส์ ในทีสดุ กรกี ทังหมดก็ตกอยูภ่ ายใต้อิทธพิ ลของมาซโิ ดเนีย

2. อารยธรรมเฮเลนสิ ติก 43 HISTORY LESSON | VS SCHOOL

เปนชว่ งทีนครรฐั ต่างๆ ของกรกี เสอื ม
ลง เนอื งมาจากสงครามเพโลพอนเน
เชยี น และแควน้ มาซโิ ดเนยี เจรญิ ขนึ
โดยแควน้ มาซโิ ดเนยี มกี ษัตรยิ อ์ งค์
สาํ คัญ ไดแ้ ก่ พระเจา้ ฟลิปที 2 ได้
นครรฐั กรกี ไวใ้ นอํานาจ และกษัตรยิ ์
องค์ต่อมา คือ พระเจา้ อเล็กซานเดอร์
มหาราช ไดท้ ําการปลดปล่อยหวั เมอื ง
กรกี ต่างๆ บนเอเชยี ไมเนอรใ์ หพ้ น้ จาก
การปกครองเปอรเ์ ซยี

มรดกทาง HISTORY LESSON | VS SCHOOL
อารยธรรม
กรกี 1. สถาปตยกรรม ใชร้ ะบบโครงสรา้ งแบบเสา 2. ประติมากรรม สว่ นใหญ่เปนรูปปนเทพเจา้
และคาน แผนผงั อาคารเปนรูปสเี หลียมผนื ผา้ ทีมลี ายเสน้ กล้ามเนือและเสน้ เอ็นคล้ายมนุษยท์ ี
44 มกี ารสรา้ งเสารายรอบอาคาร ซงึ จะมคี วามแตก มชี วี ติ ดเู ปนธรรมชาติ
ต่างตรงหวั เสา สามารถแบง่ ออกเปน 3 แบบ
คือ แบบดอรกิ (Doric) แบบไอโอนิก (Ionic)
และแบบคอรนิ เธยี น (Corinthian) และสว่ น
ใหญ่ยงั นิยมก่อสรา้ งอาคารเพอื กิจกรรม
สาธารณะ เชน่ วหิ าร สนามกีฬา และโรงละคร
วหิ ารทีมชี อื เสยี ง สรา้ งบนภเู ขาทีมชี อื เรยี กวา่
อะครอโพลิส (Acropolis) คือ วหิ ารพารเ์ ธนอน
สรา้ งเพอื ถวายแด่เทพอี ะธนี า (Athena)

3. จติ รกรรม สว่ นใหญเ่ ปนลวดลายที 5. วรรณกรรม วรรณกรรมทีโดดเดน่ ไดแ้ ก่ มหา HISTORY LESSON | VS SCHOOL
ปรากฏบนเครอื งปนดนิ เผา เชน่ แจกัน คนโท กาพยข์ องโฮเมอรเ์ รอื ง อีเลียด และ โอดสิ ซี ทีสะท้อน
ไห ฯลฯ และฝาผนงั ทีพบในวหิ ารหรอื กําแพง ถึงความรสู้ กึ ทีกวมี ตี ่อโศกนาฏกรรมในสงครามทรอ
ย (Troy) นอกจากนยี งั ใหข้ อ้ มูลทางประวตั ิศาสตร์
4. นาฏกรรม ละครประเภทโศกนาฏกรรม เกียวกับสถานทีทีสาํ คัญ ประเพณี วถิ ีชวี ติ และความ
(Tragedy) และสขุ นาฏกรรม (Comedy) คิดของชาวกรกี ดว้ ย
การแสดงจะใชน้ กั แสดงชายทังหมด โดยทกุ
คนจะสวมหนา้ กาก และมผี พู้ ากยแ์ ละหมูน่ กั
รอ้ ง (Chorus) สง่ เสยี งประกอบ

45

6. ปรชั ญา 6.2. เพลโต (Plato) เปนศิษยเ์ อกของโซเครติส เปนผรู้ วบรวมหลักคํา HISTORY LESSON | VS SCHOOL
สอนของโซเครติส เรยี กวา่ Dialogue และเปนผถู้ ่ายทอดหลักการและ
46 6.1. โซเครติส (Socrates) เกิดทีเธนส์ เขา ความคิดของโซเครติสใหช้ าวโลกไดร้ บั รู้ เพลโตไดเ้ ปดโรงเรยี นชอื “อะคาเด
สอนใหค้ นใชเ้ หตผุ ลและสติปญญาในการ ม”ี (Academy) และไดเ้ ขยี นหนงั สอื ทีสะท้อนแนวคิดเกียวกับการปกครอง
แสวงหาความจรงิ เกียวกับชวี ติ มนษุ ย์ วธิ สี อน การศึกษา ระบบยุติธรรม ผลงานทีโดเดน่ จนทําใหไ้ ดร้ บั ยกยอ่ งวา่ เปนบดิ า
ของเขาเรยี กวา่ “Socretic method” ไมเ่ นน้ แหง่ ปรชั ญาการเมอื งสมยั ใหมค่ ือหนงั สอื ชอื สาธารณรฐั (Republic) ซงึ
การท่องจาํ แต่ใชว้ ธิ ตี ังคําถามโดยไมต่ ้องการ เสนอแนวคิดในการปกครองประเทศและมอี ิทธพิ ลต่อความคิดทางการ
คําตอบ แต่ใหผ้ ถู้ กู ถามขบคิดปญหาเพอื หาคํา เมอื งของผคู้ นทัวโลก
ตอบดว้ ยตนเอง แมโ้ ซเครติสมลี กู ศิษย์
มากมาย แต่ก็ไมม่ ผี ลงานเขยี นของตนเอง ดงั
นนั ปรชั ญา และทฤษฎีของเขาทีรจู้ กั จงึ เปนผล
งานทีถ่ายทอดโดยลกู ศิษยข์ องเขา

6.3. อรสิ โตเติล (Aristotle) เปนทังนกั ปรชั ญา
และนกั วทิ ยาศาสตร์ เขาเปนศิษยข์ องเพลโตและ
เคยเปนอาจารยข์ องพระเจา้ อะเล็กซานเดอร์
มหาราช อรสิ โตเติลเปนทังนกั ปราชญแ์ ละนกั วจิ ยั
ซงึ นอกจากปรชั ญาทางการเมอื งแล้ว เขายงั สนใจ
วทิ ยาการใหมๆ่ ดว้ ย เชน่ ชวี วทิ ยา ฟสกิ ส์
ดาราศาสตร์ หลักตรรกศาสตร์ วาทกรรม
จรยิ ศาสตร์ ฯลฯ ผลงานทีโดดเดน่ ของเขาคือ
หนงั สอื ชอื การเมอื ง (Politics)

7. ประวตั ิศาสตร์ เปนชาติแรกใน 9. การแพทย์ ฮิปโปเครตีส HISTORY LESSON | VS SCHOOL
โลกตะวนั ตกทีเรมิ ศึกษาประวตั ิศาสตรต์ าม (Hippocrates) ได้รบั การยกยอ่ งเปน
แบบวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ โดยนัก “บดิ าแหง่ การแพทย”์ ซงึ ค้นพบวา่ โรครา้ ย
ประวตั ิศาสตรก์ รกี คนแรกทีเรมิ เขยี นงาน ต่างๆทีเกิดขนึ เกิดจากธรรมชาติ ไมใ่ ชก่ าร
ประวตั ิศาสตรแ์ ละได้รบั การยกยอ่ งวา่ เปน ลงโทษของพระเจา้ เขาเชอื วา่ วธิ กี ารรกั ษาที
บดิ าแหง่ วชิ าประวตั ิศาสตรข์ องโลกตะวนั ดีทีสดุ คือ การควบคมุ ด้านโภชนาการและ
ตก คือ เฮโรโดตัส (Herodotus) นอกจาก การพกั ผอ่ น นอกจากนียงั เปนผรู้ เิ รมิ การ
นียงั มี ทซู ดิ ิดีส (Thucydides) ซงึ มงี าน ผา่ ตัด และการกําหนดหลักจรรยาแพทยท์ ี
เขยี น คือ The Peloponnesian War ซงึ ถือปฏิบตั ิต่อมาจนถึงปจจุบนั
เปนงานเขยี นบนั ทึกเหตกุ ารณ์ทาง

ประวตั ิศาสตรด์ ้วยวธิ กี ารของนักวชิ าการ

เปนครงั แรก 10. ดาราศาสตรแ์ ละภมู ศิ าสตร์ เอราทอส

ทินสี (Eratosthenes) ทีเชอื วา่ โลกกลม

8. คณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ นกั สามารถคํานวณความยาวรอบโลกได้ และ
คณติ ศาสตรเ์ ดน่ ของกรกี ไดแ้ ก่ ปทาโกรสั แหง่ ยงั ค้นพบวา่ การขนึ ลงของกระแสนาํ เกิด
เมอื งซามอส ผคู้ ิดค้นทฤษีบทปทาโกรสั ยูคลิด จากอิทธพิ ลของดวงจนั ทร์
แหง่ เมอื งอะเล็กซานเดรยี ผคู้ ิดเรขาคณติ แบบยู

47 คลิด และเขยี นหนงั สอื ชุด Elements ซงึ มี
จาํ นวน 13 เล่ม เนอื หาสว่ นใหญก่ ล่าวถึง
เรขาคณติ ระนาบและเรอื งสดั สว่ น อารค์ ิมดี สี
แหง่ เซยี ราคิวส์ เปนผคู้ ิดระหดั วดิ นาํ แบบเกลียว
ลกู กรอกชุด ตังกฎของคานดดี คานงัด และพบ
วธิ กี ารหาปรมิ าตรของวตั ถโุ ดยการแทนทีนาํ

อารยธรรม HISTORY LESSON | VS SCHOOL
โรมนั
1. ปจจยั ทางภมู ศิ าสตรท์ ีมผี ลต่ออารยธรรมโรมนั
48
อารยธรรมโรมนั กําเนดิ ทีคาบสมุทรอิตาลี ซงึ ตังอยูท่ างตอนใต้ของทวปี
ยุโรป โดยมลี ักษณะเปนแหลมยนื ลงไปในทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น ลักษณะ
ภมู ปิ ระเทศสว่ นใหญเ่ ปนภเู ขา และเนนิ เขา ไดแ้ ก่ เทือกเขาแอลปทางทิศ
เหนอื ซงึ กันคาบสมุทรอิตาลีออกจากดนิ แดนสว่ นอืนของทวปี ยุโรป และ
เทือกเขาแอเพนไนนซ์ งึ เปนแกนกลางของคาบสมุทร สว่ นบรเิ วณทีราบมี
นอ้ ยและมที ีราบนอ้ ย จงึ ทําใหก้ ารตังถินฐานของชุมชนอยูอ่ ยา่ ง
กระจดั กระจายเปนชุมชนเล็กๆ พนื ทีการเกษตรมไี มม่ ากนกั แต่เมอื
ประชากรเพมิ ขนึ บรเิ วณดงั กล่าวไมส่ ามารถรองรบั การเกษตรทีขยายตัว
ได้ จงึ เปนสาเหตทุ ีชาวโรมนั ขยายดนิ แดนไปยงั ดนิ แดนอืนๆ

2. สมยั สาธารณรฐั 49 HISTORY LESSON | VS SCHOOL

พวกอิทรสั กัน โดยได้รบั อารยธรรมของกรกี ซงึ ต่อ ชาวกรกี เกิดความคิดในการเตรยี มการปองกันชาวเปอรเ์ ซยี นครรฐั
มาได้อพยพเขา้ มาในแหลมอิตาลี จงึ ได้นําเอาความ ต่างๆ ของกรกี จงึ ต่างเขา้ มาเปนสมาชกิ และสมาชกิ แต่ละนครรฐั มสี ทิ ธิ
เชอื ในศาสนาและเทพเจา้ ของกรกี ศิลปะการแกะ เท่าเทียม ทําใหน้ ครรฐั กรกี รว่ มกันตังสหพนั ธแ์ หง่ เกาะเดลอส
สลัก การทําเครอื งปนดินเผา ตัวอักษร การทํานาย สหพนั ธรฐั ใชเ้ ปนศูนยก์ ลางและเปนทีเก็บทรพั ยส์ มบตั ิ แต่ในความเปน
จากการดเู ครอื งในของสตั วแ์ ละการบนิ ของนก การ จรงิ แล้วนครรฐั เอเธนสม์ อี ิทธพิ ลในการเปนผนู้ ํา ต่อมาสหพนั ธรฐั
สรา้ งซุม้ ประตโู ค้ง (Arch) และประติมากรรมเทพเจา้ เปลียนสภาพเปนจกั รวรรดิของเอเธนส์ เอเธนสใ์ ชเ้ งินเพอื ผลประโยชน์
เขา้ มาเผยแพร่ นอกจากพวกอิทรสั กันแล้วยงั มชี น ของตนเอง ลดฐานะสมาชกิ อืน ๆ ใหอ้ ยูใ่ นฐานะบรวิ าร และหา้ มไมใ่ หร้ ฐั
เผา่ อืน ๆ อีก เชน่ พวกละติน ต่อมาได้ตกมาอยูภ่ าย สมาชกิ แยกตัวออกจากสหพนั ธ์ เมอื รฐั ใดก่อกบฏก็จะใชก้ ําลังปราบโดย
ใต้การปกครองพวกอิทรสั กัน ยดึ กองทหารเรอื และเก็บเครอื งราชบรรณาการ วธิ นี ีทําใหน้ ครรฐั สปาร์
ตากลัววา่ เอเธนสจ์ ะเปนผนู้ ํากรกี ทังหมด และเนืองจากสภาพสงั คมของ
ทัง 2 รฐั แตกต่างกัน จงึ ทําใหเ้ กิดสงครามขนึ ผลของสงคราม คือ นคร
รฐั สปารต์ าชนะ ทําใหน้ ครรฐั สปารต์ าได้เอเธนสไ์ วใ้ นอํานาจ และนําระบอบ
การปกครองแบบคณาธปิ ไตยมาใช้ แต่การปกครองของสปารต์ าไม่
มนั คงจงึ ทําใหน้ ครรฐั สปารต์ าพา่ ยแพต้ ่อกองทัพของนครธบี สี และ
เอเธนส์ ในทีสดุ กรกี ทังหมดก็ตกอยูภ่ ายใต้อิทธพิ ลของมาซโิ ดเนีย

มรดกทาง 50 HISTORY LESSON |VS SCHOOL
อารยธรรม
โรมนั ความโดดเดน่ ของอารยธรรมโรมนั เกิดจากรากฐานทีแขง็ แรง ซงึ
ไดร้ บั อิทธพิ ลจากอารยธรรมกรกี และอารยธรรมของดนิ แดนรอบๆ
ทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น ผสานกับความเจรญิ ก้าวหนา้ ทีเปน
ภมู ปิ ญญาของชาวโรมนั เองทีพยายามคิดค้นสรา้ งระบบต่างๆ เพอื
ดาํ รงความยงิ ใหญข่ องจกั รวรรดโิ รมนั ไว้


Click to View FlipBook Version