The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานกีฬาว่ายน้ำ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maksza55, 2021-09-28 08:47:06

รายงานกีฬาว่ายน้ำ

รายงานกีฬาว่ายน้ำ

รายงาน

เร่ือง กีฬาวา่ ยน้า
จดั ทาโดย

นาย สิทธา ทองศิริ รหสั นกั ศึกษา 63151254

เสนอ

อาจารย์ สุรศกั ด์ิ สิงห์สา

รายงานเลม่ น้ี เป็นส่วนหน่ึงของการเรียนวชิ าPE 2201วา่ ยน้า
ภาคเรียนท่ี 1ประจาปี การศึกษา 2564 คณะครุศาสตร์ สาขาวชิ าพลศึกษาและนนั ทนาการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่



คานา

รายงานเล่มน้ีเป็ นส่วนหน่ึงของรายวิชาวา่ ยน้า PE 2201 จดั ทาข้ึนเพ่ือศึกษาคน้ ควา้ ความรู้เก่ียวกบั การ
วา่ ยน้า ประวตั ิความเป็นมาของกีฬาวา่ ยน้าในประเทศ ต่างประเทศ ประโยชน์ของการวา่ ยน้า การสุขาภิบาลสระ
ว่ายน้า การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายเก่ียวการว่ายน้า ทกั ษะเบ่ืองตน้ การว่ายน้า ทกั ษะการว่ายน้าสากล
เน้ือหาที่สามารถน้าไปประโยชน์ต่อการเรียนและการวา่ ยน้า

ท้งั น้ีทางผูจ้ ดั ทาหวงั ว่ารายงานเล่มน้ีจะเป็ นประโยชน์ต่อผูท้ ่ีได้เขา้ มาอ่านหรือศึกษาคน้ ควา้ เก่ียวกบั
รายงานเลม่ น้ี หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใดในรายงานเล่มน้ีทางผจู้ ดั ทาขออภยั มา ณ ที่น้ีดว้ ย

ผจู้ ดั ทา
นายสิทธา ทองศิริ
( 24 สิงหาคม 2564 )

สารบัญ ข

เร่ือง หน้า

ประวตั ิความเป็นมาการวา่ ยน้าตา่ งประเทศ 1-2
ประวตั ิความเป็นมาการวา่ ยน้าในประเทศไทย 2-4
ประโชชน์ของการวา่ ยน้า 4-5
การสุขาภิบาลสระวา่ ยน้า 6-7
การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายเกี่ยวกบั การวา่ ยน้า 7
ทกั ษะการวา่ ยน้าเบ้ืองตน้ 8-12
ทกั ษะการวา่ ยน้าสากล 13
การวา่ ยน้าทา่ ฟรีสไตล์ หรือ ท่าวดั วา 13-16
การวา่ ยน้าท่ากรรเชียง 17-20
การวา่ ยน้าทา่ กบ 21-23
การวา่ ยน้าท่าผเี ส้ือ 24-26
บรรณานุกรม 27

สารบญั รูปภาพ ค

รูปภาพ หน้า

รูปท่ี1 ประวตั ิวา่ ยน้า 1
รูปที่2 สมาคมวา่ ยน้า 2
รูปท่ี3 สระวา่ ยน้าไทย 3
รูปที่4 สมาคมวา่ ยน้าไทย 4
รูปที่5 การฝึกดาน้า 8
รูปท่ี6 การฝึ กดาน้า 9
รูปท่ี7 การฝึกดาน้า 9
รูปที่8 การกาน้า 10
รูปท่ี9 การลอยตวั 10
รูปท่ี10 การลอยตวั 11
รูปที่11 การลอยตวั 11
รูปที่12 การเคลื่อน 12
รูปที่13 การเคลื่อนท่ี 12
รูปที่14 การเตะเทา้ ฟรีสไตล์ 13
รูปที่15 การใชแ้ ขนฟรีสไตล์ 14
รูปที่16 การหมุนตวั 15
รูปท่ี17 การเป่ าลม 16

สารบัญรูปภาพ ง

รูปภาพ หน้า

รูปที่18 ท่ากรรเชียง 17
รูปท่ี19 การใชข้ า 18
รูปที่20 การกระโดด 19
รูปท่ี21 การลอยตวั 20
รูปที่22 การลอยตวั 20
รูปท่ี23 ท่ากบ 21
รูปท่ี24 ท่ากบ 22
รูปท่ี25 การหายใจ 23
รูปที่26 การหายใจ 23
รูปที่27 ทา่ ผีเส้ือ 24
รูปที่28 ท่าผีเส้ือ 24
รูปท่ี29 การหายใจ 25

1

ประวัตคิ วามเป็ นมาของการว่ายนา้ ต่างประเทศ

กีฬาว่ายน้ า (Swimming) ถือเป็ นศิลปะอย่างหน่ึง เพราะมนุษย์สามารถว่ายน้ าได้ต้ังแต่สมัยดึกดาบรรพ์
โดยเฉพาะอย่างย่ิงมนุษยท์ ี่ต้งั ภูมิลาเนาอยตู่ ามชายทะเล แม่น้า ลาคลอง และที่ราบลุ่มต่างๆ เช่น พวกเอสซีเรีย
อียปิ ต์ กรีก และโรมนั มีการฝึ กหดั วา่ ยน้ากนั มาต้งั แต่ก่อนคริสตกาล เพราะมีผูพ้ บภาพวาดเก่ียวกบั การวา่ ยน้าใน
ถ้าบนภเู ขาแถบทะเลทรายลิบยาน
การวา่ ยน้าในสมยั น้นั เพียงเพื่อให้สามารถวา่ ยน้าขา้ มไปยงั ฝั่งตรงขา้ มได้ หรือเม่ือเกิดอุทกภยั น้าท่วมป่ าและท่ีอยู่
อาศยั ก็สามารถพาตวั ไปในท่ีน้าท่วมไม่ถึงไดอ้ ย่างปลอดภยั การว่ายน้าไดม้ ีวิวฒั นาการมาต้งั แต่สมยั โบราณ
จนถึงปัจจุบนั แต่มีหลกั ฐานบนั ทึกไวไ้ ม่นานนกั Ralph Thomas ใหช้ ื่อแบบวา่ ยน้าท่ีมนุษยใ์ ชว้ า่ ยกนั มาต้งั แต่เดิม
ว่า ฮิวแมน สโตร์ก (Human stroke) นอกจากน้ีพวกชนชาติสลาฟและพวกสแกนดิเนเวียรู้จกั การวา่ ยน้าอีกแบบ
หน่ึง โดยใชเ้ ทา้ เคล่ือนไหวในน้าคลา้ ยกบวา่ ยน้า หรือที่เรียกวา่ ฟล็อกคิก (Flogkick) แตว่ ธิ ีการเคลื่อนไหวของท่า
แบบน้ีจะทาใหว้ า่ ยน้าไดไ้ ม่เร็วนกั

รูปที่1 ประวตั ิวา่ ยน้า
การแข่งขนั วา่ ยน้าคร้ังแรกไดจ้ ดั ข้ึน วูลวชิ บาร์ท (Woolwich Baths) ใกลก้ บั กรุงลอนดอน ประเทศองั กฤษ เม่ือปี
พ.ศ. 2416 การแข่งขนั คร้ังน้นั มีการแข่งขนั เพียงแบบเดียวคือ แบบฟรีสไตล์ (Free style) โดยผูว้ ่ายน้าแต่ละคน
จะว่ายแบบใดก็ได้ ในการแข่งขนั คร้ังน้ี J. Arhur Trudgen เป็ นผูไ้ ดร้ ับชยั ชนะ โดยเขาไดว้ ่ายแบบเดียวกบั พวก
อินเดียแดงในอเมริกาใต้ คือแบบยกแขนกลบั เหนือน้า ซ่ึงเป็ นวิธีการว่ายน้าของเขาได้กลายเป็ นแบบท่ีไดร้ ับ
ความนิยมมากจนไดช้ ื่อวา่ ท่าวา่ ยน้าแบบทรัดเจน (Trudgen stroke) ประชาชนชาวโลกไดใ้ หค้ วาม

2
สนใจเก่ียวกบั การวา่ ยน้าเพม่ิ มากข้นึ เมื่อเรือเอก Mathew Webb ไดว้ ่ายน้าขา้ มช่องแคบองั กฤษจากเมืองโดเวอร์
คาเลียส เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2418 โดยใชเ้ วลาท้ังสิ้น 21 ชัว่ โมง 45 นาที ดว้ ยการวา่ ยแบบกบ (Breast
stroke) ข่าวความสาเร็จอนั น้ีไดส้ ร้างความพิศวงและตื่นเตน้ ไปทัว่ โลก ต่อมาเด็กชาวอเมริกนั ชื่อ Gertude
Ederle ไดว้ ่ายน้าขา้ มช่องแคบองั กฤษ เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2469 ทาเวลาได้ 14 ชวั่ โมง 31 นาที โดยว่ายน้า
แบบท่าวดั วา (Crawa stroke) จะเห็นไดว้ า่ ในชว่ั ระยะเวลา 50 ปี การว่ายน้าไดว้ ิวฒั นาการกา้ วหนา้ ข้ึนเป็นอยา่ ง
มาก ถา้ หากไดพ้ ิจารณาถึงเวลาของคนท้ังสองที่ทาได้ แบบและวิธีวา่ ยน้าไดร้ ับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
เพื่อใหเ้ กิดความเร็วข้ึนเสมอ ในบรรดานกั ว่ายน้าทวั่ ไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวแลนเคเชียร ์์และออสเตรเลีย
ไดด้ ดั แปลงวิธีวา่ ยน้าแบบทรัดเจน ซ่ึงก็ไดร้ ับผลดีในเวลาต่อมา กล่าวคือ Barney Kieran ชาวออสเตรเลีย
และ T. S. Battersby ชาวองั กฤษ ไดว้ า่ ยน้าแบบที่ปรับปรุงมาจากทรัดเจน เป็นผูค้ รองตาแหน่งชนะเลิศของ
โลกเมื่อปี พ.ศ. 2449-2415 Alex Wickham ชาวเกาะโซโลมอนเป็นผูร้ ิเริ่มการวา่ ยน้าแบบท่าวดั วาและเป็นผู้
ครองตาแหน่งชนะเลิศของโลก ระยะทาง 50 หลา เขาไดก้ ล่าววา่ เด็กโซโลมอนทุกคนวา่ ยน้าแบบน้ีท้ังน้ัน
ต่อมาท่าว่ายน้าแบบวดั วาจึงเป็นที่นิยมฝึ กหัดกนั โดยทวั่ ไป กีฬาวา่ ยน้าไดจ้ ดั เขา้ ไวใ้ นการแข่งขนั โอลิมปิ กเมื่อ
ปี พ.ศ. 2436 และไดจ้ ดั การแข่งขนั มาจนถึงปัจจุบนั ดว้ ยเหตุดงั กล่าวกีฬาว่ายน้าก็ไดร้ ับความสนใจจากคน
ทวั่ ไป และถือเป็นส่วนหน่ึงของการแข่งขนั กีฬาโอลิมปิ ก มีการพฒั นากีฬาวา่ ยน้าให้กา้ วหนา้ ยิง่ ข้ึนเป็นลาดบั
โดยมีผูค้ ิดแบบและประเภทของการว่ายน้าเพ่ือความสนุกสนาน และความต่ืนเตน้ ในการแข่งขนั มากข้ึน

ประวัติว่ายนา้ ในประเทศไทย

สมาคมว่ายน้าสมคั รเล่นแห่งประเทศไทย ไดจ้ ดทะเบียนสมาคมต่อกรมตารวจเมื่อวนั ที่ 24 มิถุนายน
พ.ศ. 2502 ผูด้ ารงตาแหน่งนายกสมาคมวา่ ยน้าคนแรกคือ พลเรือโท สวสั ด์ิ ภูติอนนั ต์ ร.น. ในปี เดียวกนั น้ี
สมาคมว่ายน้าฯไดเ้ ขา้ เป็นสมาชิกของสหพนั ธ์วา่ ยน้านานาชาติ

รูปท่ี2 สมาคมวา่ ยน้า

3
ในปี พ.ศ. 2504 รัฐบาลไดอ้ นุมตั ิเงินงบประมาณจานวน 10 ลา้ นบาท เพื่อก่อสร้างสระวา่ ยน้ามาตรฐานขนาด
ความยาว 50 เมตร กวา้ ง 25 เมตร พร้อมท้ังที่กระโดดน้า และอฒั จนั ทร์คนดูจานวน 5,000 ที่นัง่ ณ บริเวณ
สนามกีฬาแห่งชาติ และเปิ ดใชใ้ นการแข่งขนั เมื่อวนั ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2506 เรียกวา่ สระวา่ ยน้าโอลิมปิ ก
(ปัจจุบนั ไดเ้ ปลี่ยนชื่อเป็นสระว่ายน้าวิสุทธารามย)์ และสมาคมวา่ ยน้าฯไดส้ มคั รเขา้ เป็นสมาชิกของสหพนั ธ์
วา่ ยน้าแห่งเอเชียในปี พ.ศ. 2509

รูปที่3 สระวา่ ยน้าไทย

ในปี พ.ศ. 2548 สมาคมวา่ ยน้าสมคั รเล่นแห่งประเทศไทยเปล่ียนชื่อเป็น “สมาคมวา่ ยน้าแห่งประเทศไทย” ชื่อ
ย่อ ส.ว.ท. ชื่อภาษาองั กฤษ THAILAND SWIMMING ASSOCIATION ชื่อย่อนัน่ ก็คือ "TASA" สมาคมวา่ ย
น้าแห่งประเทศไทย (ส.ว.ท.) เป็นผูส้ ่งเสริมสนบั สนุนการเล่น กีฬาวา่ ยน้า กีฬากระโดดน้า กีฬาระบาใตน้ ้า
แบบสวยงาม ท้งั สระที่มีขนาด 50 เมตร และสระท่ีมีขนาด 25 เมตร ที่นิยมจดั การแข่งขนั ส่วนระดบั นานาชาติก็
มีการจดั การแข่งขนั ในระดบั ซีเกมส์ เอเชียเกมส์ โอลิมปิ ค ชิงแชมป์ โลก ระดบั เยาวชนก็มีรายการซีเอจกรุ๊ป
เอเชียเอจกรุ๊ป กีฬาว่ายน้านกั กีฬาเอเซียน เป็นตน้ ในปัจจุบนั กีฬาวา่ ยน้าในประเทศไทยไดร้ ับความสนใจจาม
ประชาชนมากยงิ่ ข้ึน และที่น่าสนใจอย่างยง่ิ นน่ั ก็คือประกอบกบั กระทรวงศึกษาธิการไดบ้ รรจุกีฬาวา่ ยน้าไวใ้ น
หลกั สูตรเกือบทุกระดบั บางโรงเรียนไดบ้ รรจุไวใ้ นกีฬาพละศึกษษท้งั ระดบั ประถม ไปจนถึงมธั ยม มีการจดั
กิจกรรมการแข่งขนั ตลอดท้งั ปี บรรจุลงในการแข่งขนั ระดบั ประเทศ คือ กีฬานกั เรียน นกั ศึกษาแห่งชาติ กีฬา
เยาวชนแห่งชาติ กีฬาแห่งชาติ กีฬาชิงแชมป์ ประเทศไทย ท้งั สระ 50 เมตร สระ 25 เมตร ดงั น้ัน จึงเป็นการดีที่
ไดเ้ รียนกีฬาชนิดน้ีมาต้งั แต่เด็กจะทาใหเ้ ด็กๆ มีกรเอาตวั รอดจาดอนั ตรายทางน้าได้ เช่น การจมน้า

4

รูปที่4 สมาคมวา่ ยน้าไทย
ในปี พ.ศ. 2558 สมาคมวา่ ยน้าแห่งประเทศไทยเปลี่ยนชื่อเป็น “สมาคมกีฬาวา่ ยน้าแห่งประเทศไทย” เพื่อให้
เป็นไปตามพระราชบญั ญตั ิของการกีฬาแห่งประเทศไทย โดยใชช้ ่ือยอ่ ว่า ส.ว.ท. ช่ือภาษาองั กฤษ THAILAND
SWIMMING ASSOCIATION ช่ือย่อนนั่ ก็คือ TSA ซ่ึงในปัจจุบนั ไดม้ ีกีฬาเพ่ิมข้ึนจากเดิมเป็น กีฬาวา่ ยน้า กีฬา
กระโดดน้า กีฬาโปโลน้า กีฬาระบาใตน้ ้า กีฬาวา่ ยน้ามาราธอน และกีฬาวา่ ยน้ามาสเตอร์

ประโยชน์ของการว่ายน้า

การวา่ ยน้าเป็นการออกกาลงั กายประเภทหน่ึงที่นบั วา่ เป็นวิธีที่ดีที่สุดนอกจากจะทาใหร้ ่างกายแข็งแรงแลว้ ยงั
ทาใหจ้ ิตใจไดผ้ ่อนคลายเมื่อร่างกายไดล้ งแช่น้าอีกดว้ ย การว่ายน้าจึงเป็นอีกทางเลือกหน่ึงของการออกกาลงั
กายที่หลายคนชื่นชอบวนั น้ีเราจึงนา ประโยชน์ของการวา่ ยน้า มาฝากกนั
1. ช่วยลดน้าหนกั
การว่ายน้าสามารถทาให้ร่างกายเผาผลาญพลงั งานไดถ้ ึง 367 แคลอรี่ ใชเ้ วลาเพียง 30 นาทีซ่ึงพอๆ กบั การเดิน
เร็ว การป่ันจกั รยานหรือการว่ิงเหยาะๆ นน่ั เอง
2. ช่วยลดความเครียดและเพ่มิ ความเช่ือมนั่ ในตนเอง
การสารวจความคดิ เห็นของนกั วา่ ยน้า จานวน 74,000 คนพบวา่ ร้อยละ 74 มีความคิดเห็นวา่ การวา่ ยน้าช่วยผอ่ น
คลายจากความเครียดและความกดดนั และรู้สึกสดช่ืนเม่ือไดว้ า่ ยน้า

5

3. ช่วยใหอ้ ารมณ์ดี
การศึกษาอีกชิ้นหน่ึงแสดงใหเ้ ห็นวา่ นกั วา่ ยน้าไม่วา่ จะอยใู่ นระดบั ใดมกั จะไม่ค่อยมีความเครียด ความกดดนั
ความหดหู่ ความโกรธ และความสับสนเมื่อพวกเขาไดว้ า่ ยน้า เนื่องจากการวา่ ยน้าทาใหร้ ่างกายปลอ่ ยฮอร์โมนเซ
โรโทนินท่ีทาใหอ้ ารมณ์ดี

4. ช่วยใหก้ ลา้ มเน้ือแขง็ แรง
การวา่ ยน้าเป็นวิธีที่เหมาะสาหรับการเสริมสร้างกลา้ มเน้ือของคุณ และการวา่ ยน้ายงั เป็นการออกกาลงั กายที่ไม่
จาเป็นตอ้ งใชอ้ ุปกรณ์ออกกาลงั กายในราคาแพงอีกดว้ ย

5. วา่ ยน้าเป็นการออกกาลงั กายท่ีเสี่ยงตอ่ การไดร้ ับบาดเจ็บนอ้ ยมาก
เน่ืองจากน้าช่วยในการลอยตวั และยงั ช่วยลดการเคล่ือนไหว และความตึงของกระดูกขอ้ ต่อและกลา้ มเน้ือลงดว้ ย
การวา่ ยน้าจึงมีความเส่ียงตอ่ การบาดเจ็บนอ้ ยกวา่ การออกกาลงั กายประเภทอ่ืนๆ

6. ช่วยใหน้ อนหลบั สบาย
การวา่ ยน้าช่วยใหน้ อนหลบั สบายมีแนวโนว้ นอนหลบั ไดด้ ีกวา่ ผทู้ ่ีไม่ออกกาลงั กายเลย

7. วา่ ยน้าไม่มีเหงื่อ
เม่ือคณุ วา่ ยน้าจะไม่รู้สึกร้อนจนเกินไปหรือไม่รู้สึกวา่ มีเหงื่อ เพราะน้ารอบๆ ตวั คณุ จะทาใหค้ ณุ เยน็ ลง

8. ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ
การวา่ ยน้าเป็นการออกกาลงั กายท่ีดีต่อหวั ใจและหลอดเลือด ดงั น้นั หากคณุ วา่ ยน้าเป็นประจา จะช่วยลดความ
เสี่ยงต่อการเกิดสารพดั โรค เช่น ความดนั โลหิต โรคหวั ใจ โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และโรคหลอดเลือดสมอง

6

การสุขาภบิ าลสระว่ายน้า

สระว่ายน้าการสุขาภิบาลสระว่ายน้าเป็ นกระบวนการของการสร้างความมน่ั ใจในสภาพท่ีดีต่อสุขภาพในสระ
วา่ ยน้าสุขอนามยั ที่เหมาะสมเป็นสิ่งจาเป็นเพื่อรักษาความคมชดั ของภาพของน้าและเพ่ือป้องกนั การส่งของการ
ติดเช้ือโรคน้า

มีการใช้วิธีการท่ีแตกต่างกันสองวิธีในการสุขาภิบาลของสระว่ายน้ า ระบบการกรองเอาขยะอินทรีย์ใน
ชีวิตประจาวนั โดยใช้ตะแกรงตะกร้าภายในพายและการไหลเวียนสูบน้าและหน่วยทรายท่ีมีส่ิงอานวยความ
สะดวกสาหรับการยอ้ นกาจดั ง่ายของขยะอินทรียจ์ ากการไหลเวียนของน้า การฆ่าเช้ือโรคตามปกติในรูปแบบ
ของกรดไฮโปคลอรัส (HClO) ฆ่าเช้ือจุลินทรีย์ ควบคู่ไปกบั สองมาตรการที่แตกต่างกนั น้ีภายในเขตอานาจของ
เจา้ ของสระวา่ ยน้า สุขอนามยั และความสะอาดของนกั วา่ ยน้าช่วยลดการสะสมของขยะอินทรีย์

องคก์ ารอนามยั โลกมีการเผยแพร่แนวทางระหวา่ งประเทศเพอื่ ความปลอดภยั ของสระว่ายน้าและสภาพแวดลอ้ ม
ดา้ นนันทนาการน้าที่คลา้ ยกนั รวมท้งั มาตรฐานสาหรับการลดอนั ตรายจากจุลินทรียแ์ ละสารเคมี สหรัฐอเมริกา
ศูนยค์ วบคุมและป้องกนั โรคนอกจากน้ียงั มีขอ้ มูลเกี่ยวกบั การสุขาภิบาลสระว่ายน้าและน้าท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การ
เจ็บป่ วยสาหรับผเู้ ช่ียวชาญดา้ นสุขภาพและประชาชน องคก์ รหลกั ที่ใหก้ ารรับรองสาหรับผปู้ ฏิบตั ิงานดา้ นสระ
วา่ ยน้าและสปาและช่างเทคนิค ไดแ้ ก่ มูลนิธิสระวา่ ยน้าแห่งชาติและสมาคมผูเ้ ชี่ยวชาญดา้ นสระวา่ ยน้าและสปา
การรับรองไดร้ ับการยอมรับจากหน่วยงานดา้ นสุขภาพของรัฐและทอ้ งถ่ินหลายแห่ง

สารปนเป้ื อนในสระว่ายน้ามาจากแหล่งสิ่งแวดลอ้ มและนักว่ายน้า มลภาวะที่ส่งผลกระทบต่อสระว่ายน้า
กลางแจง้ เป็นหลกั ไดแ้ ก่ ส่ิงสกปรกและเศษซากจากลมพดั น้าที่เขา้ มาจากแหลง่ ที่ไม่ถูกสุขลกั ษณะฝนท่ีมีสปอร์
ของสาหร่ายดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์และมูลจากนกท่ีอาจมีเช้ือโรคที่ก่อให้เกิดโรค สระว่ายน้าในร่มไม่ไวต่อส่ิง
ปนเป้ื อนในสิ่งแวดลอ้ ม

สารปนเป้ื อนที่นกั ว่ายน้าแนะนาสามารถมีอิทธิพลอย่างมากต่อการทางานของสระว่ายน้าในร่มและกลางแจง้
แหล่งรวมจุลินทรี ย์จากนักว่ายน้ าที่ติดเช้ือและร่างกายน้ ามันรวมท้ังเหงื่อ , เคร่ื องสาอาง , โลชั่นกัน
แดด , ปัสสาวะ , น้าลายและอุจจาระ ; ตวั อย่างเช่น นกั วิจยั ประเมินวา่ สระว่ายน้ามีปัสสาวะโดยเฉลี่ย 30 ถึง 80
มล. สาหรับแต่ละคนที่ใชส้ ระ นอกจากน้ีการมีปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งสารฆ่าเช้ือและสารปนเป้ื อนน้าสระวา่ ยน้า
สามารถผลิตเป็นส่วนผสมของคลอรามีนและอื่น ๆ

7

การฆ่าเช้ือโรคโดยผลิตภณั ฑ์ วารสารEnvironmental Science & Technology รายงานว่าเหงื่อและปัสสาวะทา
ปฏิกิริยากบั คลอรีนและผลิตไตรคลอรามีนและไซยาโนเจนคลอไรด์ซ่ึงเป็นสารเคมีสองชนิดท่ีเป็นอนั ตรายต่อ
สุขภาพของมนุษย์ ไนโตรซามีนเป็นผลพลอยไดจ้ ากการฆ่าเช้ืออีกประเภทหน่ึงที่น่าเป็นห่วงว่าอาจเป็นอนั ตราย
ตอ่ สุขภาพ

การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายภาพเกย่ี วกบั การว่ายนา้

นกั ว่ายน้าที่มีสมรรถภาพทางกายดี คือนักว่ายน้าที่มีความแข็งแรงของกลา้ มเน้ือ มีความอ่อนตวั ความอดทน
และความเร็ว ย่ิงมีความพร้อมทางร่างกายมากเท่าไร การเล่นว่ายน้าก็ยิ่งมีประสิทธิภาพท่ีนาไปสู่ผลการแข่งขนั
มากข้ึนเทา่ น้นั ดงั น้นั เราจึงควรทราบถึงการมีสมรรถภาพทางกายเพ่อื การเล่นวา่ ยน้าที่ดีดงั น้ี

ความแข็งแรงของกลา้ มเน้ือ ในการว่ายน้าระยะต่างๆ เช่น ระยะใกล้ ระยะกลางหรือระยะไกล นักกีฬาว่ายน้า
ลว้ นตอ้ งการพลงั กลา้ มเน้ือแขนและขาเป็ นส่วนประกอบหลกั ยิ่งมีพลงั มากเท่าไรการว่ายน้าย่ิงมีประสิทธิภาพ
มากข้ึนเท่าน้นั เราจึงควรรับรู้เรื่องของความ สามารถของกลา้ มเน้ือ ความแข็งแรงของกลา้ ม เน้ือนอกจากทาให้
นกั กีฬาทาทกั ษะไดด้ ี และเลน่ วา่ ยน้าอยา่ งมีประสิทธิภาพแลว้ ยงั ช่วยลดหรือป้องกนั การบาดเจบ็ ดว้ ย

ความอดทน เมื่อร่างกายสามารถทางานอยา่ งราบรื่น ดว้ ยความแขง็ แรงแลว้ นกั วา่ ยน้าท่ีสามารถใชก้ ลา้ มเน้ือหรือ
ขอ้ ต่ออยา่ งต่อเน่ืองอยา่ งมีประสิทธิภาพกวา่ ย่อมมีโอกาสของการวา่ ยน้าท่ีดีมากกวา่ ความนานในการเลน่ กีฬาน้ี
เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ ความอดทน ส่วนคาหรืออาการตรงขา้ มของความอดทน คือ ความเมื่อยลา้ ของร่างกาย ซ่ึง
ส่งผลกระทบในทางลบต่อการเล่นวา่ ยน้า

ความอ่อนตวั ของกลา้ มเน้ือในนกั วา่ ยน้า มีความจาเป็นไม่แพด้ า้ นอื่นๆ การที่นกั กีฬามีความอ่อนตวั ในระหว่าง
การว่าย ช่วยทาให้นักกีฬาว่ายน้าสามารถเคล่ือนไหวร่างกายไดอ้ ยา่ งราบรื่น และมีโอกาสของการฉีกขาดของ
กลา้ มเน้ือนอ้ ย ขอ้ ตอ่ ของร่างกายทางาน เคลื่อน ไหวในระยะทางและมุมที่ไกลและกวา้ ง ความออ่ นตวั น้ีช่วยลด
การฉีกขาดของเอน็ และขอ้ ต่อดว้ ย การอบอุ่นร่างกายที่ตามดว้ ยการยดื เหยยี ดกลา้ มเน้ือก่อนและหลงั การวา่ ยน้าที่
เหมาะสมเพยี งพอจึงเป็นเรื่องจาเป็น

ความเร็ว ในบางรายการของวา่ ยน้า เช่น ว่ิงระยะส้ัน ท่ีมีการเคล่ือนไหวจากจุดหน่ึงไปยงั อีกจุดหน่ึงในเวลาอนั
ส้ัน อยู่ด้วย นอกจากความเร็วในการเล่น เคลื่อนไหวแล้ว ความเร็วในการตอบสนองทางด้านจิตใจหรือ
ความรู้สึก ก็เป็นความเร็วที่ส่งผลต่อการเล่นดว้ ยอีกทางหน่ึง

8

ทักษะการว่ายน้าเบือ้ งต้น

การทาความค้นุ เคยกบั นา้
สาหรับผทู้ ่ียงั วา่ ยน้าไมเ่ ป็นและไมค่ นุ้ เคยกบั สระวา่ ยน้ามาก่อน ควรสร้างความคุน้ เคยกบั น้าก่อน คือ ใหน้ ง่ั ท่ี
ขอบสระใชม้ ือกวกั น้าข้นึ มาลบู แขน ลบู หนา้ ลาตวั เพ่ือปรับอุณหภมู ิของร่างกายกบั น้า ต่อจากน้นั ใหน้ งั่ ที่ขอบ
สระหรือบนั ได เหยยี ดเทา้ หรือเอาเทา้ จุ่มลงไปในน้า แกวง่ ไปมาเตะสลบั ข้ึนลง จะชา้ บา้ งเร็ว บา้ งสลบั กนั ไป
ตามความหมาะสม
การดาน้า
ฝึ กการดาน้าแบบควา่ ตัว
1. นกั เรียนยนื หนั หนา้ เขา้ หาขอบสระ มือท้งั สองขา้ งจบั ขอบสระ หายใจเขา้ ทางปาก ยอ่ เข่าลงจนศีรษะจมน้า
แลว้ เป่ าลมออกทางปาก

รูปท่ี5 การฝึกดาน้า

9

2. เหยยี ดตวั ไปตามผวิ น้า โดยยกขาข้ึนจากพ้นื พยายามใหล้ าตวั ตรง

รูปท่ี6 การฝึกดาน้า
3. ฝึกตามข้นั ตอนไปเร่ือยๆ แตล่ ะคร้ังใหไ้ ด้ 10 วนิ าที จนครบ 10 คร้ัง เพ่อื ใหเ้ กิดความเคยชิน
4. มือท้งั สองขา้ งจบั ขอบสระกม้ หนา้ อยใู่ ตผ้ ิวน้า ยกขาท้งั สองขา้ งข้ึนจากพ้ืนสระ ลาตวั ตรงอยรู่ ะดบั ผิวน้าใช้
หลงั เทา้ ท้งั สอง ขา้ งสะบดั น้าเบาๆ เพ่อื ประคองใหต้ วั ลอย

รูปท่ี7 การฝึกดาน้า
ฝึ กการดาน้าแบบหงายตวั
นกั เรียนยนื หนั หนา้ เขา้ ขอบสระ โดยใชม้ ือท้งั สองขา้ งจบั ขอบสระ เริ่มทาดว้ ยการใชเ้ ทา้ กีบตวั ออกจากผนงั ขอบ
สระ ลาตวั เหยยี ดตรง อยู่ระดบั ผวิ น้า ใชห้ ลงั เทา้ ท้งั สองขา้ งสะบดั น้าเบาๆ แขนท้งั สองขา้ งอยแู่ นบลาตวั พร้อมใช้
ฝ่ามือดนั น้าประคองตวั ใหล้ อยน้าได้ เงยหนา้ ยดื อก เอวไม่งอ

10

รูปที่8 การดาน้า
การลอยตัวแบบต่างๆ
1.การลอยตวั แบบปลาดาว
หนั หลงั พิงขอบสระ หายใจเขา้ ทางปากใหเ้ ตม็ ปอด แลว้ กม้ หนา้ ลงในน้า เทา้ ท้งั สองขา้ งถีบออกจากขอบสระ
ลาตวั ตรง กางมือและเทา้ ท้งั สองขา้ งออกดา้ นขา้ งของลาตวั เพอ่ื รักษาความสมดุลของร่างกาย

รูปท่ี9 การลอยตวั
2.การลอยตวั แบบแมงกะพรุน
ยนื อยบู่ นพ้นื สระท่ีสามารถยืนไดใ้ นระดบั ประมาณคอ จากน้นั ใหถ้ ีบเทา้ ท้งั สองขา้ งข้นึ จากพ้นื สระ กม้ หนา้ งอ
เข่า ใชม้ ือท้งั สอง รวบเข่าท้งั สองขา้ งไว้

11

รูปที่10 การลอยตวั
3.การลอยตวั แบบลูกหมาตกน้า
ยนื อยบู่ นพ้ืนสระท่ีสามารถยนื ไดใ้ นระดบั ประมาณคอ จากน้นั ใหถ้ ีบเทา้ ท้งั สองขา้ งข้ึนจากพ้ืนสระ งอเข่า ใชฝ้ ่า
มือท้งั สอง ถีบน้าลงดา้ นลา่ งสลบั กนั เหมือนถีบจกั รยาน มือท้งั สองขา้ ง ดนั น้าออกขา้ งลาตวั เพื่อช่วยพยงุ ใหต้ วั
ลอย เงยหนา้ มองทอ้ งฟ้า

รูปที่11 การลอยตวั

12
การเคลื่อนตัวพาตวั ในนา้
การเคลื่อนที่บนผวิ น้าแบบหงายตวั
หนั หนา้ เขา้ หาขอบสระ เทา้ ท้งั สองขา้ งชิดผนงั เข่างอ จากน้นั ถีบเทา้ ท้งั สองขา้ งออกจากขอบสระ แขนแนบชิด
ลาตวั ใชห้ ลงั เทา้ เตะน้า แขนดนั น้าขา้ งลาตวั หนา้ มองทอ้ งฟ้า ลาตวั ตรง เคล่ือนที่ไปตลอด ประมาณความกวา้ ง
ของสระ

รูปท่ี12 การเคล่ือนที่
การเคลื่อนท่ีบนผิวน้าแบบควา่ ตวั
ยนื หนั หลงั พิงขอบสระ เทา้ ยนื ที่พ้ืนสระ มือท้งั สองขา้ งเหยยี ดไปขา้ งหนา้ ใหน้ ิ้วโป้งเก่ียวกนั ไว้ สูดหายใจเขา้
ทางปากใหเ้ ตม็ ปอด จากน้นั กม้ หนา้ ลงที่ผิวน้า ถีบเทา้ ท้งั สองขา้ งออกจากผนงั ใชห้ ลงั เทา้ เตะน้า เพ่อื ใหเ้ กิดการ
เคล่ือนท่ีไปตลอดประมาณความกวา้ งของสระ

รูปที่13 การเคลื่อนท่ี

13

ทักษะสากลการว่ายนา้ สากล ม4ี ท่าประกอบด้วย

1.การวา่ ยน้าทา่ ฟรีสไตล์ หรือ ทา่ วดั วา (Freestyleor Crawl Stroke)
2.การวา่ ยน้าทา่ กรรเชียง (Back Crawl Stroke)
3.การวา่ ยน้าท่ากบ (Breast Stroke)
4.การวา่ ยน้าทา่ ผีเส้ือ (Butterfly)

1.ท่าฟรีสไตล์ หรือ ท่าวดั วา (Freestyleor Crawl Stroke)

การเตะในท่าฟรีสไตล์

รูปท่ี14 การเตะเทา้ ฟรีสไตล์

ลกั ษณะ ในการเตะขาท่าฟรีสไตลน์ ้นั ตวั เราตอ้ งจดั ต้งั จดั วางลาตวั ใหถ้ ูกตอ้ งอีกดว้ ยการเตะขา ท่าฟรีสไตล์ เรา
จะอยู่ในท่าคว่าตวั และตามองลงไปที่พ้ืนสระแลว้ ที่สาคญั การจดั วางลาตวั ของเราจะตอ้ ง ไม่เกร็งเข่า ของเรา
ตอ้ ง ปลอ่ ยหยอ่ น ตามสบาย ไม่แขง็ กระดา้ ง ปล่อยตามสบาย ใหเ้ รารู้สึกผอ่ นคลายการเตะขาท่าฟรีสไตลน์ ้นั เรา
จะตอ้ งออกแรงจากสะโพก หวั เข่า ของเราจะตอ้ งชิดกนั และหยอ่ นเข่าปลายเทา้ ช้ีออกไปเตะขาสลบั ข้ึนลง

14

ให้อยู่ในกรอบเดียวกนั ไม่สูง ไมล่ ึกลงไป ในระดบั น้าจนมากเกินไป ที่ยกข้ึนหรือ (Up Beat) จะตอ้ งข้ึนไปตรงๆ
แลว้ เม่ือหย่อนขาลงมา จะตอ้ งเกร็งเล็กนอ้ ยโดยปลายเทา้ ของเรา จะตอ้ งลม้ และปล่อยขอ้ เทา้ ของเราให้อ่อ เวลา
การเตะขาที่ถูกตอ้ งน้ัน ปลายนิ้วเทา้ ตรงหัวแม่โป้งน้ัน จะตอ้ งบิดเขา้ หากนั ดา้ นในเล็กนอ้ ยเมื่อการจดั วางลาตวั
ของเราถูกแลว้ หนา้ เรากม้ มองที่พ้นื สระ แลว้ ตวั เราจะลอยสูงข้นึ มา อยู่ริมผวิ น้าปลายเทา้ ก็จะข้ึนมา ริมผิวน้าดว้ ย
มีฟองน้าเล็กนอ้ ย ที่ปลายเทา้ เวลาต่ืนเชา้ ไปขาท้งั สองขา้ งจะตอ้ งเกียจออกไปตรงๆและชิดกนั โดยท่ีจะตอ้ งไม่เก่ง
ดว้ ยผอ่ นตามสบายไม่เกร็งมากสิคะท้งั สองข้ึนลงสลบั กนั เหมือนฟันปลา (Flutter KIck) ซ่ึงการเตะขาน้นั ตอ้ งเตะ
เร็ว สลบั ข้นึ ลงส้ันๆ ไมย่ กขาสูงจนเกินไปและแต่ชา้ เป็นการเตะขาท่ีผดิ ทนั ที
การใช้แขนในท่าฟรีสไตล์

รูปที่15 การใชแ้ ขนฟรีสไตล์
ท่าน้ีเป็นทา่ ที่ร่างกายมีความเพรียวลูน่ ้ามากกวา่ ทา่ น้ีเป็นท่าแรกของการเร่ิมตน้ การใชแ้ ขนท่าฟรีสไตล์
1. ในท่าฟรีสไตลน์ ้นั มีลกั ษณะการใชแ้ ขนที่มีความต่อเนื่องกนั มากท่ีสุด โดยการวา่ ยใหม้ ีความเร็วและถกู ตอ้ ง
น้นั ทาไดด้ งั น้ี1. เม่ือคุณยดื แขนไปดา้ นหนา้ จนสุดแลว้ แขนของคณุ ตอ้ งชิดกบั หู
2. ตอ่ จากน้นั ใหค้ ณุ กดมือลง พร้อมกบั โก่งแขนโดยการยกขอ้ ศอกโดยแรงที่จะส่งตวั คุณน้นั จะออกมาจากไหล่
3. ดนั แขนท่อนล่างใหผ้ า่ นไปใตล้ าตวั นิ้วทกุ นิ้วเรียงชิดติดกนั
4. ดนั น้าจนกระทงั่ แขนของคุณตึงพอดี สามารถตรวจสอบได้ โดยมือของคุณจะผา่ นไปถึงตน้ ขา
5. ยกแขนข้ึน โดยงอขอ้ ศอก แลว้ วาดแขนมาดา้ นหนา้ วางมือลงน้า กดศอกแลว้ ยดื แขนออกไป

15

การหายใจท่าฟรีสไตล์

รูปที่16 การหายใจ

รูปการหมุนลาตวั

หมุนลาตวั ในแนวผิวน้าและหายใจเขา้ ทางปาก. วีธีน้ีจะช่วยให้กลา้ มเน้ือคอและศีรษะผ่อนคลาย หากหมุน
เฉพาะศีรษะจะทาให้เกิดแรงกระทาที่ไม่จาเป็ นต่อคอ ให้หน้าผากและกระหม่อมจมลงในน้าเล็กน้อยขณะท่ี
หายใจ จินตนาการวา่ ไดว้ างแกว้ ไวน์ไวบ้ นดา้ นขา้ งศีรษะดา้ นหน่ึงซ่ึงไมส่ ามารถทาหกได้

• อยา่ หมนุ มากเกินไป ใหห้ มนุ แค่ 30 องศาในดา้ นหน่ึงและอีกดา้ น
• อยา่ กล้นั หายใจนานเกินไปขณะวา่ ยน้า ใหห้ ายใจทกุ คร้ังท่ีวาดแขนลงในหากตอ้ งการหายใจ
• อยา่ เงยหนา้ ข้นึ มาเพราะจะทาใหส้ ะโพกและขาจมน้า ทาใหต้ อ้ งมาสร้างสมดุลทรงตวั ในน้าใหม่
• จดั ใหล้ าตวั และแขนเหยยี ดตรงขณะหายใจ ใหล้ าตวั อยใู่ นแนวตรงและอยา่ ลืมยดื เหยยี ดไวข้ ณะหายใจ

16

รูปที่17 การเป่ าลม
รูปการเป่ าลมออกปาก
ป่ าลมออกจากปากและจมูกเพ่ือหายใจออก. หากกล้นั หายใจไวอ้ าจทาใหร้ ู้สึกกงั วลขณะวา่ ยน้า ทาใหว้ า่ ยไดช้ า้
ลงและเสียสมาธิ สามารถฝึ กเป่ าลมในบริเวณท่ีน้าต้ืน โดยหายใจออกร้อยละ 70 ทางปากและอีกร้อยละ 30 ทาง
จมูกและหายใจออกโดยช่วงร้อยละ20 สุดทา้ ยให้หายใจออกให้สุด ให้ใบหน้ากม้ ลงใตผ้ ิวน้าและถอนหายใจ
หรือทาเสียงฮมั ออกมาทางจมูกหรือปากเพอ่ื ใหเ้ กิดฟองอากาศอยา่ งตอ่ เนื่อง
• ขณะอยใู่ ตน้ ้า ใหห้ ายใจออกใหอ้ ากาศออกหมดเพื่อจะไดไ้ ม่ตอ้ งหายใจออกเพิม่ ในช่วงท่ีตอ้ งหายใจเขา้

การสร้างความสัมพนั ธ์ในการว่ายท่าฟรีสไตล์
ความสัมพนั ธ์ของร่างกายในท่าฟรีสไตล์ ท่าน้ีเป็ นท่าที่มีความต่อเน่ืองในการทางานของร่างกายอย่างดี คุณ
สามารถวา่ ยท่าน้ีไดอ้ ย่างง่ายดาย แต่คุณตอ้ งพยายามที่รักษาความนิ่มนวลและความพลิ้วไหวในการวา่ ยดว้ ย ถา้
คณุ สามารถทาตวั ใหล้ ่ืนไหลไปเร่ือย ๆ ไดก้ ็จะดีมาก ไม่เพียงแต่ท่าฟรีสไตลเ์ ท่าน้นั ทกุ ๆ ท่า ก็ตอ้ งน่ิมนวล และ
พลิว้ ไหวเช่นกนั

17

2.การว่ายน้าท่ากรรเชียง (Back Crawl Stroke)

รูปท่ี18 ท่ากรรเชียง

การใช้แขนในท่ากรรเชียง

วางแขนของคุณไปด้านหลงั อย่างเร็วและต้องวางให้ชิดกับหูของคุณด้วยการใช้แขนท่ากรรเชียงการว่ายท่า
กรรเชียง ตอ้ งนอนหงายแลว้ ว่ายในลกั ษณะเคล่ือนที่ไปดา้ นหลงั แต่การทางานของแขนและมือจะคลา้ ยกบั ท่า
ฟรีสไตลม์ าก

1. เมื่อยดื แขนออกไปแลว้ แขนตอ้ งชิดหู ไมใ่ ช่เอาหูไปชิด ใหพ้ าแขนมาชิดหู
2. ให้คณุ กดแขนลงไปในน้า ที่สาคญั ปล่อยไหล่ตามสบาย ถา้ คุณเกร็งไหล่ใหอ้ ยกู่ บั ท่ีเอาไว้ จะกดแขนลง

น้าไมไ่ ด้
3. งอขอ้ ศอกและต้งั มือ พร้อมท้งั ดนั น้าผา่ นไปทางตน้ ขาของคุณอยา่ งรวดเร็ว
4. จงั หวะสุดทา้ ยของการดนั น้า ใหก้ ดมือลงอยา่ งแรง จนแขนของตึง
5. เม่ือคุณยกแขนข้ึนมาจากน้า คุณตอ้ งไม่งอขอ้ ศอก และวางแขนไปดา้ นหลงั โดยไม่ฟาดน้า โดยการวาง

แขนน้นั ใหค้ ุณหนั ฝ่ามือเอานิ้วกอ้ ยลงก่อน
6. เร่ิมทาขอ้ 1. กบั แขนอีกขา้ ง

18
ข้อควรจาในการใช้แขนในการว่ายท่ากรรเชียง

1. ในการวางแขนลงน้าเพื่อจะดึงน้าต่อไป ตอ้ งให้นิ้วกอ้ ยลงน้าก่อนเสมอ
2. ไมต่ อ้ งกงั วลเรื่องที่น้าจะเขา้ หนา้ คุณ เพราะวา่ ถา้ คุณวา่ ยถูกตอ้ ง น้ากเ็ ขา้ หนา้ อยแู่ ลว้ ใหค้ ณุ แกไ้ ขโดย

กาหนดจงั หวะหายใจ เช่น ยกแขนขวาข้นึ หายใจเขา้ ยกแขนซา้ ยหายใจออก เป็นตน้

3. ใหค้ ณุ เก็บคางเพยี งเลก็ นอ้ ย ไม่ใช่กม้ จนหูพน้ น้า และไมเ่ งยจนกระทงั่ หนา้ จมลงไปในน้า
4. ยดื ตวั เอาไว้ อยา่ งอตวั เป็นกงุ้ เดด็ ขาด

การใช้ขาในท่ากรรเชียง

รูปที่19 การใชข้ า
ในการเตะขาท่ากรรเชียงน้นั จะมีน้าหนกั ในการเตะขามากกวา่ ท่าฟรีสไตล์ โดยเป็นการเตะในลกั ษณะสะบดั น้า
ข้ึนไปทาให้ขาตอ้ งทางานหนกั กวา่ ปกติ แต่การเตะท่ีถูกตอ้ งก็จะช่วยเสริมให้การว่ายดีข้ึนและอย่างที่บอกคือจะ
ทาใหก้ ารทรงตวั ของร่างกายสมบรู ณ์แบบ ข้นั ตอนในการเตะขาแบบกรรเชียง มีดงั น้ี

1. มีอยู่ 3 อยา่ งท่ีคุณตอ้ งบงั คบั ใหอ้ ยบู่ นผวิ น้า แต่ตอ้ งไม่เกร็ง คอื ใบหนา้ หนา้ อก และทอ้ ง
2. ลาตวั ช่วงลา่ งต้งั แต่เอวลงไป พยายามอยา่ ใหย้ กข้นึ มาเกินผิวน้า
3. ที่ผมบอกวา่ ใบหนา้ ลอยน้า ก็ตอ้ งเป็นใบหนา้ นะครับ ไม่ใช่ศีรษะลอยข้ึนมาเหนือน้า สงั เกตง่าย ๆ

วา่ เวลาคณุ วา่ ยหูของคุณพน้ น้าข้ึนมาท้งั หูหรือเปล่า ถา้ ใช่กแ็ สดงวา่ คณุ ยกศีรษะข้ึนมาเหนือน้าแลว้
4. เวลาวา่ ยใหเ้ ก็บคางเลก็ นอ้ ย ไมใ่ ช่กม้ มามองเทา้ และไมเ่ งยจนหนา้ จมน้า
5. แขนหา้ มงอเด็ดขาดเม่ือยกข้ึนมาพน้ น้า

19

การกระโดดน้าทถี่ กู

1. เริ่มจากการกระโดดน้าท่ีถูก: โดยเหยยี ดตวั ในลกั ษณะโคง้ ไปขา้ งหลงั ตามรูปแลว้ เอาปลายมือลงไปในน้าก่อน
ตามดว้ ยแขน และหวั กบั ลาตวั

รูปท่ี20 การกระโดด

2. ลอยตวั ข้นึ ใหถ้ กู : หลงั จากที่กระโดดน้าเสร็จ ตวั คุณจะจมอยใู่ ตน้ ้า และหลายๆคนเขา้ ใจผดิ ท่ีรีบใช้ Stroke
แขนในทนั ทีทนั ใด เพราะนี่คือวิธีที่ผิด ที่จริงแลว้ ในขณะท่ีคณุ อยใู่ ตน้ ้า คณุ ตอ้ งใชข้ าแตะน้าในลกั ษณะคลา้ ย
ปลาโลมา (Dolphin Kick) โดยแขนท้งั สองเหยยี ดตรงนิ่ง จนกวา่ ตวั คุณจะข้ึนเสมอน้า วิธีน้ีจะช่วยทาความเร็ว
ไดม้ าก โดยทวั่ ไปแลว้ คุณควรอยใู่ ตน้ ้าประมาณ 15 เมตรก่อนจะเร่ิมใช้ Stroke แขน และเปล่ียนจากการแตะน้า
ในลกั ษณะคลา้ ยปลาโลมาเป็นการแตะน้าแบบปกติ (Flutter Kick)

20

รูปท่ี21 การลอยตวั

รูปท่ี22 การลอยตวั
การหายใจทา่ กรรเชียง
หายใจอยา่ งสมดุล: เช่นเดียวกบั วิธีวา่ ยน้าอื่นๆ การหายใจเป็นเทคนิคที่สาคญั มากในการเพมิ่ ความเร็ววธิ ีวา่ ย
น้าท่ากรรเชียงไม่แพก้ บั ความแขง็ แรงของร่างกาย โดยคุณตอ้ งหายใจดว้ ยปากไมใ่ ช่จมกู เพ่ือสูดอากาศไดอ้ ยา่ ง
เตม็ ที่และรวดเร็ว และควรหายใจออกในช่วงจงั หวะดนั น้าเพอื่ ใหก้ ลา้ มเน้ือมีแรงมากข้นึ

21

3.การว่ายนา้ ท่ากบ (Breast Stroke)

รูปที่23 ทา่ กบ

ป็นท่าว่ายน้าประเภทหน่ึง การว่ายท่ากบตอ้ งอาศยั ความแขง็ แรงของกลา้ มเน้ือของช่วงล่างต้งั แต่สะโพกจนถึง
ขอ้ เทา้ อีกท้งั มีโครงสร้างร่างกายที่เหมาะสม เช่น ขอ้ เท้าและขอ้ พบั ที่หัวเข่าตอ้ งมีความยืดหยุ่นและมีความ
แข็งแรงสูง ว่ายท่ากบท่ีถูกตอ้ งคือ ห้ามยกแขนพน้ ผิวน้า การใช้แขนดึงน้าตอ้ งดึงพร้อมกนั ท้งั สองขา้ ง เทคนิค
การใชแ้ ขนตอ้ งเหยยี ดแขนไปขา้ งหนา้ ใหส้ ุด มือปะกบติดกนั เสียบในระดบั ผิวน้า หลงั จากน้นั ให้ปาด แขนออก
โดยใช่ฝ่ามือกดน้าในลกั ษณะเฉียง 45 องศา จากผิวน้า เทคนิคสาคญั ในการดึงน้าจงั หวะท่ี 1 ขอ้ มือตอ้ งกวา้ งกว่า
ขอ้ ศอก สองการดึงน้า จงั หวะท่ีสองเป็นการล็อกขอ้ ศอกให้อยู่กบั ท่ี โดยให้ฝ่ ามือปาดน้าเขา้ หากนั ส่วนการใช้
แขนจงั หวะสุดทา้ ยเป็ นการรวบขอ้ ศอกเขา้ หากนั อย่างรวดเร็ว พร้อมกับเหยียดแขนพุ่งไปขา้ งหน้า การใชเ้ ทา้
จงั หวะแรกเป็นการพบั เข่า ท่ีสาคญั ตอ้ งไม่เป็นการชกั เข่า ส่วนจงั หวะท่ีสองเป็นการแบะฝ่ าเทา้ ออกโดยลอ็ กเข่า
ให้อยกู่ บั ที่ และในจงั หวะสุดทา้ ยให้ถีบฝ่ าเทา้ ออกพร้อมท้งั รวบฝ่ าเทา้ เขา้ หาประกบกนั อย่างรวดเร็ว เทคนิคที่
สาคญั ในการใชเ้ ทา้ อยู่ที่จงั หวะถีบสุดทา้ ยตอ้ งมีความเร็วหรืออตั ราการเร่งของการใชเ้ ทา้ เขา้ มาเกี่ยวขอ้ งกนั ดว้ ย
ตาแหน่งของลาตวั ในการวา่ ยท่ากบท่าปกติจะเอียงประมาณ 15 องศา จากผวิ น้า

22

การใช้แขนในท่ากบ

รูปท่ี24 ท่ากบ

การพุย้ น้าในท่ากบเริ่มดว้ ยการเหยยี ดแขนออกไปขา้ งหน้าใหม้ ืออยู่ต่าจากระดบั ผิวน้าลงมาประมาณ 4-5 นิ้วใช้
ฝ่ามือกดพุย้ น้าออกดา้ นขา้ งให้ลึกลงมาในน้าแลว้ วาดเลยไปขา้ งหลงั จนกระทงั่ เม่ืออยตู่ รงตาแหน่งดา้ นนอกของ
ขอ้ ศอก (โดยประมาณ) จากน้ันรวบมือท้งั สองขา้ งเขา้ มาดา้ นในแลว้ รวบชิดกนั ไวใ้ ตค้ างให้ค่อนไปขา้ งหน้า
เล็กน้อย ตรงจุดน้ีมือจะพุ่งตรงไปขา้ งหน้าพร้อม ๆ กนั จนกระทง่ั แขนเหยียดตรงสู่การเร่ิมตน้ ใหม่ เหมือนกบั
การเอามือท้ังสองขา้ งวาดรูปหัวใจจากห้องบนมาหาห้องล่าง ลองพยายามวาดภาพหัวใจโดยใช้ปลายนิ้วกด
ออกไปดา้ นขา้ ง ลากลงต่าและลากออกไปทางขา้ งหลงั แลว้ รวบมือเขา้ หากนั

ข้อควรจา การพุย้ น้าตามข้ันตอนต่าง ๆ ขา้ งตน้ จะตอ้ งทาให้ต่อเน่ืองกันหรือเป็ นจงั หวะเดียวโดยตลอด ไม่
หยดุ ชะงกั ดว้ ยความเร็วคงที่และพยายามเคล่ือนไหวมือใหเ้ ร็วท่ีสุดในลกั ษณะวาดรูปหวั ใจ

การใช้ขาในท่ากบ

ขาท้งั สองตอ้ งเหยียดออกไปอยูใ่ ตน้ ้า ลึกจากผิวน้าประมาณ 6 นิ้ว โดยยกส้นเทา้ ข้ึนก่อน แลว้ จึงวาดเทา้ ออกไป
พร้อมๆ กันให้เหมือนรูปพดั หัวแม่เทา้ บิดออกดา้ นขา้ ง งอเข่า เข่าไม่ชิด ความกวา้ งระหว่างเข่าท้งั สองขา้ งไม่
มากเกินกว่าความกวา้ งระหว่างส้นเทา้ ท้งั สอง เตะเทา้ ให้เป็ นวงกลมไปดา้ นหลงั พร้อมๆ กนั โดยให้รู้ว่าไดใ้ ช้
ดา้ นขา้ งของเทา้ ถีบน้าออกไปสิ่งสาคญั ท่ีตอ้ งจา คอื หลงั เตะเทา้ พร้อมกนั แลว้ ตอ้ งชิดสน้ เทา้ เขา้ หากนั เสมอ

23

การหายใจท่ากบ

รูปท่ี25 การหายใจ

ตอ้ งควบคุมการหายใจในท่ากบไวใ้ หเ้ ป็นจงั หวะสม่าเสมอและสัมพนั ธก์ บั แขนและขา โดยฝึกการหายใจเขา้ ตรง
กลางจงั หวะท่ีแขนและขาเคลื่อนไหวในการว่ายแต่ละคร้ัง ตอ้ งพยายามหายใจเขา้ อยา่ งเร็ว ในขณะท่ีมือเคล่ือนที่
มาไดค้ ร่ึงหน่ึงของระยะทางพุย้ น้าท้งั หมด และจะทาไปพร้อม ๆ กนั กบั ลาตวั ท่อนบนที่โผล่พน้ จากน้าข้ึนมา
ขณะวาดมือพุย้ น้าเป็ นวงกลมอยใู่ ตล้ าตวั ศีรษะจะลดต่าลงจนผิวน้าอยใู่ นระดบั ค้ิวเพื่อให้ลาตวั เหยียดพุ่งไปขา้
หนา้ ในจุดน้ีตอ้ งเป่ าลมออกจากปาก ตอ้ งแน่ใจเสมอว่า การหายใจเป็นไปอยา่ งสม่าเสมอ ต่อเนื่อง ไม่สะดุดและ
ควบคุมไดโ้ ดยไมเ่ ป็นอุปสรรคต่อการพุ่งตวั ไปขา้ งหนา้ ไม่มีการหยดุ เคล่ือนไหวขณะหายใจ การทรงตวั ในช่วง
สุดทา้ ยของการเหยยี ดตวั ออกไปน้นั เป็นช่วงท่ีหยุดพกั ไดเ้ ลก็ นอ้ ย ซ่ึงมีผลใหข้ าไดห้ ยดุ การเตะกวาดน้า และเมื่อ
มือไมไ่ ดพ้ ุย้ น้า ขาตอ้ งเตะน้าสลบั กนั ไปกบั มือเสมอ จึงจะเป็นทา่ ที่ถกู ตอ้ งสมบูรณ์การเคลื่อนไหวร่างกาย

รูปที่26 การหายใจ

24

การว่ายน้าท่าผีเสื้อ (Butterfly)
การใช้แขนในท่าผีเสื้อ

รูปที่27 ท่าผีเส้ือ

การเคล่ือนไหวแขนท้งั สองขา้ งพร้อม ๆ กนั โดยเหยยี ดมือท้งั สองออกไปเหนือศีรษะ คลา้ ย ๆ กบั การพุย้ น้าใน
ท่าวดั วา มีขอ้ แตกต่างจากท่าวดั วาบา้ ง คือในท่าผีเส้ือน้ันไม่ตอ้ งบิดหรือมว้ นศีรษะข้ึนขา้ ง ๆ เพื่อช่วยในการ
หายใจ และตอ้ งวาดมือไปพร้อม ๆ กนั ท้งั สองขา้ งในจงั หวะพุ่งมือ เริ่มดว้ ยการใหฝ้ ่ ามือท้งั สองขา้ งคว่าลงสู่พ้ืน
สระ มืออยู่ห่างกนั ประมาณช่วงกวา้ งของไหล่ ลากหรือกวาดมือออกไปดา้ นขา้ งลาตวั แลว้ กดมือลงโดยไมม่ ีการ
หยุดชะงกั ให้ทาติดต่อกนั ไปเป็ นจงั หวะเดียว ขอ้ ศอกงอเล็กน้อยเพ่ือให้การกดมือลงไปในน้าเป็ นไปไดด้ ี และ
ยงั คงตอ้ งยกขอ้ ศอกข้ึนสูงไวก้ ่อนในขณะที่พุย้ น้าออกไปดา้ นหลงั ลงไปสู่เส้นกลางตวั การพุย้ น้าให้ทาท่าทาง
เหมือนกบั การใช้แขนและลาตวั มว้ นอยู่เหนือถงั น้ามนั เม่ือสิ้นสุดการมว้ นตวั ดงั กล่าว ก็เขา้ สู่ช่วงของการผลกั
ขอ้ มือหรือการเหยยี ดแขนออกเตม็ ที่ โดยมือท้งั สองจะอยูข่ า้ ง ๆ ตน้ ขา การวา่ ยน้าท่าผีเส้ือจะใชแ้ รงจากแขนและ
หวั ไหล่มาก

การกลบั เขา้ ที่ เริ่มดว้ ยการผ่อนขอ้ มือและยกขอ้ ศอกพน้ ข้ึนจากน้า ตอ้ งไม่เกร็งขอ้ มือและตอ้ งยกขอ้ ศอกข้ึนสูง
ต่อจากน้ันค่อยเคลื่อนไหวมือกลบั เขา้ สู่ท่าเร่ิมตน้ ดว้ ยการลดขอ้ มือลงสู่ผิวน้าและตอ้ งควบคุมแรงดว้ ยการกม้
ศีรษะและการเตะเทา้ ลงดา้ นล่าง เพ่ือช่วยใหแ้ ขนกลบั เขา้ สู่ท่าเริ่มตน้ อีกคร้ัง มือและแขนจะเคล่ือนท่ีลงสู่ผิวน้า
อยา่ งตอ่ เนื่องกนั ตรงตาแหน่งดา้ นหนา้ ของไหล่ การพุ่งมือลงน้าเริ่มท่ีปลายนิ้วก่อน

25

การใช้ขาท่าผีเสื้อ

รูปท่ี28 ท่าผเี ส้ือ
การใชข้ าและเทา้ ใหท้ าเหมือนปลาโลมาวา่ ยน้า หรือทาเหมือนการเคลื่อนไหวเฉพาะท่อนหางของมนั คอื ใชเ้ ทา้ คู่
เตะพร้อม ๆ กนั โดยกระทมุ่ ข้นึ -ลงในแนวดิ่ง เพอ่ื ใหล้ าตวั เคล่ือนที่เพราะจะส่งผลตอ่ การเตะเทา้ ท่ีถกู ตอ้ ง เริ่มฝึ ก
เคล่ือนไหวขาดว้ ยการยกสะโพกข้ึน แลว้ งอเข่าท้งั สองขา้ งไปพร้อมกนั การงอเข่าเลก็ นอ้ ยเช่นน้ีจะทาใหส้ ้นเทา้
ต้งั ข้ึนไปหาผิวน้า ต่อจากน้นั ลดสะโพกต่าลง แลว้ เหยียดขาเตะออกไปให้ตึงเต็มท่ี ในข้นั สุดทา้ ยปลายเทา้ จะ
เหยยี ดตรง การเคล่ือนไหวลาตัวและขาให้สัมพนั ธ์กนั เป็นเร่ืองสาคญั มาก เพราะจะทาให้วา่ ยท่าผีเส้ือไดถ้ ูกตอ้ ง
ต่อไป
การหายใจท่าผเี สื้อ

รูปท่ี29 การหายใจ

26

การหายใจในทา่ ผีเส้ือมีความสาคญั ต่อท่าทางการวา่ ยที่ถูกตอ้ งมากที่สุดส่วนหน่ึง การหายใจเริ่มข้ึนภายหลงั ท่ีได้
หายใจออกใตน้ ้าไปแลว้ ดว้ ยการยกศีรษะข้ึนขา้ งหนา้ ในลกั ษณะของการยนื่ คางออกไปตรง ๆ แลว้ หายใจเขา้ ใน
ขณะท่ีขายงั อยู่ในจงั หวะของการเตะลงต่า และพร้อม ๆ กันน้ันแขนก็จะเคล่ือนท่ีเขา้ สู่จงั หวะการผลกั มือข้ึน
หลงั สิ้นสุดการผลกั มืออยา่ งสมบูรณ์ ศีรษะจะมว้ นข้ึนและลง ไม่ใช่ยกข้นึ ยกลง การกลบั เขา้ ที่ของแขนในช่วงน้ี
เป็นการกลบั เขา้ สู่ข้นั การเตรียมเพื่อการเร่ิมตน้ ใหมต่ ่อไป

ประโยชน์การว่ายท่าผเี สื้อ

ท่าผีเส้ือ ช่วยเหยยี ดร่างกายและทาให้ร่างกายแข็งแรง เผาผลาญได้ 150 แคลอรี ทุก 10 นาที แต่ควรมีครูสอนให้
ว่ายถูกตอ้ ง มิฉะน้ันอาจเจ็บหัวไหล่และหลงั ได้ ควรออกกาลงั กายเป็ นประจา และหากสามารถออกกาลงั กาย
หลายๆ ชนิดกีฬา วนั ละ 30-90 นาที และเลือกใหเ้ หมาะสม จะทาใหส้ ุขภาพดีเสมอ

27

บรรณานุกรม

http://swimming.or.th/ ประวตั ิกีฬาวา่ ยน้า ( ออนไลน์ )
( สืบคน้ เม่ือ วนั ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2564 )

https://www.familypoolday.com/ ประโยชน์ของกีฬาวา่ ยน้า ( ออนไลน์ )
( สืบคน้ เม่ือ วนั ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2564 )

https://wikipang.com/wiki/Mineral_sanitizer การสุขาภิบาลสระว่ายน้า ( ออนไลน์ )
( สืบคน้ เมื่อ วนั ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2564 )

http://sarakwamroo.blogspot.com/p/blog-page_42.html สมรรถภาพทางกาย ( ออนไลน์ )
( สืบคน้ เมื่อ วนั ที่30 สิงหาคม พ.ศ. 2564 )

http://e-see13.blogspot.com/2016/10/blog-post_15.html ทกั ษะกีฬาวา่ ยน้า ( ออนไลน์ )
( สืบคน้ เมื่อ วนั ท่ี 31 สิงหาคม พ.ศ.2564 )


Click to View FlipBook Version