The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

70 ปี พระบารมีประทับในหทัยราษฎร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MA DEE CHANNEL, 2020-02-20 01:12:58

70 ปี พระบารมีประทับในหทัยราษฎร์

70 ปี พระบารมีประทับในหทัยราษฎร์

ทุกคนต่างก็มีหน้าที่ พระก็มีหน้าที่ของพระ รวมถงึ เจา้ หนา้ ทป่ี อเตก็ ตงึ ตา่ งพบเจอพญานาค
สามเณรกม็ หี นา้ ทขี่ องสามเณร อบุ าสกอบุ าสกิ า ตัวเป็น ๆ โผล่ข้นึ มาจากน�า้ งดงามมาก นา�้
ก็มีหน้าที่ สาธชุ น กลั ยาณมติ ร ผนู้ �าบุญตา่ ง บรเิ วณนน้ั เปน็ สที องอรา่ มสวา่ งมาก พญานาคมี
กม็ หี นา้ ทแ่ี ละต่างก็เก้อื กลู กัน งานบญุ ก็สา� เรจ็ ลกั ษณะเหมอื นรปู ปนั พญานาคทวี่ ดั พระธรรมกาย
อศั จรรย์ ดว้ ยสถานการณไ์ มป่ กตขิ องพระศาสนา แต่สง่าและงามกวา่ มาก
ปน้ีเราแทบไมไ่ ด้พูดถงึ บ้ังไ พญานาค แตเ่ มื่อ
ถงึ วนั ออกพรรษา ทา่ นพญานาคตา่ งกท็ า� หนา้ ท่ี เม่ือคืนไปดูบ้ังไ พญานาคมา เห็น
ของทา่ นดว้ ยการพน่ บง้ั ไ เหมอื นทกุ ปทผ่ี า่ นมา เตม็ ตาเตม็ ใจ บง้ั ไ ขน้ึ ตอน ๒๒.๓๐ น. มาให้
ยืนยันความศรัทธาในพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เหน็ เปน็ ตวั ชดั ๆ เลยเจา้ คะ่ เหน็ ทพ่ี ทุ ธอทุ ยาน
อย่างไม่คลอนแคลน และบริเวณพุทธอุทยาน นานาชาติ มา ๒ ตวั เหน็ หงอนชดั มรี ะลอก
นานาชาติปนี้ นักเรียนอนุบาลที่ไปชมบั้งไ คลน่ื กระเพอ่ื มตามตวั ทเ่ี ขาเคลอ่ื นไหว หนั หนา้
นอกจากไดเ้ หน็ บง้ั ไ แลว้ ยงั ไดเ้ หน็ ตวั พญานาค เข้าปทุมรัตน์ธรรมเจดีย์ เหมือนมานมัสการ
ด้วยตาเนื้อของตนเองอีกด้วย ดังค�าบอกเล่า เจดยี ์ ตวั ใหญเ่ ทา่ ขาและบงั้ ไ ทเี่ ขาพน่ ลกู ใหญ่
เมอ่ื วนั ออกพรรษา มพี ี่ ๆ ไปดบู ง้ั ไ พญานาค ขนึ้ สงู มพี ลังเจ้าคะ่
ที่หนองคาย บ้ังไ ข้ึน ๔๗ ดวง แต่ท่ีขนลุก
กว่านั้นก็คือ ท้ังทีมงานท่ีไปและคนละแวกนั้น การท�าหน้าท่ีด้วยความปล้ืมปติในบุญ
แบบไม่มีข้อแม้เง่ือนไขจะเป็นผังติดตามตัวไป
Case Studyก ร ณี ศึ ก ษ า ขา้ มภพข้ามชาติ ดังเร่อื งราว

ลุง ลอม มีแก้วนอ้ ย (ลุงหลอม) เป็น งฉ อม ม กว้ นอ้ ย
หลานชายของพระเดชพระคณุ หลวงปู เสยี ชวี ติ
เมื่อวันศุกร์ท่ี ๑๖ พ ศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๕ น ๒๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๕
(อายุ ๙๑ ป)
ประกอบเร่ืองศิลปกรรมประตูชัยในยุคแรก ๆ
ปู่ใส มีแก้วน้อย เป็นน้องชายของ บนลานธรรม เขม็ ที่ระลึกงานบุญต่าง ๆ
พระเดชพระคุณหลวงปู (พอ่ ของลงุ ฉลอม)
๒. เป็นวิทยากรอบรมเจ้าหน้าที่
เสียชีวิตด้วยโรคหอบ (เสียชีวิตก่อน ในองค์กรหนว่ ยงานต่าง ๆ, เปน็ ผอู้ า� นวยการ
หลวงปู ๑ สปั ดาห์) ค่ายวัยร่นุ คุณธรรม อบรมเยาวชนทัว่ ประเทศ

กัล ลอื พงศ์ ลีลพนงั เข้าวัดครง้ั แรก ๓. เปน็ ผปู้ ระสานงานโครงการอนสุ รณ์
ป พ.ศ. ๒๕๒๖ รบั บุญดงั ต่อไปนี้ สถานในเส้นทางมหาปชู นยี าจารย์

๑. งานออกแบบสญั ลักษณต์ า่ ง ๆ ของ ๔. เปน็ อาจารยม์ หาวทิ ยาลยั ธรรมกาย
องค์กร ออกแบบสอ่ื ส่งิ พมิ พ์ ปกหนังสอื ภาพ แคลิ อรเ์ นีย ( )

๕. เป็นผูป้ ระสานงาน, คณะกรรมการ
พทุ ธอทุ ยานนานาชาติ อ.โพนพสิ ยั จ.หนองคาย

พฤศจิกายน ๒๕๕๙ อยในบ

D M C ชองนม้ ําตอบ

๒๓ ๔๕

๑ ประมวลรวมกันที่ศูนย์กลางกายของกาย
ละเอียดของท่าน ท�าให้กายละเอียดของท่าน
ห ังจากสง าํ าม ปกราบเรยน าม มคี วามผอ่ งใส สวา่ งไสว เรมิ่ มสี ตริ ตู้ วั มากขนึ้
ร มให ว้ กม ําตอบ
๒. ทนั ทที มี่ สี ตริ ตู้ วั มากขน้ึ กายละเอยี ด
จาก รงเรยนอนบา นใน นวทิ ยา ดังน้ ของทา่ นกเ็ รมิ่ รสู้ กึ แปลกใจทค่ี วามรสู้ กึ เจบ็ ปวย
ตา่ ง ๆ หายไปเปน็ ปลดิ ทงิ้ และเรม่ิ หนั มาสนใจ
๑. หลังจากที่ลุงฉลอมเสียชีวิตไปแล้ว สงิ่ ทอี่ ยรู่ อบ ๆ ตวั มากขน้ึ เมอ่ื กายละเอยี ดของ
กายละเอยี ดของทา่ นกห็ ลดุ ออกมายนื อยขู่ า้ ง ๆ ลุงฉลอมมองเห็นร่างของตัวท่านก�าลังนอน
กายหยาบหรือร่างของท่านซ่ึงนอนอยู่ใน อย่างสงบนิง่ ท่านจงึ ร้ตู ัวในทนั ทวี ่า ในตอนน้ี
โรงพยาบาลด้วยความรู้สึกมึน ๆ งง ๆ และยงั ตวั ทา่ นเสยี ชีวิตไปแลว้
ไมร่ สู้ กึ ตวั วา่ ตัวเองเสยี ชวี ิตไปแล้ว
๓. หลงั จากทท่ี ราบวา่ เสยี ชวี ติ แลว้ กาย
แต่พอเวลาผ่านไปได้สักครู่หนึ่ง ด้วย ละเอียดของท่านจึงเร่ิมท�าตามหลักวิชชาที่
ผลแหง่ บญุ ทที่ า่ นตง้ั ใจทมุ่ เทสงั่ สมมาตลอดชวี ติ ศึกษาเรียนรู้มาอย่างดีจากโรงเรียนอนุบาล
โดยเฉพาะบุญที่ตัวท่านมีโอกาสอุปัฏฐากรับใช้ ฝนั ในฝนั วทิ ยา ดว้ ยการตรกึ ระลกึ นกึ ถงึ พระเดช-
พระเดชพระคุณหลวงปู (พระผู้ปราบมาร) ใน พระคณุ หลวงปู(พระผปู้ ราบมาร) และพระเถระ
สมยั ทีท่ ่านยงั เป็นเดก็ , บุญท่ไี ดถ้ วายทด่ี นิ สร้าง รวมไปถึงบุญทุก ๆ บุญท่ีตัวท่านตั้งใจทุ่มเท
อนุสรณ์สถานพระมงคลเทพมุนีเป็นคนแรก สง่ั สมเอาไว้ตลอดชีวิต
และบุญท่ีเป็นผู้ถ่ายทอดเรื่องราวยุคต้นวิชชา
ของพระเดชพระคุณหลวงปูให้มหาชนผู้มีบุญ ๔. เม่ือกายละเอียดของลุงฉลอมตรึก
ได้รับรู้ รวมถงึ ผลแห่งบญุ ทกุ ๆ บญุ ท่ีตัวทา่ น ระลกึ นกึ ถงึ มหาปชู นยี าจารยแ์ ละบญุ ทกุ ๆ บญุ
ได้ทุ่มเทสั่งสมร่วมกับหมู่คณะ เป็นต้น ก็มา ได้เช่นนี้ บุญต่าง ๆ ก็ยิ่งได้ช่องไหลมาจรด
เชื่อมที่ศูนย์กลางกายของท่านอย่างต่อเนื่อง
ท�าให้ท้ังกายและใจของท่านผ่องใสและ
สวา่ งไสวอยา่ งสดุ ๆ

เม่ือใจของท่านอัดแน่นและเต็มเปยม
ไปดว้ ยกระแสบญุ อยา่ งสุด ๆ แล้ว ทันใดน้นั
กายละเอยี ดของทา่ นกเ็ กดิ ความสวา่ งพรบึ พรอ้ ม
กบั แปรเปล่ียนไปเป็นกายของเทพบุตรสุดหล่อ

อยในบ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙

D M Cชองนม้ าํ ตอบ

๖๗ ๘๙

ในทันที มหาธรรมกายเจดีย์ เพื่อสักการบูชาพระ-
๕. จากนั้น ตัวท่านก็เห็นขบวนของ รัตนตรัยและนกึ ทบทวนบญุ ทกุ ๆ บญุ ดว้ ย
หวั ใจทพ่ี องโต
เหล่าบริวารและเทวรถที่สวยสดงดงามมาจอด
รอต้อนรับ ท�าให้ท่านเกิดความรู้สึกปลื้มปติ ๗. หลังจากนั้น ทา่ นก็ลอยตัวขน้ึ ไปสู่
เบิกบานใจอย่างสุด ๆ นอกจากนี้ตัวท่านยัง เทวรถซ่ึงจอดรออยู่ที่บริเวณด้านหน้ามหา-
รู้สึกอยากไปวัดพระธรรมกาย เพื่อตรึกระลึก ธรรมกายเจดีย์ เพอื่ ไปนง่ั สมาธนิ ึกถงึ พระเดช-
นกึ ถงึ บญุ และทบทวนบญุ ทกุ ๆ บญุ ทต่ี ง้ั ใจสง่ั สม พระคณุ หลวงปู และนึกทบทวนบญุ ทกุ ๆ บุญ
เอาไวใ้ นสมัยท่ยี งั มชี ีวติ อยู่ และปรารถนาที่จะ เมื่อนึกทบทวนบุญมากเข้า ๆ ความสุขและ
มากราบลาพระเถระที่ตัวท่านเคารพรัก ก่อน ความปล้ืมปติในบุญก็เอ่อล้นและพรั่งพรูอยู่
ทจ่ี ะเดนิ ทางกลับไปสู่เทวโลก ภายในใจของท่านอยา่ งไมม่ ีประมาณ

๖. เมอ่ื ทา่ นเทพบตุ รใหมเ่ กดิ ความรสู้ กึ ในเส้ียววินาทีแห่งความปลื้มปติน้ีเอง
เช่นน้นั แล้ว จงึ เดินแบบลอย ๆ ขน้ึ ไปสู่เทวรถ พระธรรมกายกเ็ มตตามาปรากฏอยตู่ อ่ หนา้ ทา่ น
ท่ีมารอรับด้วยความปลื้มปติในบุญอย่างท่ีสุด เทพบตุ รใหม่ ทนั ทีท่ีทา่ นได้เห็นพระธรรมกาย
หลังจากที่ท่านเทพบุตรใหม่ขึ้นไปนั่งอยู่บน ท่านก็เกิดความรู้สึกอัศจรรย์ใจและปลื้มปติใจ
รัตนบัลลังก์หลักกลางเทวรถแล้ว ตัวท่านก็ อยา่ งสดุ ๆ ทา่ นเทพบตุ รใหมจ่ งึ ไมร่ อชา้ รบี ลง
เคล่ือนเทวรถมุ่งตรงไปท่ีวัดพระธรรมกาย ซ่ึง จากเทวรถแล้วมาน่ังคุกเข่าก้มลงกราบพระ-
เป็นบุญสถานที่ตัวท่านเคยทุ่มเทส่ังสมบุญ ธรรมกายในทนั ที
เอาไวใ้ นสมยั ท่ีมชี ีวติ อยใู่ นทันที
๘. จากน้ัน พระธรรมกายเมตตา
เมอ่ื ไปถงึ วดั พระธรรมกายแลว้ ตวั ทา่ น ประทานโอวาทในท�านองท่ีว่า ขอให้ท่าน
ก็ลงจากเทวรถแล้วเดินแบบลอย ๆ ไปท่ัวทั้ง เทพบุตรใหม่ตั้งใจนั่งสมาธิให้เห็นองค์พระที่
บุญสถาน เพ่ือชน่ื ชมและด่มื ด�่ากับบรรยากาศ ชัดใสสว่างเสียก่อน จึงค่อยเดินทางกลับไปสู่
ภายในบญุ สถานแหง่ น้ีเป็นครัง้ สดุ ทา้ ย เทวโลก เมอื่ ได้ งั โอวาทจากพระธรรมกายแลว้
ท่านกร็ บั ปากวา่ จะปฏบิ ตั ติ ามโอวาททพ่ี ระ-
โดยเฉพาะท่ีมหาวิหารพระมงคลเทพ- ธรรมกายเมตตาประทานเอาไว้ทุกประการ
มนุ นี น้ั ทา่ นไดเ้ ดนิ เวยี นประทกั ษณิ แบบลอย ๆ
รอบมหาวิหาร ด้วยความรู้สึกเคารพรักเทิดทนู ๙. หลงั จากทพ่ี ระธรรมกายจากไปแลว้
บูชาพระเดชพระคุณหลวงปเู ป็นอยา่ งยิ่ง ท่านเทพบุตรใหม่ก็ตั้งใจน่ังสมาธิอยู่บนเทวรถ
ตามทร่ี บั ปากกับพระธรรมกายเอาไว้
จากนั้น ก็ไปเวียนประทักษิณรอบ

พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙ อยในบ

D M C ชองนม้ ําตอบ

๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓

ณ ชว่ งเวลานนั้ ทา่ นเทพบตุ รใหมน่ กึ ถงึ ๑๑. ดงั นนั้ เมอ่ื ผงั เดมิ และคา� อธษิ ฐาน
พระเดชพระคุณหลวงปูได้ง่ายมาก ดังนั้นใจ จิตดังกล่าวได้ช่องตามมาส่งผลรวมกัน จึง
ของท่านจึงกลับมารวมหยุดน่ิงและเกาะเก่ียว ทา� ใหใ้ นภพชาตติ อ่ ๆ มา ลงุ ฉลอมไดท้ า� หนา้ ท่ี
อยกู่ บั พระเดชพระคณุ หลวงปทู อ่ี ยใู่ นกลางกาย อุปัฏฐากดูแลพระเดชพระคุณหลวงปู และได้
ของท่านไดต้ ลอดเวลา เกบ็ รกั ษาอฐั บรขิ ารของพระเดชพระคณุ หลวงปู
เอาไว้ เพือ่ รอถวายแดผ่ ูส้ ืบทอดวชิ ชาธรรมกาย
เมื่อถึงช่วงค่�าของวันแรกท่ีเสียชีวิตลง เรื่อยมา ดงั เชน่ ในพทุ ธันดรทผ่ี า่ นมา ลงุ ฉลอม
ท่านเทพบุตรใหม่ก็ได้มากราบพระเถระท่ี กม็ โี อกาสทา� หนา้ ทอี่ ปุ ฏั ฐากดแู ลพระเดชพระคณุ
โรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา จากน้ันก็ หลวงปูอยา่ งใกลช้ ิด
แวบกลบั ไปนง่ั สมาธติ อ่ ทบี่ รเิ วณดา้ นหนา้ มหา-
ธรรมกายเจดีย์ ๑๒. หลังจากท่ีลุงฉลอมมาท�าหน้าที่
อปุ ฏั ฐากดแู ลพระเดชพระคณุ หลวงปแู ลว้ พระ-
ในชว่ งหลายวนั ทผี่ า่ นมา ทา่ นเทพบตุ ร เดชพระคุณหลวงปู (ในพทุ ธนั ดรทผี่ ่านมา) ก็
ใหม่ท�ากจิ วตั รกจิ กรรมหลกั ๆ อยแู่ ค่ ๓ อย่าง เหน็ ดว้ ยญาณทสั นะวา่ ลงุ ฉลอมเคยสงั่ สมบญุ
เท่าน้ัน คือ การน่ังธรรมะให้เห็นองค์พระ ร่วมกับท่านมาหลายภพหลายชาติ อีกทั้ง
ท่ีชัดใสสว่าง และไปร่วมงานบ�าเพ็ญกุศลสวด ยังมีหน้าท่ีที่จะต้องเก็บรักษาผ้าไตรจีวรของ
พระอภิธรรมกายหยาบของท่าน รวมท้ังไป ท่านเอาไว้ เพื่อรอถวายให้แก่ผู้สืบทอดวิชชา
กราบพระเถระทโี่ รงเรยี นอนบุ าลฝนั ในฝนั วทิ ยา ธรรมกายอกี ด้วย

๑๐. สา� หรบั สาเหตทุ ท่ี า� ใหล้ งุ ฉลอมเกบ็ ดงั นนั้ เมอ่ื ถงึ เวลาทเี่ หมาะสม พระเดช-
จีวรและเครื่องอัฐบริขารของพระเดชพระคุณ พระคุณหลวงปูจึงมอบผ้าไตรจีวรของท่านให้
หลวงปูเอาไวท้ ั้งหมด (รวมท้งั เสาเรือนเกดิ และ แกล่ งุ ฉลอม พร้อมกบั ส่ังไว้ในท�านองทวี่ ่า ให้
หัวเรือค้าขา้ ว) น้นั เป็นเพราะผงั เดมิ ทีท่ ่านเคย เก็บรักษาผ้าไตรจีวรชุดน้ีเอาไว้ให้ดี เพ่ือรอ
ทา� หนา้ ทนี่ เ้ี อาไวม้ ารวมกบั คา� อธษิ ฐานจติ ทเ่ี คย ถวายแดผ่ สู้ บื ทอดวชิ ชาธรรมกาย โดยผสู้ บื ทอด
อธิษฐานเอาไว้ในหลาย ๆ พุทธันดรก่อน ๆ วชิ ชาธรรมกายจะเปน็ บคุ คลทเ่ี กดิ อยใู่ นตระกลู
โนน้ วา่ ในภพชาตติ อ่ ๆ ไป ขอใหไ้ ดท้ า� หนา้ ที่ สูงและเพียบพร้อมด้วยทุกส่ิงทุกอย่าง แต่เม่ือ
อุปัฏฐากดูแลพระเดชพระคุณหลวงปูอย่าง ถึงวันหนึ่ง ท่านจะสละทิ้งทุกส่ิงทุกอย่างแล้ว
ใกลช้ ดิ และขอใหไ้ ดร้ บั สง่ิ ของทเ่ี ปน็ เครอื่ งแทน ออกบวชเป็นพระอยู่ในวัดปา เพราะท่านชอบ
ตวั ของพระเดชพระคณุ หลวงปู

อยในบ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙

D M Cชองนม้ าํ ตอบ

๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗

ชวี ติ ทีส่ งบ สันโดษ และเรยี บงา่ ย อีกทง้ั ท่านยงั อยู่นนี้ ั่นเอง
รักในการปฏิบัติธรรมเป็นอย่างมาก และท่าน ๑๕. สาเหตุที่ท�าให้ลุงฉลอมตัดสินใจ
จะเป็นผู้ที่สามารถเผยแผ่วิชชาธรรมกายไปได้
ท่วั ทกุ แคว้น ถวายทดี่ นิ สรา้ งอนสุ รณส์ ถานพระมงคลเทพมนุ ี
(ท่ีโลตัสแลนด์แดนเกิดด้วยรูปกายเนื้อของ
๑๓. หลังจากทลี่ งุ ฉลอม (ในพุทธันดร พระเดชพระคุณหลวงป)ู เปน็ คนแรกนน้ั เป็น
ทผ่ี ่านมา) ได้รบั ผ้าไตรจีวรมาแลว้ กเ็ ก็บรักษา เพราะความเลอ่ื มใสศรทั ธาในพระเดชพระคณุ -
เอาไว้เป็นอย่างดี และเม่ือได้พบกับผู้สืบทอด หลวงปูพระผู้ปราบมารกับพระเถระท่ีตัวท่าน
วิชชาธรรมกาย (ซ่ึงมีคุณสมบัติเหมือนดังท่ี เคารพรัก จึงท�าให้ตัวท่านเกิดความปรารถนา
พระเดชพระคณุ หลวงปบู อกเอาไว)้ กถ็ วายผา้ ไตร อย่างแรงกล้าท่ีจะมีส่วนส�าคัญในการสถาปนา
จีวรชุดนั้นแด่ผู้สืบทอดวิชชาธรรมกายตามท่ี อนุสรณ์สถานพระมงคลเทพมุนี เพ่ือให้ชน
พระเดชพระคุณหลวงปูสั่งเอาไว้ จากนั้นลุง รนุ่ หลงั ไดม้ าศกึ ษาเรยี นรถู้ งึ จดุ กา� เนดิ และประวตั ิ
ฉลอมก็ตั้งใจสั่งสมบุญสร้างบารมีเรื่อยมาจน ความเป็นมาของบุคคลส�าคัญของโลกและ
กระท่ังหมดอายุขยั จักรวาล (ซ่ึงก็คือ พระเดชพระคุณหลวงปู
พระผู้ปราบมาร) รวมถึงจะได้มาศึกษาเรียนรู้
๑๔. ในภพชาติปัจจุบันนี้ เม่ือผังเดิม วชิ ชาธรรมกาย ทจี่ ะทา� ใหจ้ ติ ใจสงู สง่ และเปน็
และค�าอธิษฐานจิตท่ีลุงฉลอมได้เคยอธิษฐาน การปิดประตูอบาย เปิดหนทางสวรรค์และ
เอาไวใ้ นหลาย ๆ พทุ ธนั ดรกอ่ น ๆ โนน้ วา่ ใน มรรค ผล นพิ พาน ตอ่ ไป
ภพชาติต่อ ๆ ไป ขอใหไ้ ด้ท�าหนา้ ทีอ่ ุปัฏฐาก
ดูแลพระเดชพระคุณหลวงปูอยา่ งใกลช้ ิด และ ๑๖. หลังจากท่ีคุณพ่อของลุงฉลอม
ก็ขอให้ได้รับสิ่งของท่ีเป็นเครื่องแทนตัวของ เสียชีวิตไปแล้ว พระเดชพระคุณหลวงปูก็ได้
พระเดชพระคุณหลวงปู ได้ช่องตามมาสง่ ผล เมตตาชว่ ยคุมบญุ ใหท้ า่ น (ท้ัง ๆ ทใี่ นตอนนั้น
จึงท�าให้ลุงฉลอมได้มาท�าหน้าที่เก็บรักษาจีวร พระเดชพระคณุ หลวงปกู ก็ า� ลงั อาพาธอยู่ แตถ่ งึ
และเครอ่ื งอฐั บรขิ ารของพระเดชพระคณุ หลวงปู กระนน้ั ใจของทา่ นกท็ า� ความละเอยี ดและอยกู่ บั
เอาไว้ทั้งหมด (รวมท้ังสิ่งท่ีเน่ืองด้วยพระเดช- วิชชาธรรมกายตลอดเวลา) โดยพระเดช-
พระคุณหลวงปู เช่น เสาเรือนเกิดและหัวเรือ พระคุณหลวงปูได้เมตตาประมวลรวมเอาบุญ
ค้าขา้ วในภพชาติปจั จบุ ัน เป็นต้น) เพ่ือถวาย ทุก ๆ บุญที่ตัวคุณพ่อของลุงฉลอมต้ังใจ
แด่ผู้สืบทอดวิชชาธรรมกายเหมือนอย่างที่เป็น สั่งสมเอาไว้มารวมกับบุญท่ีลูกชายของท่าน

พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙ อยในบ

D M C D M Cชองนชม้ องาํนต้มอบําตอบ

๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑

(ลุงฉลอม) ตั้งใจท�าหน้าที่อุปัฏฐากพระเดช- การท�าหน้าที่ให้ค�าปรึกษาเรื่องการตรวจดู
พระคณุ หลวงปูเป็นอย่างดี ไปซอ้ นตรงึ ติดไว้ที่ ชัยภูมิพื้นที่ในการสร้างสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ
ศูนย์กลางกายของกายละเอียดของคุณพ่อของ ภายในแควน้
ลงุ ฉลอม
ด้วยความท่ีผู้ประสานงานของตัวลูก
๑๗. และทันทีท่ีก�าลังบุญในตัวของ เป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านการตรวจดู
คุณพ่อของลุงฉลอมมีก�าลังมากเพียงพอแล้ว ชยั ภมู พิ นื้ ทเ่ี ปน็ อยา่ งมาก กอปรกบั ตวั เขากเ็ ปน็
กายละเอียดของท่านก็ได้แวบไปบังเกิดเป็น ครฝู กทหารทม่ี ชี อ่ื เสยี งและเปน็ ทนี่ บั หนา้ ถอื ตา
เทพบุตรสุดหล่อ อยู่ที่ดุสิตบุรี วงบุญพิเศษ ของคนท้ังหลาย
เขตบรมโพธิสตั ว์ ในทนั ที ซง่ึ ในความเป็นจริง
แล้ว ด้วยก�าลังบุญของคุณพ่อของลุงฉลอม ดว้ ยเหตนุ ี้ จงึ ทา� ใหพ้ ระเถระ (ผสู้ บื ทอด
เพยี งอยา่ งเดียว ไม่สามารถท่จี ะไปบังเกิดอยูท่ ่ี วชิ ชาธรรมกายตอ่ จากพระมหาเถระหรอื คณุ ยาย
ดสุ ิตบุรี วงบญุ พิเศษ เขตบรมโพธสิ ัตวไ์ ด้ แต่ อาจารย์ ของเรา) ตดั สนิ ใจเลอื กผปู้ ระสานงาน
เพราะพระเดชพระคณุ หลวงปเู มตตาชว่ ยคมุ บญุ ของตัวลูกให้มาท�าหน้าท่ีรับบุญเก่ียวกับเรื่อง
ให้ จงึ ท�าให้ทา่ นไดไ้ ป การจัดหาพ้ืนที่ส�าหรับสร้างพระเจดีย์ และ
บุญสถานที่เป็นจุดรวมใจของมหาชนทั้งหลาย
๑๘. ส�าหรับเรื่องราวการสร้างบารมี ตามทต่ี า่ ง ๆ ทงั้ ภายในแควน้ และนอกแควน้
ของผู้ประสานงานของตัวลูกในพุทธันดรท่ี
ผ่านมานั้น เขาก็ได้เกิดมาสร้างบารมีร่วมกับ ๑๙. นอกจากมโี อกาสไดร้ บั บญุ เกยี่ วกบั
มหาปูชนียาจารย์และหมู่คณะด้วยเหมือนกัน เรื่องการจัดหาพื้นที่ส�าหรับสร้างพระเจดีย์และ
เรอ่ื งมอี ยวู่ า่ ในพทุ ธนั ดรทผ่ี า่ นมา ผปู้ ระสานงาน บุญสถานตามที่ต่าง ๆ แล้ว ตัวเขายังได้รับ
ของตัวลูกได้เกิดมาเป็น กุลบุตรสุดหล่อ มอบหมายจากพระเถระใหไ้ ปทา� หนา้ ทร่ี วบรวม
ผู้เต็มเปยมด้วยความมุ่งมั่น อยู่ในแคว้นของ เรื่องราวและสิ่งต่าง ๆ ที่เนื่องด้วยพระเดช-
พระราชาองค์ที่ออกบวช และเม่ือเติบใหญ่ข้ึน พระคณุ หลวงปู (ในพทุ ธนั ดรทผ่ี า่ นมา) อกี ดว้ ย
เขาก็ได้ไปสมัครเข้ารบั ราชการเปน็ ทหาร เพราะภายหลังจากท่ีพระเดชพระคุณหลวงปู
ละสังขารลงท่ีวัดปา (วัดเดียวกันกับวัดของ
หลังจากท่ีผู้ประสานงานของตัวลูกได้ พระมหาเถระหรือคุณยายอาจารย์ ของเรา)
เข้ารับราชการเป็นทหารแล้ว เขาก็ได้รับมอบ แลว้ บคุ คลทเ่ี คยอยสู่ นองงานพระเดชพระคณุ -
หมายให้ท�าหน้าที่เป็นครูฝกทหารควบคู่ไปกับ หลวงปูต่างกระจัดกระจายและแยกย้ายกันไป

อยในบ พฤศจิกายน ๒๕๕๙

D M C ชองน้ม ําตอบ

๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕

อยตู่ ามทต่ี า่ ง ๆ เม่ือเวลาผ่านไป ทันทีที่เศรษฐีผู้มี
เม่ือผู้ประสานงานของตัวลูกได้รับ อทิ ธิพลคนที่ ๒ ทราบเร่อื งนี้ ก็เกดิ ความรสู้ ึก
ไม่พอใจเป็นอย่างมาก เพราะเหมือนกับ
มอบหมายภารกจิ ทสี่ า� คญั แลว้ ตวั เขากใ็ หค้ า� มน่ั ผู้ประสานงานของตัวลูกไม่ให้ความส�าคัญ
สญั ญากบั พระเถระในทา� นองทวี่ า่ จะมงุ่ มนั่ ทา� กบั ตัวเขาเลย
ภารกจิ นใ้ี หส้ า� เรจ็ จะไมย่ อ่ ทอ้ และไมห่ วาดหวนั่
ต่ออุปสรรคใด ๆ ท้ังส้ิน ถึงแม้ว่าจะต้องเอา ๒๑. เมื่อเปน็ เช่นน้ี เศรษฐีผู้มีอิทธพิ ล
ชีวติ เข้าแลกกต็ าม คนท่ี ๒ จึงเกิดความรู้สึกตอ่ ต้านและตั้งใจวา่
ถา้ ผปู้ ระสานงานของตวั ลกู มาขอความชว่ ยเหลอื
๒๐. จากนน้ั ผปู้ ระสานงานของตัวลูก จากตัวเขา ตัวเขากจ็ ะไมใ่ ห้ความรว่ มมือใด ๆ
ก็เริ่มท�าชุมชนสัมพันธ์และติดต่อประสานงาน ทงั้ ส้ิน
กับผู้หลักผู้ใหญ่ทั้งภายในและภายนอกแคว้น
ของพระราชา (องคท์ จ่ี ะออกบวช) เพอ่ื รวบรวม ดงั นน้ั ในเวลาตอ่ มา เมอ่ื ผปู้ ระสานงาน
เรื่องราวและส่ิงต่าง ๆ ท่ีเนื่องด้วยพระเดช- ของตัวลูกเข้ามาหาเศรษฐีผู้มีอิทธิพลคนท่ี ๒
พระคุณหลวงปู ซ่ึงในบางคร้ังก็มีคนไม่เข้าใจ เพอื่ ขอความรว่ มมอื เกย่ี วกบั การสรา้ งพระเจดยี ์
และไม่เห็นด้วยกบั ภารกจิ ดังกลา่ ว ตวั เขาจึงไม่ใหค้ วามรว่ มมือใด ๆ เลย อีกทั้ง
ยังปลุกปันพวกชาวบ้านให้มีกระแสต่อต้าน
มีอยู่คร้ังหน่ึงผู้ประสานงานของตัวลูก การสร้างพระเจดียอ์ ีกดว้ ย
ได้ลงพื้นที่ไปท�าชุมชนสัมพันธ์ เพื่อจะสร้าง
พระเจดีย์ที่เป็นศูนย์รวมใจของชาวพุทธไว้ เม่ือผู้ประสานงานของตัวลูกเจอกับ
ในหัวเมืองแห่งหน่ึง ท่ีอยู่ภายในแคว้นของ เหตุการณ์เช่นน้ัน ด้วยความท่ีตัวเขาเป็นคนที่
พระราชาองคท์ ี่ออกบวช มีความม่ันใจในตัวเองสงู เพราะคิดว่า ตวั เขา
เองก็มีดีกรีเป็นถึงครูฝกทหาร และเป็นถึง
แต่ทว่า ในเมืองแห่งนั้นมีเศรษฐีผู้มี ที่ปรึกษาทางด้านการตรวจดูชัยภูมิพื้นท่ี
อิทธิพลอยู่ ๒ ท่าน ท่ีไม่ถูกโฉลกกัน เม่ือ ในการสรา้ งสิ่งก่อสร้างตา่ ง ๆ ทัง้ ภายในแคว้น
ผปู้ ระสานงานของตวั ลกู ลงไปทา� ชมุ ชนสมั พนั ธ์ และภายนอกแคว้น ด้วยเหตุนี้เอง จึงท�าให้
ทหี่ วั เมอื งแหง่ น้ี ตวั เขากไ็ ดไ้ ปตดิ ตอ่ พดู คยุ และ ผู้ประสานงานของตัวลูกคิดว่า ตัวเขาจะต้อง
แจ้งเรื่องการสร้างพระเจดีย์กับเศรษฐีคนท่ี ๑ ใช้ไม้แข็งหรือใช้วิธีการข่มขู่และกดดันเศรษฐี
โดยที่ยังไม่ได้ไปแจ้งให้เศรษฐีผู้มีอิทธิพลคนที่ คนที่ ๒ และพวกกลมุ่ คนทีม่ าตอ่ ต้านเหล่านน้ั
๒ ไดร้ ับรูเ้ ลย

พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙ อยในบ

D M C D M Cชองนชม้ องํานต้มอบาํ ตอบ
ให้อยู่หมัด แล้วผู้ประสานงานของตัวลูกก็ไป ขัน้ ขู่ท�าร้ายหมายทจี่ ะเอาชวี ิต
ตดิ ตอ่ ทหารทม่ี อี าวธุ ครบมอื ใหม้ าชว่ ยกนั กดดนั ๒๔. แตด่ ว้ ยความท่ีผู้ประสานงานของ
แกมขม่ ขเู่ ศรษฐผี มู้ อี ทิ ธพิ ลคนท่ี ๒ และกลมุ่ คน
ทมี่ าต่อต้านในทนั ที ตัวลูกมีความตั้งใจมั่นว่า จะต้องท�าภารกิจน้ี
ใหส้ า� เรจ็ ใหไ้ ด้ จงึ ทา� ใหต้ วั เขาไมไ่ ดห้ วาดหวนั่
เมอื่ เศรษฐผี มู้ อี ทิ ธพิ ลคนที่ ๒ ถกู กดดนั หรือหวาดกลัวต่อค�าขู่ท�าร้ายของพวกที่ไม่
แกมขม่ ขมู่ ากเขา้ ๆ กเ็ ลยยอมให้ความรว่ มมือ ประสงค์ดีเหลา่ นัน้ เลย
และเลกิ ปลุกปันกระแสพวกชาวบา้ นลงในที่สดุ
ด้วยอัธยาศัยท่ีตัวเขามีความมุ่งม่ันใน
๒๒. ด้วยวิบากกรรมท่ีผู้ประสานงาน การท�างานอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพันนี้เอง จึง
ของตวั ลกู เคยกดดนั แกมขม่ ขเู่ ศรษฐผี มู้ อี ทิ ธพิ ล กลายเป็นอุปนิสัยท่ีติดตามตัวเขามาข้ามภพ
คนที่ ๒ และกลุ่มคนที่มาต่อต้านการสร้าง ข้ามชาติ จวบจนกระทั่งมาถึงในภพชาติ
พระเจดยี ใ์ นหวั เมอื งดงั กลา่ วในพทุ ธนั ดรทผ่ี า่ นมา ปัจจุบันนี้ เม่ือตัวเขาได้รับมอบหมายภารกิจ
น้ีเอง ไดก้ ลายเป็นวบิ ากกรรมทต่ี ดิ ตามตัวเขา ที่ส�าคัญจากพระเถระแล้ว ตัวเขาจึงทุ่มเทท�า
นบั ต้งั แตภ่ พชาติน้ันเรือ่ ยมา ภารกิจท่ีได้รับมอบหมายอย่างเอาชีวิตเป็น
เดมิ พนั เหมอื นอยา่ งทเ่ี ปน็ อยนู่ ีน้ ่นั เอง
จวบจนกระทงั่ มาถงึ ในภพชาตปิ จั จบุ นั
นี้ เมอื่ วบิ ากกรรมดังกลา่ วได้ช่องตามมาสง่ ผล ๒๕. ในระหว่างที่ผู้ประสานงานของ
จงึ เปน็ ผลทา� ใหต้ วั เขาตอ้ งมาถกู ขม่ ขแู่ ละกดดนั ตัวลูกก�าลังรวบรวมเร่ืองราวและส่ิงต่าง ๆ ที่
เหมอื นอยา่ งทต่ี วั เขาไดเ้ คยกระทา� เอาไวน้ น่ั เอง เน่อื งด้วยพระเดชพระคุณหลวงปอู ยู่นน้ั ตวั เขา
ก็มีโอกาสได้พบกับลุงฉลอม (ในพุทธันดรที่
๒๓. และยังมีอีกเหตุการณ์หนึ่ง ท่ี ผ่านมา) เม่ือผู้ประสานงานของตัวลูกได้พบ
ผู้ประสานงานของตัวลูกต้องไปเจอกับคนท่ี กับลุงฉลอมแล้ว เขาก็เล่าเร่ืองราวเก่ียวกับ
ไมเ่ ขา้ ใจในภารกจิ ของตวั เขา จนถงึ ขน้ั ขทู่ า� รา้ ย พระเถระ (ผู้สืบทอดวิชชาธรรมกายต่อจาก
หมายที่จะเอาชีวติ เลยทเี ดียว เรอื่ งมอี ยู่ว่า พระมหาเถระหรือคุณยายอาจารย์ ของเรา)
รวมถงึ ภารกิจท่ีตัวเขาได้รับมอบหมายมาจาก
มอี ยคู่ รงั้ หนง่ึ ผปู้ ระสานงานของตวั ลกู พระเถระให้ลุงฉลอมได้ งั
ไดเ้ ดนิ ทางไปยงั หวั เมอื งแหง่ หนงึ่ เพอ่ื หาสถานที่
ส�าหรับสร้างบุญสถานท่ีเป็นศูนย์รวมใจของ ทันทีท่ีลุงฉลอมได้ ังเร่ืองราวเก่ียวกับ
ผู้มีบุญท้ังหลาย แต่เม่ือเดินทางไปถึงสถานท่ี พระเถระและภารกิจดังกล่าวแล้ว ลุงฉลอมก็
แหง่ นน้ั แลว้ ตวั เขากลบั พบวา่ สถานทแ่ี หง่ นน้ั หวนระลึกนึกถึงค�าท่ีพระเดชพระคุณหลวงปู
มชี าวบ้านทน่ี ับถอื ลทั ธิความเชือ่ อน่ื อาศยั อยู่ (ในพุทธนั ดรทผี่ ่านมา) ไดส้ ัง่ เอาไว้วา่ (ให้เกบ็
รกั ษาผา้ ไตรจวี รของทา่ นเอาไว้ เพอ่ื รอถวายแด่
ตอ่ มา เมอื่ พวกชาวบา้ นเหลา่ นน้ั ไดร้ วู้ า่ ผ้สู ืบทอดวิชชาธรรมกาย)
ผู้ประสานงานของตัวลูกต้องการจะมาสร้าง
บญุ สถานซงึ่ เปน็ ศนู ยร์ วมใจของชาวพทุ ธ พวกเขา หลังจากที่ลุงฉลอมพิจารณาไตร่ตรอง
ก็รู้สึกไม่พอใจและไม่เห็นด้วยอย่างแรง จนถึง

อยในบ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙

D M C ชองน้ม ําตอบ

๒๖ ๒๗

อยา่ งถถ่ี ว้ นแลว้ กเ็ กดิ ความมน่ั ใจวา่ พระเถระ ออกบวชเปน็ พระภิกษุในช่วงบัน้ ปลายของชีวติ
ท่ีผู้ประสานงานของตัวลูกกล่าวถึงจะต้องเป็น เมอ่ื ออกบวชแล้วก็ตั้งใจฝกตน ทนหิว
ผู้สบื ทอดวิชชาธรรมกายอย่างแนน่ อน
บ�าเพ็ญตบะ เป็นพระแท้ ควบคู่ไปกับการ
๒๖. เมอื่ ลงุ ฉลอมมคี วามมน่ั ใจเชน่ นนั้ บา� เพญ็ สมณธรรมอยา่ งเตม็ ทเ่ี ตม็ กา� ลงั ดว้ ยผล
ท่านจึงเดินทางไปถวายผ้าไตรจีวรชุดนั้นแด่ แห่งความเพียรที่หม่ันประพ ติปฏิบัติธรรม
พระเถระ (ผู้สืบทอดวิชชาธรรมกายต่อจาก อยา่ งถกู หลกั วชิ ชานเี้ อง จงึ ทา� ใหต้ วั เขาสามารถ
พระมหาเถระหรือคุณยายอาจารย์ ของเรา) หยุดใจจนเข้าถึงพระธรรมกายภายในที่ชัดใส
อีกท้ังยังรวบรวมเร่ืองราวและส่ิงต่าง ๆ ท่ี สว่างไดใ้ นทีส่ ุด
เนื่องด้วยพระเดชพระคุณหลวงปู เพ่ือถวาย
แด่พระเถระโดยผ่านทางผ้ปู ระสานงานอกี ดว้ ย เมอื่ ผปู้ ระสานงานของตวั ลกู ละจากโลก
ไปแล้ว ก็ได้เดินทางกลับไปสู่ดุสิตบุรี วงบุญ
๒๗. หลังจากท่ีผู้ประสานงานของ พิเศษ เขตบรมโพธิสัตว์ อย่างสมภาคภูมิ
ตัวลูกปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมายจาก แหง่ ความเป็นนักรบกลา้ แห่งกองทัพธรรม
พระเถระส�าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีแล้ว ก็ได้ อ.ลือพงศ์ ด้วยบุญที่ลุงหลอมเป็นอุปัฏฐาก
พระเดชพระคุณหลวงปู และบุญที่เนื่องด้วย
บทสมั ภา จากเจา้ องเ ส หลวงปู เช่น ถวายที่ดินสร้างอนุสรณ์สถาน
ที่ อ.สองพี่นอ้ ง ล ซึง่ เป็นบญุ ทแ่ี รงมาก ๆ
กอปุลั ลากอหมลมวแีงปกู่้วนอ้ ย ผอ.้ปูลรอื ะพสงาศน์ งลาลี นพพนเิ ศังษ พอกายละเอยี ดออกจากรา่ งกก็ ลายเปน็ เทพบตุ ร
สุดหล่อทนั ที ต่างกับเคสอน่ื ๆ หลาย ๆ เคส
ที่กว่าจะเป็นเทพบุตร เทพธิดา ต้องน่ังสมาธิ
นึกถึงบญุ อยนู่ าน

พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙ อยในบ

อ.ลือพงศ์ ไม่แปลกใจเลยที่ลุงหลอมได้บุญเก็บเคร่ืองอัฐบริขารและสิ่งของท่ีเนื่องด้วยพระเดช-
พระคุณหลวงปู เช่น จีวร เสาเรือนเกดิ ไม้กระดานหวั เรอื คา้ ขา้ ว และของสา� คัญคอื พระตน้ แบบ
กอ่ นมาเปน็ พระผงของขวัญรนุ่ ๑ ซง่ึ ลงุ หลอมไดร้ บั จากมอื พระเดชพระคณุ หลวงปู จากฝันในฝัน
ของคณุ ครไู มใ่ หญ่ เปน็ บญุ ของลงุ หลอมทท่ี า� มาขา้ มภพขา้ มชาติ เมอื่ พทุ ธนั ดรทผี่ า่ นมา ลงุ หลอมก็
มีหน้าท่ีเก็บรักษาผ้าไตรจีวรของพระมหาเถระเพื่อมอบถวายแด่พระราชาองค์ที่ออกบวช ซึ่งเป็น
ผสู้ ืบทอดวชิ ชาธรรมกาย
อ.ลอื พงศ์ ส่วนเร่อื งของกระผม เม่อื ได้ ังจากฝันในฝันแล้ว ยงิ่ ทา� ใหเ้ รามคี วามปลืม้ ปติในงาน
ทไี่ ดร้ บั มอบหมายจากคณุ ครไู มใ่ หญแ่ ละหมคู่ ณะ ในการรวบรวมชวี ประวตั แิ ละปฏปิ ทาของพระเดช-
พระคณุ หลวงปู รวบรวมแผน่ ดินเกดิ และประสานงานเสน้ ทางมหาปชู นียาจารย์ ซึ่งเปน็ ส่ิงท่ีทา� มา
ขา้ มภพขา้ มชาติ แม้หนา้ ท่ีในชาติปจั จบุ ัน การเป็นครฝู กบคุ ลากรภายในวดั หรือการฝกสาธชุ นใหม้ ี
ระเบยี บวนิ ยั กเ็ ปน็ งานเดมิ ๆ ทเี่ คยทา� มาแลว้ ทงั้ สน้ิ เปน็ ขอ้ คดิ วา่ คนเราจะมคี วามชอบ ความถนดั
ในงานประเภทไหน ตอ้ งเคยทา� ซ�้า ๆ มาแล้วในอดีตทัง้ สิ้น เพียงแต่ชาตนิ มี้ าท�าตอ่ ใหเ้ ปน็ บญุ บารมี
ยงิ่ ๆ ข้นึ ไปจนกว่าจะถึงทส่ี ุดแห่งธรรม

เรอ่ื งนเี้ ปน็ ขอ้ คดิ วา่ คนเราจะมคี วามชอบ ถนดั ในงานประเภทไหน ตอ้ งเคยทา� า�้ มาแลว้
ในอดตี ทัง้ สน้ิ เพียงแตช่ าตินี้มาท�าต่อใหเ้ ปน็ บญุ บารมยี ง่ิ ขน้ึ ไป จนกวา่ จะถึงทสี่ ดุ แห่งธรรม

ในเสน้ ทางแหง่ การสรา้ งบารมตี ามตดิ มหาปชู นยี าจารย์ไปใหถ้ งึ ทสี่ ดุ แหง่ ธรรม “ความเปน็ ทมี
ความสามคั คเี ปน็ นา้� หนงึ่ ใจเดยี วกนั วา่ อยา่ งไรวา่ ตามกนั โดยเ พาะการศกึ ทรี่ บยดื เยอื้ ความอดทน
เป็นสิง่ ทีล่ กู พระธัม นกั เรียนอนุบาล งึ่ เปน็ หัวขบวนในการต่อสู้ ตอ้ งตระหนักและป ิบตั ิ และมี
ความสมา่� เสมอ มีความปลืม้ ปติในหน้าที่ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ่งึ เปน็ คุณธรรมทีท่ า� ใหเ้ ราไมห่ ลุดออก
จากหมู่คณะ ท�า �้า ย�้า บอ่ ย จนเปน็ นิสยั ข้ามชาติ การสวดธัมมจกั กปั ปวตั นสูตร คอื
การตอกยา้� เส้นทางสายกลาง เปาหมายจากคณุ ครไู มใ่ หญ่จะกี่ล้านจบกตาม ถา้ เราไดส้ วด เราคือ
บุคคลส�าคัญในประวัติศาสตร์ที่ท�าให้เปาหมายของคุณครูไม่ใหญ่ส�าเรจเป็นอัศจรรย์ ตัวเรากมี
สายบุญเช่ือมติดกับเส้นทางสายกลาง เชอ่ื มตดิ กบั มหาปชู นยี าจารยเ์ ปน็ ผงั ทหี่ นาแนน่ ยง่ิ สวดเยอะ
ผงั ยง่ิ ตดิ แนน่ คณุ ครไู มใ่ หญม่ กั พดู เสมอวา่ “พระมหาธรรมกายเจดยี ์ พระมหาเจดยี พ์ ระพทุ ธเจา้
ลา้ นพระองค์ สา� คญั มาก และการสวดธมั มจกั กปั ปวตั นสตู ร เรามาถกู ทางแลว้ จกั รแหง่ ธรรมเคลอ่ื นแลว้
สวดไปเรอ่ื ย เดยี วทกุ อย่างจะดีขึ้นเอง” ณ เวลาน้พี วกเรายงั ประมาทไม่ได้ แมด้ เู หมอื นวา่ ไม่มี
เหตุการณ์อะไรร้ายแรง พวกเรากต้องร่วมแรงร่วมใจป ิบัติหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมายจากหมู่คณะ
ให้ยิ่ง ขน้ึ ไป

ใจส้ชน้ิวเดยว ในทสด กชนะ

อยในบ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙

เดอื นพ ศจกิ ายน พผ.ังศร.ายการ The only one channel

เวลา จนั ทร์ องั คาร พุธ พ หัสบดี ศกุ ร์ เสาร์ อาทิตย์ เวลา
*DOU for You . น. ผ้อู อกแบบชีวติ . - . น.
. - . น. . น. เทปบันทึกภาพ น�านงั่ สมาธิ อธิษฐานจติ บวชสามเณรล้านรูป . . น. . - . น.
งานบุญวนั อาทติ ย์ เดนิ ไปสคู่ วามสขุ ทันโลกทันธรรม . - . น.
.-. น. -ปฏบิ ัติธรรม ทศชาติชาดก . น. สู้ตอ่ ไป . - . น.
.-. น. . - . น.
ชาดก ชาติ ทบทวนบญุ World of Peace . น. ผลการปฏบิ ตั ธิ รรม . - . น.
. น. ขอ้ คดิ รอบตัว . - . น.
. - . น. -เสน้ ทางบุญ ข่าวเคลยี ร์ เคลยี ร์ข่าวชดั . น. . - . น.
-สตู้ อ่ ไป . น.
.-. น. -ปฏิบตั ธิ รรมและโอวาท ขา่ ว รอบวัน . น. ชาดก ชาติ . - . น.
.-. น. -พระธรรมเทศนา
เทปบนั ทึกโรงเรยี นอนุบาลฝนในฝนวิทยา เม่ือวาน ถ่ายทอดสดพิธีงานบุญวนั อาทติ ย์ . - . น.
ณ สภาธรรมกายสากล
. - . น. สุดยอดภาษา นานาเทศนา ปฏิบตั กิ ารกกุ กกิ วัดพระธรรมกาย จ.ปทมุ ธานี . - . น.
กับมหาเปรยี ญ ข้อคดิ รอบตวั . น. เส้นทางบุญ
. - . น. . - . น.
(รอบรัว้ โรงเรียนอนุบาล) . - . น.
. - . น. สวดมนตท์ า� วตั รเชา้ . น. ปฏิบัติธรรม . - . น.
สวดธัมมจกั กัปปวัตนสตู ร อาราธนาศลี . น. พธิ ีบูชาข้าวพระ . - . น.
. - . น. วิธีฝกสมาธิเบอื้ งต้น อธษิ ฐานจิตบวชสามเณรล้านรปู . - . น.
(เฉพาะวันอาทติ ยต์ ้นเดอื น) . - . น.
. - . น. ข่าวเคลยี ร์ เคลียร์ขา่ วชัด มองโลกเหน็ ธรรม . น. ถวายสัง ทาน . - . น.
. น. รายการเสน้ ทางบญุ . - . น.
. - . น. ป ิทินขา่ ว . - . น.
. - . น. (หน้าตา่ งบา้ นหนา้ ต่างบญุ ) . - . น.
. - . น. ธรรมะเพื่อประชาชน . น. . น. รายการสู้ต่อไป . - . น.
. - . น. ปฏบิ ัตกิ ารกุกกิก . น. ปฏบิ ตั ิธรรม . - . น.
. - . น. ทศชาติชาดก . น. รบั ของทีร่ ะลกึ โอวาท . - . น.
. - . น. การต์ ูนบุญโต . น. พระธรรมเทศนา . - . น.
. - . น. กฎแหง่ กรรม ( ) ต�านานข้ามชาติ . น. กจิ กรรมสืบสาน . - . น.
. - . น. . - . น.
. - . น. ( เม่ือวาน) วฒั นธรรมคุณยาย . - . น.
. - . น. . น. , ตะวัน . - . น.
. - . น. เทปบันทึกโรงเรียนอนุบาลฝนั ในฝันวทิ ยา (เมอื่ วาน) . น. พธิ ีบูชา . - . น.
. - . น. . - . น.
. - . น. DMC NEWS มหาธรรมกายเจดีย์
. - . น. และมหาปูชนยี าจารย์ . - . น.
. - . น. เทปบนั ทึกโรงเรยี นอนุบาลฝันในฝนั วทิ ยา (เม่อื วาน) . น. เดนิ หนา้ ประเทศไทย
. - . น. . น. สวดมนตท์ �าวัตรเยน็ . - . น.
. - . น. พธิ ถี วายภตั ตาหารเปน็ สงั ฆทาน . น.
. - . น. . - . น.
. - . น. ชาดก ชาติ DOU for You , ตะวนั . ละคร ออด ออด ออด . น. ปฏิบตั กิ ารกกุ กกิ
. - . น. ผอู้ อกแบบชีวิต . . น. ทันโลกทันธรรม . - . น.
ส้ตู ่อไป ข้อคดิ รอบตวั ละคร ออด ออด ออด ทันโลกทันธรรม . น. ผู้ออกแบบชีิวติ
. - . น. นานาเทศนา . น. ตา� นานขา้ มชาติ . - . น.
เคลยี รค์ ตั ชดั เจน ป ทิ ินข่าว กล้าดี
. - . น. คิดใหญใ่ จดี เดินไปสูค่ วามสขุ ปฏบิ ัตกิ ารกุกกกิ มหาเสนาบดี . - . น.
. น. เดินไปส่คู วามสุข
. - . น. วธิ ีฝกสมาธิเบ้ืองตน้ อธษิ ฐานจิตบวชสามเณรลา้ นรูป . น. มองโลกเหน็ ธรรม . - . น.
. น. นานาเทศนา . - . น.
. - . น. ป ิทนิ ข่าว . - . น.
. - . น.
. - . น. *ขา่ วเคลียร์ เคลยี รข์ ่าวชัด . น. . - . น.

. - . น. นานาเทศนา , ตะวนั ละคร ออด ออด ออด ข้อคิดรอบตวั *สุดมยหอาดเปภรายีษญากบั . น. ผู้ออกแบบชวี ติ . - . น.
ทบทวนบญุ *DOU for You
. - . น. . - . น.
. - . น. .* . วบิ ากกรรมอบายมขุ . น. . - . น.
. - . น. . - . น.
. - . น. สารคดีกระจกหกด้าน กบั .มหานเ.ปสรยีดุ ญยอดภาษา . - . น.
. - . น.
เคลยี ร์คัตชดั เจน ( ) คดิ ใหญใ่ จดี กล้าดี () มองโลกเห็นธรรม . น.
.
ข่าว
ทบทวนบุญ
รอบวนั

พธิ ีบชู ามหาธรรมกายเจดยี ์ และมหาปูชนยี าจารย์

เดินหนา้ ประเทศไทย
สวดมนตท์ า� วตั รเยน

DMC GUIDE

. - . น. ถ่ายทอดสดโรงเรียนอนบุ าลฝนในฝนวิทยา

. - . น. สรปุ รอบวนั ป ิทนิ ขา่ ว
. - . น. รายการธรรมเพื่อประชาชน
. - . น. ชาดก ชาติ

. - . น. สวดธมั มจกั กปั ปวตั ตนสูตร แผ่เมตตา

หมายเหตุ รายการอาจมีการเปลีย่ นแปลงตามความเหมาะสม )- หมายถึง รายการทบทวน
แนะน�ารายการไดท้ ่ี ) ตู้ ปณ. ปณจ.คลองหลวง ปทุมธานี . ) โทร. ( ) - -

ขาวบ น ระเ

พิธีถวายสังฆทาน วัด ปท่ี คร้ังที่
จังหวัดปตตานี

เม่อื วันท่ี ๘ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๙ วดั พระธรรมกาย
มลู นธิ ธิ รรมกาย คณะสง จ์ งั หวดั ปตั ตานี สหพนั ธร์ วมใจ-
ไทยทง้ั ชาติ หนว่ ยงานภาครฐั เอกชน และประชาชนในพนื้ ท่ี
จงั หวดั ปตั ตานี รว่ มกนั จดั พธิ ถี วายสงั ทานแดค่ ณะสง ์
๓๒๓ วดั ใน ๔ จงั หวดั ภาคใต้ พธิ ีท�าบุญอุทศิ ส่วนกุศล
แกผ่ ูว้ ายชนมจ์ ากเหตกุ ารณ์ความไม่สงบ พธิ มี อบกองทนุ
หนนุ แรงใจชว่ ยครใู ต้ ครง้ั ท่ี ๘๙ ณ โรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ
อ�าเภอเมือง จังหวัดปัตตานี โดยมีพระเดชพระคุณ-
พระโพธาภิรามมนุ ี เจ้าคณะจงั หวดั ยะลา-ปัตตาน-ี นราธิวาส (ธรรมยตุ ) เมตตาเป็นประธานฝายสง ์

พทุ ธศาสนิกชนชาวเขานมิ นตพ์ ระมาน�าสวดมนต์
ป ิบัตธิ รรม จังหวัดแม่ ่องสอน

เมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ พทุ ธศาสนกิ ชน
ชาวเขาจากหมูบ่ ้านห้วยเห้ียะน้อย อา� เภอสบเมย จังหวดั
แม่ ่องสอน จา� นวนกว่า ๒๕ ครอบครวั เกิดศรทั ธารว่ มกนั
เดนิ ทางไปนมิ นต์พระภกิ ษุ จา� นวน ๕ รูป จากวัดบ้านขุน
อา� เภอ อด จงั หวดั เชยี งใหม่ ไปเปน็ เนอื้ นาบญุ นา� สวดมนต์
นงั่ สมาธิ แผเ่ มตตา และอธษิ ฐานจติ ทห่ี มบู่ า้ นหว้ ยเหย้ี ะนอ้ ย
โดยมีชาวพุทธซึ่งเป็นชาวเขาท้ังหมู่บ้านมาร่วมกิจกรรม
ด้วยความปตปิ ลาบปลม้ื เป็นอย่างยิง่

ประชมุ องค์การยุวพทุ ธศาสนกิ สัมพันธเ์ วยี ดนาม
กรงุ เทพมหานคร

เม่ือวันท่ี ๑๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๙ องค์การยุวพุทธ-
ศาสนิกสัมพนั ธ์เวยี ดนามจัดงานประชมุ ใหญ่ ครั้งท่ี ๔
ณ โรงแรมรัชดาซิต้ีโ เต็ล กรุงเทพมหานคร โดยมี
ตัวแทนชาวพุทธเวียดนามท่ีอยู่ในประเทศต่าง ๆ กว่า
๑๐ ประเทศ เข้าร่วมประชุม ในโอกาสนี้นายแพทย์
พรชัย พิญญพงษ์ ประธานองค์การยุวพุทธศาสนิก-
สัมพันธ์แห่งโลก ( ) และคณะจากวัดพระธรรมกาย อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุจากสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์
ผู้ปฏิบัติหน้าท่ีสมเด็จพระสัง ราช รวมทั้งองค์พระธรรมกายไปถวายแด่พระมหาเถระผู้น�าองค์การยุวพุทธศาสนิก-
สมั พันธเ์ วียดนาม เพื่อนา� ไปประดิษฐานทป่ี ระเทศเวยี ดนามต่อไป

อยในบ พฤศจิกายน ๒๕๕๙

พธิ ีบรรพชาสามเณรยวุ ธรรมทายาท รุน่ ที่
วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี

เมอ่ื วนั ที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ วดั พระธรรมกาย
จัดพิธีบรรพชาสามเณรยุวธรรมทายาท จ�านวน ๕๓ ท่าน
โดยมีกิจกรรมดังต่อไปนี้ คือ พิธีเวียนประทักษิณ พิธี
วนั ทาพระประธาน พิธขี อขมาผู้ปกครอง และพธิ ีบรรพชา
โดยมีพระครูมงคลกิจจารักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอคลองหลวง
เจ้าอาวาสวัดมงคลพุการาม เมตตามาเป็นพระอุปัช าย์
การบรรพชาสามเณรในครง้ั นจี้ ดั ขน้ึ เพอ่ื ใหเ้ ยาวชนไดฝ้ กฝนอบรมตนเองตามบทฝกในพระธรรมวนิ ยั และปลกู ฝงั ศลี ธรรม
เพือ่ นา� ไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจ�าวนั

คา่ ยพั นาศักยภาพผ้นู า� เยาวชน
วัดพระธรรมกาย จังหวดั ปทมุ ธานี
เมอ่ื วนั ท่ี ๑๑-๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ชมรม
พุทธศาสตร์สากล จัดค่ายพัฒนาศักยภาพผู้น�า
เยาวชนตน้ แบบดา้ นศลี ธรรมระดบั ภมู ภิ าค ( -
) คร้ังท่ี ๑๑ ณ ห้องสัมมนา
สภาธรรมกายสากล วดั พระธรรมกาย โดยมกี จิ กรรม
ดังนี้ สวดมนต์ งั ธรรม อบรมคณุ ธรรม
ผู้น�าเยาวชนกับกิจวัตร ๑๐ และความดีสากล
๕ ประการ และชมสถานทต่ี า่ ง ๆ ภายในวัดพระธรรมกาย หลังจากจบการอบรมเยาวชนเหล่าน้จี ะกลับไปทา� หน้าที่
ผูน้ า� เยาวชนต้นแบบด้านศีลธรรม สรา้ งเครือข่ายจิตอาสาพัฒนาบา้ น วดั โรงเรยี น ในโครงการ นื ูศลี ธรรมโลกตอ่ ไป

พิธอี ัญเชิญพระพุทธมหาเมตตาธิคุณ
และต้นพระศรีมหาโพธิ จงั หวดั ะเชิงเทรา

เมอ่ื วนั ที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ศนู ย์ปฏิบตั ธิ รรม
ฉะเชิงเทราประกอบพิธีอัญเชิญพระพุทธมหาเมตตาธิคุณ
และตน้ พระศรมี หาโพธจ์ิ ากประเทศอนิ เดยี เพอ่ื ประดษิ ฐาน
ณ ศนู ยป์ ฏบิ ตั ธิ รรมฉะเชงิ เทรา โดยมพี ระมหาสทุ ธชิ ยั สทุ ธชิ โย
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย เป็นประธานในพิธี
พิธีเรมิ่ ดว้ ยคณะเจ้าภาพแปรแถวเข้าสู่ศูนย์กลางพิธี ประธานสง ว์ างพวงมาลัยสักการะพระพทุ ธมหาเมตตาธิคุณ
และรดน�้าต้นพระศรีมหาโพธิ์ จากน้ันร่วมกันอัญเชิญพระพุทธมหาเมตตาธิคุณและต้นพระศรมี หาโพธิ์ประดิษฐาน
ณ แทน่ ประดิษฐาน

พฤศจิกายน ๒๕๕๙ อยในบ

ขาวบ ตาง ระเ

โครงการอบรมแลกเปล่ียนวั นธรรมประเพณี
วดั พระธรรมกายเบเนลกั ์ ประเทศเบลเยยี ม

เมื่อวันท่ี ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ โรงเรียนมัธยม
. . น�านักเรียน ๑๓๕ คน และ
ครู ๗ คน ไปอบรมท่ีวัดพระธรรมกายเบเนลักซ์ เพ่ือ
เรียนรู้ศาสนาพุทธและแลกเปล่ียนวัฒนธรรมประเพณี
กิจกรรมในการอบรมมีดังนี้ นั่งสมาธิ ตักบาตร ังเทศน์
เรื่องวินัย เคารพ อดทน เขียนคุณความดีของพ่อแม่
กิจกรรมวันนี้สร้างความประทับใจแก่ผู้เข้าอบรมเป็นอย่างยิ่ง
ทา� ใหเ้ ดก็ หลายคนตระหนกั ถงึ พระคณุ ของบพุ การี และเกดิ ความเชอ่ื มน่ั ในการทา� ความดขี นึ้ มา นอกจากนย้ี งั มนี กั เรยี น
หลายคนเพิ่งมีโอกาสเรียนรเู้ ร่ืองการนั่งสมาธเิ ปน็ ครั้งแรก

บิณ บาตท่ามกลางสายฝน ประเทศไต้หวัน

เมื่อวนั ท่ี ๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ วดั กวงเฉวยี นซอ่ื
แห่งเมอื งไถหนาน ซึง่ มอี ายุกวา่ ๓๐๐ ป นมิ นต์พระภกิ ษุ
วดั พระธรรมกายจากศนู ยส์ าขาตา่ ง ๆ ในประเทศไต้หวัน
ไปรว่ มงานอุทิศสว่ นกศุ ลแดท่ า่ นเจ้าอาวาสผลู้ ่วงลับ โดยมี
พธิ จี ดุ เทยี นเพอ่ื ผลู้ ว่ งลบั และพธิ ตี กั บาตร ซงึ่ ขณะทต่ี กั บาตร
มีฝนตกลงมาด้วย แต่คณะพระภิกษุยังคงเดินบิณฑบาต
ตอ่ ไป ฝายสาธชุ นกไ็ มห่ วนั่ ไหว ตกั บาตรกนั ทา่ มกลางสายฝน
และในขณะท่ีพระภิกษุเดินทางกลับน้ัน ญาติโยมร่วมกัน
น�าดอกไมม้ าโปรยต้อนรับและล้างเท้าพระกนั ด้วยความปติ แล้วจงึ ร่วมกันกรวดน�า้ อุทศิ ส่วนกุศลแด่ทา่ นเจ้าอาวาส

พิธีจดุ เทยี นใจและพิธีถวายกองทุนข้าวสาร
วดั พระธรรมกายเทนเนส ี ประเทศสหรั อเมรกิ า

เมอ่ื วนั ท่ี ๙ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๙ วดั พระธรรมกายเทนเนสซี
จดั งานบญุ จดุ เทยี นใจและพธิ ถี วายกองทนุ ขา้ วสาร ในภาคเชา้
พิธีเร่ิมด้วยการปฏิบัติธรรม จากน้ันเป็นพิธีกล่าวค�าถวาย
ภัตตาหาร พิธีถวายปจั จัยไทยธรรม พธิ ตี ักบาตร ภาคบ่ายมพี ธิ ี
ถวายพานดอกไม้สักการะพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี
เนื่องในวันคล้ายวันเกิด ๑๓๒ ป ตามด้วยพิธีจุดเทียนใจ
ไ นริ นั ดรอ์ นนั ตชยั พธิ ถี วายกองทนุ ขา้ วสาร พธิ ถี วายผา้ บงั สกุ ลุ จวี ร เมอ่ื เสรจ็ กจิ กรรมสาธชุ นรว่ มกนั สบื สานวฒั นธรรม
ชาวพุทธดว้ ยความเบกิ บานในบุญ

อยในบ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙

พิธเี ปดสมาคมความดสี ากล ประเทศกมั พชู า

เมอ่ื วนั ที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ มีพิธีเปิดสมาคม
ความดีสากลกัมพูชา เพ่ือเช่ือมสัมพันธ์ระหว่างกัมพูชา
และไทย พิธีจัดข้ึนท่ีวัดสิมปะลีวนาราม จังหวัดพระตะบอง
โดยมพี ระวสิ ทุ ธวิ งษ์ เจา้ คณะจงั หวดั พระตะบอง เปน็ ประธานสง ์
และมีคณะสง ์จ�านวนมากไปร่วมงาน อาทิ ฝายกัมพูชา
พระครูพทุ ธรัศมี เย่ือม-รฐั สเพยี เจ้าคณะอ�าเภอพระตะบอง
พระครูทอง สมั บาน เจ้าอาวาสวัดสมิ ปะลวี นาราม ฝายไทย
พระอาจารย์สมาน ฐานสโม ผู้แทนพระเทพญาณมหามุนี วดั พระธรรมกาย รวมทงั้ สาธุชนจาก ๒ ประเทศ อาทิ ดร.บด
กมึ เซยี น รองผวู้ า่ ราชการจงั หวดั พระตะบอง ทา่ นผหู้ ญงิ โภค สนิ้ นารี ปลดั อา� เภอเมอื งพระตะบอง คณุ สนุ ยี ์ สจั จาไชยานนท์
คณุ วรพรรณ จนั ทรากลุ สริ ิ ล

โครงการสอนสมาธิและพระพทุ ธศาสนา
ประเทศอังก ษ

เม่ือวันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ตัวแทนจาก
วัดพระธรรมกายลอนดอนน�าความรู้เรื่อง

ไปบรรยายแก่นักเรียนเกรด ๙ ณ โรงเรียน
จา� นวน ๙๕ คน โดยมเี รอ่ื งราวเกยี่ วกบั

พระพุทธศาสนาและประโยชน์ของสมาธิ เช่น ประวัติ
พระพุทธเจ้า ชีวิตหลังความตาย ธรรมะเบื้องต้นเพื่อ
ประชาชน ความรู้เร่ืองทาน ศีล ภาวนา พิธีกรรมทาง
พระพุทธศาสนา ศลี ๕ ศีล ๘ ล การอบรมครง้ั น้ไี ด้รับ
ความสนใจจากคณะครูและนักเรียนเปน็ อยา่ งมาก

พธิ ที อดผา้ ปา่ บรวิ ารก นิ และมอบพระประธาน
ศนู ยป์ บิ ตั ธิ รรมโอมาน ประเทศโอมาน
เมอ่ื วนั ที่ ๒๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ศนู ยป์ ฏบิ ตั ธิ รรม
โอมานจัดพิธีทอดผ้าปาบริวารกฐินและมอบพระประธาน
แกช่ าวพทุ ธในประเทศโอมาน โดยมีพระวิเทศภาวนาธรรม
ผแู้ ทนหวั หนา้ ศนู ยป์ ฏบิ ตั ธิ รรมโอมาน เปน็ ผมู้ อบพระประธาน
และมีพระ ( ) ..
เปน็ ประธานในพธิ ี กจิ กรรมในครง้ั นม้ี ชี าวพทุ ธในพน้ื ทเี่ ขา้ รว่ ม
พธิ กี วา่ ๙๐๐ ทา่ น ทกุ ทา่ นตา่ งมคี วามปลมื้ ปตเิ บกิ บานในบญุ เปน็ อยา่ งยงิ่

พฤศจิกายน ๒๕๕๙ อยในบ

วิธีฝึกสมาธเิ บื้องตน้

สมาธิ คือ ความสงบ สบาย และความ ค่อย ๆ นอ้ มนึกดวงแก้วกลมใสใหค้ อ่ ย ๆ เคลอื่ น
รู้สึกเป็นสุขอย่างย่ิงที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้ เข้าสู่ศูนย์กลางกายตามแนวฐาน โดยเร่ิมต้นต้ังแต่
ด้วยตนเอง เป็นส่ิงท่ีพระพุทธศาสนาก�าหนดเอาไว้ ฐานที่ ๑ เปน็ ต้นไป นอ้ มนกึ อย่างสบาย ๆ ใจเยน็ ๆ
เป็นข้อควรปฏิบัติ เพ่ือการด�ารงชีวิตทุกวันอย่าง ไปพรอ้ ม ๆ กับคา� ภาวนา
เป็นสุข ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติสัมปชัญญะ
และปัญญา อันเป็นเร่ืองไม่เหลือวิสัย ทุกคน อนึ่ง เม่ือนิมิตดวงแก้วกลมใสปรากฏแล้ว
สามารถปฏิบัติได้ง่าย ๆ ดังวิธีปฏิบัติท่ีพระเดช- ณ กลางกาย ใหว้ างอารมณ์สบาย ๆ กบั นิมติ นั้น
พระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู จนเหมือนกับว่าดวงนิมิตเป็นส่วนหน่ึงของอารมณ์
วดั ปากน้�า ภาษีเจริญ เมตตาส่ังสอนไวด้ งั น้ี หากดวงนิมิตน้ันอันตรธานหายไป ก็ไม่ต้องนึก
เสียดาย ให้วางอารมณ์สบาย แล้วนึกนิมิตนั้นขึ้น
. กราบบูชาพระรัตนตรัย เป็นการ มาใหม่แทนดวงเก่า หรือเม่ือนิมิตนั้นไปปรากฏ
เตรียมตัวเตรียมใจให้นุ่มนวลไว้เป็นเบื้องต้น แล้ว ที่อื่น ท่ีมิใช่ศูนย์กลางกาย ให้ค่อย ๆ น้อมนิมิต
สมาทานศีล ๕ หรือ ศีล ๘ เพ่ือยา�้ ความมนั่ คงใน เขา้ มาอยา่ งคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป ไมม่ กี ารบงั คบั และเมอ่ื
คณุ ธรรมของตนเอง นิมิตมาหยุดสนิท ณ ศูนย์กลางกาย ให้วางสติ
ลงไปยังจุดศูนย์กลางของดวงนิมิต ด้วยความรู้สึก
. คกุ เขา่ หรือนง่ั พับเพยี บสบาย ระลกึ คล้ายมีดวงดาวดวงเล็ก ๆ อีกดวงหนึ่ง ซ้อนอยู่
ถึงความดี ที่ได้กระท�าแล้วในวันนี้ ในอดีต และที่ ตรงกลางดวงนิมิตดวงเดิม แล้วสนใจเอาใจใส่แต่
ต้ังใจจะท�าต่อไปในอนาคต จนราวกับว่าร่างกาย
ท้ังหมดประกอบขึ้นด้วยธาตุแห่งคุณงามความดี
ลว้ น ๆ

. นงั่ ขัดสมาธิ ขาขวาทับขาซ้าย มอื ขวา
ทับมือซ้าย นิ้วชี้ของมือข้างขวาจรดน้ิวหัวแม่มือ
ข้างซ้าย นง่ั ให้อยู่ในท่าท่พี อดี ไมฝ่ ืนรา่ งกายมาก
จนเกินไป ไม่ถึงกับเกร็ง แต่อย่าให้หลังโค้งงอ
หลับตาพอสบายคล้ายกับก�าลังพักผ่อน ไม่บีบ
กลา้ มเนอื้ ตาหรือขมวดคิว้ แลว้ ต้งั ใจมน่ั วางอารมณ์
สบาย สร้างความรู้สึกให้พร้อมท้ังกายและใจว่า
ก�าลงั จะเข้าไปส่ภู าวะแห่งความสงบสบายอย่างย่ิง

. นึกก�าหนดนิมิตเป็น “ดวงแก้วกลมใส”
ขนาดเท่าแก้วตาด�า ใสบริสุทธิ์ ปราศจากรอย
ต�าหนใิ ด ๆ ขาวใส เยน็ ตาเย็นใจ ดงั ประกายของ
ดวงดาว ดวงแก้วกลมใสนี้เรียกว่า บริกรรมนิมิต
นึกสบาย ๆ นึกเหมือนดวงแก้วนั้นมานิ่งสนิทอยู่
ณ ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ นึกไปภาวนาไปอย่าง
นุ่มนวล เป็นพุทธานุสติว่า “สมั มาอะระหงั ” หรือ

อยในบ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙

ดวงเลก็ ๆ ตรงกลางนน้ั ไปเรอ่ื ย ๆ ใจจะปรับจน ไม่บังคับ ท�าได้แค่ไหนให้พอใจแค่น้ัน ซึ่งจะ
หยดุ ไดถ้ กู สว่ น เกดิ การตกศนู ยแ์ ละเกดิ ดวงสวา่ งขน้ึ เ ป็ นการป อ ง กั นมิ ใ ห้ เ กิ ด ค ว ามอ ยากจ นเ กิ นไ ป
มาแทนท่ี ดวงน้ีเรียกว่า “ดวงธรรม” หรอื “ดวง- จนถึงกับท�าให้ใจต้องสูญเสียความเป็นกลาง และ
ปฐมมรรค” อันเป็นประตูเบ้ืองต้นที่จะเปิดไปสู่ เมอ่ื การฝกสมาธิบังเกิดผลจนได้ “ดวงปฐมมรรค”
หนทางแห่งมรรค ผล นพิ พาน ท่ีใสเกินใส สวยเกินสวย ติดสนิทม่ันคงอยู่ท่ี
ศนู ยก์ ลางกายแลว้ ใหห้ มนั่ ตรึกระลึกนึกถงึ อยู่เสมอ
การระลึกนึกถึงนิมิตสามารถท�าได้ใน
ทกุ แห่ง ทกุ ท่ี ทกุ อริ ยิ าบถ ไม่วา่ จะนัง่ นอน ยืน อย่างนี้แล้ว ผลแห่งสมาธิจะท�าให้ชีวิต
เดิน หรือขณะทา� ภารกิจใดๆ ด�ารงอยู่บนเส้นทางแห่งความสุข ความส�าเร็จและ
ความไม่ประมาทได้ตลอดไป ทั้งยังจะท�าให้สมาธิ
ข้อแนะน�า คือ ต้องท�าให้สม�่าเสมอ ละเอยี ดลุม่ ลึกไปตามลา� ดบั อีกด้วย
เปน็ ประจา� ทา� เรือ่ ย ๆ ทา� อย่างสบาย ๆ ไมเ่ ร่ง
ศูนย์กลางกายที่เดียว ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใด
ข้อควรระวัง ก็ตาม เช่น ยืนก็ดี เดินก็ดี นอนก็ดี หรือนั่งก็ดี
อย่าย้ายฐานท่ีต้ังจิตไปไว้ท่ีอื่นเป็นอันขาด ให้ตั้งใจ
. อยา่ ใชก้ �าลงั คือไม่ใชก้ �าลงั ใด ๆ ทั้งส้ิน บริกรรมภาวนา พร้อมกับนึกถึงบริกรรมนิมิตเป็น
เช่น ไม่บีบกล้ามเนื้อตาเพื่อจะให้เห็นนิมิตเร็ว ๆ ดวงแก้วใสควบคูก่ ันตลอดไป
ไมเ่ กรง็ แขน หรอื กลา้ มเนอ้ื หนา้ ทอ้ ง ไมเ่ กรง็ ตวั ล
เพราะการใชก้ า� ลงั ตรงสว่ นไหนของรา่ งกายกต็ าม จะ . นมิ ติ ตา่ ง ทีเ่ กิดข้นึ จะต้องนอ้ ม
ทา� ใหจ้ ติ เคลอ่ื นจากศูนยก์ ลางกายไปสู่จุดน้นั ไปตง้ั ไวท้ ศี่ นู ยก์ ลางกายทง้ั หมด ถา้ นมิ ติ เกดิ ขนึ้ แลว้
หายไปก็ไม่ต้องตามหา ให้ภาวนาประคองใจต่อไป
. อย่าอยากเหน คือท�าใจให้เป็นกลาง ตามปกติ ในที่สุดเมื่อจิตสงบ นิมิตย่อมปรากฏข้ึน
ประคองสติมิให้เผลอจากบริกรรมภาวนาและ ใหมอ่ กี
บรกิ รรมนิมติ สว่ นจะเหน็ นมิ ติ เม่อื ใดน้ัน อยา่ กงั วล
ถ้าถงึ เวลาแล้วย่อมเหน็ เอง การบงั เกิดของดวงนิมิต การฝกสมาธิเบื้องต้นเท่าท่ีกล่าวมา
นนั้ อปุ มาเสมอื นการขนึ้ และตกของดวงอาทติ ย์ เรา ท้ังหมดนี้ ย่อมเป็นปัจจัยให้เกิดความสุขได้พอ
ไมอ่ าจจะเรง่ เวลาได้ สมควร เมื่อซักซ้อมปฏิบัติอยู่เสมอ ๆ ไม่ทอดทิ้ง
จนได้ดวงปฐมมรรคแล้ว ก็ให้หม่ันประคองรักษา
. อย่ากังวลถึงการก�าหนดลมหายใจเข้า ดวงปฐมมรรคน้ันไว้ตลอดชีวิต ด�ารงตนอยู่ใน
ออก เพราะการฝกสมาธิเพ่ือให้เข้าถึงพระธรรม- ศีลธรรมอันดี ย่อมเป็นหลักประกันได้ว่า ได้ท่ีพึ่ง
กายภายใน อาศัยการนึกถึง “อาโลกกสิณ” คือ ของชีวิตที่ถูกต้องดีงาม ที่จะส่งผลให้เป็นผู้มีความ
กสิณแสงสว่างเป็นบาทเบื้องต้น เม่ือฝกสมาธิ สุขความเจริญ ท้งั ในภพชาตนิ ี้และภพชาติหนา้
จนเข้าถึงดวงปฐมมรรคแล้ว ฝกสมาธิต่อไปผ่าน
กายมนุษย์ละเอียด กายทิพย์ กายรูปพรหม หากสามารถแนะนา� ต่อ ๆ กันไป ขยายไป
กายอรูปพรหม จนกระทั่งเข้าถึงพระธรรมกาย ยังเหล่ามนุษยชาติ อย่างไม่จ�ากัดเช้ือชาติ ศาสนา
แล้วจึงเจริญวิปัสสนาในภายหลัง ดังน้ันจึงไม่มี และเผ่าพันธุ์ สันติสุขอันไพบูลย์ท่ีทุกคนใฝฝัน
ความจ�าเป็นต้องก�าหนดลมหายใจเข้าออกแต่ ก็ยอ่ มบังเกิดข้นึ อย่างแนน่ อน
ประการใด
พฤศจิกายน ๒๕๕๙ อยในบ
. เมือ่ เลกิ จากน่ังสมาธแิ ล้ว ให้ตัง้ ใจไวท้ ี่

รายนามเจ้าภาพ ฉบับเดือนพฤศจิกายน

สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชนิ าติ : การใหธ้ รรมทาน ชนะการให้ทัง้ ปวง

น้อมบูชาธรรม
พระมงคลเทพมุนี สด จนทสโร
พระเทพญาณมหามุนี หลวงพ่อธัมมชโย
พระราชภาวนาจารย์ หลวงพ่อทัตตชีโว
คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง

เจา้ ภาพกติ ติมศกั ดิพเิ ศษ

พระสุธรรมญาณวิเทศ วิ.(สธุ รรม สธุ มฺโม), พระโทนี่ กตสทิ โฺ ท, มลู นธิ ิบณั ฑิตรตั นว์ ิชชาลยั
พระมหาสรุ ัตน์ อคฺครตโน, กลั สภุ าพ หาญคณติ วัฒนา, กัล มาลนิ จงศิริวัฒน์ และญาตมิ ิตร

พระประพุทธ พุทธฺ พิ โล, พลเอกอาทิตย์-กัล พรสรร กา� ลงั เอก
พระพทุ ธภมู ิ พทุ ฺธทาโส, ทพ.ทวีชัย-รศ.ทญ.ดร.ทศั นยี ์-ทญ.พทุ ธธดิ า วงั ศรมี งคล และครอบครวั

พระภกิ ษรุ นุ่ ที่ ๒๖ ทเวนตีซ้ ิกท์ พลิกโลก
พระวทิ ัสน์ สทฺธาพหุโล และครอบครวั รตั นเลศิ นาวี
พระวีรวิทย์ อุตตฺ มวีโร, กัล สธุ น-รจติ -ปลมื้ พงษพ์ ศิ าล
พระอรรณพ เปมสโี ล-ศิษย์เก่าธรรมทายาท อดุ มศึกษา-มชั ิม-ยวุ ธรรมทายาท
พระอาจารย์-เจ้าหน้าท-่ี ผนู้ า� บุญภาคนครหลวง ๘ (น.๘-น.๑๑ ปทมุ วัน)
พระอาจารย-์ พ่ีเลี้ยงดอกไมบ้ านปฏบิ ตั ิธรรมผูน้ �าบุญ

กลั อนันต์ อัศวโภคนิ
กลั บญุ ชัย-สมชาย-วชิ ยั เบญจรงคกลุ และครอบครัว

กลั ดร.ประกอบ-กลั วรรณา จิรกิติ
กัล กาญจนา อินอิว และครอบครวั
กลั จนั ทนี มหัศนศี ิรินกุ ูล, กัล ปัทมา-สราวฒุ วิวิธธนกลุ
กลั ชชู ัย เจียมทบั ทักษิณ-ดาเรศ สเุ พยี ร ครอบครัว, ญาตมิ ติ ร และทมี งาน

รายนามเจ้าภาพ ฉบับเดือนพฤศจิกายน

สพพฺ ทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ : การให้ธรรมทาน ชนะการให้ท้ังปวง

เจ้าภาพกิตตมิ ศักดิพิเศษ

กลั ดร.ก ษฎา-ทศั นยี ์ จา่ งใจมนต์ และครอบครวั , เครือข่ายเนเจอร์กิ ทัว่ โลก
กัล ดิฐพงศ-์ พราวนรินทร์-เศรษฐกิ ิจ เรอื ง ทธเิ ดช, กัล ศรศี ภุ ร จาตุรงควนชิ ย์
กัล ทวีชยั -สิรมิ น-สิริมา-สรวศิ -สบุ ษุ บา ชัยสุวรรณ, บจก. ชัยสวุ รรณวสั ดุดี
กัล นพ.พรชยั พญิ ญพงษ์ ประธานองค์การยวุ พุทธศาสนิกสมั พนั ธแ์ หง่ โลก (ย.พ.ส.ล.)

กลั นพ.พร ทธ์-ิ ทพญ.น มล-ด.ช.วชิรวิทย์ พิสุทธิมาน
กัล บรรณพจน-์ บษุ บา-พลภูมิ ดามาพงศ์

กลั ประชา เทศพานชิ , กลั อุรารตั น์ ไชยรังษี
กลั ประสงค์ สุววิ ัฒนธ์ นชัย

กัล ปยิ ะพงศ-์ วิชดุ า-วชิ ชาพงศ-์ บุญอนนั ต์ จา่ งใจมนต์
กลั พงษ์ศกั ดิ-์ อรพินท์ วิเตยี รณี และครอบครัว

กลั พ่อเซียะกมิ -แมเ่ ชียง แซ่ตั้ง, ครอบครัวธนะสมานโชค
กลั พอ่ สกล-กลั สอง วชั รศรโี รจน์

กลั ไพศาล-วรพจน์ ทวชี ยั ถาวร, กัล เสาวนี หริ ัณยศริ ิ, หา้ งทองทวชี ยั ทกุ สาขา
กัล ภรณี ศรพี ลแผว้

กัล วิชัย-สรุ ีย-์ รงุ่ ธรรม-เรืองธรรม เจยี มพิทยานวุ ฒั น์
กัล วสิ ทิ ธิ์-สุมาล-ี ธญั ญรตั น์ รตั นศริ วิ ิไล

กัล วรี ศกั ย-์ สุภาภร-รชยา-อดทิ ัต-ธนธัช ผดุงตนั ตระกูล, กลั เปรมพชิ านัน-ประพล ฐานะโชตพิ ันธ์
กัล ศรณั ย-์ เบ็ญจรตั น์ ภูรปิ รัชญา, กัล แมม่ ่วยนี้ แซ่อ้งึ , กัล พนั ศักดิ์ สทุ ธิสังข์
กัล สมชาย-ขวัญใจ-จงสวัสด์ิ-ธนธร-ณรงค์สวสั ด-์ิ ชาญสวสั ด-์ิ ปติ ิภา จงวัฒนผ์ ล

กลั สมชาย-นภิ าพรรณ ครอบครัวจวิ จั ฉรานกุ ลู -ญาตมิ ติ ร, บจก.รุง่ ศิลป์การพมิ พ์ ( )
กลั สภุ ศิษฏ์-มโนทิพย-์ นัฐธารพชั ร จกั รวาลธรรม

รายนามเจ้าภาพ ฉบับเดือนพฤศจิกายน

สพฺพทานํ ธมมฺ ทานํ ชินาติ : การใหธ้ รรมทาน ชนะการใหท้ ง้ั ปวง

เจา้ ภาพกติ ติมศักดิพิเศษ

กัล สัณห์จุฑา-วรพัทธ์-สิรญิ า วิชชาวุธ
กลั สจุ ติ รา จา่ งใจมนต,์ กลั วฒุ พิ นั ธ-์ ด.ช.ธรี วุฒิ ศลิ ปวรณว์ ิวัฒน์ และญาติมติ ร

กลั สรุ ิยะ-สุริสา-ศาตนันท์ จึงรงุ่ เรืองกิจ
กลั หน่ึง สุขประเสรฐิ , กัล จันทอน พุดทะวงศ์ และครอบครวั
กลั หยด-สมควร-นา�้ ทพิ ย์ สุวรยี ,์ . และคณะญาติมิตร

กัล อา� นวย-ทวี พงษป์ ระภาพันธ์ และครอบครวั
กัล เ ง้ ลิ้ม-สุวรรณา แซต่ ้ัง, กัล สุพตั รา แซ่เอยี บ, ทพญ.สุภร-พรอารีย์-เพชรรัตน์ ตนั ตินริ ามัย

ครอบครวั ประกอบ-ศรจี นั ทรา ใตธ้ งชยั , บจก.เซเว่นสตาร์ อนิ เตอร์ โ ลดิง้
บรษิ ัท ควนี โปรดกั ส,์ กัล บรรพต-พศิ มัย-วาสนา เรอื งรักษ์ลิขติ

บริษทั เคออนเนอร์ กรุป, โดยกัล เกียรติชยั -เพ็ญจันทร์-ชวนิ ล้อจกั รชัย
กลุม่ สมั มาอะระหัง, กัล สมบูรณ-์ มาลี-สรุ ินทร์ จริ นิรามยั , กลั บรรยง-นวลจันทร-์ อภิชติ ชยั วงศ์

พ.อ.อนรุ กั ษ-์ รดั ใจ-ณฐั ชยา เดชานวุ ตั ิ

รายนามเจ้าภาพ ฉบับเดือนพฤศจิกายน

สพฺพทานํ ธมมฺ ทานํ ชนิ าติ : การใหธ้ รรมทาน ชนะการให้ท้งั ปวง

เจ้าภาพกิตตมิ ศกั ดิ

พระวิเทศภาวนาจารย์ (สมบุญ สมฺมาปญุ ฺโญ) พระมหานริ นั ดร์ สิทฺธิเตโช, กลั ชัยวทิ ย-์ วงเดอื น-ธดิ าดาว ดาวมกุ ดา
พระครศู รธี ีรวิเทศ วิ. (สายรุ้ง ธีรโรจโน) พระมหาประเสรฐิ กจิ สเุ มโธ และชมรมใจใสใจสบาย
พระครภู าวนาสุธรรมวิเทศ วิ. (หาญชัย อาสภกนฺโต) พระมหารัตนะ ติ รตโน
พระครวู ิเทศจนิ ดาภรณ์ วิ. (ธรรมสาร จิตตฺ าภรโณ) พระมหาอาคม สนตฺ ชิ โย และครอบครวั ประเสรฐิ วงษ,์ ครอบครัวพิรยิ ะภาพสกุล
พระครสู คุ นธค์ ณุ วิเทศ ว.ิ (สมชาย สคุ นฺโธ) พระเมธา รส� ปิ ญโฺ ญ และครอบครัวชวิ หรัตน์, ครอบครวั ศรีไทย
พระครูภาวนาชาครวิเทศ วิ. (ชาตชิ าย ชาคโร) พระวชิ ัย จิตฺตรกขฺ ิโต และครอบครวั กติ ตวิ รศาสน์-ญาติมิตร-บรวิ าร
พระครโู กศลสตุ ากร (สมชาย กุลสโม) พระวิทยา จนฺทวชิ ฺโช, พระอุเบกข์ รตินธฺ โร และคณะญาตมิ ติ ร
พระครูประจักษ์คณารักษ์ (สุวรรณรตั น์ สุวณฺณว�โส) พระศักดช์ิ าย คณุ ยุตฺโต และคณะกัลยาณมติ ร
พระครูใบฎกี าอ�านวยศกั ด์ิ มนุ สิ กโฺ ก และคณะเจ้าภาพ พระสริ ิ คุณากโร
พระครปู ลดั วรวทิ ย์ ถิรปญฺโญ, ศูนย์ปฏิบัติธรรม และศูนย์อบรมเยาวชนเพชรบุรี กัล กิตติวัฒน์-ธนาภรณ-์ กตพล พรสขุ สว่าง
พระครูสมุหณ์ รงค์ ทนตฺ จติ โฺ ต, กัล แมว่ ิบูลวรรณ-พีระเดช ชมานนท์ กลั จงรัก-น�า้ ฝน-อนันตญา-จิรชั ยา-จริ พสั สายศิริ
พระครสู ัง รกั ษป์ ุณยวรี ์ ขนตฺ วิ โี ร และลูกพระธัม ศูนยป์ ฎบิ ัตธิ รรมบาห์เรน กลั จนั ทร แสงสวุ รรณวาว, คณุ แม่มัลลิกา ไพบูลยส์ มบรู ณ์
พระกิตตะวนั ปญฺญาชโย และคณะญาติมติ ร กลั จา� นวน-รจุ ี-รศั มี-ธรี าพรรณ-จารวุ รรณ-จันทมิ า กัลยานมติ ตา
พระคณกิจ สุวชิ โช, กลั ดาราวรรณ เยน็ ภิญโญสขุ และครอบครัว กัล จิตตมิ า-ด.ช.วรจติ มานะไชยรักษ์ และครอบครัวญาติมิตร
พระชยุต านตุ ฺตโม และเจา้ หน้าที่อาสาสมัคร กองจดั เลีย้ งงานบญุ กัล ชชั วาล-ปินมณี พนั ธ์กัทลี พรอ้ มครอบครัว
พระธรณิศ จารุวโ� ส และคณะญาติมิตร กัล ญา ศขุ จรสั , กลั เกตกุ านต์ โตการัณยเศรษฐ์
พระภกิ ษรุ ุน่ ๑๔ ลูกพระธัมและมหาเศรษฐีค่บู ญุ วชิ ชาธรรมกาย กลั ณฐั กานต์ ชยั ธีระยานนท์, กลั บญุ ตา ต้ังศิรเิ จริญ
พระภกิ ษรุ ุ่น ๑๗ ส�าเร็จวชิ ชา กลั ณัฐวัฒน์ จนิ ดาสุรารกั ษ์ และครอบครวั
พระภิกษุรุ่น ๒๐, พระภิกษุรนุ่ ๒๑ ส�าเรจ็ ทกุ อยา่ ง กัล ทรงชัย-ปนิ นรา-พิมพเ์ ดอื น-อานนท-์ อานันต์ ต้งั จรญู วาณิชย์
พระภิกษรุ นุ่ ๒๔ กัล ธงชัย-นนั ทพร ครอบครวั แตง่ เจรญิ พาณชิ ย,์ บจ.พี.ท.ี อาร์ กรุป
พระมงคล ทิพฺพปุญโฺ ญ และเจ้าหน้าท่อี าสาสมัครกองธรรมวารี กัล ธรี ศักด-์ิ พรทพิ ย์ ศรสี �าราญ
พระมหา ดร.ชัย า ธญฺญกโุ ล และกองบุญมหาทานบารมี ๑ เดือน ๑๑ กลั บูรณเ์ ลศิ -สมศรี-สขุ มุ า อ�านาจเกษม
พระมหาโชคชัย อาภากโร, กัล พลู สขุ -พัทธมน-อริสรา รัตนวงศพ์ บิ ูลย์ กัล ปรีชา-สุชาดา-อังควภิ า-ปภาวินท์ ทรพั ย์รงุ่ เรือง

รายนามเจ้าภาพ ฉบับเดือนพฤศจิกายน

สพพฺ ทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ : การให้ธรรมทาน ชนะการใหท้ งั้ ปวง

เจ้าภาพกิตติมศักดิ

กัล พอ่ ทวน-แม่พนิดา-พญ.สุพจี ศรเี กษ, หจก.สุพีเวลเนสคลนิ กิ กัล สุรพล-ธารารัฏฐ์-กลั ยาวัทน์ จฑุ าเจริญวงศ์
กลั พทิ ักษ์-จริ าภรณ์ เวยี งสิมา กัล เสรมิ พงษ-์ องั คณา คุณาธคิ ม พรอ้ มบตุ รธิดา
กลั มาณ-ี ประยรู -มณี-พิมพใ์ จ แซเ่ จยี่ กลั องอาจ-วารี-วรรณี ลวชยั โยธนิ และครอบครัว
กัล แมข่ าห้นุ แซ่ลอ้ , กัล จนั ทนี แซ่ตงั และครอบครัว กลมุ่ บญุ แก้ว
กลั แมอ่ าเตียง แซ่จิว,พอ่ เจอื -แมม่ ้วั , กัล ณรงค-์ วรรณา-วรงค์ อุดมผล กลมุ่ ปฏบิ ตั ิธรรมบ้านเรอื นแกว้
กัล รศ.ดร.หรรษา ปณุ ณะพยคั ์ ครอบครัว ักมณี และหอพักดวงแกว้
กลั วรวทิ ย์ ธัญญธารา, กัล ธญั ญะรตั น์ ช�านาญ คณุ แม่ประกาย ทศั ไนยวงศ,์ คณุ แม่เฉลมิ เทศพานิช
กัล วนั นิพา จวู ัฒนส�าราญ, กัล กววี จั น์ ถายา ชมรมพุทธศาสตรส์ ากล ส�านักพฒั นาเยาวชนโลก
กลั วฑิ ูรย-์ ทิชา-ก ษณ-์ ฐฏิ -ิ วิชชุลดา-ก ตพิ ร เลศิ ยิ่งยศ และครอบครวั นพ.บณุ ยธ์ นสิ ร์-สรีระเพญ็ -บรุ มิ -พญ.วราธิป-ดร.พบพร โอทกานนท์
กัล วโิ รจน์-ศรโี สภา-หริ ณั ย-์ ธมนวรรณ พิริยะสมบัติ นพ.ภาณุเมศ-พ.ญ.สนุ ยี -์ ด.ช.กลา้ ตะวนั -ด.ญ.จนิ ดามณี ศรสี วา่ ง
กัล วรี ะศักด-์ิ อารรี ตั น์ ศริ คิ รุ ุรัตน์ และบตุ รธดิ า นพ.มะโนธรรม-สวุ ัสสา-ศศพล-พิสิทธช์ิ ยั พงษอ์ �าไพ
กัล ศวิ ญา สรณาพพิ ฒั น์ นพ.สนุ ทร-พญ.ลัดดาวัลย์ ้อเผา่ พนั ธ์
กลั ศุภสทิ ธิ-์ ศิริอนันต์ จา่ งใจมนต์, กัล พรชนก หนูเสมยี น บรษิ ัท ดเี คเค เอ็นยเิ นียรงิ่ จา� กัด โดย คุณอดุลย์-สมใจ ไชยพฒุ
กลั สงัด-สุจิตรา-สุกญั ญา-จันทรง์ าม จีนเกดิ บริษัท โ ลวม์ ิเตอร์ไทย จา� กัด, บริษทั ออโตเมช่ัน นั เตอร์ จ�ากดั
กลั สมยศ-สมใจ-กะชามาศ-ณฐั วุฒิ วัฒนผลิน พลตรีสรรเสริญ-กญั ฐกิ า-กันตณัฐ สอนปาน และครอบครวั
กัล สมาน-สุมาล-ี ณปภชั หนเู ทศ, กลั อ�านาจ-รภทั ภร สังขช์ าวใต้ ร้านอาหารนัว บจก.ไทยสแปรพ์ าร์ท ( ) กัลยาสปอรต์
กลั สิทธพิ ร สุขผล หจก.รงุ่ เรืองอคี วิปเมนท์ และครอบครัวคล้ายปาน
กัล สรุ ชยั -นุวดี-นนั ทน์ ภสั -ชยั บรู ณ์ พลาดสิ ยั

รายนามเจ้าภาพ ฉบับเดือนพฤศจิกายน

สพพฺ ทานํ ธมมฺ ทานํ ชนิ าติ : การใหธ้ รรมทาน ชนะการให้ทง้ั ปวง

เจา้ ภาพกิตตมิ สขุ

พระกลา้ ณรงค์ ญาณวโี ร, กลั สมั ทธ-ิ์ ทยั รตั น์ ครอบครวั โตนดแกว้ กลั จริ วฒั น-์ มารษิ า-ธรี ภทั ร-เบญจพร-วสพุ ล พ กษพ์ นั ธร์ุ กั ษ์
พระถริ พงษ์ ญาณธโร และคณะญาตมิ ติ ร กลั ชยั ยทุ ธ-บญุ ปลกู -โสภติ คสู วุ รรณ และครอบครวั
พระบญุ ชู กติ ตฺ ปิ ญุ โฺ ญ, กลั ประไพพศิ เสาวคนธ์ และลกู หลาน กลั ชตุ มิ า-พรี พฒั น-์ นชิ านนั ท-์ พญ.ชนนพร บญุ ศริ วิ ฒั นกลุ
พระพลศกั ดิ์ านสกโฺ ก, กองแปล-ผลติ สอื่ -อสม., ครอบครวั โชคโภคาสมบตั ิ และญาตมิ ติ ร กลั ชศู รี พ กษพ์ นั ธร์ุ กั ษ์
พระภกิ ษรุ นุ่ ๒๓ ตามตะวนั กลั โชตกิ า เกดิ เมอื งสมทุ ร
พระภกิ ษรุ นุ่ ๒๘ สถาปนาเนอ้ื นาบญุ กลั ณ ดี มนตรวิ ตั , กลั วศิ ณี เอย่ี มสอาด
พระภษู ติ ยตุ ตฺ วชิ โฺ ช และคณะญาตมิ ติ ร กลั ณฐั สรวง วงศว์ ทญั ญู
พระมหาชพู งษ์ ธมมฺ โิ ก และคณะญาตมิ ติ ร กลั ดเิ รก-มนตก์ นษิ ฐ์ ขตั ตยิ ากรจรญู -บรษิ ทั เพชรมติ ซู จา� กดั
พระมหาธรี ะ นาถธมโฺ ม และชมรมกลั ยาณมติ ร จ.มกุ ดาหาร กลั ดลุ ยวตั เรอื งแสง และครอบครวั แสงกศุ ล
พระมหามนตช์ ยั อภชิ าโน กลั ทศั นพ์ ล-พมิ พบ์ ญุ -พมิ พภ์ ทั รา พมิ พภ์ ทั รยศ
พระมหาวฒุ ชิ ยั วฑุ ฒฺ ชิ โย และคณะญาตมิ ติ ร กลั ธญา เหลอื งออ่ น และครอบครวั
พระวชั รนิ ทร์ นรนิ โฺ ท,พระมหานภดล คมภฺ รี ธมโฺ ม และครอบครวั เสนา กลั ธนพรรณ-ปฐมใจ-สริ พิ ณิ -เขม็ ทศิ -แสน คณุ านรุ กั ษพงศ์
พระสวุ ฒั น์ กติ ตฺ ริ ตโน, พระวรตุ ม์ ธญั ญฺ วโร, กลั สจุ รรยา-วรศิ า เพชราภริ ชั ต์ กลั ธติ นิ าถ เจรญิ เดชพนา, กลั ก ษดา มนั่ ประชา, กลั รงุ้ ทพิ ย-์ จรลั อาจศริ ิ
พระอาจารย,์ เจา้ หนา้ ท,ี่ ผนู้ า� บญุ กองแกว้ ภธู ร ๔ กลั นวรตั น์ เจรญิ ผล, กลั ภรตั น์ ศนุ าลยั พรอ้ มญาตมิ ติ ร
พระอา� นาจ วรี ธมโฺ ม และญาตมิ ติ ร กลั นวลรตั น์ ศรฐี ติ วิ งศ์ และครอบครวั
พระอทิ ธพิ ล สทิ ธฺ พิ โล, กลั ปานทอง- เทกเนอร์ กลั บรรณารตั น์ พลบั สขุ ขี
กลั กนกนนั ท-์ กณั จน์ เลศิ นติ พิ งศ์ และครอบครวั กลั บญุ ญารสั ม์ิ บญุ แสง, ด.ช.ณภทั ร-ด.ช.ณพชิ ญ์ เลศิ วชริ ไพบลู ย์
กลั กนกอร องึ้ สมรรถโกษา และครอบครวั กลั บษุ ย-์ นรา สารกิ บตุ ร และครอบครวั
กลั กมลชนก-ชมพนู ทุ -ธราดล-น.ต.สายชล รอดถนอม กลั ประชา-เขยี น-วยุ่ ธรี ะวทิ ย์
กลั กติ ต-ิ วลั ลยี ์ บญุ ซอื่ กลั ประทมุ เลก็ มณี
กลั จรรยา เลศิ พทิ กั ษธ์ รรม กลั ประภาศร-ประยงค-์ ด.ช.ยศพนธ-์ ด.ช.ยศภมู ิ หลว่ิ ผลวณชิ ย์
กลั จวง แซก่ มิ และครอบครวั กลั ประมลู -อรา่ ม อนชุ ปรดี า พรอ้ มบตุ รธดิ า
กลั จกั รก ษณ-์ ปาปาอู สถริ เสถยี ร กลั ประเสรฐิ -กนั ทมิ า-ภสั สร-ภาคภมู -ิ อาภสั รา-ภสั สร เกตรุ งุ่ หริ ญั

รายนามเจ้าภาพ ฉบับเดือนพฤศจิกายน

สพพฺ ทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ : การใหธ้ รรมทาน ชนะการใหท้ ั้งปวง

เจา้ ภาพกติ ติมสุข

กลั ปรญิ ญา-วณี า-วรี ยา-ประวณี เพม่ิ พานชิ กลั สมเกยี รติ เตชะพสิ ษิ ฐ์
กลั พรรณี จรเิ กษม, คณุ แมเ่ อยี กเนย้ แซฉ่ ว่ั และครอบครวั กลั สนั ทติ ย-์ นภคั -ณฏั ฐว์ กิ ร-กวษิ า หรรษาพนั ธ์ุ
กลั พอ่ ซยุ ไช-้ คณุ แมว่ ลิ าวลั ย-์ อรา่ มศรี และครอบครวั ฉตั รแ์ กว้ มรกต กลั สา� รวย-ผศ.ทพ.ญ.ดร.นภา สขุ ใจ
กลั พศิ มยั แสงหริ ญั และมหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพสวุ รรณภมู ิ กลั สนิ นี าฎ-กมลวรรณ-กมลพร เกศวพทิ กั ษ์
กลั พสิ ทิ ธ-์ิ ภคั ชล-ี ธรรมาภรณ์ องั คส์ ธุ าสาวทิ ย์ กลั สริ นิ ดา-ชญานศิ ยงั (ทสิ ยากร)
กลั พฒุ พิ งศ-์ ประภาทพิ ย-์ ธญั นนั ท-์ สทุ ธนิ นั ท-์ พรทพิ ย-์ กลั สจุ นิ ต-์ นทั ธมน-ชนนก์ ษฎ์ บญุ รามณรงค์ และครอบครวั
ร.อ.ทววี ฒั น์ โสภณอทิ ธวิ ฒั น์ กลั สรุ วงศ-์ รมยน์ ลนิ กวศี รศกั ด์ิ และครอบครวั (รา้ นเชยี งดาววสั ดกุ อ่ สรา้ ง)
กลั ไพฑรู ย-์ สมนกึ อรรควฒั น์ กลั สรุ สหี -์ ปณุ ฑรกิ -กานตป์ ระภา อทิ ธกิ ลุ
กลั ภทั ร เผอื กวไิ ล กลั สรุ ตั น-์ อรทยั แสงสรุ ะธรรม
กลั มณรี ตั น-์ อารยี ์ คงคาลา้� เลศิ , กลั จดั - ทธริ งค-์ ภมู เิ มธา กอ้ นมณี กลั สรุ ศิ กั ด์ิ ชมุ ไชยโย-ชนื่ จติ ร เบญจพลสริ จิ ติ ต์
กลั มนชญา อภริ กั ษากลุ , ครอบครวั แม่ อ่ งเลยี ง แซล่ ม่ิ บา้ นแสงสวา่ ง ยะลา กลั เสนาะ-เบญจมาศ-เอกธรรม ธรรมบตุ ร
กลั มาซาม-ิ จนิ ตนา-ไตรรตั น์ อาซาโนะ กลั หรรษา เสยี งเพราะ และครอบครวั
กลั แมแ่ ซะก-ี่ ทพ.ไพโรจน-์ ดร.จารณุ ี ตนั ตเิ วชวฒุ กิ ลุ และครอบครวั กลั อา� นวย-เพญ็ พรรณ นธิ กิ ารพศิ ษิ ฐ์
กลั เยาวลกั ษณ์ สวุ รรณสญั ญา และครอบครวั กลั อบุ ลทพิ ย์ สพุ รรณานนท์ และครอบครวั
กลั รชั ดาวรรณ-นวิ ฒั น-์ พงศส์ ริ -ิ กติ มิ า วงศจ์ รสั วจิ ติ ร คณะกลั ยาณมติ ร ศนู ยป์ ฏบิ ตั ธิ รรมธมั ดสุ ติ
กลั วรพงศ์ วโิ รจนธ์ นานกุ ลู ครอบครวั จฑุ าพร โตศริ พิ ฒั นา
กลั วรวฒุ -พรี นชุ วรสบุ นิ ครอบครวั แนบชดิ -ครอบครวั คลา้ ยนาค
กลั วชิ าญ-ผอ่ งศรี ศรรี ตั น์ กลมุ่ รกั บญุ และครอบครวั ครอบครวั มานะไชยรกั ษ์
กลั วเิ ชยี ร-จนิ ดา ภวู ดล-ธญั วลยั -วรกาญจน-์ ณฐั ศศ-ิ ณฐั ภาส-์ ณฐั ณชิ ภชั ภรณร์ ตั นจ์ ริ า ครอบครวั สธุ ธี ร
กลั ศริ วิ รรณ องึ ภาดร, กลั ธงชยั ตรพี งษก์ รณุ า และญาตมิ ติ ร บรวิ าร ครอบครวั เอกชเู กยี รติ
กลั ศริ -ิ วนั เพญ็ -วชริ า-วชั เรสรวง-จกั รพงษ-์ ปพนพชั ร์ เทพามาตย์ ( ) ดร.ปรดี -ี จฑุ ามาศ-ดร.รจุ -ดร.มาลน-ี ด.ญ.รนิ เอกะวภิ าต

รายนามเจ้าภาพ ฉบับเดือนพฤศจิกายน

สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ : การให้ธรรมทาน ชนะการให้ทั้งปวง

เจ้าภาพกิตตมิ สุข

บรษิ ทั ไนนเ์ คมคี อลแอนดพ์ ลาสตกิ จา� กดั ร.ต.อ.วจิ กั ษณ-์ วนสณฑ-์ เอกนนั ต-์ วชริ หงสเ์ จรญิ และครอบครวั
บรษิ ทั เอส เค เอส พรอ็ พเพอรต์ ี้ จา� กดั ศ.ดร.อณั ณพ-คณุ เรวดี ปาลวฒั นว์ ไิ ชย
บคุ ลากรรนุ่ ๑๖ ไมต่ กกนั ดาร ศนู ยค์ มุ องฉะเชงิ เทรา(ขา้ งสถานรี ถไ )
ผ.ศ.ขนษิ ฐา พนู ผลกลุ ศนู ยอ์ บรมเยาวชนลาดหลมุ แกว้
พ.ต.พญ.นชุ ภา-พ.อ.นพ.วเิ ชษฐ์ รตั นจรสั โรจน์ อาจารยส์ มควร-คทั รยิ า ทองหลอ่
พญ.สวุ รรณี วรี ะเศรษฐกลุ อบุ าสกิ า รนุ่ ท่ี ๑

รายนามเจ้าภาพ ฉบับเดือนพฤศจิกายน

สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ : การใหธ้ รรมทาน ชนะการให้ทง้ั ปวง

เจ้าภาพอุปถัมภ์พิเศษ

พระครสู มหุ ว์ ษิ ณุ ปญญฺ าทโี ป พระมหาชชู าติ ขนตฺ วิ ณโฺ ณ, กลั ชศู ร-ี หนนุ -ปณต-ปณติ า ประกอบกลุ
พระก ตปญั ญกร ขนตฺ ภิ ทโฺ ท และผมู้ พี ระคณุ , กลั เสรมิ ภวู่ รรณชยั กลุ และคณะ กลั เซนจ-ิ จนั ทน-ี ซมึ กิ ะ ชวี านนั ทน์ คอนโด
ครอบครวั ญาตมิ ติ ร-บรวิ าร พระมหาโชคชยั สริ ชิ โย, กลั สรุ พชั ร ธนาบดี แซป่ ยุ , กลั ฐกลพศั -สรลั พร เจนจวิ ฒั นกลุ และครอบครวั
พระกองรอ้ ยเนอื้ นาบญุ , พระธรรมรตั น์ จนทฺ สทุ โฺ ธ กลั ศภุ ลกั ษณ์ ยบิ มนั ตะสริ ิ กลั ณฐั นนั ท-์ สชุ าต-ิ ศวิ ชั -ชลนั ธรณ-์
และเพอื่ นๆ ลกู พระธมั พระมหาสรุ าช ชาตชิ ญโฺ ญ ศรณั ยู อมรรตั นพรรณ
พระกติ ติ ธมมฺ คตุ โฺ ต พระมหาโสพล สพุ โล, กลั ดา� รงพล-พรเพญ็ -จริ พฒั น-์
พระจริ โชติ อตถฺ โชโต, พระมหาวรี พงษ์ สงขฺ วโ� ส, พท.นพ.สริ พิ งศ์ พฒั นธนาวสิ ทุ ธิ์ ภทั รานษิ ฐ์ เรอื งตอ่ วงศ์
กลั ปราณ-ี จไุ รรตั น์ สงั ขว์ งษ-์ ชศู กั ด์ิ อบุ ลบาน พระววิ ฒั นไ์ ชย ชนิ ปตุ โฺ ต, กลั เตยี่ อา� นวย-แมบ่ ญุ ลอื -ไกรสร-จดิ าภา-
พระจริ วฒั น์ คณุ โชโต, พระชยั วฒั น์ รวทิ ชฺ โย, ทมี ขนุ พลแกว้ ๔๘ และคณะญาตมิ ติ ร วงศกานต-์ วรี กร อนิ ทพบิ ลู ย์
กลั เจอ่ื ง-นอ้ ย รงุ่ สวา่ ง พระสมนกึ ปยิ ธมโฺ ม, กลั ทศั นา-พรเทพ-จริ พร-ฐติ วิ ฒุ ิ เจรญิ สทุ ธโิ ยธนิ ,
พระชยั ธวชั -โยมพอ่ เกหมอง แซต่ ง้ั - กลั กนั ยารตั น์ ชลวฒั น์ และคณะญาติ พอ่ ตงั กวย-แมซ่ ยุ้ แซฉ่ ว่ั ,พอ่ แหว้ ส-ู้ แมเ่ ยี ง แซโ่ จว
โยมแมเ่ อย่ี มเชง็ แซแ่ พ,้ ครอบครวั สรุ ยิ ากลุ พานชิ พระสนุ ทร จารสุ นุ ทฺ โร กลั ทพิ ยน์ ารา สริ ะกลู คณาสนิ ,
พระชยั วฒั น์ อตตฺ ทนโฺ ต พระอรรถชยั วฑฒฺ ธมโฺ ม (แตว้ ฒั นา) กลั สคุ งสกั ก์ จริ ะเพญ็ สนิ
และครอบครวั จนั ทโรภาสเจรญิ กลั กชวรรณ-สชุ ญา สดุ ชาญชยั กลุ , กลั เทพ ทธิ์ เกดิ สวุ รรณ
พระชศั พสิ ฐิ สมมฺ าพโล กลั ชลติ า ศริ ริ กั ษ์ และครอบครวั กลั ธนกิ า เจยี รนยั ไพศาล
พระชาย ญาณวโี ร พรอ้ มบตุ รธดิ า กลั กสมา บวั คง, กลั รชั ชานนั ท-์ สรากลุ ประสาน กลั ธญั ดา มหารตั นวงศ์
และคณะญาตมิ ติ ร กลั กอบแกว้ สมุ นพนั ธ์ุ กลั ธดิ ารตั น์ เตชะพสิ ษิ ฐ์
พระชเู กยี รติ ภททฺ โก, กลั ศริ พิ ร ทองศริ ิ กลั กลั ยกร ถมอนิ ทร์ กลั นวนติ ย-์ รจนา-ภรู นิ ทร์ กมุ ารรนิ และครอบครวั
นอ้ มบชู ามหาปชู นยี าจารย์ กลั กติ ตยิ า ภทั รเขมรชั ต-์ กลั นวรตั น-์ สรุ ยี -์ นลิ บุ ล-อรภาภร-ทศั นยี ์
พระดร.สมศกั ด์ิ จนทฺ สโี ล และกลมุ่ อยธุ ยารม่ เยน็ และครอบครวั ญาต,ิ มติ ร, บรวิ าร กลั นนั ทา-อดศิ ร-น มล-ดวง ดี บญุ มวี ริ ยิ ะ
พระถวลั ย์ จตตฺ มโล, คณุ ถริ พทุ ธ-ิ พรธริ ตั น-์ กลั กติ ต-ิ รศ.สา� รวย-นฎั สวญั จ-์ กลั นานา ลว่ิ และลกู ๆ
ดจุ ตะวนั -กนั ตพฒั น์ เขยี วไสว ปณุ ยกร กติ ตลิ าภานนท์ กลั บญุ เรอื ง-สมบรู ณ์ รตั โนธร และญาตมิ ติ ร
พระนครนิ ทร์ อนิ ทฺ จกโฺ ก, พระพงษก์ านต์ สริ ริ กโฺ ข กลั ครองทรพั ย์ เจรญิ สขุ กลั บปุ ผวลั ย์ สทิ ธทิ รพั ย์ และครอบครวั
และครอบครวั ญาตมิ ติ ร กลั จรี ะสทิ ธิ์ กาสวุ รรณ กลั ปเมศ-สชน ประเสรฐิ ยงิ่ ,
พระนราศกั ด์ิ ยตสิ กโฺ ก, กลั จไุ รวรรณ ภกู่ า� ชยั , กลั วทิ ติ -สรุ ยี ์ ชดชอ้ ย, กลั สาธติ า เสรโี รดม
กลั ณรงั ษยี -์ บษุ บา-ศรณั ยช์ ยั -ปวนั รตั น์ พฒั นพนั ธ์ุ กลั นงคราญ แสงสกุ วาว และบตุ ร-ธดิ า กลั ประกอบ-พนดิ า งั ธรรม และครอบครวั
พระเบม้ิ วส� สนโฺ ต กลั ฉฐั นนั ท-์ ดร.ณฐั ภรณ์ ภทั รโชตอิ นนั ต์ กลั ประทปี ตนั ตวิ ฒั น์
และอนิ ทปทั บรุ ที มี ไทย-ลาว-กมั พชู า กลั เฉลมิ ชยั -ทพิ สนิ -ี ธนาวรี ์ วฒั นบรู ณช์ ยั กลั ประสาน-เบญ็ จภรณ์ แสงสงา่
พระภกิ ษรุ นุ่ ๑๗ สา� เรจ็ วชิ ชา และญาตมิ ติ ร กลั ประสทิ ธ-ิ์ รชั นี ตรยี กลู พรอ้ มครอบครวั
โดย กลั เสาวนยี ์ รฐั สมบรู ณ์ กลั ชม-แยม้ -มานพ แจง้ คา� ขา� กลั ประสทิ ธ-ิ์ รตั นาภรณ-์ ชนิ รตั น์ พงษเ์ ผอื ก

รายนามเจ้าภาพ ฉบับเดือนพฤศจิกายน

สพพฺ ทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ : การให้ธรรมทาน ชนะการให้ทั้งปวง

เจ้าภาพอปุ ถมั ภ์พเิ ศษ

กลั ประเสรฐิ -วนดิ า-ศกั ดชิ์ ยั พชี ะพฒั น์ กลั มนสั -อมั พร-อภวิ รรณ-เอกบตุ ร- กลั สชุ พี -สภุ าศริ -ิ ศภุ สิ รา-สริ วชิ ญ-์ ญาณะ พะหชู นม์
และครอบครวั บญุ ญรตั น-์ คณพศ-ภทั รานษิ ฐ์ อยสู่ ขุ กลั สธุ น พบิ รู ณ์
กลั ปรศิ นา ไตรรตั นานสุ รณ์ กลั มาตกิ า สจุ รติ สญั ชยั กลั สพุ งษ-์ เครอื วลั ย-์ สริ เิ ทพนิ ทร-์ อจั ฉรยี า เวศพนั ธ,์ุ
กลั ปรชี า-ฉววี รรณ วฒั นวเิ ชยี ร- กลั มาลา-ปพชิ ญา ปานสงา่
ละมยั รตั นพรสมบตั ิ และครอบครวั กลั แมว่ งศ-์ วลั ลภ-กสุ มุ า-วรจกั ร รอดเงนิ --
กลั ปวนั รตั น์ เศรษฐรกั ษส์ กลุ กลั แมว่ นดิ า จนิ วงค์ กลั สเุ มธ ลนิ ทรตั นศริ กิ ลุ
กลั ปณุ ณาภา โพธท์ิ อง และครอบครวั , บรวิ าร กลั รวพิ ร รตั นสวุ รรณ กลั โสภา ลมิ ปองั ศ,ุ กลั มยรุ ี มแี กว้ และครอบครวั
กลั เปรมศริ -ิ ศภุ ณฐั เกดิ อารยี ์ และครอบครวั กลั รงั สรรค-์ อโณทยั -ศขิ รนิ อณุ หเลขกะ กลั โสภาคย์ โสตะระ, กลั โสภา เครอื สวุ รรณ
กลั ไปรยา-นพรจุ -แพรวปภา ทตั พลธนากลู กลั รตั นาภรณ์ เกดิ สวุ รรณ กลั อนรุ จุ น-์ วนดิ า-อานนท-์ ชานนท์ เจษฎารวมผาสขุ
กลั พงศศ์ กั ดิ์ เหยย่ี งสกลุ , กลั รงุ่ ทพิ ย์ ดศี รี กลั อรพรรณ-สนุ ทร-อรเพญ็ สชุ าตกิ ลุ วทิ ย์
กลั ณาฏฐยิ า เสวตราคม กลั รงุ่ ทวิ า-อดุ ม-จดิ าภา-ชญาภรณ์ คมุ้ ถนิ่ แกว้ กลั อรยิ า นมิ ะ, กลั วนั ขวญั เทยี มจนั ทร์
กลั พจนา ศรอี ภยั กลั ลดาวลั ย-์ วโิ รจน-์ สภุ ชา-ณฐั มน ศรโี สภติ และญาตมิ ติ ร,บรวิ าร
กลั พรเพญ็ -นติ ยา โตศริ พิ ฒั นา กลั วกลุ รตั น์ เจดิ เมธาวฒุ ิ กลั อรสิ า ทองสขุ
กลั พชั น-ี พชั รนิ ทร์ บญุ ธรรมจติ กลั วราภรณ์ พรอนนั ตต์ ระกลู กลั อบุ ล โลหะปาน,
นอ้ มบชู ามหาปชู นยี าจารย์ กลั วนั เพญ็ คา� เขยี ว ดร.สรุ ตั น-์ อนริ จุ น์ ตนั เทอดทติ ย์ และครอบครวั
กลั พฒั นะ-พฒั นา-สธุ าภา-อนญั ญา- กลั วชิ ยั -ธารารตั น-์ พชิ าญ-เยาวเรศ- กลั อบุ าสกิ าถวลิ วตั ริ างกลู
ณฎั ฐพฒั น์ อนิ ทพ กษ์ ศทุ ธธิ รรม วนชิ ยางกรู านนท์ กลมุ่ ธรรมประภสั สร
กลั พชิ ฎา พฒั นวงศอ์ นนั ต์ พรอ้ มหมคู่ ณะ กลั วชิ ยั -ปาลดิ า รศั มนิ ภากร กลมุ่ พนั ธต์ุ ะวนั บชู าขา้ วพระ
กลั ไพแกว้ -วริ ญั ดา ปยิ ะสนั ติ และครอบครวั กลั วชิ ติ -ปฐั มา-สพุ ตั รา ตรยี กลู กลมุ่ รวยทะลจุ กั รวาล อยใู่ นบญุ
กลั ภคั บญุ สงู กลั วฑิ รู ย-์ สมุ นมาลย-์ วฒุ ชิ าติ ศรอี ศั วอมร กลมุ่ อดุ มธรรมกายไปทส่ี ดุ แหง่ ธรรม
กลั ภาณทุ ตั ต์ ศรธี วชั ธรรม กลั ศศนิ ทร์ นศิ ากรนารา กองทนุ รวยทกุ วนั
กลั ภารณ-ี เพทาย-ธนภมู -ิ ณชั พล สขุ สวา่ ง กลั ศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ ทองแพง, กลั สนุ สิ า หงสพ์ นั ธ์ โดยบรมเศรษฐฉี ะเชงิ เทรา-บญุ บนั เทงิ
กลั ภญิ โญ มหาดไทย และครอบครวั กลั โศรดา เอม็ พงษ์ และครอบครวั กลั ยาณมติ รชาวไทย วดั พระธรรมกายสงิ คโปร์
กลั มงคล-ลาวลั ย-์ มลั ลกิ า-วชิ ากร- กลั สมคดิ -วรี ภทั ร-อานนท์ ชน่ื งเู หลอื ม ครอบครวั ทบั สวุ รรณ์
วโิ รจน์ จริ พฒั นกลุ กลั สมร แกว้ ทวที รพั ย์ และครอบครวั ครอบครวั ชโิ นทยั กลุ
กลั มนตก์ นษิ ฐ-์ พลอยพรรณ ขตั ตยิ ากรจรญู กลั สคั พศั แสงฉาย และคณะญาตมิ ติ ร ครอบครวั ธนภทั ร
และครอบครวั นอ้ มบชู ามหาปชู นยี าจารย์ จดุ ออกรถแมค็ โครจรญั
กลั มนสั -ประไพ-ดรลั พร-กมลนทั ธ,์ กลั สาลี่ เหน็ ความดี ด.ช.วทิ วสั ศลิ ารตั น์
สา� ล-ี ปยิ วฒั น-์ ชยั ปวนิ ท-์ ปรานทพิ ย-์ ศภุ ษา กลั สริ นิ ทร์ ตยิ านนท์ ทมี รม่ เกลา้ รม่ ธรรม
กลั มทั นา ฉายทองดี และครอบครวั กลั สไี พร กบั กระโทก และครอบครวั น.ต.เฉยี บ นม่ิ นวล ร.น.-อ.ลดั ดา -ภทั รวลี นม่ิ นวล,
พ.ต.ท.สมพล-พ.ต.ท.หญงิ ภทั ราวรรณ นาคขา� พนั ธ์ุ

รายนามเจ้าภาพ ฉบับเดือนพฤศจิกายน

สพพฺ ทานํ ธมฺมทานํ ชนิ าติ : การให้ธรรมทาน ชนะการให้ท้งั ปวง

เจา้ ภาพอุปถัมภ์พิเศษ

นท.สกลุ -อ.ลมยั -ภทั รวรรณ อนนั ตะยา, ผศ.สมใจ-ณฐั วฒุ ิ ทพิ ยช์ ยั เมธา ส.อ.จรี วฒั น์ วงษโ์ พธ,์ิ
กลั เอกภมู -ิ อ.สริ มิ าส จงออ่ น พญ.น มล-ด.ญ.อชติ ะ จนิ ตพฒั นากจิ , กลั นนั ทวดี ทองคา� และครอบครวั
นพ.ธรี ะยทุ ธ์ ธนนนั ทนธ์ ญั โชต,ิ คณุ ธรี เมธ เทพวชิ ยั ศลิ ปกลุ สมาชกิ อาศรมอบุ าสก
กลั ภสั รช์ มมน อธธิ ญั ธนะนนั ท์ พล.ต.วชิ นิ -ก ษณา คา� สนิ และครอบครวั อาจารยศ์ ราวธุ ขา� รอด และแกว้ าใสทมี
นพ.ไพโรจน์ สง่ คณุ ธรรม พล.อ.ท.นพ.พงษเ์ ดช-สวุ พรี ์ พงษส์ วุ รรณ อาสาสมคั รแผนกอธษิ ฐานธรรม ๒
บรษิ ทั โกลบอล โทนเนอร์ เดลเิ วอรี่ จา� กดั ภก.อภริ จุ เชยี งโสม และผมู้ จี ติ ศรทั ธา
ผศ.ดร.สมสดุ า ผพู้ ฒั น์ มหศั จรรยแ์ หง่ บญุ
ผศ.ดร.สพุ รรณี บญุ เรอื ง และคณะ รม่ เกลา้ รม่ ธรรม

อนุโมทนาบญุ

ทางมาแห่งปัญญาบารมีอันย่ิงใหญ่
เจ้าภาพอปุ ถมั ภ์พเิ ศษ 5t

จารกึ ชอ่ื ต่อเนอ่ื ง (ธ.ค. ๕๙ - พ.ค. ๖๐)
สอบถามรายละเอยี ดเพิม่ เตมิ ไดท้ ี่ผู้ประสานงานภาคท่ที า่ นสังกัด



ท่ปี รึกษา ไมต่ ้องทน ขอเพียงคา� ว่า “เข้าใจ”
พระวิเทศภาวนาจารย์ ว.ิ (สมบญุ สมมฺ าปุญฺโญ)
พระสุธรรมญาณวเิ ทศ ว.ิ (สุธรรม สธุ มโฺ ม) ในชีวิตหนึ่ง เราต้องเจอผู้คนมากมายที่เราพอใจและ
พระครปู ลัดสวุ ฒั นโพธิคุณ (สมชาย านวฑุ โฺ ฒ) ไมพ่ อใจ จนหลายคนตอ้ งบอกกบั ตวั เองบอ่ ยครงั้ วา่ “ตอ้ งอดทน
พระครสู มุหว์ ษิ ณุ ปญฺญาทีโป นะ..ตอ้ งอดทน”
พระครธู รรมธรอารกั ษ์ ญาณารกฺโข
พระครูใบฎีกาอ�านวยศักด์ิ มนุ ิสกฺโก แต่ถา้ เราต้องฝนื ทนกับสงิ่ น้นั มาก ๆ ซา้� ๆ บอ่ ย ๆ
บรรณาธิการบริหาร ประจวบกบั เจอปญั หาอยา่ งอนื่ ถาโถมเขา้ มาพรอ้ ม ๆ กนั อะไร
พระสมบตั ิ รกฺขติ จติ ฺโต จะเปน็ หลกั ประกนั ไดว้ า่ เรายงั จะบอกกบั ตวั เองไดด้ ว้ ยคา� เดมิ
ผู้ช่วยบรรณาธิการ อีกหรอื ไมว่ า่ “ต้องอดทน”
ระพพี รรณ ใจภกั ด,ี กนกพร เทศนา
พกอระงบมหรราณเสาถธียิกรารสวุ ณณฺ ิโต, พระดร.สมศกั ด์ิ จนทฺ สโี ล ดงั นน้ั เราต้องเปล่ยี นจากความอดทนเป็นความเข้าใจ
พระมหาดร.สมบัติ อินทฺ ปญฺโญ, พระตรีเทพ ชินงฺกโุ ร, เขา คิดเสียวา่ ..เขาเปน็ อย่างนนั้ เอง เพราะเมือ่ เขา้ ใจ เราจะ
พระศริ พิ งษ์ สริ วิ โ� ส, พระสนทิ วงศ์ วุฑฺฒิวโ� ส, ไม่ต้องอดทน ใจจะรับสภาพได้ว่า เขาเป็นอย่างน้ัน เขาได้
พระมหาธรี ะ นาถธมฺโม, พระมหาจตรุ งค์ จตตฺ มโล, แค่น้ัน ณ เวลาน้ี เพราะระหว่างการสร้างบารมี ในเม่ือยัง
พระวฑิ รู ย์ อุชุจาโร, พระสุรศกั ด์ิ ปภสสฺ โร, ไม่หมดกิเลสเป็นพระอรหันต์ คนเราย่อมมีข้อบกพร่องแล้ว
พระมหาวริ ยิ ะ ธมฺมสาร,ี พระมหาอรรถพล กุลสิทฺโธ, ท�าผิดพลาดเปน็ เร่อื งธรรมดา
พระปลัดบรบิ รู ณ์ ธมมฺ วิชโฺ ช
ผศ.สุภาศริ ิ พะหูชนม,์ วันชยั ภัทรโกมล, ในทางกลบั กนั ถา้ เราเป็นผทู้ �าผิดพลาดเสียเอง หาก
วินชิ พันธ์ุวริ ิยรตั น์, นา�้ ผงึ้ พมุ่ มาล,ี เราเป็นนักสร้างบารมีที่มีดวงปัญญา แม้จะตกอยู่ในสภาพ
รดั เกลา้ ลิ่วเฉลิมวงศ์, อมรรัตน์ สมาธทิ รพั ยด์ ,ี ทเี่ ลวรา้ ยหรอื มคี วามทกุ ข์ เราจะสามารถเตอื นตวั เองไดว้ า่ เมอ่ื
สุธดิ า จินดากจิ นุกลู , อภริ ดี ตันตวิ าณิชยสุข, มีขอ้ ผดิ พลาดเกดิ ขึ้น เราต้องหยุดแล้วหันมามอง แล้วแกไ้ ข
วรวรรณ ถนอมพงษ,์ ก�าพล แก้วประเสรฐิ กุล, ทตี่ ัวเองก่อนอนั ดับแรก เพราะเม่อื มเี รื่องไมด่ เี กดิ ขน้ึ แสดงวา่
บุษบา ธาราสมบัติ, เมธนิ ี จอกทอง, ตอ้ งมีเหตุในอดีตทีเ่ ราเคยทา� ไว้ ถึงได้มาเจอผลแบบนี้ ดงั น้นั
อมรพรรณ ทองสมบรู ณ์, พงษว์ นาถ ดวงปาน, อยา่ ไปโทษใครเลย อยา่ ไปคดิ วา่ ท�าไมคนน้นั ท�ากับเราอย่างนี้
พรรณนภิ า ทองเตม็ , ภทั รสุดา คา�้ ช,ู แต่เราต้องกล้าหาญที่จะยอมรับข้อบกพร่อง เพ่ือปรับปรุง
จตุรพร สมแก้ว แก้ไขตัวเอง เพราะในเร่ืองรา้ ย ๆ ทีเ่ กดิ ขึน้ จะมขี อ้ ดีอย่เู สมอ
ฝา่ ยภาพ ถา้ เรามวั แตไ่ ปเพง่ โทษผอู้ น่ื มองวา่ คนอน่ื ผดิ หมด จะทา� ใหเ้ รา
ศนู ยภ์ าพนิง่ และบรรณาธิการภาพ ไมป่ รับปรงุ ตวั ของเราเองเลย
ฝ่ายศลิ ปกรรม
กองพทุ ธศิลป,์ ลอื พงศ์ ลลี พนงั , ดงั นน้ั หากเราอยอู่ ยา่ งเขา้ ใจและปรบั ปรงุ ตวั เองกอ่ น
ชยั ชนะ กติ ติโสภาพันธ,ุ์ อดเิ ศรษฐ์ นฐั กรานตน์ ุวัฒน,์ เปน็ อนั ดับแรก ก็จะสามารถลดความทุกข์ท่ไี มจ่ �าเปน็ ออกไป
ธาดา วงศ์คุณานนท์, สันทดั ศกั ดิ์สาคร, ได้เยอะ และพัฒนาการสร้างบารมีได้อย่างก้าวกระโดด จน
สพุ ัตรา ปัญญาแสง, สริ ิพนั ธ์ุ สมาหารพนั ธุ์ ขน้ึ ชือ่ วา่ ..สามารถนา� ธรรมะทศ่ี ึกษามาใช้ได้จริง ๆ

ฝา่ ยโฆษณา
ปราณี ชัยผดุง ๐๙-๑๕๔๙-๒๔๙๒
ฝ่ายสมาชิก
ปิยธิดา เกตสุ ถล ๐๘-๑๖๖๗-๗๔๗๓
โรงพมิ พ์
บรษิ ทั รุ่งศิลป์การพมิ พ์ (๑๙๗๗) จ�ากดั

จัดท�าโดย
ส�านักสอื่ ธรรมะ มลู นธิ ธิ รรมกาย

วารสาร “อยใู่ นบุญ” เป็นวารสารเพอ่ื การเผยแผธ่ รรมะ
ในพระพทุ ธศาสนาเป็นรายเดือน มีวัตถุประสงคด์ งั ตอ่ ไปน้ี
๑. เพ่ือใหเ้ กิดความรคู้ วามเขา้ ใจในธรรมะขององค์สมเด็จ
พระสมั มาสมั พุทธเจ้า และเกิดก�าลังใจในการปฏิบัติธรรม
เพ่อื เขา้ ถงึ ธรรมะภายใน
๒. เพอื่ ปลกู ฝงั คณุ ธรรมแกป่ ระชาชนทกุ เพศ ทกุ วยั ทกุ อาชพี
และทุกระดบั การศึกษา
๓. เพ่ือถ่ายทอดความรู้ในพระพุทธศาสนาให้ง่ายแก่การ
นา� ไปใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชน์ในชวี ิตประจ�าวัน
๔. เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้คนในสังคมเป็นคนดี
ทโี่ ลกตอ้ งการ
๕. เพื่อเป็นส่ือกลางในการสืบทอดอายุพระพุทธศาสนา
ให้เปน็ ท่พี ึ่งแก่ชาวโลกสบื ไป




Click to View FlipBook Version