The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Bestsafe_Catalog, 2022-10-20 22:46:17

Chem-02-7-Safety-workplace-PPE-7-SCBA-confined

Confined space














Mr.Piyawat Chirasakulkarun



การจ าแนกการ








เลอกใชอุปกรณทางเดินหายใจ












































3

งานอับอากาศ












ANUSORN BESTSAFE CO.,LTD









MR. Piyawat Chirasakulkarun























4

5



1. ค ำจ ำกดควำมพื้นที่อบอำกำศ (Confined Spaces)




หมายถึง








- สถานทท างานทมีทางเข้าออกจ ากัด มีการระบายอากาศตามธรรมชาติไม่

เพียงพอทจะท าให้อากาศภายในอยูในสภาพถูกสุขลักษณะ



































6



1. ค ำจ ำกดควำมพื้นที่อบอำกำศ (Confined Spaces)




หมายถึง










- สถานทไม่ปลอดภัยซึงอาจเปนทสะสมของสารเคมเปน พิษ สารไวไฟ



































7

8



1. ค ำจ ำกดควำมพื้นที่อบอำกำศ (Confined Spaces)




หมายถึง






- สถานทไม่ปลอดภัยรวมทั้งออกซิเจนไม่เพียงพอ เช่นถังน ้ามัน ถังหมัก



ไซโล ท่อ ถัง ถ ้า บ่อ อุโมงค์ เตา ห้องใต้ดิน ภาชนะ หรือสิ่งอืนทมีลักษณะ




คล้ายกันน้ การพจารณาว่าพื้นทใดจัดเปนพื้นทอับอากาศ




























9



1. ค ำจ ำกดควำมพื้นที่อบอำกำศ (Confined Spaces)




หมายถึง















































10



1. ค ำจ ำกดควำมพื้นที่อบอำกำศ (Confined Spaces)




มีปจจัยในการพจารณาดังนี้


1.1 พื้นทซึงปริมาตรมีขนาดเล็ก แกสหรือไอทเกดขึ้นในบริเวณนั้นไม่สามารถ









ระบายออกไปได้ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ทอยูในบริเวณนั้น อาจสูด






ดมเอาแกสพษเข้าไปในร่างกายหรือมออกซิเจนไม่เพียงพอรวมถึงอาจมีแกสทติด
ไฟได้ในบริเวณนั้น

























11

12

13



1. ค ำจ ำกดควำมพื้นที่อบอำกำศ (Confined Spaces)





มีปจจัยในการพจารณาดังนี้









1.2 ผู้ปฏบัติงานคนอืนๆ ทอยูนอกพ้นทนั้นจะเข้าไปสังเกตการณ์หรือช่วยเหลือผู้

ทก าลังปฏิบัติงานได้ยาก



1.3 ช่องเปด ทางเข้า-ออก อยูไกลจากจุดปฏบัติงาน มีขนาดเล็ก หรือมีจ านวน

จ ากัด



























14


2. อนตรำยในพื้นที่อบอำกำศกำรปฏิบัติงำนในพื้นที่อบอำกำศ







อาจมอันตรายต่อสุขภาพพนักงานและความเสียหายอย่างอืน เช่น ทรัพย์สิน

หรืออาจถึงชวิตเลยกได้ซึงสรปพอสังเขปได้ดังนี้




2.1 การขาดออกซิเจน






2.2 ไฟไหม้เนืองจากการระเบิดของแกสทติดไฟได้ (Combustible Gas)



ได้แก่ แกสในตระกูลมเธนและแกสอืน ๆ

2.3 อันตรายจากการสูดดมแกสพษอืนๆตัวอย่างเช่น























15




2. อนตรำยในพื้นที่อบอำกำศกำรปฏิบัติงำนในพื้นที่อบอำกำศ





2.3 อันตรายจากการสูดดมแกสพษอืนๆตัวอย่างเช่น




2.3.1 คาร์บอนมอนนอกไซด์ (Carbonmonoxide)


2.3.2 ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (Hydrogen sulphide)



2.3.3 ไนโตรเจนไดออกไซด์ (Nitrogendioxide)






























16




2. อนตรำยในพื้นที่อบอำกำศกำรปฏิบัติงำนในพื้นที่อบอำกำศ






2.3 อันตรายจากการสูดดมแกสพษอืนๆตัวอย่างเช่น



2.3.1 คาร์บอนมอนนอกไซด์ (Carbonmonoxide)



- เปนแกสไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และหากมีปริมาณมากจะเปนพิษ เกดจากการ



เผาไหม้ไม่สมบูรณ์ของเครืองยนต์ ประมาณ 60% ของปริมาณแกส



คาร์บอนมอนนอกไซด์เกดมาจากไอเสียของรถยนต์




- แกสคาร์บอนมอนนอกไซด์จึงมีปริมาณสูงในบริเวณทมีการจราจร
หนาแน่น นอกจากน้ยังมาจากอีกหลายแหล่งก าเนด เช่น กระบวนการ


ผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม


- การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงในเครืองยนต์อืนๆ ทไม่ใช่ยานพาหนะ หรือการ




เกดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ไฟไหม้ปา เปนต้น





17




2. อนตรำยในพื้นที่อบอำกำศกำรปฏิบัติงำนในพื้นที่อบอำกำศ







2.3 อันตรายจากการสูดดมแกสพษอืนๆตัวอย่างเช่น


2.3.1 คาร์บอนมอนนอกไซด์ (Carbonmonoxide)



- เมือเข้าสูร่างกายโดยผ่านทางปอดแล้วจะแทรกซึมเข้าไปกับระบบ


ไหลเวียนของเลือด ท าให้การท างานของต่อมและเน้อเยอต่างๆ ในร่างกาย






มีประสิทธภาพในการแลกเปลี่ยนออกซิเจนลดลงส าหรับคนทเปนโรคหัวใจ
เมือสัมผัสคาร์บอน-มอนนอกไซด์เข้าไปมักจะเกดผลรนแรง





- ส่วนคนปกติทัวไจะเกดผลต่างกันขึ้นอยูกับสุขภาพของแต่ละบุคคลได้แก่

ความสามารถในการมองเห็นความสามารถในการท างานลดลง ท าให้


เฉอยชา ไม่กระฉับกระเฉง การเรียนร้แย่ และไม่สามารถท างาน



สลับซับซ้อนได้






18

19

20

21




2. อนตรำยในพื้นที่อบอำกำศกำรปฏิบัติงำนในพื้นที่อบอำกำศ





2.3 อันตรายจากการสูดดมแกสพษอืนๆตัวอย่างเช่น




2.3.2 ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (Hydrogen sulphide)



ไม่มีสี มีกลิ่นเหมือนไข่เน่า ละลายได้ในน ้า แกสโซลีน แอลกอฮอล์


- ไฮโดรเจนซัลไฟด์ เกดจากการท าปฏกริยาของซัลไฟด์ของเหล็กกับ


กรดซัลฟูริคหรือกรดไฮโดรคลอริค






- เกดจากการเน่าเปอยของสารอินทรีย์ทมีซัลเฟอร์ เปนองค์ประกอบผลผลิต



จากอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น ปโตรเลียมยางสังเคราะห์ โรงงานน ้าตาล เปน

ต้น













22




2. อนตรำยในพื้นที่อบอำกำศกำรปฏิบัติงำนในพื้นที่อบอำกำศ




2.3 อันตรายจากการสูดดมแกสพษอืนๆตัวอย่างเช่น





2.3.2 ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (Hydrogen sulphide)









ไฮโดรเจนซัลไฟด์เปนแกสติดไฟได้ เมือติดไฟแล้วจะให้เปลวไฟสีน ้า


เงนและเกดแกสซัลเฟอร์ไดออกไซด์ออกมา การสัมผัสไฮโดรเจน-ซัลไฟด์เพียง

เล็กน้อยท าให้เกดการระคายเคืองต่อดวงตาและปอด หากสูดดมเข้าไปมากๆ




อาจจะมีผลท าให้เสียชวิตได้

















23

24




2. อนตรำยในพื้นที่อบอำกำศกำรปฏิบัติงำนในพื้นที่อบอำกำศ






2.3 อันตรายจากการสูดดมแกสพษอืนๆตัวอย่างเช่น



2.3.3 ไนโตรเจนไดออกไซด์ (Nitrogendioxide)












- เปนแกสสีน ้าตาลอ่อน อาจเปนส่วนประกอบส าคัญ อย่างหนึงของหมอกทปก

คลุมอยูตามเมืองทัวไป

- ไนโตรเจนไดออกไซด์เกดจากกระบวนการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์

- หากสูดดมเข้าไปจะท าให้ปอดระคายเคือง และภูมิต้านทานการติดเชื้อของ


ระบบหายใจลดลงเช่น ไข้หวัดใหญ ่


- การสัมผัสสารในระยะสั้นๆ ยังปรากฏผลไม่แน่ชัด แต่หากสัมผัสบ่อยครั้ง




อาจจะเกดผลเฉยบพลันได้




25




2. อนตรำยในพื้นที่อบอำกำศกำรปฏิบัติงำนในพื้นที่อบอำกำศ






2.4 ประสิทธภาพของการมองเห็นลดลงเนองจาก

- แสงสว่างไม่เพียงพอ



- ฝุนละออง





































26




2. อนตรำยในพื้นที่อบอำกำศกำรปฏิบัติงำนในพื้นที่อบอำกำศ




2.5 เสียงดัง


2.6 อุณหภูมิสูง







2.7 การหนออกจากพ้นทเมือเกดกรณฉุกเฉนมีอุปสรรค

































27



3. กำรตรวจวดควำมปลอดภัยในพื้นที่อบอำกำศ





เนืองด้วยปจจัยอันตรายจากการท างานในพื้นทอับอากาศส่วน



ใหญ เกยวข้องกับปริมาณอากาศหรือแกสในบริเวณนั้นซึงจะส่งผลกระทบ





ต่อผู้ปฏบัติงาน นอกเหนอจากการจัดการความปลอดภัยด้านอืนๆ แล้ว








การตรวจสอบสภาพอากาศในพ้นทอับอากาศถอว่าเปนสิ่งส าคัญทสุด การ




ตรวจวัดความปลอดภัยในทน้จึงเน้นทการตรวจสอบสภาพอากาศในพื้นท ่ ี



อับอากาศ


















28



3. กำรตรวจวดควำมปลอดภัยในพื้นที่อบอำกำศ




เนืองด้วยปจจัยอันตรายจากการท างานในพื้นทอับอากาศส่วน




ใหญ เกยวข้องกับปริมาณอากาศหรือแกสในบริเวณนั้นซึงจะส่งผลกระทบ





ต่อผู้ปฏบัติงาน นอกเหนอจากการจัดการความปลอดภัยด้านอนๆ แล้ว การ








ตรวจสอบสภาพอากาศในพื้นทอับอากาศถอว่าเปนสิ่งส าคัญทสุด การ



ตรวจวัดความปลอดภัยในทน้จึงเน้นทการตรวจสอบสภาพอากาศในพื้นท ่ ี



อับอากาศ



















29


กำรตีควำมหมำยและนยำม




30

31


3.1 นยำม








3.1.1 STEL (Short-term ExposureLimit)









หมายถึง ค่าความเข้มข้นสูงสุดทผู้ปฏบัติงานสามารถจะสัมผัสอย่างต่อเนองใน

ช่วงเวลาสั้นๆ (สัมผัสวันละ 4 ครั้งๆ ละ 15 นาท ห่างกัน 1 ชัวโมง)


โดยไม่ได้รับอันตราย เช่น การระคายเคือง มึนเมา หรืออาการเรื้อรัง






























32


3.1 นยำม








3.1.2 TWA (Time-Weight Average)






หมายถึง ค่าเฉลี่ยความเข้มข้นของสารเคมีในอากาศส าหรับการท างาน 8 ชัวโมง




ใน 1 วัน หรือ 40 ชัวโมงต่อสัปดาห์ซึงผู้ปฏบัติงานเกอบทั้งหมดสามารถสัมผัส

(Exposure) ซ ้าแล้วซ ้าอีกวันแล้ววันเล่าโดยปราศจากอันตรายต่อสุขภาพ






























33


3.1 นยำม
























































34


3.1 นยำม



3.1.3







Peak หมายถึง ค่าวิกฤตทวัดได้ในระหว่างช่วงเวลา (อาจจะเปนค่าต าสุดหรือ
สูงสุดก็ได้)

Ceiling หมายถึง ค่าส่วนผสมสูงสุดของ สารพิษซึงคนงานทไม่มีเครืองป้องกันม ี






แนวโน้มอาจสัมผัสแม้แต่ในระยะสั้นๆ คนงานทไม่มีเครืองป้องกันไม่ควรเข้าไปใน






พื้นทอับอากาศซึงมีปริมาณสารพษเกนค่า Ceiling
























35

36


3.1 นยำม








3.1.4 LEL (Lower Exposure Limit)








หมายถึง ขดจ ากัดต าสุดของปริมาณสารทอาจเกดการระเบิดได้




































37


3.1 นยำม








3.1.5 TLV (Threshold Limit Values)







หมายถึง ค่าความเข้มข้นของสารเคมในอากาศและสภาพแวดล้อมซึงเชือว่า



ผู้ปฏบัติงานเกอบทั้งหมดสามารถท างานอยูในสิ่งแวดล้อมนั้นวันแล้ววันเล่าโดย

ปราศจากผลเสียต่อสุขภาพ






ขึ้นอยูกับ



ปจจัย คือ เพศ อายุ และความแข็งแรงทางร่างกาย

















38

39


3.1 นยำม









3.1.6 เปอร์เซ็นต์ ปรมำตร/ปรมำตร






หมายถึง ปริมาตรของแกสคิดเปนเปอร์เซ็นต์ต่อปริมาตรของอากาศ






GAS -- > Detect by …. % by vol





























40


3.1 นยำม








3.1.7 ppm. (Part per million)





หมายถึงส่วนในล้านส่วน







































41

3.1.7 ppm. (Part per million)










เช่นสารเคมี ในพื้นท 1 ส่วนใน ล้านส่วน เปนระดับความรนแรงและหน่วย
ในการช้วัด










































42




สถำบันที่นยำมในเร่องพื้นที่อบอำกำศ






ANSI หมายถึง American National Safety Institute


NIOSH หมายถึง National Institute for Occupational



Safety and Health

OSHA หมายถึง Occupational Safety and Health



Administration


ACGIH หมายถึง A committee of American



Conference of Government Industrial Hygienists















43


3.2 วิธกำรตรวจวัดสภำพอำกำศ






3.2.1 ก าหนดต าแหน่งตรวจวัดให้ครอบคลุมพื้นทปฏบัติงาน



3.2.2 ใช้เครืองมือตรวจสอบปริมาณแกสไปตรวจวัดตามจุดทก าหนด


3.2.3 บันทึกข้อมูลทตรวจวัดได้น ามาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน









































44


3.2 วิธกำรตรวจวัดสภำพอำกำศ













3.3 ชนดของแกสทตรวจวัด โดยทัวไปชนดของแกสทจะตรวจวัดขึ้นอยูกับพื้นทอับ







อากาศทปฏบัติงานนั้นๆ ซึงแต่ละแห่งจะแตกต่างกันออกไปแต่แกสทตรวจสอบ



อย่างน้อย 4 ชนด ดังนี้

3.3.1 แกสออกซิเจน (O2) หน่วยเปนเปอร์เซ็นต์ ปริมาตร/ปริมาตร




3.3.2 แกสไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) หน่วยเปน ppm.


3.3.3 แกสคาร์บอนมอนนอกไซด์ (CO) หน่วยเปน ppm.


3.3.4 แกสติดไฟได้ (Combustible gas) หน่วยเปน % LEL
















45

4. ค่ำมำตรฐำน







4.1 ข้อก าหนดของประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกจสัมพันธ์ เรืองความ





ปลอดภัยในการท างานในพื้นทอับอากาศ ก าหนดมาตรฐานทเกยวข้อง

ดังต่อไปน้


4.1.1 ออกซิเจนไม่ต ากว่า 18 % (V/V)

4.1.2 ไฮโดรเจนซัลไฟด์ 50 ppm. ในเวลา 10 นาท





4.1.3 แกสทติดไฟได้ต้องมีความเข้มข้นได้ไม่เกน 20% ของค่า LEL ของแต่ละ

ชนด


4.2 มาตรฐานอืนๆ




















46

5. ในกำรวิเครำะห์ผลกำรตรวจวดจำกขอมูลขำงต้น สำมำรถวิเครำะห์ได้ดังน้ ี











สมมติให้ค่าแกสต่าง ๆ ทวัดได้เปนดังน้

- ออกซิเจน ต าสุด 20.6 % (V/V) สูงสุด 20.9 % (V/V)

- คาร์บอนมอนนอกไซด์ ต าสุด 0 ppm. สูงสุด 6 ppm.





- แกสทติดไฟได้ ต าสุด 0 % LEL สูงสุด 0 % LEL

- ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ต าสุด 0 ppm. สูงสุด 0 % LEL































47

5. ในกำรวิเครำะห์ผลกำรตรวจวดจำกขอมูลขำงต้น สำมำรถวิเครำะห์ได้ดังน้ ี







5.1 ออกซิเจน 20.6-20.9 % (V/V)







อยูในเกณฑ์มาตรฐาน (19.5-23.5 %) (V/V)








































48

5. ในกำรวิเครำะห์ผลกำรตรวจวดจำกขอมูลขำงต้น สำมำรถวิเครำะห์ได้ดังน้ ี







5.2 คาร์บอนมอนนอกไซด์ สูงสุด 6 ppm.









- ก าหนดให้ผู้ปฏบัติงานอยูในบริเวณน้ 4 ชัวโมง


- ท างานอยูในบริเวณอืน 3 ชัวโมง พัก 1 ชัวโมง


ดังนั้น


TWA = [(6 x 4)+(3 x 0)+(1 x 0)]/(4 + 3 + 1)


TWA = 3 ppm.


แสดงว่าผู้ปฏบัติงานได้รับแกสคาร์บอนมอนอกไซด์ไม่เกนค่ามาตรฐาน



OSHA = 35 ppm.


ACGIH = 10 ppm.


NIOSH = 35 ppm.







49

50


Click to View FlipBook Version