The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวิธีการประกันคุณภาพภายนอกภายใต้สถานการณ์จำเป็นและเร่งด่วน เนื่องจากการแพร่ระบาดของ COVID-19

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Naruenart Pithangkoon, 2021-06-14 06:57:13

แนวทางการประกันคุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวิธีการประกันคุณภาพภายนอกภายใต้สถานการณ์จำเป็นและเร่งด่วน เนื่องจากการแพร่ระบาดของ COVID-19

Keywords: ONESQA

v

กรอบแนวทาง รปูสแํานบักบงแาลนะรวบัิธีกราอรงกมาารตปรรฐะกานนั แคลุณะปภราะพเมภนิ าคยุณนอภกาภพากยาใรตศส้ ึกถษานา ก(อางรณคก์ ์ CารOมVหIDาช-น19) ONESQA | ง



ประกาศสํานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน)
ท่ี 176/2564

เร่อื ง กรอบแนวทาง รูปแบบ และวธิ ีการประกันคณุ ภาพภายนอกภายใตส้ ถานการณ์จาํ เป็นและเร่งด่วน
เน่ืองจากการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา (COVID-19)

เนื่องด(วยสถานการณ1การแพร4ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในหลายพื้นท่ีของ
ประเทศส4งผลกระทบต4อการดำเนินชีวิตประจำวันของประชาชน การจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา
และการประกันคุณภาพภายนอกที่ต(องปรับเปลี่ยนรูปแบบและแนวทางเพื่อให(สอดคล(องกับสถานการณ1
ประกอบกับเพื่อให(เปZนไปตามมาตรการการป\องกันการแพร4ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
คณะกรรมการสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ในคราวการประชุมครั้งที่ 9/2563
เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2563 ไดOมีมติเห็นชอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกของ สมศ. ภายใตO
เงื่อนไข COVID-19 และในคราวการประชุมครั้งที่ 3/2564 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ\ พ.ศ. 2564 ไดOมีมติ
เห็นชอบประกาศคณะกรรมการสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ\
การประกันคุณภาพภายนอกภายใตOสถานการณ\จำเป`นและเรaงดaวน เนื่องจากการแพรaระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา (COVID-19) ลงวนั ที่ 25 กมุ ภาพนั ธ\ พ.ศ. 2564

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 34 แหaงพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำนักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค\การมหาชน) พ.ศ. 2543 และที่แกOไขเพิ่มเติม และขOอ 5 ของประกาศคณะกรรมการ
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ\การประกันคุณภาพภายนอก
ภายใตOสถานการณ\จำเป`นและเรaงดaวน เนื่องจากการแพรaระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ลงวันที่
25 กุมภาพันธ\ พ.ศ. 2564 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค1การมหาชน) จึง
เห็นควรประกาศกรอบแนวทาง รูปแบบ และวิธีการประกันคุณภาพภายนอกภายใต(สถานการณ1จำเปZน
และเร4งด4วน เนื่องจากการแพร4ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ให(สถานศึกษา หน4วยงาน
ต(นสังกัดหรือหน4วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษา และผู(ที่เกี่ยวข(องรับทราบ เพื่อใช(สำหรับเปZนแนวทางในการ
ประกนั คณุ ภาพภายนอกภายใต(สถานการณ1ดงั กล4าว โดยมรี ายละเอียดดงั เอกสารแนบทา( ยประกาศนี้

จึงประกาศใหOทราบโดยทั่วกัน

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวิธกี ารการประกันคณุ ภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | ก

สารบัญ

หน้า

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวิธีการประกันคุณภาพภายนอกภายใต้สถานการณ์ 1
จาํ เปน็ และเร่งดว่ น เน่อื งจากการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19)

การประกันคุณภาพภายนอกภายใต้สถานการณ์จําเป็นและเร่งด่วน เน่ืองจากการแพร่ 3
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในระยะท่ี 1 การประเมินและ
วิเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ก่อนการลงพ้ืนท่ี
ตรวจเยย่ี มสถานศึกษา

การประกันคุณภาพภายนอกภายใต้สถานการณ์จําเป็นและเร่งด่วน เน่ืองจากการแพร่ 5
ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา (COVID-19) ในระยะท่ี 2 การลงพ้ืนท่ตี รวจเย่ยี ม
หรอื ตรวจสอบหลกั ฐานและข้อมูลของสถานศึกษาด้วยวธิ กี ารทางอิเลก็ ทรอนิกส์

ภาคผนวก 8
ภาคผนวก 1 มาตรฐานการศึกษาของหนว่ ยงานตน้ สังกัด 11
ภาคผนวก 2 นิยามคําศัพท์ท่ีเก่ียวขอ้ ง 15
ภาคผนวก 3 เกณฑก์ ารประเมิน 16
1. ศูนย์พัฒนาเด็ก 18
2. การศึกษาปฐมวัย และการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 21
3. สถานศึกษาระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานท่ีมีวตั ถุประสงค์พิเศษ 25
4. ดา้ นการอาชวี ศึกษา 27
5. การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ภาคผนวก 4 แนวทางการประเมนิ ระดับดมี าก ดีเย่ียม 32

ภาคผนวก 5 แบบฟอรม์ ท่เี ก่ียวข้อง 40

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวิธกี ารการประกันคุณภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | ข

v

แนวคิด

ในสถานการณ) COVID-19 ทุกคนต(องป,องกันและลดการแพร5กระจายเชื้อ โดยการเว(นระยะห5าง
ทางสังคม (Social Distancing) โดยการลดกิจกรรม ลดการติดต5อพบปะ งดการจัดกิจกรรมที่มีคนจำนวนมาก
มารวมตัวกนั หลีกเลี่ยงการเดนิ ทางออกขา( งนอกโดยไมจ5 ำเปUน จงึ ทำใหเ( กิดวิถชี ีวติ แบบใหม5 (New Normal)

การประกันคุณภาพภายนอกของ สมศ. ก็เช5นกัน โดยเฉพาะในการตรวจเยี่ยมสถานศึกษาก็ต(องปรับ
ให(สอดคล(องกับวิถีชีวิตภายใต(สถานการณd COVID-19 จึงได(ปรับแนวทาง รูปแบบ และวิธีการประกันคุณภาพ
ภายนอกของสถานศึกษาภายใต(สถานการณdจำเปUนและเร5งด5วน แบ5งออกเปUน 2 ระยะต5อเนื่องกัน คือ ระยะที่ 1
การประเมินและวิเคราะหdรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาก5อนการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม และระยะ
ที่ 2 การลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมหรือการตรวจสอบหลักฐานและข(อมูลของสถานศึกษาด(วยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกสd โดยการประกันคุณภาพภายนอกในระยะที่ 2 จะใช(ระยะเวลาน(อยที่สุด โดยเนน( ประเด็นสำคัญ
คอื คุณภาพผ(ูเรยี นหรือผ(ูสำเร็จการศึกษา การบรหิ ารงานของสถานศึกษา และการจดั การเรียนการสอน

นอกจากนี้ กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
ก็เปUนอีกปrจจัยหนึ่งที่ทำให( สมศ. ต(องปรับวิธีการประกันคุณภาพ
ภายนอกให(สอดคล(องกับการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและ
หน5วยงานต(นสังกัด อีกทั้งให(การประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา
เปUนไปตามความสมัครใจของสถานศกึ ษา

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวธิ กี ารการประกนั คุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 1

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวธิ กี ารประกันคุณภาพภายนอก

สมศ. กำหนดกรอบแนวทาง รูปแบบ และวิธีการประกันคุณภาพภายนอก ภายใต(สถานการณdจำเปUน
และเร5งด5วน เนื่องจากการแพร5ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แบ5งการดำเนินการ
ออกเปUน 2 ระยะต5อเนื่องกัน ดังน้ี

ระยะท่ี 1 ระยะท่ี 2

การประเมินและวิเคราะห์รายงานผลการประเมิน การลงพื้ นที่ตรวจเย่ียมหรือการตรวจสอบ
หลักฐานและข้อมูลของสถานศึกษาด้วยวิธีการ
ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ก5อนการลงพื้นท่ี
ตรวจเยี่ยม ซึ่งรายงาน SAR ส5งผ5านหน5วยงานต(นสังกัด ทางอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อสถานศึกษาได(รับผลการ
ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา ประเมิน SAR ในระยะที่ 1 อย5างเปUนทางการจาก
พ.ศ. 2561 เปUนการประเมินโดยพิจารณาจาก สมศ. แล(ว และต(องการให(มีการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม
รายงาน SAR และเอกสารประกอบที่แนบมากับ หรือตรวจสอบหลักฐานและข(อมูลของสถานศึกษา
SAR เท5านั้น (โดยไม5ขอเอกสารเพิ่มเติม เพื่อลดภาระ ด(วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสd ให(สถานศึกษาร(องขอ
ของสถานศึกษา) เกณฑdการประเมิน SAR พิจารณา โดยส5งคำร(องผ5านคณะผู(ประเมินภายนอกมายัง
แยกเปUนรายมาตรฐานตามการประกันคุณภาพ สมศ. (เปUนไปตามความสมัครใจ) โดยจะประเมิน
ภายใน และสรุปผลการประเมินและวิเคราะหd SAR ตามตารางนัดหมาย และประเด็นการตรวจเยี่ยม
หรือการตรวจสอบหลักฐานและข(อมูลของสถานศึกษา
มีระดับคุณภาพ 3 ระดับ ตามรายมาตรฐาน คือ ด(วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสd มีกำหนดระยะเวลา
ดี พอใช้ และ ปรับปรงุ น(อยที่สุด และไม5มีการสรุปผลด(วยวาจาที่สถานศึกษา
เพื่อลดการสัมผัสตามหลักการเว(นระยะห5างทาง
สังคม (Social Distancing) และสรุปผลการประกัน
คุณภาพภายนอกจากการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมหรือ
การตรวจสอบหลักฐานและข(อมูลของสถานศึกษา
ด(วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสd มีระดับคุณภาพ

5 ระดับ แยกเป็นรายมาตรฐาน คือ ดีเย่ียม

ดมี าก ดี พอใช้ และ ปรับปรงุ

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวิธีการการประกนั คุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 2

การประกนั คณุ ภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19

ระยะท่ี 1 การประเมินผลและวเิ คราะหร์ ายงานผลการประเมนิ ตนเองของ
สถานศึกษา (SAR) กอ่ นการลงพ้ืนท่ตี รวจเย่ียมสถานศึกษา

สมศ. วางแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกในระยะท่ี 1 จาก SAR ดังน้ี

1. สมศ. รับ SAR ของสถานศึกษาผ5านหน5วยงาน 4. คณะผูUประเมินภายนอกสรุปผลการประกัน
ต(นสงั กัดในระบบออนไลนd คุณภาพภายนอกรายมาตรฐาน พร(อมให(
ข(อเสนอแนะตามเกณฑdที่ สมศ. กำหนด (CO-03)
2. สมศ. ตรวจสอบหัวขUอใน SAR โดยใช(แบบ โดยมีระดับคุณภาพ 3 ระดับ ตามรายมาตรฐาน
ตรวจสอบรายงานการประเมินตนเอง (SAR) คือ ดี พอใช( และปรบั ปรุง
(CO-02) เพื่อใช(เปUนข(อเสนอแนะในการทำ
SAR ฉบบั ต5อไป 5. คณะผูUประเมินภายนอกตัดสินผลการประเมิน
และวิเคราะหd SAR รายมาตรฐาน พร(อมเขียน
3. การประเมนิ และวิเคราะห) SAR ของสถานศึกษา ข(อเสนอแนะรายมาตรฐาน และข(อเสนอแนะ
เพิ่มเติมระดับสถานศึกษา (CO-04) ตามแนวทาง
3.1. กรณีสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และศูนย) ที่ สมศ. กำหนด
พัฒนาเด็ก สมศ. จะประสานกับหน5วย
ประเมินในการดำเนินการประเมินและ 6. คณะผูUประเมินภายนอกจัดสbงรายงานการ
วิเคราะหd SAR ของสถานศกึ ษาตามขัน้ ตอน ประกนั คณุ ภาพภายนอก: ผลการประเมิน SAR
ภายใต(สถานการณd COVID-19 ให(สถานศึกษา
3.2. กรณีสถานศึกษาดUาน/ระดับ/ประเภทอ่ืน พิจารณาตามเวลาท่กี ำหนด
สมศ. ประสานงานกับผู(ประเมินซึ่งได(ขึ้น
ทะเบียนไว( การจัดคณะผู(ประเมินภายนอก 6.1. กรณีที่สถานศึกษาเห็นชอบ คณะผู(ประเมิน
เปUนไปตามท่ี สมศ. ประกาศไว( คณะผป(ู ระเมนิ ภายนอกหรือหน5วยประเมินจะจัดส5ง
ภายนอกเข(าระบบสารสนเทศเพื่อการ รายงานการประกันคุณภาพภายนอก:
ประเมินคุณภาพภายนอก Automated QA ผลการประเมิน SAR ภายใต(สถานการณd
เพื่อดาวนdโหลดไฟลd SAR และข(อมูลท่ี COVID-19 (CO-04) ให( สมศ. พจิ ารณา
เกี่ยวข(องเพื่อดำเนินการประเมิน SAR
โดยคณะผู(ประเมินภายนอกจะต(องผ5าน 6.2. ถ(าสถานศึกษาไม5เห็นชอบ คณะผู(ประเมิน
การอบรมเกี่ยวกับการประเมินและการ ภายนอกจะนำผลการพิจารณาของ
วิเคราะหd SAR และวิธีการตรวจเยี่ยม สถานศึกษามาตรวจสอบและพิจารณา
และทำการประกันคุณภาพภายนอก ปรับแก(ไข ทั้งนี้ จะดำเนินการได(ต5อเมื่อ
ภายใต(เงอ่ื นไขท่ี สมศ. กำหนดไว( มีการระบุชื่อหลักฐานใน SAR ที่คณะ

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวิธกี ารการประกันคณุ ภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 3

ผู(ประเมินภายนอกมิได(พิจารณา จากน้ัน มาพร(อมกับรายงานการประกันคุณภาพ
คณะผู(ประเมินภายนอกจะส5งรายงาน ภายนอก: ผลการประเมิน SAR ภายใต(
การประกันคุณภาพพภายนอก: ผลการ สถานการณd COVID-19 (CO-04) เพื่อเสนอ
ประเมิน SAR ภายใต(สถานการณd COVID-19 ต5อคณะกรรมการพัฒนาระบบเห็นชอบให(
ให( สมศ. พิจารณา (จะพิจารณาเฉพาะ ดำเนินการประกันคุณภาพภายนอกใน
ความชัดเจนของภาษา โดยไม5แก(ไขผล ระยะที่ 2 ตอ5 ไป
การประเมนิ SAR) 8. สมศ. นำเสนอรายงานการประกันคุณภาพ
ภายนอก: ผลการประเมิน SAR ภายใต(
7. กรณีที่สถานศึกษารUองขอใหUมีการลงพื้นท่ี สถานการณd COVID-19 ต5อคณะกรรมการ
ตรวจเยี่ยมหรือตรวจสอบหลักฐานและข(อมูล ที่เกี่ยวข(อง เฉพาะสถานศึกษาที่เห็นชอบ
ของสถานศึกษาด(วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสd รายงานดังกล5าว และไม5ร(องขอให(มีการลง
(เปUนไปตามความสมัครใจ) ให(สถานศึกษา พื้นที่ตรวจเยี่ยม ผลการประเมิน SAR มีระดับ
กรอกแบบฟอรdมคำร(อง (CO-05) และส5ง คุณภาพ 3 ระดับ ตามรายมาตรฐาน คือ ดี
แบบฟอรมd ให( สมศ. ผา5 นคณะผปู( ระเมนิ ภายนอก พอใช( และปรับปรงุ

“ ผลการพิ จารณาของคณะกรรมการ สมศ. ถอื ว่าส้ินสุด
โดย สมศ. จะเสนอผลการประเมนิ ต่อสถานศึกษา หนว่ ยงานตน้ สังกดั และ

เผยแพร่สาธารณะชนต่อไป ”

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวธิ ีการการประกนั คณุ ภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 4

การประกนั คุณภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19
ระยะท่ี 2 การลงพ้ืนท่ตี รวจเย่ียมหรอื การตรวจสอบหลกั ฐานและ
ข้อมลู ของสถานศึกษาดว้ ยวิธีการทางอิเลก็ ทรอนิกส์

สมศ. วางแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกในระยะที่ 2 ดงั นี้
1. คณะผูUประเมินภายนอกดำเนินการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมหรือการตรวจสอบหลักฐานและข(อมูลของ

สถานศึกษาด(วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสd เฉพาะสถานศึกษาที่ส5งแบบคำร(อง (CO-05) ให( สมศ. ผ5านคณะ
ผปู( ระเมินภายนอก และตรวจหลักฐานตามท่รี ะบุไว(

2. คณะผูUประเมินภายนอกที่จะลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมหรือการตรวจสอบหลักฐานและข(อมูลของ
สถานศึกษาด(วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสdจะเปUนชุดเดียวกับที่ประเมินและวิเคราะหd SAR ในระยะที่ 1 และ
จะสรุปผลการประกันคุณภาพภายนอกจากการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมหรือการตรวจสอบหลักฐานและข(อมูลของ
สถานศึกษาดว( ยวิธีการทางอเิ ล็กทรอนกิ สd มีระดบั คณุ ภาพ 5 ระดบั คือ ดเี ยยี่ ม ดมี าก ดี พอใช( และปรับปรงุ

3. คณะผูUประเมินภายนอกประชุมผbานสื่ออิเล็กทรอนิกส) (e-Meeting) เพื่อกำหนดหน(าที่การปฏิบัติงาน
ดงั น้ี

3.1. คณะผู(ประเมินภายนอกที่รับผิดชอบจัดทำแผนการเตรียมการก5อนลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมหรือการ
ตรวจสอบหลักฐานและข(อมูลของสถานศึกษาด(วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสd ตามแบบฟอรdม CO-07
เพื่อเตรียมระบุชื่อหลักฐาน หรือข(อมูลที่จะไปตรวจสอบ และจัดทำตารางนัดหมายการตรวจเยี่ยม
หรือการตรวจสอบหลักฐานและข(อมูลของสถานศึกษาด(วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสd (ระหว5าง
คณะผู(ประเมนิ ภายนอกกบั สถานศกึ ษา) ตามแบบฟอรdม CO-06

3.2. คณะผู(ประเมินภายนอกประชุมผ5านสื่ออิเล็กทรอนิกสd (e-Meeting) เพื่อเตรียมการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม
หรือการตรวจสอบหลักฐานและข(อมูลของสถานศึกษาด(วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสd ตามตาราง
นดั หมาย และประสานสถานศึกษาเพื่อกำหนดวนั และเวลาทสี่ ะดวก

3.3. หลกั ฐานหรอื ข(อมูลทจี่ ะตรวจสอบ มี 6 ประเภท คอื
บุคคลท่ีจะสมั ภาษณ) เชน5 ผอ(ู ำนวยการ ครู นกั เรยี น ผูป( กครอง ชมุ ชน
กรรมการสถานศกึ ษา ฯลฯ
เอกสาร/ภาพถาb ย เช5น โครงการ แผนการสอน แผนงาน ภาพถา5 ยกิจกรรม
รายงาน คา5 สถิติ ฯลฯ

รางวลั เช5น โลห5 d ถว( ยรางวลั วุฒบิ ัตร ประกาศเกยี รตคิ ณุ ฯลฯ

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวธิ ีการการประกนั คุณภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 5

สถานท่ี เชน5 ห(องเรียน ห(องปฏบิ ตั ิการ อาคาร พ้นื ท่ีจัดกจิ กรรม แหล5งการเรียนรู(
หอ( งชมรม สนามเดก็ เลน5 ฯลฯ
ครุภณั ฑ) เช5น สื่อการสอน ส่อื การศกึ ษา สือ่ การเรียน แผนการสอน ฯลฯ

อ่นื ๆ ท่ีนอกเหนอื จาก 5 ประเภทขา( งต(น

ในการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมหรือการตรวจสอบหลักฐานและข(อมูลของสถานศึกษาด(วยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกสd คณะผู(ประเมินภายนอกต(องจัดทำตารางนัดหมายว5าใครจะตรวจอะไร เมื่อใด ที่ไหน อย5างไร
เพือ่ สถานศึกษาจะไดเ( ตรยี มความพร(อม

4. กรณีลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมสถานศึกษา ที่ระบุไว(ใน SAR ของสถานศึกษา และคณะผู(ประเมิน
คณะผู(ประเมินภายนอกจะไม5ประชุมกับสถานศึกษา ภายนอกมิได(พิจารณาในช5วงการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม
แต5จะตรวจหลักฐานหรือข(อมูลเชิงประจักษdตามตาราง หรือตรวจสอบหลักฐานและข(อมูลของสถานศึกษา
นัดหมาย และสถานที่ที่สถานศึกษาได(จัดเตรียมไว( ด(วยวธิ กี ารทางอิเลก็ ทรอนกิ สd
ระหว5างการตรวจหลักฐานคณะผู(ประเมินภายนอก
ต(องสวมหน(ากากอนามัยตลอดเวลา พร(อมทั้งเว(น 7. คณะผูUประเมินภายนอกตรวจสอบผล
ระยะห5างตามหลักการ Social Distancing และไม5มี การพิจารณาของสถานศึกษา และปรับแก(ไขผล
การสรุปผลด(วยวาจา หากแต5นำผลไปสรุปด(วยการ การประเมิน (ถ(ามี) และจัดส5งรายงานการประเมิน
ประชุมผ5านสื่ออิเล็กทรอนิกสd (e-Meeting) ระหว5าง คุณภาพภายนอก: ผลการตรวจเยี่ยม ภายใต(
ผู(ประเมินภายนอก สถานการณd COVID-19 ให( สมศ.

5. คณะผูUประเมินภายนอกประสานงานดUวย 8. สมศ. ตรวจสอบความถูกตUองของรายงาน
ระบบออนไลน) เพื่อสรุปผลการประกันคุณภาพ โดยไม5แก(ไขผลการประเมินจากการตรวจเยี่ยม
ภายนอกรายมาตรฐาน พร(อมพิจารณาข(อเสนอแนะ และเสนอต5อคณะกรรมการที่เกี่ยวข(องต5อไป
รายมาตรฐาน และการเขียนข(อเสนอแนะเพิ่มเติม โดยผลการพิจารณาของคณะกรรมการ สมศ.
ระดับสถานศึกษา ถอื เปUนที่สิน้ สดุ

6. คณะผูUประเมินภายนอกจัดสbงรายงาน 9. สมศ. เสนอผลการประกันคุณภาพ
การประกันคุณภาพภายนอก: ผลการตรวจเยี่ยม ภายนอก: ผลการตรวจเยี่ยม ภายใต(สถานการณd
ภายใต(สถานการณd COVID-19 ตามแบบฟอรdม COVID-19 ต5อสถานศึกษา หน5วยงานต(นสังกัด
CO-09 ให(สถานศึกษาพิจารณาตามเวลาที่กำหนด และเผยแพร5ตอ5 สารธารณะชนต5อไป
กรณีที่ไม5เห็นชอบผลการประเมิน จะดำเนินการได(
ในกรณีที่มีหลักฐานหรือข(อมูลใหม5 ตามวัน/เดือน/ป‰

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวธิ ีการการประกนั คณุ ภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 6

ภาคผนวก

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวธิ ีการการประกันคุณภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 7

ภาคผนวก 1

มาตรฐานการศึกษาของหนว่ ยงานต้นสังกัด

สถานศึกษา มาตรฐาน
(ดา้ น/ระดบั /ประเภท)
ด้านผเู้ รียน ดา้ นการบริหารจัดการ ดา้ นการจดั
1. ศูนยพd ฒั นาเดก็ การเรยี นการสอน
คุณภาพของเด็กปฐมวยั
การบริหารจดั การ ครู/ผูด( แู ลเดก็ ให(การดูแล
สถานพฒั นาเด็ก และจัดประสบการณd
ปฐมวัย การเรยี นรแู( ละการเลน5
เพื่อพัฒนาเดก็ ปฐมวัย

2. การศกึ ษาปฐมวยั และการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน

2.1 การศกึ ษาปฐมวัย คุณภาพของเดก็ กระบวนการบริหาร การจดั ประสบการณd

และการจดั การ ท่ีเน(นเด็กเปนU สำคัญ

2.2 การศกึ ษา คุณภาพของผ(เู รียน กระบวนการบรหิ าร กระบวนการจัดการเรียน
ขัน้ พน้ื ฐาน และการจัดการ การสอนท่เี น(นผู(เรียนเปUน
สำคญั

3. การศึกษาขน้ั พ้นื ฐานทม่ี ีวตั ถุประสงคพd ิเศษ

3.1 โรงเรียนส5งเสริม คุณภาพของผู(เรียน กระบวนการบรหิ าร กระบวนการจดั การเรยี น
ความสามารถพเิ ศษ และการจัดการ การสอนที่เนน( ผ(ูเรียนเปUน
ทางดา( นวทิ ยาศาสตรd สำคญั

3.2 โรงเรียนสง5 เสรมิ คุณภาพของผเ(ู รียน กระบวนการบรหิ าร กระบวนการจดั การเรยี น
ความสามารถพเิ ศษ และการจดั การ การสอนทเี่ นน( ผ(เู รยี นเปนU
ทางด(านกฬี า สำคัญ

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวิธีการการประกันคณุ ภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 8

สถานศึกษา มาตรฐาน
(ดา้ น/ระดับ/ประเภท)
ดา้ นผ้เู รียน ด้านการบรหิ ารจัดการ ดา้ นการจดั
การเรียนการสอน

3.3 โรงเรียนสง5 เสรมิ คณุ ภาพของผเ(ู รยี น กระบวนการบริหาร กระบวนการจดั การเรียน
ความสามารถพิเศษ และการจัดการ การสอนทเ่ี นน( ผ(ูเรียนเปUน
ทางด(านนาฏศลิ ป‹ สำคญั

3.4 โรงเรียนเฉพาะ คุณภาพของผ(ูเรยี น กระบวนการบริหาร กระบวนการจัดการเรียน
ความพิการ และการจดั การ การสอนทเ่ี น(นผ(ูเรียนเปนU
สำคญั

3.5 โรงเรยี นศึกษา คุณภาพของผู(เรยี น กระบวนการบรหิ าร กระบวนการจัดการเรียน
สงเคราะหd และการจดั การ การสอนที่เน(นผเ(ู รยี นเปนU
สำคญั

3.6 โรงเรยี นตำรวจ คณุ ภาพของผู(เรียน กระบวนการบริหาร กระบวนการจัดการเรยี น
ตระเวนชายแดน และการจดั การ การสอนที่เนน( ผู(เรยี นเปUน
สำคัญ

3.7 โรงเรียนเตรียม คุณภาพของผู(เรยี น กระบวนการบรหิ าร กระบวนการจดั การเรยี น
ทหาร และการจัดการของ การสอนทีเ่ น(นผเ(ู รียนเปUน
ผู(บรหิ ารสถานศกึ ษา สำคญั

3.8 โรงเรยี นพระ คุณภาพของผเ(ู รียน กระบวนการบรหิ าร กระบวนการจัดการเรียน
ปริยตั ธิ รรม และการจดั การ การสอนที่เน(นผ(ูเรียนเปUน
สำคัญ

3.9 ศนู ยกd ารศกึ ษา คณุ ภาพของผเ(ู รียน กระบวนการบรหิ าร กระบวนการจัดการเรยี น
พเิ ศษ และการจัดการ การสอนที่เนน( ผเ(ู รียนเปนU
สำคญั

3.10 โรงเรียนใน คณุ ภาพของผู(เรียน กระบวนการบรหิ าร กระบวนการจัดการเรยี น
โครงการ DLTV และการจดั การ การสอนที่เน(นผู(เรียนเปUน
สำคญั

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวธิ ีการการประกันคณุ ภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 9

สถานศึกษา มาตรฐาน
(ดา้ น/ระดบั /ประเภท)
ดา้ นผู้เรยี น ดา้ นการบรหิ ารจัดการ ดา้ นการจัด
4. การอาชวี ศกึ ษา การเรียนการสอน
คุณลักษณะของผูส( ำเร็จ
การศกึ ษาอาชวี ศึกษาท่ี การจดั การอาชีวศกึ ษา การสรา( งสังคมแห5งการ
พงึ ประสงคd เรียนร(ู

5. การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

5.1 มาตรฐาน คณุ ภาพของผเ(ู รยี น คุณภาพการบรหิ าร คุณภาพการจดั การศกึ ษา
การศึกษานอกระบบ การศึกษานอกระบบ จดั การของสถานศึกษา นอกระบบ ระดับการศึกษา
ระดับการศกึ ษา ระดับการศกึ ษา ขั้นพื้นฐานทีเ่ น(นผเ(ู รยี น
ขัน้ พนื้ ฐาน ขัน้ พน้ื ฐาน เปนU สำคญั

5.2 การศกึ ษาตอ5 เนอื่ ง คณุ ภาพของผเ(ู รยี น คณุ ภาพการบริหาร คณุ ภาพการจัดการเรยี นรู(
การศึกษาต5อเนื่อง จัดการของสถานศกึ ษา การศกึ ษาตอ5 เนือ่ ง

5.3 การศกึ ษาตาม คณุ ภาพของผู(รบั บรกิ าร คุณภาพการบริหาร คณุ ภาพการจัดการศึกษา

อธั ยาศัย การศึกษาตามอธั ยาศยั จดั การของสถานศึกษา ตามอัธยาศยั

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวิธีการการประกนั คุณภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 10

ภาคผนวก 2

นยิ ามคําศัพท์ท่เี ก่ยี วข้อง

ลาํ ดับ คําศัพท์ ความหมาย

1 คุณภาพ ลกั ษณะทด่ี เี ดน5 ของบคุ ลากรหรือส่ิงของ (ราชบณั ฑิต)

2 คุณภาพเดก็ ปฐมวัย ลกั ษณะที่ดีเด5นตามนยิ ามหรอื จุดเนน( ที่สถานศึกษาหรือ
ศูนยพd ฒั นาเด็กระบุ

3 คุณภาพผ(ูเรียน ลักษณะทด่ี เี ดน5 ตามนิยามหรือจดุ เน(นทส่ี ถานศกึ ษาระบุ

4 คณุ ภาพของผสู( ำเร็จ ลักษณะที่ดีเด5นตามนยิ ามหรอื จดุ เน(นท่ีสอดคลอ( งกับหลกั สูตร
การศึกษา

5 คุณภาพของผร(ู ับบริการ ลกั ษณะทด่ี เี ด5นตามนิยามหรือจดุ เนน( ท่สี อดคลอ( งกับ
การศึกษาตามอธั ยาศัย การจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั

6 การบรหิ ารจดั การ การบริหารงาน การบรหิ ารบคุ คล การบรหิ ารงบประมาณ
อยา5 งเปนU ระบบ

7 การจัดการอาชวี ศึกษา สถานศึกษามีการสรรหาครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและจำนวนตามเกณฑd
ที่หน5วยงานต(นสังกัดกำหนด พร(อมทั้งมีการพัฒนาหลักสูตรให(เปUน
หลักสูตรฐานสมรรถนะเพื่อใช(ในการจัดการเรียนการสอนที่เน(นผู(เรียน
เปUนสำคัญ และมีการบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอย5าง
มีประสิทธิภาพ มีความสำเร็จในการดำเนินการตามนโยบายสำคัญ
ของหนว5 ยงานตน( สังกดั หรอื หน5วยงานท่กี ำกบั ดูแลสถานศึกษา

8 การจัดการเรยี นการสอน กิจกรรมที่เกี่ยวข(องกับการเรียนของผู(เรียน และการสอนของผู(สอน
เพอื่ ส5งเสรมิ ให(ผูเ( รียนบรรลุเปา, หมายตามวัตถปุ ระสงคd

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวธิ ีการการประกันคณุ ภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 11

ลาํ ดบั คาํ ศัพท์ ความหมาย

9 การสรา( งสงั คมแห5งการ สถานศึกษาร5วมมือกับบุคล ชุมชน องคdกรต5างๆ เพื่อสร(างสังคม
เรียนรู( (อาชวี ศึกษา) แห5งการเรียนรู( มีการจัดทำนวัตกรรม สิ่งประดิษฐd งานสร(างสรรคd
งานวจิ ัย

10 เปา, หมาย ความม5งุ หมายเจาะจงใหไ( ดต( ามเจตนา

11 ผลสมั ฤทธิ์ การบรรลุผลตามเปา, หมาย นยิ าม หรอื จุดเนน( ท่สี ถานศกึ ษาระบุ

12 เปUนระบบ การระบุปrจจัยที่เกี่ยวข(องและเชื่อมโยงกันอย5างเปUนพลวัต เช5น
ระบบการบริหาร ระบบการจัดการเรียนการสอน ระบบประกัน
คุณภาพการศึกษา

13 นำเสนอผล วิธีการที่สถานศึกษานำเสนอผลการดำเนินการให(ผู(ที่เกี่ยวข(อง
รับทราบ เช5น สถานศึกษานำเสนอรายงานสรุปผลการพัฒนาผู(เรียน
ให(ผู(ปกครองรับทราบ สถานศึกษานำเสนอรายงานสรุปผลการ
ประเมนิ ตนเอง (SAR) ให(คณะกรรมการสถานศกึ ษารับทราบ ฯลฯ

14 ชอ่ื หลักฐาน ข(อความที่ปรากฏในรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ที่แสดงให(เห็น
การดำเนินการของสถานศึกษา

15 หลกั ฐานเชงิ ประจักษd ร5องรอยที่สะท(อนผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา หรือสิ่งที่แสดง
ให(เห็นว5าสถานศึกษาปฏิบัติจริง เช5น รายงานประจำป‰ รูปภาพแสดง
การดำเนินกิจกรรมของสถานศึกษา บุคคลที่ปฏิบัติงานจริง
ส่ิงประดษิ ฐd ระเบยี บข(อบังคับทส่ี ะทอ( นการเปล่ยี นแปลง ฯลฯ

16 ชอ่ื ข(อมูล ชื่อข(อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือหรือยอมรับว5าเปUนข(อเท็จจริง สำหรับใช(
เปUนหลักอนุมานหาความจริงหรือการคำณวน

17 ข(อมูลเชงิ ประจกั ษd ข(อมูลที่เปUนอยู5จริงจากแหล5งปฐมภูมิ ที่แสดงให(เห็นว5าสถานศึกษาได(
ดำเนินการจริง เช5น ระเบียบแสดงผลการเรียน (ปพ.1) แผนการสอน
ฯลฯ

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวิธีการการประกนั คณุ ภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 12

ลาํ ดบั คําศัพท์ ความหมาย

18 ผ(ูมสี ว5 นได(สว5 นเสีย บุคคลที่มีความสนใจ หรือเกี่ยวข(องกับสถานศึกษา เช5น ผู(ปกครอง
กรรมการสถานศกึ ษา ประชาชน ชุมชน ฯลฯ

19 บริบทของสถานศกึ ษา คำ ข(อความ หรือสถานการณdแวดล(อมเพื่อช5วยให(เข(าใจ ที่ตั้งอยู5

ขนาดสถานศึกษา ข(อจำกัดในการจัดการศึกษา และสังคมรอบข(าง
เช5น สถานศึกษาที่อยู5บนภูเขา สถานศึกษาขนาดเล็กอยู5ในชุมชน
แออัด สถานศึกษาชายขอบ สถานศึกษาสามจังหวัดชานแดนภาคใต(
ฯลฯ

20 แสดงผลการพัฒนาท่ี สถานศึกษาแสดงให(เห็นผลการดำเนินการตามที่สถานศึกษากำหนด
สงู ข้นึ ในช5วง 3 ป‰ (นิยาม/จุดเน(น) มีการพัฒนาขึ้นอย5างต5อเนื่องตลอด 3 ป‰การศึกษา
การศึกษาอยา5 งตอ5 เนอื่ ง เช5น สถานศึกษานิยามว5าตนเองเปUนสถานศึกษามีความเปUนเลิศด(าน

วิชาการ สถานศึกษานำเสนอผลการเรียนของผู(เรียนในภาพรวม
สงู ขึ้นอย5างต5อเน่อื ง 3 ป‰

21 แนวทางการรกั ษาผลการ สถานศึกษาแสดง แผน/วิธีการ/กระบวนการในการดำเนินการท่ี
พัฒนาท่ีสงู ขึน้ แสดงให(เห็นถึงการรักษาคุณภาพของสถานศึกษาให(สูงเหมือนเดิม
หรือสูงข้นึ

22 นวัตกรรม กระบวนการ วธิ กี าร สิ่งประดิษฐd ผลิตภณั ฑใd หมๆ5 ที่ยงั ไม5เคยมมี าก5อน
หรือเปUนการนำมาดัดแปลง พัฒนาจากของเดิมให(ดีขึ้นเพื่อนำมาใช(
ในการจัดการเรียนการสอนของผู(สอน หรือการบริหารจัดการศึกษา
จนสง5 ผลให(คณุ ภาพผเ(ู รียนโดยรวมมกี ารเปลยี่ นแปลงในทางท่ีดขี น้ึ

23 แบบอย5างทีด่ ี วิธีการหรือแนวทางที่นำไปดำเนินการจนทำให(สถานศึกษาประสบ
(Best Practice) ความสำเร็จตามเป,าหมายที่วางไว(อย5างมีประสิทธิภาพ และเปUนท่ี
ยอมรบั ในระดับต(นสังกัดหรือหนว5 ยงานทกี่ ำกบั ชน้ั แรก

24 วิธีพฒั นาคุณภาพ วิธกี ารดำเนินการของสถานศกึ ษาทใี่ ชใ( นการปรบั ปรุงคณุ ภาพให(ดีขึ้น

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวธิ กี ารการประกนั คณุ ภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 13

ลาํ ดบั คําศัพท์ ความหมาย

25 พัฒนาหลักสตู รการสอน สถานศึกษามีการดำเนินการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะให(ทันต5อ

(อาชีวศึกษา) การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต(องการของตลาดแรงงาน
โดยความรว5 มมือกบั สถานประกอบการหรือหนว5 ยงานท่ีเกยี่ วขอ( ง

26 สือ่ การสอนทีเ่ ออ้ื ต5อการ อุปกรณd วัสดุ สื่อ หรือวิธีการ ที่ใช(ในการถ5ายทอดความรู(ความเข(าใจ
เรียนร(ู ให(แก5ผู(เรียนเพื่อให(เกิดความเข(าใจง5ายยิ่งขึ้น เช5น หุ5นจำลอง
อุปกรณdและเครือ่ งมือ การสาธติ ฯลฯ

27 เทคโนโลยสี ารสนเทศ ระบบหรือกระบวนการต5างๆ ที่ใช(ในการนำเสนอข(อมูล ข(อเท็จจริง
ท่เี ออ้ื ต5อการเรยี นร(ู ความรู( ที่ใช(ในการถ5ายทอดผ5านเทคโนโลยี เพื่อสร(างความรู(ความ
เข(าใจให(แกผ5 ู(เรียนเพ่ือใหเ( กิดความเขา( ใจงา5 ยย่ิงข้ึน เชน5 คอมพวิ เตอรd
ชว5 ยสอน (CAI) อินเทอรเd น็ตเพื่อการสอื่ สาร ฯลฯ

28 แหลง5 เรยี นร(ทู เ่ี อ้อื ตอ5 อาคาร สถานที่ ในพื้นที่ ที่ใช(เพื่อสร(างความรู(ความเข(าใจให(แก5ผู(เรียน
การเรยี นรู( เพื่อให(เกิดความเข(าใจง5ายยิ่งขึ้น เช5น สนามเด็กเล5น แปลงเกษตร
เรอื นเพาะชำ ห(องปฏบิ ัติการ

29 นยิ าม กำหนดหรือจำกัดความหมายที่แนน5 อน (ราชบัณฑิต)

30 จุดเนน( ประเด็นที่ชี้ให(เห็นความหนักแน5น นี้ให(ความสำคัญ เช5น โรงเรียน
เน(นเรื่องความประหยัด โรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนสีขาว โรงเรียน
วทิ ยาศาสตรd

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวิธกี ารการประกนั คณุ ภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 14

ภาคผนวก 3

3.1 เกณฑ์การประเมนิ SAR

พิจารณาผลการดาํ เนนิ การประกัน พิจารณาตามประเดน็ ของ สมศ.
คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานของ ตามเกณฑก์ ารประเมนิ SAR และ

สถานศึกษา (IQA) ตดั สินระดบั คณุ ภาพ 3 ระดับ

ดี พอใช้ ปรบั ปรุง

พิจารณาแยกเป็นรายมาตรฐาน
จากท่ีมชี ่อื หลักฐานหรือขอ้ มลู ปรากฏใน SAR

ตามจาํ นวนตัวชี้วดั

มี 5 ขอ้ มี 4 ขอ้ มี 0-3 ขอ้

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวิธีการการประกนั คุณภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 15

เกณฑ์การประเมนิ SAR ศูนยพ์ ัฒนาเด็ก

ศนู ยพ) ฒั นาเดก็ ประกอบดUวย 3 มาตรฐาน
มาตรฐานด(านท่ี 1 การบริหารจดั การสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
มาตรฐานด(านที่ 2 ครู/ผด(ู แู ลเดก็ ใหก( ารดแู ลและจดั ประสบการณกd ารเรียนรแ(ู ละการเล5นเพื่อพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
มาตรฐานด(านท่ี 3 คุณภาพของเดก็ ปฐมวัย

มาตรฐาน ตวั ชว้ี ดั ระดับ เกณฑ์ตัดสิน

1. การบริหารจัดการ 1. มีการวางแผนการดำเนนิ การในแตล5 ะ ปรับปรุง มี 0 – 3 ขอ(
สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ป‰การศึกษา พอใช( มี 4 ขอ(
มี 5 ข(อ
2. มกี ารนำผลการดำเนนิ การไปใชด( ำเนนิ การ ดี
3. มกี ารประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ขิ องการดำเนนิ การ ปรับปรุง มี 0 – 3 ข(อ
ตามแผน พอใช( มี 4 ขอ(
4. มีการนำผลการประเมนิ ไปใช(ในการปรับปรงุ
แก(ไขในป‰การศกึ ษาต5อไป ดี มี 5 ข(อ
5. มกี ารนำเสนอผลการบรหิ ารจดั การของ
สถานศกึ ษาใหผ( (มู สี ว5 นได(สว5 นเสียได(รบั ทราบ

2. ครู/ผ(ดู แู ลเด็ก 1. ครูหรือผด(ู ูแลเดก็ มกี ารวางแผนการจดั
ใหก( ารดแู ลและจัด ประสบการณกd ารเรยี นรู(รายป‰ครบทกุ หน5วย
ประสบการณกd าร การเรียนรท(ู ุกช้นั ป‰
เรยี นร(ูและการเลน5 2. ครูหรือผูด( แู ลเดก็ มีการนำแผนการจัด
เพ่อื พฒั นาเด็กปฐมวัย ประสบการณกd ารเรยี นรู(ไปใช(ในการจัด
ประสบการณโd ดยใชส( ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และแหลง5 เรียนรทู( ีเ่ อ้ือต5อการเรยี นร(ู
3. มกี ารตรวจสอบและประเมินผลการจัด
ประสบการณอd ยา5 งเปUนระบบ
4. มกี ารนำผลการประเมนิ มาพัฒนาการ
จัดประสบการณขd องครูหรือผ(ดู แู ลเดก็ อยา5 ง
เปUนระบบ
5. มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรแ(ู ละใหข( อ( มลู
ปอ, นกลบั เพอื่ พัฒนาปรับปรงุ การจดั
ประสบการณd

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวิธกี ารการประกันคณุ ภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 16

มาตรฐาน ตัวชี้วดั ระดบั เกณฑ์ตดั สิน

3. คณุ ภาพของเด็ก 1. มกี ารระบเุ ปา, หมายคณุ ภาพของเดก็ ปฐมวัย ปรบั ปรุง มี 0 – 3 ขอ(
ปฐมวัย 2. มกี ารระบวุ ิธพี ัฒนาคุณภาพของเดก็ ปฐมวยั พอใช( มี 4 ขอ(
อย5างเปUนระบบ ตามเป,าหมายการพฒั นาเด็ก
ปฐมวัย ดี มี 5 ข(อ
3. มพี ฒั นาการสมวัยตามเป,าหมายการพฒั นา
เด็กปฐมวัย
4. มกี ารนำผลประเมนิ คณุ ภาพของเด็กปฐมวยั
มาพัฒนาเด็กปฐมวัยให(มพี ัฒนาการสมวัย
5. มีการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพของ
เดก็ ปฐมวยั ต5อผู(ที่เก่ียวข(อง

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวิธีการการประกันคณุ ภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 17

เกณฑ์การประเมิน SAR ระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน

การศึกษาข้ันพ้นื ฐานและการศกึ ษาปฐมวยั ประกอบดUวย 3 มาตรฐาน
การศึกษาปฐมวยั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู(เรยี น

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณdทเี่ นน( เด็ก มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอน
เปUนสำคัญ ทเ่ี นน( ผเ(ู รยี นเปUนสำคญั

เกณฑ์การประเมนิ SAR การศึกษาปฐมวยั

มาตรฐาน ตวั ชวี้ ดั ระดับ เกณฑ์ตัดสิน

1. คุณภาพของเดก็ 1. มกี ารระบเุ ป,าหมายคุณภาพของเดก็ ปฐมวัย ปรับปรงุ มี 0 – 3 ข(อ
2. มีการระบุวิธีพัฒนาคณุ ภาพของเด็กปฐมวยั พอใช( มี 4 ข(อ
อยา5 งเปนU ระบบตามเปา, หมายการพัฒนาเด็ก
ปฐมวัย ดี มี 5 ข(อ
3. มพี ฒั นาการสมวัยตามเปา, หมายการพฒั นา
เด็กปฐมวยั
4. มีการนำผลประเมนิ คณุ ภาพของเด็กปฐมวยั
มาพัฒนาเดก็ ปฐมวัยใหม( ีพัฒนาการสมวัย
5. มกี ารนำเสนอผลการประเมินคุณภาพของ
เดก็ ปฐมวัยตอ5 ผ(ทู เ่ี กยี่ วข(อง

2. กระบวนการบรหิ าร 1. มกี ารวางแผนการดำเนินการในแตล5 ะ ปรับปรงุ มี 0 – 3 ข(อ
และการจดั การ ป‰การศกึ ษา พอใช( มี 4 ขอ(
2. มกี ารนำแผนการดำเนินการไปใช(ดำเนนิ การ มี 5 ข(อ
3. มกี ารประเมนิ ผลสัมฤทธ์ขิ องการดำเนินการ ดี
ตามแผน
4. มีการนำผลการประเมนิ ไปใชใ( นการปรบั ปรุง
แก(ไขในป‰การศึกษาต5อไป
5. มกี ารนำเสนอผลการบรหิ ารจัดการของ
สถานศกึ ษาใหผ( ม(ู ีสว5 นได(ส5วนเสียไดร( ับทราบ

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวิธีการการประกันคณุ ภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 18

เกณฑก์ ารประเมนิ SAR การศึกษาปฐมวัย

มาตรฐาน ตวั ชี้วดั ระดบั เกณฑต์ ดั สิน

3. การจดั ประสบการณd 1. ครูมกี ารวางแผนการจดั ประสบการณdการ ปรับปรุง มี 0 – 3 ข(อ
ทเี่ นน( เดก็ เปนU สำคญั เรียนรู(รายป‰ครบทกุ หน5วยการเรียนรู( ทุกชนั้ ป‰
พอใช( มี 4 ข(อ
2. ครูทุกคนมีการนำแผนการจัดประสบการณd
การเรยี นรไ(ู ปใชใ( นการจัดประสบการณdโดยใช( ดี มี 5 ขอ(
สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล5งเรียนรู(ท่ี
เออื้ ต5อการเรยี นร(ู
3. มกี ารตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั
ประสบการณdอย5างเปUนระบบ
4. มีการนำผลการประเมนิ มาพัฒนาการจดั
ประสบการณขd องครูอย5างเปนU ระบบ
5. มีการแลกเปล่ยี นเรียนร(แู ละใหข( (อมลู
ป,อนกลบั เพอื่ พัฒนาปรับปรุงการจัด
ประสบการณd

เกณฑก์ ารประเมิน SAR การศึกษาขัน้ พื้นฐาน

มาตรฐาน ตัวชี้วดั ระดับ เกณฑ์ตัดสิน

1. คุณภาพของผูเ( รยี น 1. มกี ารระบเุ ป,าหมายคณุ ภาพของผเ(ู รยี น ปรับปรุง มี 0 – 3 ขอ(
2. มกี ารระบุวธิ ีพฒั นาคุณภาพของผเ(ู รียนอย5าง พอใช( มี 4 ขอ(
เปUนระบบตามเปา, หมายการพฒั นาผู(เรียน มี 5 ข(อ
3. มผี ลสัมฤทธิ์ของผ(ูเรยี นตามเปา, หมายการ ดี
พัฒนาผ(เู รยี น
4. มีการนำผลประเมนิ คณุ ภาพผูเ( รยี นมาพฒั นา
ผเ(ู รยี นด(านผลสมั ฤทธิใ์ หส( งู ข้นึ
5. มีการนำเสนอผลการประเมนิ คุณภาพของ
ผู(เรียนต5อผทู( เี่ ก่ียวขอ( ง

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวธิ ีการการประกนั คณุ ภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 19

เกณฑ์การประเมนิ SAR การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

มาตรฐาน ตวั ช้ีวัด ระดบั เกณฑ์ตัดสิน

2. กระบวนการบริหาร 1. มกี ารวางแผนการดำเนนิ การในแต5ละ ปรบั ปรงุ มี 0 – 3 ข(อ
และการจดั การ ป‰การศึกษา พอใช( มี 4 ข(อ
2. มกี ารนำแผนการดำเนินการไปใชด( ำเนนิ การ มี 5 ข(อ
3. มีการประเมนิ ผลสัมฤทธิข์ องการดำเนนิ การ ดี
ตามแผน
4. มีการนำผลการประเมนิ ไปใช(ในการ
ปรบั ปรุงแก(ไขในป‰การศกึ ษาตอ5 ไป
5. มีการนำเสนอผลการบริหารจดั การของ
สถานศึกษาใหผ( ม(ู ีส5วนไดส( 5วนเสียไดร( บั ทราบ

3. การจัดการเรยี น 1. ครมู กี ารวางแผนการจัดการเรยี นร(ูครบ ปรับปรงุ มี 0 – 3 ข(อ
การสอนท่ีเน(นผ(ูเรยี น พอใช( มี 4 ขอ(
เปนU สำคญั ทกุ รายวชิ าทกุ ชนั้ ป‰
2. ครทู ุกคนมีการนำแผนการจัดการเรียนร(ู ดี มี 5 ขอ(
ไปใช(ในการจัดการเรียนการสอนโดยใช(ส่อื
เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง5 เรียนร(ูทีเ่ ออ้ื
ต5อการเรียนร(ู
3. มกี ารตรวจสอบและประเมินผลการจดั การ
เรยี นการสอนอยา5 งเปนU ระบบ
4. มกี ารนำผลการประเมินมาพฒั นาการ
จัดการเรียนการสอนของครูอยา5 งเปUนระบบ
5. มกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรู(และใหข( (อมูล
ป,อนกลับ เพื่อพฒั นาปรับปรุงการจัดการเรยี น
การสอน

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวธิ ีการการประกันคณุ ภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 20

เกณฑ์การประเมนิ SAR สถานศึกษาท่ีมีวัตถปุ ระสงค์พิเศษ

การศึกษาปฐมวัยและการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ประกอบดวU ย 4 มาตรฐาน
การศกึ ษาปฐมวัย การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผ(ูเรยี น
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณdทเ่ี น(นเดก็ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอน

เปนU สำคัญ ที่เนน( ผูเ( รยี นเปนU สำคญั
มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานอ่ืนๆ ทส่ี อดคล(องกับ มาตรฐานท่ี 4 มาตรฐานอนื่ ๆ ทีส่ อดคลอ( งกบั

ประเภทสถานศกึ ษา ประเภทสถานศึกษา

เกณฑ์การประเมิน SAR การศึกษาปฐมวัย

มาตรฐาน ตัวชว้ี ดั ระดบั เกณฑต์ ดั สิน

1. คุณภาพของเดก็ 1. มกี ารระบเุ ป,าหมายคณุ ภาพของเด็กปฐมวยั ปรับปรุง มี 0 – 3 ขอ(
พอใช( มี 4 ข(อ
2. มีการระบุวธิ พี ฒั นาคุณภาพของเด็กปฐมวัย
อยา5 งเปนU ระบบตามเป,าหมายการพัฒนาเดก็ ดี มี 5 ข(อ
ปฐมวัย
3. มพี ัฒนาการสมวยั ตามเปา, หมายการพัฒนา
เดก็ ปฐมวยั
4. มกี ารนำผลประเมินคุณภาพของเดก็ ปฐมวยั
มาพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ให(มพี ัฒนาการสมวัย
5. มกี ารนำเสนอผลการประเมนิ คุณภาพของ
เด็กปฐมวัยต5อผทู( ีเ่ กีย่ วขอ( ง

2. กระบวนการบรหิ าร 1. มีการวางแผนการดำเนินการในแต5ละป‰ ปรบั ปรงุ มี 0 – 3 ขอ(
และการจัดการ พอใช( มี 4 ข(อ
การศึกษา มี 5 ข(อ
2. มีการนำแผนการดำเนนิ การไปใช(ดำเนินการ ดี
3. มกี ารประเมินผลสมั ฤทธ์ิของการดำเนินการ
ตามแผน

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวิธกี ารการประกนั คณุ ภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 21

เกณฑ์การประเมนิ SAR การศึกษาปฐมวยั

มาตรฐาน ตัวชว้ี ัด ระดบั เกณฑต์ ัดสิน

4. มกี ารนำผลประเมินไปใช(ในการปรับปรงุ
แก(ไขในปก‰ ารศึกษาตอ5 ไป
5. มีการนำเสนอผลการบริหารจดั การของ
สถานศกึ ษาใหผ( ม(ู ีสว5 นไดส( ว5 นเสยี ได(รบั ทราบ

3. การจดั ประสบการณd 1. ครมู กี ารวางแผนการจัดประสบการณd ปรบั ปรุง มี 0 – 3 ขอ(
ทเี่ นน( เดก็ เปนU สำคญั การเรยี นร(ูรายปค‰ รบทกุ หนว5 ยการเรียนรู( ทุกชัน้ ป‰ พอใช( มี 4 ขอ(

2. ครูทกุ คนมกี ารนำแผนการจัดประสบการณd ดี มี 5 ข(อ
การเรียนร(ไู ปใชใ( นการจดั ประสบการณโd ดยใช(
สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง5 เรียนร(ูที่เอ้ือ
ต5อการเรียนร(ู
3. มกี ารตรวจสอบและประเมินผลการจัด
ประสบการณdอย5างเปUนระบบ
4. มกี ารนำผลการประเมินมาพฒั นาการจัด
ประสบการณdของครอู ย5างเปนU ระบบ
5. มีการแลกเปลย่ี นเรียนรู(และใหข( อ( มลู
ปอ, นกลับเพ่ือพฒั นาปรบั ปรุงการจดั
ประสบการณd

4. มาตรฐานอ่ืนๆ 1. มีการวางแผนการดำเนินงานที่เกีย่ วขอ( ง ปรับปรุง มี 0 – 3 ข(อ
พอใช( มี 4 ขอ(
ที่สอดคล(องกบั ประเภท 2. มีการดำเนินงานตามแผน มี 5 ข(อ
สถานศกึ ษา 3. มกี ารตรวจสอบและประเมินผลการ ดี
ดำเนินงานตามแผน

4. มกี ารนำผลการประเมินมาพัฒนาหรือ
ปรบั ปรงุ การดำเนนิ งานให(ดีขึน้
5. มกี ารเผยแพร5ผลของ 1 – 4 แก5ผท(ู เ่ี กี่ยวขอ( ง

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวิธีการการประกนั คุณภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 22

เกณฑ์การประเมิน SAR การศึกษาขัน้ พื้นฐาน

มาตรฐาน ตวั ช้ีวัด ระดับ เกณฑ์ตัดสิน

1. คุณภาพของผเ(ู รียน 1. มกี ารระบุเป,าหมายคณุ ภาพของผเ(ู รียน ปรับปรุง มี 0 – 3 ข(อ
2. มกี ารระบวุ ธิ ีพัฒนาคุณภาพของผู(เรียนอยา5 ง พอใช( มี 4 ขอ(
เปUนระบบตามเปา, หมายการพัฒนาผเู( รยี น มี 5 ขอ(
3. มผี ลสมั ฤทธขิ์ องผูเ( รียนตามเปา, หมายการ ดี
พฒั นาผู(เรียน
4. มกี ารนำผลประเมินคุณภาพผเู( รยี นมาพัฒนา
ผเ(ู รยี นด(านผลสมั ฤทธใ์ิ ห(สูงขน้ึ
5. มกี ารนำเสนอผลการประเมินคณุ ภาพของ
ผเู( รียนต5อผ(ทู ี่เกีย่ วข(อง

2. กระบวนการบรหิ าร 1. มีการวางแผนการดำเนนิ การในแตล5 ะ ปรับปรงุ มี 0 – 3 ข(อ
และการจัดการ พอใช( มี 4 ขอ(
ปก‰ ารศึกษา มี 5 ขอ(
2. มีการนำแผนการดำเนินการไปใชด( ำเนินการ ดี
3. มีการประเมินผลสมั ฤทธ์ขิ องการดำเนนิ การ
ตามแผน
4. มกี ารนำผลการประเมนิ ไปใช(ในการปรับปรงุ
แก(ไขในป‰การศึกษาตอ5 ไป
5. มกี ารนำเสนอผลการบรหิ ารจดั การของ
สถานศกึ ษาใหผ( ูม( ีส5วนได(ส5วนเสียได(รบั ทราบ

3. การจัดการเรียน 1. ครูมกี ารวางแผนการจัดการเรยี นร(คู รบ ปรับปรุง มี 0 – 3 ขอ(
การสอนท่เี นน( ผเ(ู รยี น ทกุ รายวิชาทุกช้ันป‰ พอใช( มี 4 ข(อ
เปUนสำคญั 2. ครูทกุ คนมีการนำแผนการจัดการเรยี นรู(
ไปใช(ในการจดั การเรียนการสอนโดยใช(ส่ือ ดี มี 5 ขอ(
เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง5 เรยี นรทู( ่ีเอ้อื
ตอ5 การเรยี นรู(
3. มีการตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั
การเรียนการสอนอย5างเปนU ระบบ

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวิธีการการประกันคณุ ภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 23

เกณฑก์ ารประเมิน SAR การศึกษาขนั้ พื้นฐาน

มาตรฐาน ตัวชีว้ ดั ระดับ เกณฑต์ ดั สิน

4. มกี ารนำผลการประเมินมาพฒั นาการจดั
การเรียนการสอนของครูอย5างเปUนระบบ
5. มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรู(และให(ขอ( มลู
ปอ, นกลบั เพ่อื พัฒนาปรบั ปรุงการจัดการเรียน
การสอน

4. มาตรฐานอน่ื ๆ 1. มีการวางแผนการดำเนินงานทเ่ี กยี่ วข(อง ปรับปรงุ มี 0 – 3 ข(อ
พอใช( มี 4 ข(อ
ท่ีสอดคล(องกับประเภท 2. มกี ารดำเนินงานตามแผน มี 5 ข(อ
ดี
สถานศึกษา 3. มกี ารตรวจสอบและประเมินผลการ
ดำเนนิ งานตามแผน
4. มีการนำผลการประเมินมาพฒั นาหรอื

ปรับปรุงการดำเนินงานให(ดขี น้ึ
5. มกี ารเผยแพร5ผลของ 1 – 4 แก5ผ(ทู เี่ กี่ยวขอ( ง

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวธิ กี ารการประกนั คุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 24

เกณฑ์การประเมิน SAR ด้านการอาชวี ศึกษา

ดาU นการอาชวี ศกึ ษา ประกอบดวU ย 3 มาตรฐาน
มาตรฐานดา( นที่ 1 คณุ ลกั ษณะของผูส( ำเรจ็ การศึกษาอาชวี ศกึ ษาทพี่ ึงประสงคd
มาตรฐานด(านที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา
มาตรฐานด(านที่ 3 การสร(างสังคมแห5งการเรยี นรู(

มาตรฐาน ตัวช้วี ดั ระดับ เกณฑต์ ดั สิน

1. คณุ ลักษณะของ 1. มีการระบเุ ป,าหมายคณุ ภาพผส(ู ำเรจ็ ปรับปรงุ มี 0 – 3 ขอ(
ผ(สู ำเรจ็ การศึกษา การศกึ ษา
อาชีวศกึ ษาที่ 2. มกี ารระบวุ ิธกี ารพัฒนาคณุ ภาพผ(ูสำเร็จ พอใช( มี 4 ข(อ
พึงประสงคd การศึกษาอยา5 งเปUนระบบ ใหเ( ปUนไปตาม
เป,าหมายทกี่ ำหนดไว(
3. มีผลสมั ฤทธิข์ องผู(สำเรจ็ การศกึ ษาตาม ดี มี 5 ข(อ
เป,าหมายการพฒั นาผูเ( รียน
4. มีการนำผลประเมนิ คุณภาพผู(สำเรจ็
การศึกษาไปพฒั นาผ(เู รยี นใหม( ีคณุ ภาพสงู ข้นึ
5. มีการนำเสนอผลการประเมนิ คณุ ภาพ
ผูส( ำเร็จการศึกษาตอ5 ผ(ูท่ีเกยี่ วขอ( ง

2. การจดั การ 1. มีการวางแผนในการพฒั นาปรบั ปรุง ปรับปรุง มี 0 – 3 ข(อ
อาชวี ศึกษา หลักสตู ร/หลกั ฐานฐานสมรรถนะแต5ละ พอใช( มี 4 ข(อ
ปก‰ ารศกึ ษา
2. มกี ารนำหลกั สูตร/หลกั สูตรฐานสมรรถนะ ดี มี 5 ข(อ
ไปใชใ( นการจดั การเรียนการสอนโดยใชส( อ่ื
เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง5 เรียนร(ูทเ่ี ออ้ื
ต5อการเรียนรู(
3. มกี ารบริหารจัดการสถานศกึ ษาอยา5 ง
เปนU ระบบ
4. มีการนำนโยบายของหนว5 ยงานตน( สังกดั
ไปสูก5 ารปฏบิ ตั ิ

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวิธกี ารการประกันคุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 25

มาตรฐาน ตัวช้ีวดั ระดับ เกณฑ์ตดั สิน

3. การสรา( งสังคม 5. มกี ารนำเสนอผลการบรหิ ารจดั การและการ
แหง5 การเรยี นรู( จดั การเรียนการสอนใหผ( มู( ีส5วนได(ส5วนเสีย
รบั ทราบ

1. มกี ารวางแผนการดำเนินการการสร(างสงั คม ปรับปรงุ มี 0 – 3 ข(อ
แห5งการเรียนร(ใู นแต5ละป‰การศึกษา พอใช( มี 4 ขอ(
2. มกี ารนำแผนการดำเนนิ การไปใช(ดำเนนิ การ
3. มีการประเมินผลสมั ฤทธ์ิของการดำเนินการ ดี มี 5 ข(อ
การสร(างสงั คมแห5งการเรียนรตู( ามแผน
4. มีการนำผลการประเมินไปใชใ( นการปรับปรงุ
แก(ไขในป‰การศกึ ษาต5อไป
5. มีการนำเสนอผลการสร(างสังคมแหง5 การ
เรยี นรข(ู องสถานศกึ ษาใหผ( (ูมีส5วนไดส( 5วนเสีย
ได(รับทราบ

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวธิ กี ารการประกนั คณุ ภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 26

เกณฑก์ ารประเมนิ SAR

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

ประกอบดวU ย 3 ประเภท
ประเภทท่ี 1 การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
ประเภทที่ 2 การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั การศกึ ษาต5อเนือ่ ง
ประเภทท่ี 3 การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั การศึกษาตามอธั ยาศัย

เกณฑ์การประเมนิ SAR การศึกษานอกระบบฯ การศึกษาขนั้ พื้นฐาน

มาตรฐาน ตวั ช้ีวดั ระดบั เกณฑต์ ดั สิน

1. คณุ ภาพของผ(ูเรียน 1. มีการระบเุ ปา, หมายคุณภาพผ(เู รยี น ปรับปรงุ มี 0 – 3 ขอ(
การศกึ ษานอกระบบ 2. มีการระบวุ ิธกี ารพฒั นาคุณภาพผเู( รยี น พอใช( มี 4 ข(อ
ระดับการศกึ ษา อยา5 งเปนU ระบบตามเปา, หมายการพฒั นาผเ(ู รียน มี 5 ข(อ
ขน้ั พน้ื ฐาน 3. มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของผเ(ู รียนตาม ดี
เปา, หมายทีส่ ถานศกึ ษากำหนด ปรบั ปรงุ มี 0 – 3 ข(อ
2. คณุ ภาพการจดั 4. มกี ารนำผลประเมินคณุ ภาพผ(ูเรียนไปพัฒนา พอใช( มี 4 ข(อ
การศึกษานอกระบบ ผ(เู รยี นใหม( คี ณุ ภาพสงู ขน้ึ
ระดับการศกึ ษา 5. มีการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพผู(เรยี น ดี มี 5 ข(อ
ขั้นพื้นฐานท่ีเน(นผู(เรียน ต5อผ(ูทเี่ กี่ยวขอ( ง
เปUนสำคัญ
1. ครมู ีการวางแผนการจัดการเรยี นรร(ู ายป‰
ครบทกุ รายวชิ า ทุกระดับการศึกษา
2. ครูทกุ คนมกี ารนำแผนการจัดการเรียนร(ู
ไปใชใ( นการจัดการเรยี นการสอนโดยใชส( อื่
เทคโนโลยีสารสนเทศหรอื แหลง5 เรียนร(ทู ่เี อื้อ
ต5อการเรยี นรู(
3. มีการตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั
การเรยี นการสอนอยา5 งเปUนระบบ
4. มกี ารนำเสนอผลการประเมินมาพัฒนา
การจัดการเรยี นการสอนของครูอย5างเปนU ระบบ
5. มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรแู( ละใหข( อ( มลู
ป,อนกลบั เพ่ือพฒั นาปรับปรงุ การจัดการเรียน
การสอน

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวิธกี ารการประกนั คณุ ภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 27

เกณฑก์ ารประเมิน SAR การศึกษานอกระบบฯ การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

มาตรฐาน ตัวชวี้ ดั ระดบั เกณฑต์ ัดสิน

3. คณุ ภาพการบริหาร 1. มีการจดั ทำแผนพฒั นาการจดั การศึกษาหรอื ปรบั ปรุง มี 0 – 3 ข(อ
จัดการของสถานศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา และแผนปฏบิ ัติ พอใช( มี 4 ขอ(
การประจำปข‰ องสถานศึกษาในแต5ละ
ปง‰ บประมาณ ดี มี 5 ข(อ
2. มีการนำแผนไปดำเนนิ การอยา5 งเปนU
รูปธรรม
3. มกี ารประเมินและสรุปผลการดำเนนิ งาน
ตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำป‰
4. มกี ารนำผลการประเมนิ ไปใชใ( นการปรับปรงุ
แกไ( ขในปง‰ บประมาณต5อไป
5. มีการนำเสนอผลการบริหารจดั การของ
สถานศึกษาใหผ( มู( สี ว5 นได(ส5วนเสยี ไดร( ับทราบ

เกณฑ์การประเมนิ SAR การศึกษานอกระบบฯ การศึกษาต่อเนื่อง

มาตรฐาน ตวั ช้ีวัด ระดบั เกณฑ์ตัดสิน

1. คุณภาพของผเู( รียน 1. มีการระบเุ ป,าหมายคณุ ภาพผ(เู รียน ปรบั ปรงุ มี 0 – 3 ขอ(
การศกึ ษาตอ5 เนือ่ ง การศกึ ษาตอ5 เนื่อง พอใช( มี 4 ข(อ
2. มกี ารระบวุ ิธีพฒั นาคุณภาพผู(เรียนการศกึ ษา
ต5อเน่ืองอย5างเปนU ระบบ ตามเป,าหมายการ ดี มี 5 ข(อ
พัฒนาผูเ( รียน
3. มผี จ(ู บการศกึ ษาหลักสูตรการศึกษาตอ5 เนือ่ ง
ตามเปา, หมายทสี่ ถานศกึ ษากำหนดไว(
4. มผี ูจ( บการศกึ ษาตามหลกั สตู รการศึกษา
ตอ5 เนอ่ื งท่ีนำความร(ูทไี่ ด(รับไปใช(หรอื
ประยกุ ตใd ชใ( นการดำเนนิ ชีวติ
5. มกี ารนำเสนอผลการจดั การศึกษาต5อเน่ือง
ตอ5 ผู(ท่ีเกยี่ วขอ( ง

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวิธกี ารการประกันคุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 28

เกณฑก์ ารประเมิน SAR การศึกษานอกระบบฯ การศึกษาตอ่ เน่อื ง

มาตรฐาน ตวั ช้ีวดั ระดบั เกณฑ์ตัดสิน

2. คุณภาพการจัดการ 1. วทิ ยากรมีการวางแผนการจดั การเรยี นร(ู ปรับปรงุ มี 0 – 3 ข(อ
เรยี นรก(ู ารศกึ ษา รายปค‰ รบทกุ รายวชิ า
ตอ5 เน่ือง 2. วิทยากรทุกคนมกี ารนำแผนการจัดการ
เรยี นรไ(ู ปใชใ( นการจัดการเรียนการสอนโดยใช(
สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรอื แหลง5 เรียนร(ู พอใช( มี 4 ข(อ
ทเี่ ออ้ื ตอ5 การเรยี นร(ู
3. มีการตรวจสอบและประเมินการจดั การ ดี มี 5 ขอ(
เรียนการสอนของวิทยากรอยา5 งเปUนระบบ
4. มีการนำผลการประเมินมาพฒั นาการจัด
การเรยี นการสอนของวิทยากรอย5างเปนU ระบบ
5. มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนร(แู ละใหข( อ( มลู
ป,อนกลบั เพือ่ พฒั นาปรับปรุงการจัดการเรยี น
การสอนของวทิ ยากรอย5างเปนU ระบบ

3. คณุ ภาพการบรหิ าร 1. มีการจดั ทำแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาหรือ ปรับปรงุ มี 0 – 3 ขอ(
จดั การของสถานศกึ ษา แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา และแผนปฏิบัติ พอใช( มี 4 ขอ(
การประจำป‰ของสถานศกึ ษาในแตล5 ะ
ป‰งบประมาณ ดี มี 5 ขอ(
2. มกี ารนำแผนไปดำเนนิ การอยา5 งเปUน
รปู ธรรม
3. มีการประเมินและสรปุ ผลการดำเนนิ งาน
ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำป‰
4. มกี ารนำผลการประเมินไปใชใ( นการปรับปรุง
แก(ไขในปง‰ บประมาณต5อไป
5. มกี ารนำเสนอผลการบรหิ ารจดั การของ
สถานศกึ ษาให(ผู(มีสว5 นได(สว5 นเสยี ได(รับทราบ

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวธิ กี ารการประกันคุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 29

เกณฑก์ ารประเมิน SAR การศึกษานอกระบบฯ การศึกษาตามอธั ยาศัย

มาตรฐาน ตวั ชี้วัด ระดับ เกณฑ์ตดั สิน

1. คุณภาพของ 1. มกี ารระบเุ ป,าหมายความพึงพอใจของ ปรับปรุง มี 0 – 3 ข(อ
ผร(ู บั บริการการศึกษา ผร(ู บั บรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศัย พอใช( มี 4 ข(อ
ตามอัธยาศยั 2. มีการออกแบบการจัดกจิ กรรมท่สี อดคลอ( ง
กับโครงการหรอื กจิ กรรมการศึกษาตาม ดี มี 5 ขอ(
2. คุณภาพการจัด อธั ยาศยั ทส่ี อดคล(องกับเปา, หมายความ
การศึกษาตามอธั ยาศัย พงึ พอใจของผ(รู บั บริการการศึกษาตามอธั ยาศยั ปรบั ปรงุ มี 0 – 3 ขอ(
3. มผี ลความพึงพอใจของผูร( บั บรกิ ารการศกึ ษา พอใช( มี 4 ข(อ
ตามอธั ยาศยั ต้งั แต5ระดบั ดีข้นึ ไป
4. มกี ารนำผลการประเมินความพึงพอใจของ ดี มี 5 ขอ(
ผร(ู บั บริการการศึกษาตามอธั ยาศัยไปพฒั นาให(
มคี ุณภาพสงู ขนึ้
5. มกี ารนำเสนอผลการประเมินความพึงพอใจ
ของผู(รบั บรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศัยต5อผ(ูท่ี
เก่ยี วขอ( ง

1. สถานศกึ ษามีการวางแผนโครงการหรอื
กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศัยเปUนประจำทกุ ป‰
2. มีการนำแผนโครงการหรอื กิจกรรม
การศกึ ษาตามอัธยาศัยไปใช(ในการจัด
การศึกษา โดยใช(สอื่ หรอื นวัตกรรม และ
สภาพแวดลอ( มท่ีเอ้อื ต5อการจดั การศึกษาตาม
อัธยาศยั
3. มกี ารตรวจสอบและประเมนิ ผ(เู ขา( ร5วม
โครงการหรอื กิจกรรมอย5างเปUนระบบ
4. มกี ารนำผลการประเมินมาพัฒนาการจัด
โครงการหรอื กจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
ในป‰ถัดไป
5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู(และใหข( อ( มลู
ป,อนกลบั เพอ่ื พฒั นาปรบั ปรงุ ในการจัด
โครงการหรือกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวธิ ีการการประกันคณุ ภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 30

เกณฑก์ ารประเมิน SAR การศึกษานอกระบบฯ การศึกษาตามอัธยาศัย

มาตรฐาน ตวั ชี้วดั ระดบั เกณฑต์ ัดสิน

3. คณุ ภาพการบรหิ าร 1. มีการจดั ทำแผนพฒั นาการจัดการศึกษาหรือ ปรับปรุง มี 0 – 3 ข(อ
จดั การของสถานศึกษา แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา และแผนปฏบิ ตั ิ พอใช( มี 4 ขอ(
การประจำป‰ของสถานศกึ ษาในแต5ละ
ป‰งบประมาณ ดี มี 5 ขอ(
2. มกี ารนำแผนไปดำเนนิ การอยา5 งเปนU
รปู ธรรม
3. มีการประเมินและสรปุ ผลการดำเนนิ งาน
ตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำป‰
4. มีการนำผลการประเมินไปใชใ( นการปรบั ปรุง
แกไ( ขในปง‰ บประมาณต5อไป
5. มีการนำเสนอผลการบริหารจดั การของ
สถานศึกษาให(ผูม( ีส5วนไดส( 5วนเสยี ได(รับทราบ

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวิธกี ารการประกันคณุ ภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 31

ภาคผนวก 3

3.2 เกณฑก์ ารประเมินผลการตรวจเย่ยี ม

พิจารณาผลการดาํ เนนิ พิจารณาตามประเดน็ ของ สมศ.
การประกนั คุณภาพภายใน ตามเกณฑ์การประเมนิ จากการ
ตามมาตรฐานของสถานศึกษา (IQA) ตรวจเยย่ี ม และตัดสินระดับคุณภาพ
ตามหลักฐานหรอื ข้อมูลเชงิ ประจักษ์
ทัง้ หมด 5 ระดบั
ในช่วงตรวจเย่ยี ม

ปรับปรงุ ดีมาก
พอใช้ ดีเย่ยี ม

ดี

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวิธีการการประกนั คุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 32

เกณฑ์การประเมินผลจากการตรวจเยีย่ ม

ทกุ ระดับ/ประเภทการศึกษา และทุกมาตรฐาน

ระดบั เกณฑ์ตัดสิน

ปรับปรงุ - พบหลักฐานหรอื ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ในชว่ งการตรวจเย่ยี ม
ตามจํานวนตวั ช้ีวดั ไม่เกนิ 3 ขอ้ ทีน่ ําเสนอไว้ใน SAR

พอใช้ - พบหลกั ฐานหรือขอ้ มูลเชงิ ประจกั ษ์ในช่วงการตรวจเย่ยี ม
ตามจํานวนตวั ช้วี ดั 4 ข้อ ทีน่ าํ เสนอไว้ใน SAR

ดี - พบหลกั ฐานหรอื ข้อมูลเชงิ ประจักษ์ในช่วงการตรวจเย่ียม

ตามจาํ นวนตัวช้ีวัด 5 ข้อ ท่นี าํ เสนอไวใ้ น SAR

ดมี าก - พบหลักฐานหรือขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์ในช่วงการตรวจเย่ียมท่แี สดง
ผลการพัฒนาที่สูงขึน้ ในชว่ ง 3 ปีการศึกษาอยา่ งตอ่ เนื่อง และ

- พบแนวทางรกั ษาผล หรือ การพัฒนาท่สี ูงข้นึ

ดีเยีย่ ม - พบหลกั ฐานหรอื ขอ้ มูลเชงิ ประจักษ์ในชว่ งการตรวจเย่ยี มท่แี สดง
ผลการพัฒนาที่สูงขึ้นในชว่ ง 3 ปีการศึกษาอย่างต่อเน่อื ง และ

- พบแนวทางรักษาผล หรือ การพัฒนาท่ีสูงขน้ึ และ
- พบหลกั ฐานท่ีแสดงใหเ้ ห็นว่าสถานศึกษามแี บบอยา่ งที่ดี

(Best Practice) หรอื มีนวัตกรรม (Innovation)

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวิธกี ารการประกนั คณุ ภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 33

ภาคผนวก 4

แนวทางการประเมินระดับ ‘ดมี าก’ ‘ดีเยีย่ ม’

ระดบั ดมี าก พิจารณาจดุ เน้น วา่ สถานศึกษาระบไุ ว้
ตอนประเมิน SAR ในเร่ืองใด

พิจารณาขอ้ มลู ในแบบฟอรม์ CO-05 วา่ สถานศึกษา
ขอประเมนิ พัฒนาการในเร่อื งใด สอดคล้องกับจดุ เน้น
ท่ีอยใู่ นรายงานประเมนิ SAR หรอื ไม่
(หากไม่สอดคลอ้ งกบั จุดเน้นทีอ่ ยู่ในรายงานการประเมนิ SAR
ควรประสานสถานศึกษาใหน้ ําเสนอข้อมลู ในแบบฟอรม์ CO-05
เพ่ิมเตมิ )

พบหลักฐานหรอื ข้อมลู พิจารณาตรวจสอบหลักฐานและขอ้ มลู ของสถานศึกษาว่า
เชงิ ประจักษ์ในช่วงตรวจเย่ยี ม เปน็ ไปตามท่ไี ดเ้ สนอในแบบฟอรม์ CO-05 หรือไม่
ทแ่ี สดงผลการพัฒนาทส่ี ูงข้นึ และมีพัฒนาการต่อเน่อื งอยา่ งไร
ในชว่ ง 3 ปีการศึกษาอย่าง
พิจารณาว่าสถานศึกษามีแนวทางรกั ษาผลการพัฒนา
ตอ่ เนอ่ื ง ท่ีสูงข้ึนหรือไม่
และ

พบแนวทางรกั ษาผล หรือ
การพัฒนาท่สี ูงขึน้

ตัดสินผลการประเมินตามรายมาตรฐาน

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวิธีการการประกนั คุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 34

ตั ว อ ย่ า ง

พัฒนาการ

มาตรฐาน • คะแนน O-NET NT ฯลฯ สูงขึ้น
ผเู้ รียน • ผลการประกันคุณภาพภายใน โดยสถานศึกษาหรือตน้ สังกัดสูงขนึ้
• ผล GPA ของผเู้ รียนในโรงเรียนโดยเฉล่ียสูงขึน้
• ผเู้ รยี นไดร้ ับรางวัลในเร่อื งเดยี วกนั ตอ่ เน่ือง (การเรียน กีฬา

มารยาท ฯลฯ)
• ฯลฯ

มาตรฐาน • ผ้สู อนได้รบั รางวลั ในเร่ืองเดยี วกนั ต่อเน่ือง
ผู้สอน (วธิ กี ารสอน พฤติกรรม การผลติ ส่ือ ฯลฯ)

• รางวัลจากหนว่ ยงานภายนอกท่ีเปน็ ท่ียอมรับในวงวิชาการ หรอื
หนว่ ยงานต้นสังกดั

• ผสู้ อนในกลุม่ สาระฯ เดียวกนั หรอื ต่างกลมุ่ สาระฯ ก็ได้

มาตรฐาน • ผบู้ รหิ ารได้รับรางวลั ในเร่อื งเดียวกันต่อเน่อื ง
ผบู้ รหิ าร • โรงเรียนได้รับรางวลั ประเภทเดยี วกนั ต่อเน่ือง
• โรงเรียนไดร้ บั ผลประเมนิ ตนเอง (IQA) โดยหนว่ ยงานตน้ สังกัด

หรอื เขตพ้ืนท่กี ารศึกษาสูงข้นึ ตอ่ เน่ือง

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวธิ ีการการประกนั คุณภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 35

ภาคผนวก 4

แนวทางการประเมนิ ระดับ ‘ดีมาก’ ‘ดีเยีย่ ม’

ตอ้ งมี

ระดับดีเย่ียม นวตั กรรม
(Innovation)

หมายถึง กระบวนการ วธิ ีการ ส่ิงประดษิ ฐ์
ผลติ ภณั ฑ์ใหม่ๆ ท่ียงั ไม่เคยมมี ากอ่ น หรอื เป็นการ
นาํ มาดัดแปลงหรือพัฒนาจากของเดมิ ใหด้ ีข้ึนเพ่ือ
นํามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน หรือการ
บริหารจัดการศึกษาจนส่งผลให้คณุ ภาพของ
ผ้เู รียนโดยรวมมีการเปล่ยี นแปลงในทางท่ีดขี ้นึ

พบหลกั ฐานหรอื ขอ้ มูล หรือ
เชงิ ประจักษ์ในช่วงตรวจเย่ียม
ท่แี สดงผลการพัฒนาท่สี ูงขน้ึ แบบอยา่ งท่ดี ี
ในชว่ ง 3 ปีการศึกษาอยา่ ง (Best Practice)

ตอ่ เน่ือง หมายถึง วธิ กี ารหรือแนวทางท่ีนาํ ไปดาํ เนนิ การจน
และ ทําให้สถานศึกษาประสบความสําเร็จตามเป้าหมาย
ท่วี างไวอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และเป็นท่ยี อมรับใน
พบแนวทางรักษาผล หรือ ระดับตน้ สังกัดหรือหนว่ ยงานท่กี ํากับข้นั แรก
การพัฒนาท่ีสูงข้นึ
และ

พบหลักฐานท่แี สดงใหเ้ หน็ ว่า
สถานศึกษามแี บบอย่างทด่ี ี

(Best Practice) หรอื
มีนวัตกรรม (Innovation)

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวธิ กี ารการประกันคุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 36

นวตั กรรม (Innovation) แบบอยา่ งทด่ี ี (Best Practice)
ในสถานศึกษา ของสถานศึกษา

• การจัดการเรยี นการสอนแบบ Learning • การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาเพ่ือ
Box หรอื กล่องการเรียนรู้ เพ่ือใชใ้ นการ ยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น
จัดการเรียนการสอนแบบออฟไลน์
(Offline) และออนไลน์ (Online) เพ่ือให้ • โครงการสถานศึกษาสีขาว
นกั เรยี นเกดิ การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ
พัฒนาชุดทกั ษะและความรู้แบบบูรณาการ
โดยมีผู้ปกครองเป็นผชู้ ่วยสนับสนุนให้ • การจดั กจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้
เรียนรูอ้ ย่างเขา้ ใจตามบริบทและชว่ งวยั
ของผเู้ รียน • ฯลฯ

• การพัฒนาสถานศึกษาสีขาว ปลอดยา
เสพตดิ และอบายมขุ โดยใช้รปู แบบ
“K-M-CLEAN”

• อ่ืนๆ

การเปรียบเทยี บ

• แบบอย่างทดี่ ี (Best Practice) และ นวตั กรรม (Innovation) •

แบบอย่างท่ดี ี ประเด็น นวตั กรรม
(Best Practice) (Innovation)

เร่มิ ต้นจากความคิดของบคุ ลากรใน ความเหมือน เรม่ิ ตน้ จากความคิดของบคุ ลากรใน
สถานศึกษา หรอื บคุ คลท่ีเก่ยี วขอ้ ง สถานศึกษา หรอื บคุ คลท่ีเก่ยี วข้อง
เช่น กรรมการสถานศึกษา
เชน่ กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน ฯลฯ
ผูป้ กครอง ชุมชน ฯลฯ

เป็นท่ียอมรบั ของใหม่ / ของเดิม*

ความตา่ ง *(นาํ มาจากทีอ่ นื่ + ปรับใช้ + เป็นประโยชน)์

มผี ลการพิสูจนว์ ่าใครได้รับผลการ ผลการพิสูจน์ มผี ลการพิสูจน์วา่ ใครได้รับผลการ
ดําเนินการดงั กล่าว เช่น ผบู้ ริหาร ดําเนนิ การดงั กล่าว เชน่ ผู้บริหาร
ผูส้ อน ผูเ้ รยี น ผปู้ กครอง กรรมการ ผู้สอน ผู้เรียน ผู้ปกครอง กรรมการ
สถานศึกษา ชุมชน เป็นตน้
สถานศึกษา ชุมชน เป็นตน้

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวิธกี ารการประกันคณุ ภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 37

วธิ ีประเมนิ

• นวัตกรรม (Innovation) และ แบบอย่างท่ีดี (Best Practice) •
รายมาตรฐาน (หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์)

1) คณะผู้ประเมินตรวจสอบแบบฟอร์ม CO-05 ว่าสถานศึกษามีการระบชุ ่อื นวัตกรรม
(Innovation) หรือแบบอย่างท่ีดี (Best Practice) และเปน็ ส่ิงท่เี กดิ ขึน้ ในระยะเวลาท่ีปรากฏ
อย่ใู น SAR เชน่ รายงานการประเมนิ ตนเองปกี ารศึกษา 2563 มนี วัตกรรม (Innovation) หรือ
แบบอยา่ งท่ดี ี (Best Practice) ระบุอยู่ในปกี ารศึกษานน้ั

2) คณะผู้ประเมนิ สอบถามหรือหาข้อมลู เพิ่มเตมิ เก่ยี วกับนวัตกรรม (Innovation) หรอื
แบบอยา่ งท่ดี ี (Best Practice) เพิ่มเติมในประเด็นต่อไปน้ี
- ใครเป็นผูค้ ิด และเป็นผู้ดําเนินการ
- ใครเป็นผู้สนับสนุน
- ใครเป็นผไู้ ด้รบั ผลประโยชนโ์ ดยตรง

3) คณะผูป้ ระเมนิ จัดทาํ ตารางนดั หมายการตรวจสอบหลักฐาน หรือขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์
ของนวตั กรรม (Innovation) หรอื แบบอยา่ งท่ีดี (Best Practice)

4) การลงพ้ืนท่ตี รวจเย่ียม คณะผปู้ ระเมนิ สอบถามผู้เก่ียวข้องตามตารางนัดหมาย
พร้อมขอดหู ลักฐานหรือข้อมลู เชิงประจักษ์

5) วธิ กี ารพิจารณาใหต้ ดั สินระดับคณุ ภาพดเี ย่ยี มต้องเปน็ ไปตามเง่ือนไขตามตารางเท่านัน้

ผู้คิด ผสู้ นบั สนุนในการจดั ทํา ผ้ไู ดร้ บั
นวัตกรรม (Innovation) หรอื นวัตกรรม (Innovation) หรอื ผลประโยชน์
แบบอย่างท่ีดี (Best Practice) แบบอยา่ งท่ดี ี (Best Practice) “โดยตรง”

ผู้สอน ผ้บู รหิ าร ผู้เรยี น

ผบู้ รหิ าร ผู้สอน

ผลประเมินรายมาตรฐาน ระดับคุณภาพ
ดเี ยย่ี ม
มาตรฐาน ดเี ย่ยี ม
คณุ ภาพของผเู้ รยี น ดเี ยย่ี ม
กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
การจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสําคญั

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวธิ กี ารการประกนั คณุ ภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 38

ตัวอยา่ ง

ตัวอยา่ งท่ี 1

สถานศึกษาแห่งหนึ่งมีจุดเน้นเร่ือง “การเรียนดี” โดยมีนวัตกรรม เร่ือง “พี่ช่วยน้อง
ผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ” โดย “ครูภาษาอังกฤษเป็นผู้คิด” เพ่ือให้ผลการเรียน
ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับช้ัน ป.1 - ป.6 มีระดับท่ีสูงข้ึน โดยได้ดําเนินการเร่ิมใช้
มาต้ังแต่ปีการศึกษา 2560 จนถึงปัจจุบัน ซ่ึง “ผู้บริหารได้ให้การสนับสนุน” ด้าน
งบประมาณในการติดต้ังระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการอบรมความรู้เก่ียวกับ
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับครู ซึ่งผลปรากฏว่าผลการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ
ของนักเรียนระดับชั้น ป.1 - ป.6 มีระดับท่ีสูงข้ึนอย่างต่อเน่ืองทุกปี โดยมีการแสดง
หลกั ฐานท่ีชัดเจนวา่ มผี ลเกดิ ข้ึนกับ “ผู้เรยี นโดยตรง”

ตัวอยา่ งที่ 2

สถานศึกษาแห่งหนึ่งมีจุดเน้นเร่ือง “ร่วมพัฒนาสังคม” โดยมีนวัตกรรมเร่ือง
“การจัดทําบัญชีครัวเรือนโดยใช้ทฤษฎีปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศ” โดย “ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้คิด” เพ่ือให้ผู้ปกครอง
ชุมชนรอบข้างสถานศึกษาสามารถมีรายได้เล้ียงดูตัวเองได้อย่างเหมาะสม ส่งผลให้
ผู้เรียนได้รับการศึกษาอย่างต่อเน่ือง โดยได้ดําเนินการเริ่มใช้มาตั้งแต่เร่ิม
ปีการศึกษา 2560 จนถึงปัจจุบัน ซ่ึง “ครูผู้สอนได้มีส่วนร่วม” ในการจัดการเรียน
การสอนให้กับผู้เรียนในเร่ืองเก่ียวกับวินัยการใช้เงินโดยสอดแทรกในเน้ือหาท่ีสอน
พร้อมท้ังได้มีการเข้าไปให้ความรู้กับชุมชนรอบข้างของสถานศึกษาในการจัดทํา
บัญชีครัวเรือนโดยใช้ทฤษฎีปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ ส่งผลให้ชุมชนรอบข้างสถานศึกษาสามารถเล้ียงดูตัวเองได้อย่าง
ต่อเน่อื ง โดยมกี ารแสดงหลักฐานท่ีชัดเจนว่ามผี ลเกิดขน้ึ กับ “ผเู้ รยี นทางออ้ ม”

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวธิ ีการการประกันคณุ ภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 39

ภาคผนวก 5

ช่ือแบบฟอร์มท่ีเก่ียวขอ้ ง

CO-01 SAR ของสถานศึกษา

CO-02 แบบตรวจสอบรายงานการประเมินตนเอง (SAR)
โดยคณะผู้ประเมินภายนอก

CO-03 แนวทางการพิจารณา SAR ตามมาตรฐานและ
หลกั เกณฑ์ สมศ.

CO-04 รายงานการประกนั คณุ ภาพภายนอก: ผลการประเมนิ SAR
ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19

CO-05 แบบคาํ ร้องของสถานศึกษาให้ สมศ. ลงพ้ืนท่ตี รวจเย่ียมหรือ
ตรวจสอบหลกั ฐานและข้อมูลของสถานศึกษาดว้ ยวธิ กี าร
ทางอิเลก็ ทรอนิกส์

CO-06 ตารางนัดหมายการตรวจเย่ียม (ระหว่างคณะผู้ประเมนิ )

CO-07 แผนการเตรียมการก่อนลงพ้ืนท่ีตรวจเย่ยี มหรือตรวจสอบ
หลักฐานและขอ้ มูลของสถานศึกษาด้วยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์ของคณะผปู้ ระเมินภายนอก

CO-08 ตารางสรุปผลการลงพ้ืนท่ตี รวจเย่ยี มหรือตรวจสอบหลักฐาน
และขอ้ มูลของสถานศึกษาดว้ ยวธิ ีการทางอิเลก็ ทรอนิกส์

CO-09 รายงานการประกนั คณุ ภาพภายนอก: ผลการตรวจเย่ยี ม
ภายใต้สถานการณ์ COVID-19

กรอบแนวทาง รปู แบบ และวธิ กี ารการประกนั คุณภาพภายนอก ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 ONESQA | 40



สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน)
ชั้น 24 อาคารพญาไทพลาซ่า ถนนพญาไท

แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

WWW.ONESQA.OR.TH

@onesqa
Facebook.com/onesqa
ONESQA Channel

กรอบแนวทาง รูปแบบ และวธิ กี Dาeรsกigารnปeรdะกbนัyคภณุ ารภกาิจพสภ่งาเยสนรอมิ กแลภะาพยัฒใตน้สาถสาัมนพกาันรธณ์ ์ COVID-19 ONESQA | ค


Click to View FlipBook Version