รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านการเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเขม้ ของครูผ้ชู ว่ ย
ครง้ั ที่ ๑ วันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๔ ถงึ ๒๘ เมษายน ๒๕๖๕
โรงเรียนบา้ นนาสรา้ ง(นวิ นามทองอปุ ถมั ภ์ ๒)
สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครปฐม เขต๑
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
องค์ประกอบท่ี ๑ การประเมินผลการปฏิบัตติ น
เกณฑ์การประเมิน บันทึกผลการปฏิบตั ิงาน หลักฐาน/แหลง่ ข้อมูล
๑.วินัยและการรกั ษาวินัย
๑.๑ การแสดงออกทาง ข้าพเจ้าแสดงออกด้านกายภาพ ด้านวาจา • การสัมภาษณ์ผู้บริหาร
อารมณ์ กริ ิยา ทา่ ทาง และพูด ทางอารมณ์ กริยา ท่าทาง และการสื่อสารได้ ครู เพื่อนร่วมงานและ
ส่ือสารได้อยา่ งเหมาะสมกบั เหมาะสมกับกาลเทศะต่อผู้เรียน เช่น การ นักเรียน
กาลเทศะต่อผู้เรยี น พูดจาไพเราะประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง
ที่ดีแก่ลูกศิษย์ ใช้คำพูดที่เหมาะสมและถูกต้อง
ในทุกช่องทางการสื่อสารโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ผ่านช่องทางออนไลน์ซึ่งเป็นช่องทางการติดต่อ
ก ั บ ผ ู ้ เ ร ี ย น ม า ก ท ี ่ ส ุ ด ใ น ส ถ า น ก า ร ณ ์ ป ั จ จ ุบั น
พร้อมทั้งยึดหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนาใน
การดำเนินชีวิต ทำจิตใจให้สงบ ซึ่งส่งผลให้
ข้าพเจ้าสามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
เป็นอย่างดี
๑.๒ การแสดงออกทาง ข้าพเจา้ แสดงออกทางอารมณ์ กริยา ทา่ ทาง • การสัมภาษณ์ผู้บริหาร
อารมณ์ กริ ิยา ท่าทาง และพูด และการสื่อสารได้เหมาะสมกับกาลเทศะต่อ ครู เพื่อนร่วมงานและ
สือ่ สารได้อย่างเหมาะสมกับ ผู้บังคับบัญชาเพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครอง และ ผปู้ กครอง
กาลเทศะต่อผู้บังคบั บัญชา เพือ่ น บคุ คลอื่น เช่น การพูดจาไพเราะ มสี มั มาคารวะ
รว่ มงาน ผ้ปู กครอง และบุคคล อ่อนน้อมถ่อมตนเชื่อฟังและปฏิบัติตามคำส่ัง
อื่น ของผ้บู ังคับบญั ชา
๑.๓ การมเี จตคตเิ ชิงบวกกับ ข้าพเจ้าปฏิบัติตนเปน็ ผู้มีคณุ ธรรม จริยธรรม • การสัมภาษณ์ผู้บริหาร
ประเทศชาติ เพอ่ื การเป็นครทู ่ีประกอบดว้ ยคณุ งามและความ ครู เพื่อนร่วมงานและ
ดีด้วยความคิดที่อยากร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการ นกั เรียน
พัฒนาประเทศชาติ ซึ่งกระทำด้วยความสำนึก • การสงั เกตพฤติกรรม
ในจิตใจ เช่น ความเสียสละ มีน้ำใจ ความ
เกรงใจ ความยุติธรรม ความเห็นอกเห็นใจ การ
มีมารยาทที่งดงาม เคารพใน 3 สถาบันหลัก
ของชาติ มอบความรักและความเมตตาต่อศิษย์
เกณฑ์การประเมนิ บันทึกผลการปฏบิ ตั ิงาน หลักฐาน/แหลง่ ข้อมลู
๑.๔ การปฏบิ ตั ติ ามกฎ เพื่อเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนระบบ
ระเบียบ หลกั เกณฑ์ท่ีเกยี่ วข้อง
กับความเปน็ ข้าราชการ การศึกษาให้มีคุณภาพและพัฒนาประเทศชาติ
๑.๕ การปฏบิ ตั ติ ามกฎ ให้มีความเจริญกา้ วหนา้ ต่อไป
ระเบยี บ หลกั เกณฑ์ท่เี กี่ยวข้อง
กับความเป็นข้าราชการครู ข้าพเจ้าปฏิบัติตนตามกฎหมาย ระเบียบ • การสมั ภาษณ์ผ้บู ริหาร
๑.๖ การปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย แบบแผน หลกั เกณฑแ์ ละวิธปี ฏบิ ัติราชการ โดย ครู เพอื่ นร่วมงานและ
๒.คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม เป็นบุคคลที่เคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย นักเรียน
๒.๑ การปฏิบัติตนตามหลกั
รักษาระเบียบวินัยของทางราชการ กระทำตน • การสังเกตพฤติกรรม
ศาสนาทน่ี บั ถืออยา่ งเครง่ ครัด
เป็นแบบอย่างที่ดี มีหลักในการปฏิบัติหน้าที่
ของครูอย่างชัดเจนยตุ ิธรรม
ข้าพเจ้าปฏิบัติตนตามกฎหมายและกระทำ • การสัมภาษณผ์ ูบ้ ริหาร
ตนให้เป็นประโยชนต์ ่อตนเองและสังคม โดยใช้ ครู เพ่อื นรว่ มงานและ
เหตุผลและวิจารณญาณในการตัดสินใจเลือก นกั เรยี น
ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจนบรรลุ • การสังเกตพฤติกรรม
เป้าหมายหน้าที่ข้าราชการ ในฐานะเป็น • สมุดลงเวลาการ
พลเมอื งท่ีดี ยึดมน่ั ในหลักศีลธรรมและคณุ ธรรม ปฏบิ ตั ิงาน
ทางพระพทุ ธศาสนาในการชว่ ยเหลอื ผอู้ ืน่
ข้าพเจ้ารักษาวินัยที่เป็นข้อห้ามและข้อ • การสัมภาษณ์ผ้บู รหิ าร
ปฏิบัติอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ โดยศึกษา ครู เพอ่ื นร่วมงานและ
กฎหมายต่างๆ ทั้งกฎหมายแพ่ง และกฏหมาย นกั เรยี น
อาญา รวมถึงพระราชบัญญัติ ระเบียบ • การสังเกตพฤติกรรม
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. • สมดุ ลงเวลาการ
๒๕๔๗ เพื่อยึดถือปฏิบัติตามเตือนตนมิให้ ปฏิบัตงิ าน
กระทำความผิดทางกฎหมาย วินัยราชการให้
เสื่อมเสียซึ่งเกียรติ ศักดิ์ศรี ความเชื่อมั่นจาก
สังคม ไม่ว่าจะด้วยวาจา และกระทำการใดท่ไี ม่
ขัดต่อกฏหมายหรือการขอหรือต่อใบอนุญาต
ต่างๆ
ข้าพเจ้าปฏบิ ัตติ นเปน็ พทุ ธศาสนิกชนทีด่ ี • การสมั ภาษณ์ผู้บรหิ าร
เคารพเลื่อมใสและศรทั ธาในพระรตั นตรยั ต้งั ครู เพอ่ื นรว่ มงานและ
ม่ันอยใู่ นศีล 5 เปน็ พลเมืองท่ีดีของประเทศชาติ นักเรยี น
ปฏบิ ตั ติ ามหลักธรรมคำสอนของ ใหค้ วาม • การสงั เกตพฤตกิ รรม
เคารพนบั ถือ เอาใจใสท่ ำนุบำรุง และบำเพ็ญ
ประโยชนต์ อ่ วดั และพระสงฆ์ และนำแนว
ทางการปฏบิ ตั ิตนของพระสงฆ์ มาเปน็
แบบอย่างทีด่ ีงามในการดำเนินชีวติ เพอื่ ความ
เหมาะสมแกก่ ารเปน็ ครูท่ีประกอบดว้ ยคุณงาม
เกณฑ์การประเมนิ บนั ทกึ ผลการปฏิบัติงาน หลกั ฐาน/แหลง่ ข้อมูล
และความดี ซึ่งกระทำด้วยความสำนกึ ในจติ ใจ
เชน่ มีการยึดหลักธรรมพรหมวิหาร ๔ คอื ๑.
เมตตาต่อศิษย์ มีความรักศษิ ย์ ปรารถนาจะให้
ศษิ ย์เปน็ สุข
๒. มคี วามกรณุ าต่อศษิ ย์ ชว่ ยเหลอื ให้
คำแนะนำ อบรมส่ังสอนใหศ้ ิษยป์ ระพฤตติ น
อยา่ งเหมาะสม และอยูร่ ว่ มกับผอู้ ื่นอยา่ งเปน็
สุข
๓. มีมฑุ ติ าจิต คือมคี วามยนิ ดเี สมอเมอื่
ศิษยไ์ ด้ดี พร้อมกับกล่าวยกย่องชมเชยใน
ความสามารถของเขา
๔. มอี ุเบกขา คือ มกี ารพยายามวางเฉย
ตอ่ บางพฤติกรรมก้าวรา้ วทศ่ี ิษย์แสดงออกมา
โดยไม่ตงั้ ใจ คือ ไมโ่ กรธตอบ แตจ่ ะพยายามพดู
เตอื นดีๆ ดว้ ยอารมณ์และน้ำเสียงปกติ
อิทธิบาท 4 มาใช้ในเปน็ แนวทางใน
การดำเนนิ ชวี ิตและการทำงาน
ฉนั ทะ (ความพอใจ)ความต้องการทีจ่ ะทำงาน
รักทจี่ ะทำงานในอาชีพครู และมีการพัฒนา
ตนเองอยเู่ สมอ
วิริยะ (ความเพียร)ขยันมั่นเพียรในการสอน ไม่
ทอ้ ถอยกบั อปุ สรรคหรือปญั หาท่ีเกี่ยวเนอื่ งกับ
การสอนมีความอดทน อดกลั้น
จิตตะ (ความคิด)มีความรู้ คิดแก้ไขปัญหาใน
การสอน ร้หู นา้ ทแี่ ละปฏบิ ตั อิ ยา่ งเสมอต้นเสมอ
ปลาย
วมิ ังสา (ความไตร่ตรองหรือทดลอง)มีการ
วางแผน จดั ทำแผนการสอน วธิ ปี ระเมนิ ผล
และพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของผเู้ รยี น
๒.๒ การเขา้ ร่วม สง่ เสริม ข้าพเจ้ามสี ่วนร่วมในการปฏบิ ตั ิศาสนกิจของ • การสมั ภาษณ์ผ้บู รหิ าร
สนบั สนนุ ศาสนกจิ ของศาสนาท่ี พุทธศาสนิกชนในชีวิตประจำวัน เช่น การไหว้ ครู เพื่อนร่วมงานและ
นับถืออยา่ งสม่ำเสมอ พระสวดมนต์ แผ่เมตตา การทำบุญตักบาตร นกั เรยี น
การเข้าวัดฟังธรรม และเข้าร่วมกิจกรรมวัน • การสังเกตพฤตกิ รรม
สำคัญทางพระพุทธศาสนาอย่างต่อเนื่องใน • ภาพกจิ กรรม
รูปแบบปกติและออนไลน์ตามความเหมาะสม • เกียรติบัตร
เกณฑก์ ารประเมนิ บันทึกผลการปฏบิ ัติงาน หลกั ฐาน/แหล่งข้อมลู
รวมถึงการสอนและส่งเสริมให้นักเรียนรู้จัก
หลักธรรมเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต การ
ฝึกจิตเจริญปัญญา เห็นคุณค่าของการศึกษา
พระพุทธศาสนาในฐานะเป็นศาสนาประจำชาติ
ไทย รวมถึงการปฏิบัติตามหลักศาสนาที่
นักเรียนนับถือ ทำให้ข้าพเจ้ามีสิริมงคลแก่ชีวิต
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมี
ความสขุ
๒.๓ การเห็นความสำคญั เข้า ขา้ พเจา้ เห็นความสำคัญของ จารีตประเพณี • การสมั ภาษณ์ผู้บรหิ าร
ร่วมสง่ เสริม สนบั สนุน เคารพ วัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ ซ่ึงเป็นมรดกที่สืบทอดตอ่ กัน ครู เพื่อนร่วมงานและ
กิจกรรมท่ีแสดงถงึ จารีต มาและทุกคนในท้องถน่ิ ย่อมมีความภาคภมู ิใจ นักเรยี น
ประเพณี วัฒนธรรม ท้องถิน่ หรือ ในการเปน็ เจา้ ของรว่ มกนั เกิดความหวงแหน • การสงั เกตพฤติกรรม
ชมุ ชน และรกั ษา การเรยี นการสอนหรือกิจกรรม • ภาพกจิ กรรม
พฒั นาผเู้ รยี นหลายๆกจิ กรรมของขา้ พเจ้ายนิ ดี
ใหค้ วามร่วมมือกับผ้ปู กครอง ชุมชน เพ่อื มสี ่วน
ช่วยในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เห็นถึง
ความสำคัญของวัฒนธรรมท้องถน่ิ เชน่ ความ
เชอื่ การเข้ารว่ มประเพณที างศาสนา ภาษา
ประวัตศิ าสตร์ การอนรุ กั ษ์ศิลปวัฒนธรรม ของ
ท้องถ่ิน สงิ่ เหล่านจ้ี ะเป็นความเจริญงอกงามที่
ปลูกฝังอยใู่ นตัวผเู้ รียนและให้เกดิ ความรักความ
หวงแหน การสบื สานวฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ สืบ
ต่อไป
๒.๔ การเหน็ ความสำคัญ เขา้ ข้าพเจ้ารักและหวงแหนในวัฒนธรรมไทย • การสัมภาษณผ์ บู้ ริหาร
ร่วมสง่ เสริม สนับสนุน เคารพ จารตี และประเพณี เชน่ ภาษาไทย การแตง่ กาย ครู เพอื่ นรว่ มงานและ
กิจกรรมท่ีแสดงถงึ จารีต การเข้ารว่ มประเพณตี ่างๆของศาสนา ประเพณี นกั เรยี น
ประเพณี วฒั นธรรมของชาติ สำคญั ประจำชาติ จงรกั ภักดีในพระมหากษัตริย์ • การสงั เกตพฤติกรรม
การแสดงออกทางสังคม เช่น การอ่อนนอ้ มถ่อม • ภาพกิจกรรม
ตน การเคารพผูท้ ีอ่ าวุโสกว่า มีความกตัญญู ต่อ
บิดา มารดา และผู้มีพระคุณ เคารพธงชาติและ
ร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงทุกเช้ามิได้ขาด จนเป็น
ที่ประจักษ์แก่สายตาของนักเรียนและเพื่อน
ร่วมงาน ร่วมถึงแต่งกายชุดพื้นเมืองรักษา
ขนบธรรมเนียม ประเพณีไทยทุกครั้งเมื่อมี
โอกาส
เกณฑก์ ารประเมนิ บนั ทกึ ผลการปฏิบัติงาน หลกั ฐาน/แหล่งข้อมลู
๒.๕ การมจี ติ บริการ และจิต ข้าพเจา้ ใหม้ คี วามเตม็ ใจที่จะให้บรกิ ารแก่ • การสมั ภาษณผ์ ู้บริหาร
สาธารณะ ผู้ปกครองนักเรยี นที่มาติดต่อราชการกับทาง ครู เพื่อนร่วมงานและ
โรงเรียนด้วยความเต็มใจและมีจติ อาสาในการ นกั เรียน
ร่วมงานกบั ทางชุมชน มจี ิตสาธารณะเป็นการ • การสงั เกตพฤติกรรม
กระทำดว้ ยจิตวญิ ญาณท่ีมีความรกั ความห่วงใย • ภาพกจิ กรรม
ความเอ้ืออาทรต่อคนอื่นและสังคมโดยรวม การ
มีคุณธรรมจริยธรรม และการไม่กระทำท่เี ส่อื ม
เสยี หรือเป็นปัญหาต่อสังคมและประเทศชาติ
๒.๖ การต่อต้านการกระทำ ข้าพเจ้ายดึ ม่ันในหลกั ธรรมคำสอนของ • การสมั ภาษณผ์ บู้ รหิ าร
ของบุคคลหรอื กลมุ่ บคุ คลท่ีส่งผล พระพทุ ธศาสนามาใช้ในการดำเนินชีวิตและ ครู เพอื่ นรว่ มงานและ
ต่อความมัน่ คงของชาติหรือ เป็นแบบอยา่ งทด่ี ใี หแ้ กศ่ ิษย์ และบคุ คลอ่นื ๆ นกั เรียน
ผลกระทบเชงิ ลบต่อสงั คม ดำรงชีพตามทางสายกลาง รว่ มสนับสนุนและ • การสังเกตพฤติกรรม
โดยรวม ส่งเสรมิ เพ่อื ต่อตา้ นการกระทำของบุคคลหรือ
กลุ่มบคุ คลทส่ี ่งผลต่อความม่ันคงของชาติหรือ
ผลกระทบเชิงลบต่อสงั คมโดยรวมท้ังด้าน
เจตนารมณ์และเชิงสัญลักษณ์
๓.จรรยาบรรณวชิ าชีพ
๓.๑ การพัฒนาวิชาชพี และ ขา้ พเจา้ ปฏบิ ตั ติ นเหมาะสมกบั ความเปน็ ครู • การสมั ภาษณผ์ บู้ ริหาร
บุคลกิ ภาพอยา่ งต่อเนื่อง ตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู และมกี ารพัฒนา ครู เพอ่ื นร่วมงานและ
ตนจนเป็นผู้ท่ีประพฤตปิ ฏิบตั ิตนตาม นักเรียน
จรรยาบรรณวิชาชพี ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม • คำสัง่ ปฏิบตั หิ นา้ ท่ี
• บนั ทึกข้อความรายงาน
ผลการเข้ารว่ มกิจกรรม
• ภาพกิจกรรม
๓.๒ การมวี ิสัยทัศน์ รูแ้ ละ ขา้ พเจา้ มีความมุ่งหวงั ความเจริญกา้ วหน้า • การสมั ภาษณผ์ ูบ้ ริหาร
เข้าใจ สนใจ ตดิ ตามความ โดยกำหนดเป้าหมายในการปฏิบัตงิ าน และ ครู เพื่อนรว่ มงานและ
เปล่ยี นแปลงด้านวิทยาการ การศึกษาต่อ โดยมีการติดตามข่าวการ นักเรียน
เศรษฐกจิ สงั คม การเมืองของ เคล่อื นไหวทางการศึกษาในเร่ืองความกา้ วหน้า • การสงั เกตพฤติกรรม
ไทย และนานาชาติในปจั จบุ นั ในวชิ าชพี อยู่เสมอ เพ่ือจะได้นำมาวางแผนและ • ภาพกจิ กรรม
ปรบั ตัว เพื่อความก้าวหนา้ ในวิชาชพี
๓.๓ การไม่อาศัยวชิ าชพี ข้าพเจา้ เหน็ คณุ คา่ และความสำคญั ของการ • การสมั ภาษณ์ผ้บู รหิ าร
แสวงหาผลประโยชนท์ ่ไี ม่ถูกต้อง เปน็ ครทู ี่ดีอยเู่ สมอ โดยมีความรกั และศรทั ธาใน ครู เพ่อื นร่วมงานและ
วิชาชีพครู พงึ กระทำตนใหเ้ ป็นแบบอยา่ งท่ีดตี ่อ นกั เรยี น
ศิษยท์ ้งั ทางตรงและทางอ้อม ไม่เคยอาศัย • การสงั เกตพฤตกิ รรม
วชิ าชีพ อำนาจ หรือแมแ้ ต่ความเช่อื ม่ันจาก
สงั คม ไปแสวงหาผลประโยชน์ให้ตนเองหรือให้
ผอู้ ่นื อาศยั อำนาจหน้าที่ของตน แสวงหา
เกณฑ์การประเมิน บนั ทึกผลการปฏบิ ัติงาน หลกั ฐาน/แหล่งขอ้ มลู
๓.๔ การมงุ่ มั่นตอ่ การพัฒนา ผลประโยชน์โดยไมถ่ ูกต้อง อีกทง้ั ยงั ใหเ้ กยี รติ • การสัมภาษณ์ผู้บริหาร
ความรู้ ความสามารถของผ้เู รียน ผู้อนื่ รับฟังความคิดเหน็ ไมค่ ิดดหู มน่ิ หรอื ดูถกู ครู เพื่อนรว่ มงานและ
มคี วามเสมอภาค ให้กบั ทกุ ๆคนอยู่บนพน้ื ฐาน นักเรยี น
ความถกู ตอ้ ง เหตุและผล • การสังเกตพฤตกิ รรม
• ภาพกจิ กรรม
ข้าพเจ้าม่งุ มั่นในการทำงาน โดยไม่มคี วาม
ย่อท้อตอ่ ปัญหาและอปุ สรรคที่เกิดขึน้ เพอ่ื ให้
บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้โดยคำนงึ ถึง
ประโยชนส์ งู สดุ ของผเู้ รียน มีการปรบั เปล่ียน
เพื่อใหส้ อดคล้องกบั สถานการณใ์ นปัจจบุ ันที่
ตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วม
๓.๕ การให้ความสำคัญต่อการ ขา้ พเจา้ เข้าร่วมการประชุม/การอบรม • การสัมภาษณ์ผู้บริหาร
ครู เพ่ือนร่วมงานและ
เข้าร่วมสง่ เสริม สนบั สนุน ความรู้ทีเ่ ก่ยี วข้องกับการศกึ ษาอยู่เสมอ เม่อื นักเรียน
• คำสั่งปฏิบัตหิ นา้ ท่ี
กจิ กรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับวิชาชพี ครู เสร็จสน้ิ การจัดกจิ กรรม ข้าพเจ้าทำการบนั ทึก • บนั ทึกข้อความรายงาน
ผลการเขา้ รว่ มกจิ กรรม
อยา่ งสม่ำเสมอ และสรุปผลการเขา้ รว่ มกิจกรรม นำความรู้ท่ี • ภาพกิจกรรม
ได้รับมาพัฒนาตนเองและผเู้ รยี น และรายงาน
ผลใหผ้ ู้บริหารรับทราบอยเู่ สมอ
๓.๖รัก เมตตา เอาใจใส่ ขา้ พเจ้ามีความรักและศรัทธาในวชิ าชีพครู • การสมั ภาษณ์ผู้บริหาร
ชว่ ยเหลือ ส่งเสริม สนับสนนุ พึงกระทำตนให้เป็นแบบอยา่ งท่ีดตี อ่ ศษิ ย์ทั้ง ครู เพ่อื นร่วมงานและ
ให้บรกิ ารผู้เรยี นทุกคนดว้ ยความ ทางตรงและทางอ้อม สง่ เสริม สนบั สนุน นักเรยี น
เสมอภาค ช่วยเหลอื ศษิ ยเ์ สมอมาใช้หลักธรรม พรหม • การสงั เกตพฤตกิ รรม
วหิ าร 4 ในการอยูร่ ่วมและปฏบิ ตั ติ ่อผู้เรียน
พรหมวหิ าร 4 หรือ พรหมวิหารธรรม เป็น
หลักธรรมประจำใจเพื่อใหต้ นดำรงชีวติ ได้อย่าง
ประเสริฐและบริสทุ ธเ์ิ ฉกเช่นพรหม เปน็ แนว
ธรรมปฏิบตั ขิ องผทู้ ผ่ี ู้ปกครอง และการอยู่
รว่ มกับผ้อู นื่ ประกอบด้วยหลักปฏิบัติ 4
ประการ ไดแ้ ก่
1. เมตตา คือ ความรักใคร่ ปรารถนาดีอยาก
ให้เขามีความสุข มีจติ อันแผ่ไมตรีและคิดทำ
ประโยชนแ์ ก่มนุษย์สตั ว์ทัว่ หน้า
2. กรุณา คอื ความสงสาร คิดชว่ ยใหพ้ ้นทกุ ข์
ใฝ่ใจในอันจะปลดเปล้ืองบำบัดความทกุ ขย์ าก
เดือดรอ้ นของปวงสัตว์
เกณฑ์การประเมนิ บันทึกผลการปฏบิ ตั ิงาน หลักฐาน/แหลง่ ข้อมลู
3. มุทิตา คือ ความยนิ ดี ในเมื่อผอู้ ื่นอยู่ดมี สี ุข
มีจติ ผ่องใสบนั เทิง ประกอบด้วยอาการแช่มช่ืน
เบิกบานอยูเ่ สมอ ต่อสัตว์ทัง้ หลายผดู้ ำรงใน
ปกตสิ ขุ พลอยยินดดี ว้ ยเม่ือเขาได้ดีมสี ขุ เจรญิ
งอกงามยิ่งขนึ้ ไป
4. อุเบกขา คือ ความวางใจเป็นกลาง อันจะ
ให้ดำรงอยู่ในธรรมตามท่ีพิจารณาเห็นดว้ ย
ปัญญา คือมจี ติ เรยี บตรงเทยี่ งธรรมดจุ ตาชั่ง ไม่
เอนเอยี งด้วยรักและชัง พจิ ารณาเหน็ กรรมท่ี
สัตว์ทง้ั หลายกระทำแล้ว อนั ควรไดร้ ับผลดีหรอื
ชั่ว สมควรแก่เหตอุ นั ตนประกอบพร้อมท่จี ะ
วินิจฉัยและปฏิบตั ไิ ปตามธรรม รวมท้ังรู้จกั วาง
เฉยสงบใจมองดู ในเม่ือไมม่ ีกิจท่ีควรทำ เพราะ
เขารับผิดชอบตนได้ดแี ล้ว เขาสมควร
รับผดิ ชอบตนเอง หรือเขาควรได้รบั ผลอันสม
กบั ความรับผดิ ชอบของตน
๓.๗ การประพฤติปฏิบัตติ น ข้าพเจ้าอย่ใู นระเบียบวินยั ปฏิบัติตามคำสัง่ • การสัมภาษณผ์ ู้บรหิ าร
เปน็ ทยี่ อมรับของผู้เรยี นผู้บริหาร ของผู้บังคบั บญั ชาอย่างสม่ำเสมอ มคี วามย้ิม ครู เพอ่ื นร่วมงานและ
เพื่อนรว่ มงาน ผ้ปู กครอง และ แยม้ แจ่มใส และเปน็ มิตรกับเพอ่ื นรว่ มงาน และ นักเรียน
ชมุ ชน นกั เรยี น รวมไปถึงผปู้ กครองนักเรียนและชุมชน • การสังเกตพฤตกิ รรม
แวดลอ้ มของโรงเรียน ดำรงตนดว้ ยความสุภาพ
๓.๘ การไมป่ ฏิบตั ิตนทส่ี ่งผล ออ่ นน้อม สำรวมในกริ ยิ ามารยาท และการ • การสมั ภาษณผ์ ู้บริหาร
เชงิ ลบต่อกายและใจของผเู้ รียน แสดงออกดว้ ยปยิ วาจา แตง่ กายสะอาด ครู และนกั เรยี น
เรยี บรอ้ ย และถูกกาลเทศะ • การสงั เกตพฤตกิ รรม
๓.๙ การทำงานกบั ผ้อู ื่นได้โดย
ยึดหลักความสามัคคี เกื้อกลู ซ่ึง ขา้ พเจ้าปฏบิ ัตติ นตามจรรยาบรรณวิชาชพี • การสัมภาษณ์ผู้บริหาร
กันและกัน ครอู ยา่ งเครง่ ครดั ดูแลเอาใจใส่ ให้เกยี รติผู้เรียน ครู เพื่อนรว่ มงานและ
โดยเข้าใจถึงความต่างแต่ละบุคคล มคี วามรัก นกั เรยี น
๓.๑๐ การใช้ความรู้ และเมตตา ใชค้ ำพูดและการแสดงออกท่ีไม่ • การสงั เกตพฤติกรรม
ความสามารถท่ีมีอยู่ นำใหเ้ กิด คกุ คามทงั้ ด้านร่างกายและจิดใจ • การสัมภาษณ์ผ้บู รหิ าร
ความเปลยี่ นแปลงในทางพฒั นา ครู เพ่ือนรว่ มงานและ
ขา้ พเจ้าปฏิบัติงานตา่ งๆ ท่ีทางโรงเรียน นกั เรยี น
มอบหมาย ให้ความรว่ มมือกับคณะครู ในการ
ทำกิจกรรมตา่ งๆ ทั้งในและนอกสถานศึกษา
ด้วยความเตม็ ใจ
ขา้ พเจา้ ต้ังใจปฏบิ ัตหิ น้าท่ีในการถา่ ยทอด
ความรู้ ทักษะที่ตนเองมใี ห้กับนักเรยี นโดยมิได้
ปดิ บัง พยายามศกึ ษาคน้ คว้า หาความรู้เพิ่มเตมิ
เกณฑก์ ารประเมิน บนั ทึกผลการปฏบิ ตั ิงาน หลกั ฐาน/แหลง่ ข้อมูล
ให้กบั ผเู้ รียน โรงเรียน หรอื ชุมชน เพ่ือพัฒนาตนเอง ติดตามข่าวสาร และเข้า • การสงั เกตพฤตกิ รรม
ในด้านใดดา้ นหนง่ึ (ดา้ นอนรุ ักษ์ อบรมเทคนิคใหมๆ่ นำมาชว่ ยพฒั นาการเรยี น • ภาพกจิ กรรม
ศลิ ปวฒั นธรรม ภูมิปัญญา และ การสอน ให้กบั นักเรยี นเพอ่ื ใหน้ ักเรยี นเป็น
สง่ิ แวดลอ้ ม) บุคคลทม่ี ีความรู้ ทักษะ และทนั ตอ่ เหตุการณ์
สามารถนำความรู้ทไี่ ด้ไปพัฒนาชมุ ชนและ
ทอ้ งถ่นิ
๓.๑๑ การยดึ ม่นั ในการ ข้าพเจ้าได้ประพฤติปฏบิ ตั ิตน ในการใช้สิทธิ • การสัมภาษณผ์ บู้ ริหาร
ปกครองระบอบประชาธิปไตย และหนา้ ทีต่ ามระบอบประชาธปิ ไตย โดยการ ครู เพ่ือนร่วมงานและ
อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็น ไปใช้สทิ ธใิ นการเลือกตงั้ ทกุ ครง้ั ทมี่ ีสิทธิในการ นกั เรียน
ประมขุ เลอื กต้ัง เชน่ การเลือกตงั้ สมาชกิ ผ้แู ทนราษฎร • การสังเกตพฤตกิ รรม
สมาชิกองค์การบรหิ ารสว่ นตำบล การเลือกตง้ั • ภาพกจิ กรรม
ครู หรอื ตวั แทนครูในการเขา้ ไปทำหนา้ ท่ี
หรือหน่วยงานต่างๆ ด้วยความซ่ือสตั ย์รวมทั้ง
การมีสว่ นร่วมในการส่งเสรมิ สนับสนุน
กิจกรรมที่เกยี่ วข้องเชน่ ใหค้ วามรว่ มมือกับทาง
คณะกรรมการสำนักงานเลือกต้งั ร่วมเป็น
คณะกรรมการในการเลือกต้งั การสอนนักเรยี น
ในเรอ่ื งการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุขให้นกั เรียน
เข้าใจอย่างแท้จรงิ เกิดการตระหนักถึง
ความสำคัญ จนนำไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ การ
แสดงออกทางการปกครองในระบอบ
ประชาธปิ ไตยท่ีถูกต้อง กิจกรรมท่ีช่วยส่งเสริม
เช่น สอดแทรกประชาธิปไตยในชนั้ เรยี นจาก
การเลือกตวั แทนหวั หน้าหอ้ ง เปน็ ตน้
๔.การดำรงชวี ติ ตามหลกั ข้าพเจา้ ตระหนักถงึ คุณค่าของการดำเนิน • การสมั ภาษณผ์ ้บู ริหาร
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงโดยการเขา้ ครู เพ่อื นรว่ มงานและ
อบรมความรู้เก่ียวกบั หลกั สูตรปรชั ญาเศรษฐกจิ นักเรียน
๔.๑ มีความรู้ ความเข้าใจ พอเพียง และพยายามน้อมนำหลกั ปรชั ญาของ • การสงั เกตพฤติกรรม
เก่ียวกบั หลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงมาใชใ้ นชีวิตประจำวัน เพื่อ • ภาพกจิ กรรม
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ความมน่ั คง สมดลุ ย่ังยืนของตนเองในปัจจุบนั
และอนาคต
เกณฑ์การประเมนิ บันทึกผลการปฏบิ ัติงาน หลักฐาน/แหล่งขอ้ มูล
๔.๒ มีการนำหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งไปปรบั ขา้ พเจา้ นำหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมา • การสมั ภาษณ์ผู้บริหาร
ประยกุ ต์ใช้กบั การจัดการเรยี น
การเรยี นรใู้ นหอ้ งเรียน สอดแทรกในการสอนของนกั เรียน พบวา่ ครู เพือ่ นร่วมงานและ
๔.๓ มีการนำหลักปรัชญาของ นกั เรียนมีความรู้ความเขา้ ใจในหลักปรชั ญาของ นักเรยี น
เศรษฐกจิ พอเพียงไปปรับ
ประยุกตใ์ ช้กบั ภารกจิ ท่ีได้รับ เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำหลกั ของความ • การสังเกตพฤตกิ รรม
มอบหมายอืน่
พอเพยี ง คือ พอประมาณ มีเหตผุ ล มีภมู ิคุ้มกัน • แผนการจัดการเรยี นรู้
๔.๔ มกี ารนำหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงไปปรับ ที่ดใี นตัว บนเง่อื นไขของความรคู้ คู่ ุณธรรม • ภาพกจิ กรรม
ประยกุ ตใ์ ช้กบั การดำรงชวี ิตของ
ตนเอง นกั เรยี นนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้
ข้าพเจ้าปฏิบัตหิ น้าท่ขี ้าราชการ ทัง้ งานใน • การสัมภาษณ์ผู้บรหิ าร
ด้านการสอน งานตามคำส่งั ท่ีได้รบั มอบหมาย ครู เพื่อนร่วมงานและ
ด้วยความอตุ สาหะ ขยนั อดทน มุ่งมั่นและ นกั เรยี น
รับผิดชอบอยา่ งเต็มรู้ เตม็ ใจ เตม็ เวลา เต็มคน • การสงั เกตพฤตกิ รรม
เตม็ พลัง เอาใจใส่นักเรยี นในด้านการเรยี น และ • ภาพกจิ กรรม
ความประพฤติให้นกั เรียนเป็นผทู้ มี่ ีความรู้
ความประพฤติท่ดี ี สามารถอยูใ่ นสังคมได้อย่าง
มคี วามสุข รับผิดชอบงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย
อยา่ งตง้ั ใจให้เสรจ็ ทนั เวลา พร้อมทง้ั ประพฤติ
ปฏบิ ตั ติ นอยา่ งเรียบงา่ ย มีเหตุและผล และ
ประหยดั โดยใช้ทรัพยากรในหน่วยงานอย่าง
ประหยดั และค้มุ ค่าช่วยลดคา่ ใช้จา่ ยในโรงเรยี น
ดว้ ยการปดิ น้ำปิดไฟทุกครัง้ ที่ไม่ได้ใช้งาน
รวมถงึ การรณรงค์และปลูกจิตสำนึกนกั เรียนใน
การชว่ ยกนั ประหยัดนำ้ ประหยดั ไฟฟ้าทุกครงั้
กอ่ นออกจากห้องเรยี น หรอื ทำกจิ กรรมใดๆ ท่ี
ใชน้ ำ้ หรือไฟ เสร็จแลว้
ขา้ พเจ้าดำเนนิ ชีวิตโดยยดึ หลกั ปรชั ญาของ • การสัมภาษณ์ผูบ้ รหิ าร
เศรษฐกจิ พอเพียงของในหลวงรัชกาลท่ี 9 การ ครู เพอ่ื นร่วมงานและ
ดำเนนิ ชีวิตอย่างมีภูมิคมุ้ กันที่ดี ความ นักเรยี น
พอประมาณ ความมเี หตุผล คือ เมื่อมีรายรบั • การสังเกตพฤติกรรม
จะมีการบริหารจัดการอยา่ งพอประมาณ
ประหยดั ไมฟ่ มุ่ เฟือย จดั ทำรายรบั -รายจา่ ยของ
ตนเองผ่านแอพพลิเคชน่ั เพือ่ สามารถควบคุม
ระดบั การใช้จ่ายของตน ไม่ให้เกนิ ตวั จนเกดิ หน้ี
สะสมและมจี ดั สรรปนั สว่ นในการออมเงนิ ที่
หลากหลายรปู แบบ เชน่ สลากออมสิน การเปน็
สมาชิกสหกรณ์ออมทรพั ย์ครู สมาชิก กบข.
สมาชกิ กองทุนหมบู่ ้าน มีเหตุและผลทกุ ครั้งใน
การตดั สินใจ และมคี วามรเู้ ท่าทันต่อการ
เกณฑก์ ารประเมิน บนั ทึกผลการปฏบิ ัติงาน หลกั ฐาน/แหล่งข้อมลู
เปลย่ี นแปลงของสงั คมโลกโดยอาศัยความรู้
และคณุ ธรรมเพื่อความสมดลุ มั่นคง ยง่ั ยนื
๔.๕ เป็นแบบอยา่ งในการนำ ข้าพเจ้าปฏบิ ัตติ นเปน็ แบบอย่างทดี่ ีแกล่ ูก • การสมั ภาษณผ์ ู้บริหาร
หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไป ศิษย์ ใชช้ วี ติ บนทางสายกลาง ยดึ หลักปรชั ญา ครู เพื่อนรว่ มงานและ
ปรบั ประยกุ ต์ใช้กบั ภารกจิ ต่างๆ ของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการดำเนนิ ชีวิต นักเรียน
หรือการดำรงชวี ิตของตน และเป็นผ้ใู ฝร่ ู้ ใฝเ่ รียน และใฝ่พัฒนาตนเอง • การสังเกตพฤติกรรม
อย่างต่อเนอ่ื ง มกี ารปรับปรุงพฒั นางานการ
สอนอยเู่ สมอ
๕. จติ วญิ ญาณความเป็นครู
๕.๑ การเขา้ สอนตรงเวลาและ ข้าพเจ้าปฏบิ ตั หิ นา้ ทท่ี ่ีได้รับมอบหมายอย่าง • แผนการจัดการเรยี นรู้
สอนเต็มเวลา เต็มความสามารถ เตม็ เวลา เอาใจใส่ต่อการ • การสมั ภาษณผ์ บู้ ริหาร
ปฏบิ ัตหิ น้าทีอ่ ยา่ งสม่ำเสมอ โดยมีการวาง ครู เพือ่ นรว่ มงานและ
แผนการสอนลว่ งหนา้ จัดทำ และจัดหาสื่อ จดั นกั เรยี น
กจิ กรรมโดยเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ ไมล่ ะทิง้ การ • การสังเกตพฤติกรรม
สอนกลางคนั มีการปรับปรุงพฒั นางานการ • บนั ทกึ การลงเวลามา
สอนอยเู่ สมอ ปฏบิ ตั ิราชการ
๕.๒ การตระหนักในความรู้ ข้าพเจ้ารู้และตระหนกั ในหน้าท่ขี องครู ดงั น้ี • การสัมภาษณ์ผบู้ รหิ าร
และทกั ษะทถ่ี ูกต้องรวมถงึ สิง่ ท่ี ๕.๒.๑ งานสอน คือ มีการเตรียมการสอนและ ครู เพือ่ นร่วมงานและ
ดีๆ ให้กับผ้เู รียน วางแผนการสอน นกั เรียน
๕.๒.๒ งานครู คือ ครูต้องรับผดิ ชอบงานดา้ น • การสงั เกตพฤติกรรม
ต่างๆ เชน่ งานธรุ การ งานบริหาร งานบริการ
และงานอ่ืนๆ ที่ทาใหอ้ งค์กรก้าวหนา้
๕.๒.๓ งานนกั ศึกษา คอื ใหเ้ วลาในการอบรม
สงั่ สอน เมื่อศษิ ยต์ ้องการคำแนะนำหรอื การ
ช่วยเหลอื
๕.๓ การสรา้ งความเสมอภาค ขา้ พเจ้าพยายามเรียนรู้และศกึ ษาผเู้ รียนเป็น • การเยี่ยมบา้ นนักเรียน
เปน็ ธรรมกับผเู้ รียนทกุ คน รายบุคคล เพื่อจะได้ทราบความตอ้ งการ สภาพ • การศึกษานักเรยี นเปน็
สังคม เศรษฐกิจ ครอบครวั ของนักเรียนเปน็ รายบุคคล
รายบคุ คล แลว้ นำผลท่ีได้ไปใช้ในการจัด • การสัมภาษณน์ ักเรียน
กิจกรรมการเรยี นการสอนให้เหมาะสมกบั
ผเู้ รียนเปน็ รายบุคคล ทำให้นักเรียนมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทดี่ ขี ึ้นและไดร้ บั การ
ชว่ ยเหลืออย่างเทา่ เทยี มกัน
๕.๔ การรู้จักใหอ้ ภัยปราศจาก ข้าพเจ้าตั้งใจปฏบิ ัติหน้าที่ในการถ่ายทอด • การสมั ภาษณ์ผูบ้ รหิ าร
อคติ ชว่ ยเหลือ ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ความรใู้ หแ้ ก่นักเรียน เพ่ือใหน้ ักเรยี นประสบ ครู เพื่อนร่วมงานและ
ให้ผูเ้ รยี นประสบความสำเรจ็ ความสำเร็จ ตามศักยภาพ ความสนใจหรือ นักเรยี น
ความตั้งใจ โดยเปดิ โอกาสให้นักเรยี นแสดง • การสังเกตพฤติกรรม
เกณฑ์การประเมิน บนั ทกึ ผลการปฏบิ ตั ิงาน หลกั ฐาน/แหลง่ ขอ้ มลู
ตามศักยภาพ ความสนใจ หรือ ความคดิ เห็น ความสามารถไดอ้ ย่างเปิดกวา้ ง
ความตงั้ ใจ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการพฒั นาผูเ้ รียน ครู และการ • การสัมภาษณ์ผูบ้ รหิ าร
เรียนรู้ ครู เพ่อื นรว่ มงานและ
๕.๕ การเปน็ ทพ่ี ึ่งให้กบั ผเู้ รียน นักเรียน
ได้ตลอดเวลา ขา้ พเจา้ มคี วามเต็มใจท่จี ะเสียสละเวลาของ • การสงั เกตพฤตกิ รรม
ตนเอง เพื่อคอยชว่ ยเหลือเปน็ ทปี่ รึกษาเกย่ี วกับ • ภาพถ่าย
๕.๖ การจัดกิจกรรมสง่ เสริม ปัญหาของผู้เรยี นในด้านตา่ งๆ เปน็ กำลังใจและ • การสัมภาษณผ์ ู้บรหิ าร
การใฝ่รู้ คน้ หา สรา้ งสรรค์ ใหค้ ำแนะนำแกผ่ ู้เรยี น ครู เพอื่ นร่วมงานและ
ถ่ายทอด ปลกู ฝังและเปน็ นักเรียน
แบบอย่างทดี่ ีของผู้เรียน ขา้ พเจ้าปฏบิ ตั หิ นา้ ทีด่ ้วยจิตวญิ ญาณเปน็ • การสงั เกตพฤติกรรม
การทำหนา้ ที่ด้วยใจซง่ึ ทาใหเ้ กดิ ความรัก • ภาพกจิ กรรม
ศรทั ธาและยึดมน่ั ในอุดมการณแ์ ห่งวชิ าชพี
มงุ่ มั่น ทมุ่ เทในการทำงาน ประพฤติตนเปน็
แบบอย่างทด่ี ี เอาใจใส่ ดูแลและหวงั ดตี อ่ ศิษย์
๕.๗ การท่มุ เทเสียสละในการ ข้าพเจา้ อทุ ิศเวลาให้กับราชการ ไมว่ ่าการ • การสัมภาษณผ์ ู้บริหาร
จัดการเรียนรใู้ หก้ ับผ้เู รยี น สอนนั้นจะอย่ใู นเวลาราชการหรือนอกเวลา ครู เพอ่ื นรว่ มงานและ
ราชการ จนกว่านกั เรียนจะมีความรู้ตาม นักเรียน
เป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยการเสียสละท้ังเวลา และ • การสังเกตพฤตกิ รรม
ทุนทรพั ย์ เพื่อผลจะเกิดกับนักเรยี นและสังคม • ภาพกิจกรรม
อย่างสงู สดุ
๖. จติ สำนึกความรับผิดชอบ
ในวิชาชพี ครู
๖.๑ การมเี จตคติเชงิ บวกกับ ข้าพเจา้ มคี วามรกั และศรัทธาในวชิ าชพี ครู • การสมั ภาษณ์ผบู้ รหิ าร
วชิ าชพี ครู และเป็นสมาชกิ ท่ีดขี ององค์กรวิชาชีพครู ครู เพื่อนร่วมงานและ
แสดงออกด้วยความช่ืนชมและเชือ่ ม่ันใน นกั เรียน
วิชาชพี ครดู ว้ ยตระหนกั วา่ เป็นวิชาชีพทมี่ ีเกยี รติ • การสังเกตพฤตกิ รรม
มีความสำคัญและจำเป็นต่อสังคม ครูพึง
ปฏิบตั งิ านดว้ ยความเตม็ ใจและภูมใิ จ
รวมทั้งปกป้องเกรียติภูมขิ องอาชีพครู เขา้ ร่วม
กจิ กรรมและสนับสนุนองค์กรวิชาชีพครู
๖.๒ การมุง่ มน่ั ทุม่ เทในการ ขา้ พเจา้ มกี ารวิเคราะห์ หลกั สูตรและตัวชวี้ ดั • การสัมภาษณ์ผ้บู ริหาร
สรา้ งสรรค์นวตั กรรมใหม่ๆ ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนพยายาม ครู เพื่อนรว่ มงานและ
เพื่อให้เกดิ การพฒั นาวิชาชพี และ ศึกษาหาความรู้เพมิ่ เติมอยู่เสมอ จากแหลง่ นกั เรียน
ให้สงั คมยอมรับ เรียนรู้ตา่ งๆ เชน่ หนงั สือ ส่ือส่ิงพิมพ์ โทรทศั น์ • การสงั เกตพฤติกรรม
อินเทอรเ์ น็ต เปน็ ตน้ เพ่ือนำความร้มู าผลิตส่อื • แผนการจดั การเรียนรู้
การสอนและนำมาพฒั นาวิชาชพี ต่อไป • ภาพกจิ กรรม
เกณฑ์การประเมนิ บันทกึ ผลการปฏิบัติงาน หลกั ฐาน/แหลง่ ขอ้ มลู
๖.๓ ประพฤตปิ ฏบิ ัติตนในการ ขา้ พเจ้าประพฤตติ นใหเ้ ป็นสมาชกิ ที่ดีของ • การสัมภาษณ์ผบู้ ริหาร
รักษาภาพลักษณ์ในวิชาชพี สังคมและมีจิตสาธารณะมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อ ครู เพอื่ นรว่ มงานและ
สงั คม โดยช่วยเหลือเพอื่ นรว่ มงานโดยไมห่ วัง นักเรียน
ผลประโยชน์และสิง่ ตอบแทนใดๆทง้ั ส้นิ ยึดหลกั • การสงั เกตพฤตกิ รรม
คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพในการยดึ
เหนยี่ วจิตใจในการปฏบิ ัตงิ าน
๖.๔ การปกปอ้ ง ป้องกันมิให้ ข้าพเจา้ ปฏิบตั ิตนตามหนา้ ทเ่ี ปน็ อยา่ งดี ซึ่ง • การสัมภาษณ์ผู้บรหิ าร
ผูร้ ่วมวชิ าชพี ประพฤติปฏิบัติ ถือว่าเปน็ แบบอย่างท่ีดีแกเ่ พ่ือนรว่ มวชิ าชพี ครู เพอ่ื นรว่ มงานและ
ในทางทจี่ ะเกดิ ภาพลักษณเ์ ชงิ ลบ เม่อื ทุกคนในวิชาชพี ปฏบิ ตั ติ นเหมาะสม ให้ นักเรยี น
ตอ่ วชิ าชพี คำปรกึ ษาแนะนำผรู้ ่วมวชิ าชพี ให้ประพฤติ • การสงั เกตพฤตกิ รรม
ปฏิบัตติ นเปน็ แบบอย่างที่ดแี ละยดึ มนั่ ปฏิบตั ิตน
ตามจรรยาบรรณวชิ าชีพครูอยา่ งเคร่งครัด ย่อม
ส่งผลดตี ่อการรกั ษาภาพลักษณข์ องวิชาชีพ
๖.๕ การจัดกจิ กรรมส่งเสริม ข้าพเจา้ ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ดี ว้ ยใจซ่ึงทำให้เกิดความ • การสัมภาษณผ์ ู้บรหิ าร
การใฝร่ ู้ ค้นหาสร้างสรรค์ รัก ศรทั ธาและยึดม่ันในอดุ มการณแ์ หง่ วชิ าชพี ครู เพ่ือนรว่ มงานและ
ถ่ายทอด ปลูกฝังและเปน็ มุ่งม่ัน ทมุ่ เทในการทำงาน ประพฤติตนเปน็ นกั เรยี น
แบบอยา่ งทีด่ ีของเพอื่ นร่วมงาน แบบอย่างทีด่ ี ยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของเพ่อื น • การสงั เกตพฤติกรรม
และสังคม รว่ มงาน และปรับปรงุ ในสว่ นที่ตนเองบกพร่อง
ให้ดมี ากขน้ึ กวา่ เดิม
ด้านกายภาพ หมายถงึ ครทู ่ีมบี คุ ลิกภาพด้านกายภาพเป็นปกติและนา่ ศรทั ธา นา่ นบั ถอื
จะมโี อกาสประสบความสาเร็จในการอยู่รว่ มกบั ลกู ศิษยม์ ากกว่าครทู ี่มบี ุคลกิ ภาพดา้ นกายภาพ
ผดิ ปกติ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การผดิ ปกตใิ นทางที่ไมด่ ี ลกั ษณะบุคลกิ ภาพทางกาย ไดแ้ ก่
๑) รปู รา่ งหน้าตา กิรยิ าอาการ ลักษณะท่าทางที่สง่างาม
๒) การแตง่ กายที่เหมาะสม คอื การแตง่ กาย (รวมถึงแต่งหนา้ และทรงผมดว้ ย) ทส่ี ะอาด
เรยี บร้อย ดูดี นา่ นับถอื ถกู กาลเทศะ เรียกว่า Neat and Clean
๓) กิรยิ ามารยาท คือ มกี ริ ิยามารยาทท่ีเรียบรอ้ ย สุภาพอ่อนโยน นุ่มนวล
๔) สวมใสเสื้อผา้ ที่เหมาะสมกับรูปร่าง เพศ วัย และผิวพรรณ
๕) มีสุขภาพกายที่แข็งแรง สมบูรณ์
๖) รา่ งกายสะอาด ผิวพรรณสดใส ใบหนา้ แจม่ ใส
๗) ยนื นัง่ เดนิ ใหเ้ รียบรอ้ ยเหมาะสม
ด้านวาจา หมายถึง การแสดงออกทางวาจา การพูดด้วยน้าเสียงท่ีแฝงด้านเมตตา
ปรารถนาดี นุ่มนวล การพูดด้วยลีลาท่ีเหมาะสม ไม่ช้าไม่เร็วจนเกินไป และรวมไปถึงการไม่
พูดน้อยหรอื เงยี บขรึมจนเกินไปหรือการพูดมากจนน่าราคาญ ไดแ้ ก่
๑) การพูดดว้ ยถ้อยคาทถี่ กู ตอ้ ง ชดั เจน
๒) การพูดท่ีเหมาะสมกับวฒุ ิภาวะของผู้เรียน
๓) การพูดทถ่ี ูกกาลเทศะ
๔) การพูดท่คี ล่องแคล่ว ถูกอกั ขระและคาควบกล้า
๕) การพูดท่ไี พเราะอ่อนหวาน
๖) พูดเสียงดงั ฟังชดั
๗) พูดจามสี าระมเี หตผุ ล
ข้าพเจ้าแสดงออกด้านกายภาพ ด้านวาจาทางอารมณ์ กริยา
ท่าทาง และการส่ือสารได้เหมาะสมกับกาลเทศะต่อผู้เรียน เช่น การ
พูดจาไพเราะประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูกศิษย์ ใช้คาพูด
ท่ีเหมาะสมและถูกต้องในทุกช่องทางการส่ือสารโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ผ่านช่องทางออนไลน์ซ่ึงเป็นช่องทางการติดต่อกับผู้เรียนมากที่สุดใน
สถานการณ์ปั จจุบัน พร้อมทั้งยึดหลักคาสอนทางพระพุทธศาสนาใน
การดาเนินชีวิต ทาจิตใจให้สงบ ซ่ึงส่งผลให้ข้าพเจ้าสามารถควบคุม
อารมณ์ของตนเองได้เปน็ อย่างดี
ควรมีพฤติกรรมให้เหมาะสมกับฐานะ ตาแหน่งหน้าท่ี คุณวุฒิและวัยวุฒิ
ของตน โดยมีการแสดงออกอย่างสุภาพและจริงใจ ซ่ึงเปน็ ส่ิงสาคัญท่ีสามารถ
ผูกมัดน้ าใจของบุคคลที่อยู่ใกล้ชิด หรือบุคคลอื่นๆ ท่ีมีส่วนเข้ามารู้จักและ
สัมพันธ์เกี่ยวข้องด้วย
ขา้ พเจ้าแสดงออกทางอารมณ์ กริยา ท่าทาง และการส่ือสาร
ไดข้เาหพเมจา้ แะสสดมงอกอับกทกาางลอาเรทมศณะ์ กตริยอ่ าผทู้บ่าทงั าคงบั แบละญั กาชรสาอ่ื เสพา่ือรไนดเ้รหว่ มมาะงสามนกบั ผกา้ปู ลกเทคศะรตออ่ ง
แผลู้บงัะคบับคุ บัญคชลาอเอพ่นื อ่ อื่ นนเนรชอ้ว่ ่นมมงถากอ่ นมาตผรนปู้ พเกชูดคอ่ื รจฟองัางแไแลพละปะเรบฏาุคบิ ะคตั ลติ มอา่ืนมีสคัเมาชสม่นง่ั าขกคอารงาผพรบู้ดู วงัจคะาบัไอพบ่อเญัรนาชะนาม้อีสมมั ถมา่อคมารวะ
ตนเชือ่ ฟังและปฏิบัติตามคาส่ังของผู้บงั คับบญั ชา
เจตคติเชิงบวก คือ การมีความรู้สึกดีๆ ต่อสิ่งที่ทาไม่ว่าจะเปน็ ความคิดท่ีดี
ความสนใจอย่างย่ิง จนไปถึงความเชื่อม่ันศรัทธา ความรู้สึกสนุก ชื่นชมและเห็น
คณุ ค่าตอ่ สิ่งท่ไี ดท้ า
ข้าพเจ้าปฏบิ ัติตนเปน็ ผู้มี
คุณธรรม จริยธรรม เพ่ือการเปน็ ครทู ่ี
ประกอบดว้ ยคณุ งามและความดีดว้ ย
ความคิดท่ีอยากรว่ มเปน็ ส่วนหน่ึงในการ
พัฒนาประเทศชาติ ซ่ึงกระทาด้วยความ
สานกึ ในจิตใจ เชน่ ความเสียสละ มีน้าใจ
ความเกรงใจ ความยตุ ธิ รรม ความเหน็
อกเหน็ ใจ การมีมารยาททงี่ ดงาม เคารพ
ใน 3 สถาบนั หลกั ของชาติ มอบความรกั
และความเมตตาตอ่ ศิษย์เพ่ือเปน็ กาลงั
สาคญั ในการขับเคล่อื นระบบการศึกษา
ให้มคี ุณภาพและพัฒนาประเทศชาตใิ หม้ ี
ความเจริญกา้ วหนา้ ตอ่ ไป
ขา้ ราชการทดี่ ี จะมีองคป์ ระกอบอยู่ ๔ ประการ
๑.มีความรู้ คือ มีความร้ทู ง้ั เชิงลึก และเชิงกวา้ งทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ งานของตน
๒.มคี ุณธรรม คอื มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมภายในจติ ใจ และมคี วามประพฤติทีด่ ีงาม
๓.มีสัมพันธภาพ คือ มีความเปน็ มติ ร ไวเ้ นื้อเชือ่ ใจ รกั ใคร่สามัคคกี นั ในหมรู่ าชการ
๔.มจี ิตสาธารณะ คอื การเหน็ แกป่ ระโยชน์ส่วนรวมเปน็ ท่ีต้ัง
ข้าพเจ้าปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผน หลักเกณฑแ์ ละ
ขว้าพิธเีปจา้ ฏปิบฏิบัตัตริ ิตานชตกามากรฎหโมดายยเรปะน็เบบียบคุ แคบลบแทผี่เนคหาลรกัพเกแณลฑะแ์ ปละฏวบิิธปี ัตฏิตบิ าัตมริ ากชกฎาหร มโดายยเปน็รบักุคษคาลท่ี
เคารพและปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย รกั ษาระเบียบวนิ ยั ของทางราชการ กระทาตนเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ี มหี ลกั ใน
ระเบยี บวินัยของทากงารราปชฏกิบัตาหิรน้ากทร่ีขะอทงคารตูอยน่าเงปชดัน็ เจแนบยบตุ ธิ อรยรม่างที่ดี มหี ลักในการ
ปฏิบตั ิหน้าทข่ี องครอู ย่างชัดเจนยตุ ธิ รรม
ข้าราชการครู ต้องศึกษาข้อกาหนดพฤติกรรมสาหรับข้าราชการครู และ
บุคลากรทางการศึกษาในการปฏิบัติตามระเบียบแบบแผน ข้อบังคับท่ีกาหนด
เพ่ือให้การปฏิบัติหน้าที่ราชการบรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของทาง
ราชการอย่างมีประสิทธิภาพ ตามพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗
ข้าพเจ้าปฏบิ ัติตนตามกฎหมายและกระทาตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์
ขา้ตพอ่ เจต้าปนฏเิบอตั งติ แนลตาะมสกัฎงหคมมายโรดะยเบใยี ชบ้เแหบตบแุผผลนแหลลกัะเวกจิณาฑรแ์ ณละวญธิ ปี าฏณบิ ัตใิรนาชกกาารรตโดดั ยสเปินน็ บใจคุ คลที่
เคารเพลแือลกะปปฏฏบิ ตับิ ติ ัตามิหกนฎา้ หทมีท่ายี่ไรดกั ร้ ษับารมะอเบบยี บหวมินายั ยขอจงนทาบงรรารชลกาุเปร า้กหระมทาตยนหเปน็นา้ แทบ่ีขบา้อรย่าางชทกี่ดีามรีหลักใน
การปฏบิ ัตหิ น้าทีข่ องครอู ย่างชดั เจนยตุ ธิ รรม
ในฐานะเปน็ พลเมอื งทด่ี ี ยึดมน่ั ในหลกั ศีลธรรมและคุณธรรมทาง
พระพุทธศาสนาในการชว่ ยเหลือผูอ้ ่นื
กฎหมาย คือข้อบังคับ กติกาของรัฐหรือของชาติ กาหนดข้ึนมาเพื่อใช้
บังคบั ควบคุม ความประพฤติของบุคคลในสังคม ให้ปฏิบัติตาม หากมีการฝา่ ฝนื
ไม่ปฏบิ ตั ติ ามจะมคี วามผิดและไดร้ ับโทษตามทก่ี าหนดไว้
ข้าพเจ้ารักษาวนิ ยั ท่ีเปน็ ขอ้ ห้ามและข้อปฏิบัติอย่างเคร่งครดั อยู่
เสมอ โดยศึกษากฎหมายต่างๆ ทง้ั กฎหมายแพ่ง และกฏหมายอาญา
รวมถงึ พระราชบญั ญัติ ระเบยี บข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการ
ขา้ พเจ้าปฏิบตั ติ นตามกฎหมาย ระเบยี บแบบแผน หลักเกณฑแ์ ละวิธปี ฏบิ ัติราชการ โดยเปน็ บคุ คลที่
เคารพศแึกลษะปาฏิบพัต.ติศา.ม๒กฎ๕ห๔ม๗าย รเพักษื่อายระดึ เบถยี อืบวปนิ ฏยั ขิบอัตงทติ าางรมาเชตกือารนกตระนทมาติในหเก้ป็นรแะบทบาอยา่ งท่ดี ี มหี ลักใน
ความผดิ ทางกฎหมกาายรปฏวิบนิ ัตัยิหรนา้าทชขี่ กอางครรใอู หยเ้ า่ สงชื่อดั มเจเนสยียุตธิซร่งึ รมเกียรติ ศักดิ์ศรี
ความเช่ือม่ันจากสังคม ไม่ว่าจะด้วยวาจา และกระทาการใดทไ่ี ม่ขัด
ต่อกฏหมายหรือการขอหรือตอ่ ใบอนุญาตตา่ งๆ
ข้าพเจ้าปฏิบัตติ นเปน็ พุทธศาสนกิ ชนทด่ี ี เคารพเล่อื มใสและศรัทธา
ในพระรัตนตรยั ตัง้ มนั่ อย่ใู นศีล 5 เปน็ พลเมืองทด่ี ีของประเทศชาติ
ปฏบิ ัตติ ามหลักธรรมคาสอนของ ให้ความเคารพนบั ถือ เอาใจใส่ทานุบารงุ
และบาเพ็ญประโยชนต์ ่อวดั และพระสงฆ์ และนาแนวทางการปฏิบตั ิตน
ของพระสงฆ์ มาเปน็ แบบอยา่ งที่ดงี ามในการดาเนินชีวิต เพื่อความ
เหมาะสมแกก่ ารเปน็ ครูทีป่ ระกอบด้วยคุณงามและความดี ซ่งึ กระทาด้วย
ขคา้ พวเจา้ามปสฏบิานัติตกึ นใตนามจกิตฎใหจมาเยชร่นะเบมียกี บาแรบบยแดึ ผหนลหกั ลักธเรกณรมฑ์แพลระวหิธมีปฏวบิหิ ตั าิรราช๔การคโอื ดยเป็นบุคคลที่
เคาร๑พ.แลเมะปตฏตบิ าตั ตติ าอ่ มศกฎิษหยม์ามย คีรักวษาามระรเบักยี ศบิษวนิ ยัย์ขปอรงทาารงถรานชกาาจระกใรหะศ้ทาิษตนยเ์เปป็นน็แบสบุขอยา่ งทีด่ ี มหี ลกั ใน
๒. มคี วามกรณุ าตอ่ กศาริษปยฏบิ ์ ชัตหิ่วนยา้ เทหขี่ ลองือคใรหอู ยค้ ่าางชแัดนเจะนนยุตาิธอรรบมรมส่ังสอนให้ศิษย์
ประพฤตติ นอยา่ งเหมาะสม และอยรู่ ว่ มกบั ผู้อ่ืนอย่างเปน็ สุข
๓. มมี ุฑติ าจิต คอื มีความยินดเี สมอเมื่อศิษยไ์ ดด้ ี พรอ้ มกับกล่าวยกย่อง
ชมเชยในความสามารถของเขา
๔. มีอเุ บกขา คอื มกี ารพยายามวางเฉยตอ่ บางพฤติกรรมกา้ วรา้ วทศี่ ิษย์
แสดงออกมาโดยไม่ต้ังใจ คือ ไมโ่ กรธตอบ แต่จะพยายามพูดเตอื นดๆี
ดว้ ยอารมณแ์ ละน้าเสียงปกติ
อิทธิบาท 4 มาใช้ในเปน็ แนวทางในการดาเนนิ ชวี ิตและการทางาน
ฉนั ทะ (ความพอใจ)ความตอ้ งการทจี่ ะทางาน รักท่ีจะทางานในอาชีพครู
และมีการพัฒนาตนเองอย่เู สมอ
วริ ยิ ะ (ความเพียร)ขยันม่นั เพียรในการสอน ไม่ทอ้ ถอยกับอุปสรรคหรือ
เคาขร้าปพพัญแเจลา้ะหปปาฏฏทิบบิ ตัี่เตั กิตติ น่ียาตมวากเมฎนกหฎือ่ มหงามยการับยักกรษะาาเรรบะยีสเบบอียแนบบวบมินแีคัยผขวนอาหงมทลอากั งเดรกาทณชนฑกา์แรลอะกดวรกธิ ะีปทลฏา้ันบิตนตั ริเปาช็นกแาบรบโอดยย่าเงปทน็ ด่ี บี มุคีหคลลทกั ใ่ี น
จิตตะ (ความคิด)มกาีครวปาฏมบิ ตัริหู้ นค้าดิ ทแ่ีขอกง้ไคขรอู ปยัญา่ งชหัดาเจในนยกตุ ธิารรรสมอน รู้หน้าทแี่ ละปฏิบตั ิ
อย่างเสมอต้นเสมอปลาย
วมิ ังสา (ความไตรต่ รองหรอื ทดลอง)มกี ารวางแผน จัดทาแผนการสอน
วิธปี ระเมนิ ผล และพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของผ้เู รียน
ศาสนกจิ คือ กิจที่นกั บวชหรอื ศาสนกิ ชน ในศาสนานั้นๆควรปฏบิ ัติเปน็
ประจา ยกตัวอยา่ งเช่น การสวดมนต์ การบวช หรอื การแผเ่ มตตาเปน็ ต้น
พุทธศาสนกิ ชน ควรปฏบิ ัตศิ าสนกิจเปน็ ประจา เชน่ การเขา้ วัดทาบญุ การไหวพ้ ระ
สวดมนต์ แผ่เมตา ชว่ ยบารุงทานุพระพุทธศาสนา ส่งเสริมให้เจริญงอกงาม
ข้าพเจ้ามีส่ วนร่วมในการ ปฏิบัติศาสนกิจของพุ ทธศาสนิกชนใน
ชีวิตประจาวัน เช่น การไหว้พระสวดมนต์ แผ่เมตตา การทาบุญตัก
บาตร การเข้าวัดฟั งธรรม และเข้าร่วมกิจกรรมวันสาคัญทาง
พระพุทธศาสนาอย่างต่อเน่ืองในรูปแบบปกติและออนไลน์ตามความ
ขา้ พเจา้ ปฏิบัตติ นตามกฎหมาย ระเบยี บแบบแผน หลกั เกณฑแ์ ละวิธีปฏบิ ัติราชการ โดยเป็นบุคคลท่ี
เคาเรหพมแลาะะปสฏมิบัตริตาวมมกฎถหึงมกายารรักสษอารนะเแบลียบะวสิน่งัยขเอสงรทิามงใราหช้นกาักรเกรรียะทนารตู้นจเักปน็หแลบักบอธยรา่ งรทมด่ี ีเมพีหื่อลักใน
นาไปใช้ในการดาเนกิานรชปฏีวิบิตตั หิ กนา้าทรข่ี ฝองึกครจูอิตยา่ เงจชัดรเิญจนยปตุ ั ญิธรรญม า เห็นคุณค่าของ
การศึกษาพระพุทธศาสนาในฐานะเป็นศาสนาประจาชาติไทย รวมถึง
การปฏิบัติตามหลักศาสนาท่ีนักเรียนนับถือ ทาให้ข้าพเจ้ามีสิริมงคลแก่
ชีวติ สามารถอยรู่ ่วมกบั ผูอ้ ่ืนในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข
วฒั นธรรมท้องถิน่ คือ วิถชี วี ิตของคนในแต่ละชุมชน เปน็ มรดกสืบทอดกันมา
และทุกคนในท้องถิ่นย่อมมีความภาคภูมิใจในการเป็นเจ้าของมีความรักหวงแหน
ร่วมกัน ศิลปวัฒนธรรมของท้องถ่ินเป็นตัวบ่งชี้ความสาคัญของคนในสังคมซ่ึงสืบ
ทอดกนั มาชา้ นาน
ประโยชน์ของวฒั นธรรมท้องถ่ิน
๑. เปน็ เคร่อื งมือทีก่ ่อให้เกิดความรัก ความสามัคคี สรา้ งความเขา้ ใจ และการวมพลัง
ในการสรา้ งสรรค์บางส่ิงบางอยา่ งร่วมกันของคนในทอ้ งถิน่
๒. สะทอ้ นให้เหน็ ถึงวถิ ชี วี ติ ของกลุม่ ชนทแ่ี ตกตา่ งกนั ไปตามสภาพส่ิงแวดล้อม โดยมี
ศิลปวฒั นธรรมพื้นบา้ นเปน็ ตวั กาหนด
๓. ให้ความบันเทิงแกก่ ลุม่ ชนในสังคม เชน่ การฟังเพลง การรอ้ งเพลง การแสดง
มหรสพ ตลอดจนพิธีกรรมและประเพณใี นเทศกาลต่างๆ
๔. เปน็ เคร่ืองมือใหก้ ารศึกษาและเปน็ หลักฐานอนั สาคัญย่ิงของชีวิต ทท่ี าหน้าท่ีอบรม
คนในสังคมให้รูจ้ ักรบั ผิดชอบ ตลอดจนช่วยปลกู ฝังคณุ ธรรมใหแ้ ก่คนในชุมชน
๕. เปน็ เครอื่ งฝกึ พัฒนาการทางด้านร่างกาย สตปิ ัญญา อารมณ์และสังคมให้
เยาวชนท่วั ไป
๖. เปน็ เครื่องมอื ในการควบคมุ ทางสังคม เพราะมนษุ ย์เปน็ สัตวส์ ังคมท่ีจาตอ้ งอยู่
รว่ มและชว่ ยเหลอื ซ่งึ กันและกนั ภายใต้ระเบียบแบบแผนและกฏเกณฑอ์ ันเปน็ แนว
ปฏบิ ตั ิร่วมกนั ในสังคมนั้น
ข้าพเจ้าเห็นความสาคัญของ จารีตประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น ซ่ึงเป็น
มรดกที่สืบทอดต่อกันมาและทุกคนในท้องถ่ินย่อมมีความภาคภูมิใจในการ
ข้าพเปเจ็นา้ เเหจน็ ้าควขาอมสงารค่วัญมขอกงันจารเตีกปิดระคเพวณาี มวัฒหนวธงรรแมหทอ้ นงถแน่ิ ลซะึง่ รเปัก็นมษราดกกทีส่าืบรทเอรดียตน่อกกนั ามราแสลอะทนกุ หคนรใือน
ทกอ้ จิกงกถิจร่นิ รกยม่อรพมรัฒมมนีคาพวผาัูเ้ฒมรภยี านนคหาภลผูมาิใยู้เจรๆใกนียิจกนการรหรเปลมน็ขาเอยจง้าๆขขา้ อกพงิจเรจ่วก้ามยรกินนัรดมีใเหกขค้ิดอวคาวงมาขรมว่ ห้ามวพมงอืแเกจหบัน้าผแยูป้ลินกะรคดักรีใษอหงา ้คกชมุาวรชาเนรมียเนรพก่วอื่ ามมรีสสม่วอนือนชหกว่ รยับอื
ผใู้นปกการคสร่งเอสรงมิ แชละุมสชนับนสนเนุพใหื่อ้เหมน็ ีสถ่วงึ คนวาชม่วสายคใัญนขกองาวรฒั สนธ่งรรเมสทร้อิมงถแิน่ ลเชะ่นสคนวาับมสเชนื่อ ุนกาใรหเข้เ้าหร่ว็นมถึง
ปเจครระิญวเพงาอณมกทีสงาาางมคศทาัญี่ปสลนกูขาฝอภังงอาษยวใู่าัฒนปตรนัวะผธว้เู รตั รยี ศิ รนามแสลตทะร้อ์ใกหงาเ้ กรถอดิ ิ่นนคุรวกัาเชมษร่์ศนกั ลิ คปคววาวฒั มาหนมธวรงเแรชมห่ือนขอกกงาาทรรอ้สเงบื ขถสิน่้าารนสว่วิง่ ัฒเมหนลปธ่ารรนระ้จี มะเทพเปอ้ งณ็นถคน่ิ วีทสาาืบมง
ศาสนา ภาษา ประวัติศาสตร์ การตออ่ นไปุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ของท้องถิ่น ส่ิง
เหล่านี้จะเป็นความเจริญงอกงามที่ปลูกฝั งอยู่ในตัวผู้เรียนและให้เกิดความ
รกั ความหวงแหน การสืบสานวัฒนธรรมทอ้ งถนิ่ สืบต่อไป
วัฒนธรรมไทย มีความหมายครอบคลุมถึงทุกส่ิงทุกอย่างอันเป็นแบบ
แผนในความคิด และการกระทาที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตของมนุษย์ในสังคมของ
กลุ่มใดกลุ่มหน่ึง หรือสังคมใดสังคมหน่ึง มนุษย์ได้คิดสร้างระเบียบกฎเกณฑ์
วิธีการในการปฏิบัติ การจัดระเบียบตลอดจนความเชื่อ ความนิยม ความรู้ และ
เทคโนโลยตี ่าง ๆ ในการควบคมุ และใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ
๑. วฒั นธรรมเปน็ เครื่องสร้างระเบยี บแก่สังคมมนุษยว์ ฒั นธรรมไทยเปน็ เคร่อื ง
กาหนดพฤติกรรมของสมาชกิ ในสังคมไทย ให้มรี ะเบียบแบบแผนที่ชัดเจน
๒. วัฒนธรรมทาให้เกิดความสามัคคคี วามเปน็ อันหน่งึ อันเดียวกนั สังคมทม่ี ีวัฒนธรรม
เดยี วกนั ยอ่ มจะมีความรสู้ ึกผูกพันเดยี วกนั เกิดความเปน็ ปกึ แผน่
๓. วัฒนธรรมเปน็ ตวั กาหนดรูปแบบของสถาบัน เช่น รูปแบบของครอบครัวจะเหน็ ได้
ว่าลักษณะของครอบครัวแตล่ ะสังคมตา่ งกันไป
๔. วฒั นธรรมเปน็ เครอ่ื งมือชว่ ยแก้ปัญหา และสนองความตอ้ งการของมนษุ ย์ มนุษย์
ไม่สามารถดารงชีวติ ภายใต้ส่ิงแวดล้อมไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์
๕. วฒั นธรรมชว่ ยให้ประเทศชาติเจรญิ กา้ วหน้า
๖. วัฒนธรรมเป็นเครื่องแสดงเอกลักษณ์ของชาติ คาว่า เอกลักษณ์ หมายถึง
ลักษณะพิเศษหรือลกั ษณะเด่นของบุคคลหรอื สังคม
ข้าพเจ้ารักและหวงแหนในวัฒนธรรมไทยจารีตและประเพณี เช่น
ข้าพภเจา้าษเหาน็ ไคทวยามสกาาครญั แขอตง่งจการาตี ยปรกะเาพรณเี ขวฒั ้านรธ่วรมรมปทรอ้ ะงถเ่นิพซณ่ึงเปีตน็ ่ามงรๆดกขทอ่ีสงบื ทศอาดสตน่อกาันมปารและะเทพกุ ณคนีใน
ทอ้ สงถาน่ิ คยอ่ัญมมปีครวะามจภาาชคาภตูมิใิ จจในงกราักรเภป็นักเจด้าีใขนองพร่วรมะกมันหเกาดิกคษวาัตมรหวิยง์แกหานรแลแะสรกัดษงาอกอารกเรทยี นางกาสรัสงอคนมหรือ
กจิ เกใชนร่นรกมาพรกสัฒา่งนเรสารอผมิ ้เู่อรแียนลนะนหส้อนลาับมยสถๆนกุ่นอิจใมกหรเ้ตหรมนน็ ขถอึงกงคขาว้าารพมเเสคจา้าคายญัรนิ พขดอใี ผหงวค้ ู้ทฒั ว่ีาอนมธารรว่วรมุโมมสทือ้อกกงบัวถผน่ิ่าู้ปเกมชคน่ ีครคอววงาาชมมุมเกชชอื่ นตกัญเพาร่ือญเมขีส้าูรว่ ต่วนมช่อ่วย
ปรบะิดเพาณมีทาางรศดาสานาแภลาะษผา มู้ปรพี ะรวตั ะิศคาสุณตร์เกคาราอรนพรุ ักธษง์ศชิลาปตวฒั แิ นลธะรรรม่วขมอกงทิจ้อกงรถนิ่รมสง่ิหเหนลา้ ่าเนส้จี าะเธปงน็ ทควุกาม
เจเรชญิ ้างอมกิไงดาม้ขทา่ีปดลูกฝจังนอยเป่ใู น็นตวัทผ่ีป้เู รรียนะแจลักะใษห์้เแกิดกค่สตวอ่าามไยปรตกั คาวขามอหงวนงแักหเนรกียานรสแบื ลสาะนเวพัฒื่อนธนรรรม่วทม้องงถาิน่ นสบื
ร่วมถึงแต่งกายชุดพ้ืนเมืองรักษาขนบธรรมเนียม ประเพณีไทยทุกครั้ง
เม่อื มโี อกาส
o จิตสาธารณะ คือ จิตของคนท่ีรู้จักความเสียสละ ความร่วมมือร่วมใจ ในการ
ทาประโยชน์เพื่อส่วนรวม จะช่วยลดปั ญหาท่ีเกิดข้ึนในสังคม ช่วยกันพัฒนา
คุณภาพชีวิต เพ่ือเป็นหลักการในการดาเนินชีวิต ช่วยแก้ปั ญหาและ
สร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์สุ ขแก่สั งคม เช่น การช่วยกันดูแลรักษา
สิ่งแวดล้อม โดยการไม่ท้ิงขยะลงในแหล่งน้า การดูแลรักษาสาธารณสมบัติ
เช่น โทรศัพท์สาธารณะ หลอดไฟฟ้าที่ให้ความสว่างตามถนนหนทางแม้แต่
การประหยัดน้า ประปา หรือไฟฟ้า ท่ีเป็นของส่วนรวม โดยใช้ให้เกิดประโยชน์
อย่างคุ้มค่า ตลอดจนช่วยกันดูแลรักษา ให้ความช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก
หรือผู้ท่ีร้องขอความช่วยเหลือเท่าท่ีจะทาได้ ตลอดจนร่วมมือกระทาเพ่ือไม่ให้
เกิดปั ญหา หรือช่วยกันแก้ปั ญหา แต่ต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย เพื่อรักษา
ประโยชนแ์ ก่ส่วนรวม
o จิตบริการ หมายถึง การตระหนักรู้ สานึกในฐานะผู้ให้บริการ และให้บริการ
ดว้ ยความรวดเรว็ เปน็ ธรรม และมีประสิทธิภาพ
ขา้ พเจา้ เหข็น้าคพวาเมจสา้าคใัญหข้มองีคจวาารีตมปเรตะเ็มพณใจี วทฒั ี่จนธะรใรมหท้บอ้ รงถิกิน่ าซรึ่งเแปก็นม่ผรดู้ปกกทส่ีคบื รทออดงตนอ่ ักกันเมราียแลนะททุก่ีมคานใน
ทต้องิดถ่นิ ตย่ออมรมาีคชวากมภาารคกภัูมบใิ จทในากงาโรรเปง็นเจร้าียขอนงรด่ว้วมกยนั คเกวดิ าคมวาเมตห็มวงใแจหนแและะรมกั ษีจาิตกอาราเรสยี นากใานรสกอานรหรอื
กริจ่วกในรมรกงมาพราสฒันง่ นเกสาัรบผิม้เูทรแียลานะงหสชนลุมาบั ยสชๆนนกนุ ิจใกหมรเ้ ีจหรมน็ิตขถสองึ งคาขวธ้าาพมาเสรจาณา้ คยญั ินะขดเอีใปหงวค้็นฒั วกานมาธรรร่วรกมมมรทอื ้อะกงทับถผ่ินาปู้ดเกช้วคน่ ยรคอจวงิตาชมวมุเชชิญอื่ นกญเพารอ่ื าเมขณสีา้ ร่วทว่นมช่ีมว่ ี ย
ปครวะเาพมณรีทักางคศาวสานมา หภา่วษงาใปยระวคัตวศิ าสมตเรอ์ กื้อารออานทุรกั รษตศ์ ่อลิ ปควนัฒนอธื่นรรแมลขะอสงทังอ้ คงถมิน่ โสดิ่งเยหรลา่วนม้จี ะเกปา็นรควมาีม
เคจรุณญิ งธอรกงรามมทจ่ปี รลิยูกฝธงั รอรยใู่มนตแวั ผลเู้ ระยี กนาแรละไใมห่กเ้ กรดิ คะตวท่อามาไปรทัก่ีเคสวื่าอมมหเวสงแียหหนรกือารเสปืบ็นสาปนัญวฒั หนาธรตร่อมทส้อังงถคิ่นมสืบ
และประเทศชาติ
ข้าพเจ้าเหน็ ขคว้าาพมสเจาค้าัญยขึดองมจั่นาใรนีตปหรละเักพณธรี วรัฒมนคธรารสมทออ้ นงถขิ่นอซงึง่ พเปรน็ ะมรพดุทกทธสี่ ศบื ทาอสดนตา่อมกนั ามใาชแ้ใลนะทกกุ าครนใน
ท้องถิ่นย่อมมีความภาคภมู ิใจในการเป็นเจ้าของร่วมกัน เกิดความหวงแหนและรกั ษา การเรยี นการสอนหรือ
กจิ กดรารเมนพนิัฒชนาีวผิตู้เรแยี นลหะลเาปยน็ๆกแจิ บกรบรอมขยอ่างงข้าทพ่ีดเจีใ้าหยนิ้แดกีให่ศ้คิษวายม์รแว่ มลมะอื บกบัุคผคูป้ ลกคอรื่นองๆชมุดชานรเงพชือ่ ีพมีสตว่ นาชม่วย
ทในากงาสรสาง่ ยเสกริมลแาลงะสรน่วบั มสนสุนนใหับ้เหสน็ นถุนึงคแวาลมะสสาค่งญั เขสอรงิมวัฒเพนธ่ือรตรม่อทตอ้ งา้ ถน่นิ กเชา่นรกควราะมทเชาอ่ื ขกอางรเบขาุ้ครว่คมล
ประเพณที างศาสนา ภาษา ประวตั ิศาสตร์ การอนรุ ักษศ์ ิลปวฒั นธรรม ของทอ้ งถ่ิน สง่ิ เหล่านจ้ี ะเป็นความ
เจรหิญรงืออกกงาลมุ่มท่ปีบลุคกู คฝังลอยทู่ใี่สนต่งวั ผผเู้ ลรยี ตน่อแลคะวใหา้เมกิดมคั่นวาคมรงักขคอวางมชหวางตแหิหนรืกอาผรสลบื กสารนะวทัฒบนธเรชริงมทล้อบงถติน่ ่อสืบ
สังคมโดยรวมทัง้ ดา้ นเจตนารมณแ์ ตล่อะไปเชงิ สัญลกั ษณ์
บุคลิกภาพ เปน็ ส่วนประกอบสาคญั ทจี่ ะทาให้ผู้อ่ืนเคารพนับถือ และไว้วางใจ
จากผู้อื่น บุคลิกภาพสามารถแสดงออกมาได้ทั้งทางร่างกาย จิตใจและความรู้สึก
นึกคิด อีกอย่างท่ีสาคัญท่ีต้องได้รับการพัฒนาไม่แพ้ด้านบุคลิกภาพคือ ความรู้ ครู
ตอ้ งมีการปรับปรงุ พัฒนาดา้ นความรู้ และการเรยี นการสอนอยูเ่ สมอ
บุคลกิ ภาพมคี วามสาคัญตอ่ ครูคือ
1. ชว่ ยใหค้ รูมคี วามมน่ั ใจในตนเอง
2. เปน็ แบบอย่างที ดตี ่อศิษย์
3. เขา้ ได้กบั ทกุ สถานการณ์ และส่ิงแวดล้อม
4. สร้างความรกั และนาศิษย์สู่ความสาเร็จ
ข้าพเจ้าปฏิบัติตนเหมาะสมกับความเป็นครู ตาม
จรรยาบรรณวิชาชีพครู และมีการพัฒนาตนจนเป็นผู้ที่
ประพฤติปฏบิ ตั ิตนตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ลกั ษณะของวสิ ัยทัศน์ทีด่ ี
๑. มคี วามชัดเจน สามารถนาไปสู่การปฏิบัตไิ ด้
๒. เปน็ ภาพเชิงบวกทส่ี ะท้อนถึงความเปน็ เลิศ ซ่ึงอาจจะ
กาหนดเวลาไว้ด้วยกไ็ ด้
๓. ต้องท้าทายความสามารถ
๔. คานงึ ถงึ ผรู้ ับบรกิ ารเปน็ สาคญั
๕. มีความสอดคลอ้ งกับแนวโนม้ ในอนาคต
ข้าพเจ้ามีความมุ่งหวังความเจริญก้าวหน้าโดยกาหนดเป้าหมาย
ในการปฏิบัติงาน และการศึกษาต่อ โดยมีการติดตามข่าวการ
เคลื่อนไหวทางการศึกษาในเรื่องความก้าวหน้าในวิชาชีพอยู่เสมอ เพื่อ
จะไดน้ ามาวางแผนและปรับตัว เพื่อความก้าวหน้าในวิชาชพี
ข้าพเจา้ เห็นคุณค่าและความสาคญั ของการเปน็ ครทู ่ดี ีอยเู่ สมอ โดย
มีความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู พึงกระทาตนให้เปน็ แบบอย่างท่ีดีต่อ
ศิษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ไม่เคยอาศัยวิชาชีพ อานาจ หรือแม้แต่
ความเชื่อม่ันจากสังคม ไปแสวงหาผลประโยชน์ให้ตนเองหรือให้ผู้อ่ืน
อาศัยอานาจหน้าที่ของตน แสวงหาผลประโยชน์โดยไม่ถูกต้อง อีกทั้ง
ยั ง ใ ห้ เ กี ย ร ติ ผู้ อ่ื น รั บ ฟั ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ไ ม่ คิ ด ดู ห ม่ิ น ห รื อ ดู ถู ก
มคี วามเสมอภาค ใหก้ ับทกุ ๆคนอยู่บนพื้นฐานความถูกตอ้ ง เหตแุ ละผล
ข้าพเจ้ามุ่งม่ันในการทางาน โดยไม่มีความย่อท้อต่อปั ญหาและ
อุปสรรคที่เกิดข้ึน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ีกาหนดไว้โดยคานึงถึง
ประโยชน์สูงสุดของผู้เรียน มีการปรับเปลี่ยนเพ่ือให้สอดคล้องกับ
สถานการณ์ในปัจจุบันท่ตี อ้ งใชเ้ ทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วม
ข้าพเจ้าเข้าร่วมการประชุม/การอบรม ความรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับ
การศึกษาอยเู่ สมอ เม่ือเสร็จส้ินการจัดกิจกรรม ข้าพเจ้าทาการบันทึก
และสรุปผลการเข้าร่วมกิจกรรม นาความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาตนเอง
และผเู้ รยี น และรายงานผลใหผ้ บู้ ริหารรบั ทราบอย่เู สมอ
ข้าพเจ้ามีความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู พึงกระทาตนให้เป็น
แบบอย่างท่ีดีต่อศิษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ส่ งเสริม สนับสนุน
ช่วยเหลือศิษย์เสมอมาใช้หลักธรรม พรหมวิหาร 4ในการอยู่ร่วมและ
ปฏิบัติต่อผู้เรียน พรหมวิหาร 4 หรือ พรหมวิหารธรรม เป็นหลักธรรม
ประจาใจเพื่อให้ตนดารงชีวิตได้อย่างประเสริฐและบริสุทธ์ิเฉกเช่นพรหม
เปน็ แนวธรรมปฏิบตั ิของผ้ทู ่ผี ปู้ กครอง และการอยู่ร่วมกบั ผูอ้ ่ืน
พรหมวิหาร 4 หรือ พรหมวิหารธรรม
๑. เมตตา คือ ความรักใคร่ ปรารถนาดีอยากให้เขามีความสุข มีจิตอันแผ่ไมตรี
และคดิ ทาประโยชนแ์ ก่มนษุ ย์สัตวท์ ั่วหน้า
๒. กรุณา คือ ความสงสาร คิดช่วยให้พ้นทุกข์ ใฝ่ใจในอันจะปลดเปล้ืองบาบัด
ความทกุ ข์ยากเดอื ดรอ้ นของปวงสัตว์
๓. มุทิตา คือ ความยินดี ในเม่ือผู้อ่ืนอยู่ดีมีสุข มีจิตผ่องใสบันเทิง ประกอบด้วย
อาการแช่มช่ืนเบิกบานอยู่เสมอ ต่อสัตว์ท้ังหลายผู้ดารงในปกติสุข พลอยยินดี
ดว้ ยเมือ่ เขาไดด้ ีมสี ุข เจริญงอกงามย่ิงข้นึ ไป
๔. อุเบกขา คือ ความวางใจเป็นกลาง อันจะให้ดารงอยู่ในธรรมตามท่ีพิจารณา
เห็นด้วยปัญญา คือมีจิตเรียบตรงเท่ียงธรรมดุจตาชั่ง ไม่เอนเอียงด้วยรักและ
ชัง พิจารณาเห็นกรรมท่ีสัตว์ทั้งหลายกระทาแล้ว อันควรได้รับผลดีหรือช่ัว
สมควรแกเ่ หตุอันตนประกอบพร้อมทจ่ี ะวินจิ ฉยั และปฏบิ ัติไปตามธรรม รวมท้ัง
รู้จักวางเฉยสงบใจมองดู ในเมื่อไม่มีกิจท่ีควรทา เพราะเขารับผิดชอบตนได้ดี
แล้ว เขาสมควรรับผิดชอบตนเอง หรือเขาควรได้รับผลอันสมกับความ
รับผดิ ชอบของตน
ข้าพเจ้าอยูใ่ นระเบียบวินยั ปฏิบัตติ ามคาสั่งของผู้บังคับบัญชาอย่าง
สม่าเสมอ มีความยิ้มแย้มแจ่มใส และเป็นมิตรกับเพ่ือนร่วมงาน และ
นักเรียน รวมไปถึงผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนแวดล้อมของโรงเรียน
ดารงตนด้วยความสุภาพอ่อนน้อม สารวมในกิริยามารยาท และการ
แสดงออกดว้ ยปยิ วาจา แตง่ กายสะอาด เรียบรอ้ ย และถกู กาลเทศะ
ครูจะต้องมีความประพฤตปิ ฏบิ ัตติ ่อศิษย์ ๙ ประการ คอื
• ตัง้ ใจถ่ายทอดวิชาการ
• รักและเข้าใจศิษย์
• ส่งเสรมิ การเรียนรู้
• ยุติธรรม
• ไมแ่ สวงหาประโยชน์จากผู้เรยี น
• ทาตนเปน็ แบบอย่างท่ีดี
• ใหเ้ กยี รติผู้เรียน
• อบรมบ่มนสิ ัย
• ชว่ ยเหลือศิษยผ์ ู้เรียน
ข้าพเจา้ ปฏิบัตติ นตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูอย่างเคร่งครัด ดูแลเอา
ใจใส่ ให้เกียรติผู้เรียนโดยเข้าใจถึงความต่างแต่ละบุคคล มีความรัก
และเมตตา ใช้คาพูดและการแสดงออกท่ีไม่คุกคามทั้งด้านร่างกาย
และจดิ ใจ
ข้าพเจ้าปฏิบัติงานต่างๆ ท่ีทางโรงเรียนมอบหมาย ให้ความ
ร่วมมือกับคณะ ครู ในการทากิจกรรมต่างๆ ท้ังในและนอก
สถานศึกษาด้วยความเตม็ ใจ
ข้าพเจ้าตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ ทักษะที่ตนเองมี
ให้กับนักเรียนโดยมิได้ปิดบัง พยายามศึกษาค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติม
เพ่ือพัฒนาตนเอง ตดิ ตามข่าวสาร และเข้าอบรมเทคนิคใหม่ๆ นามาช่วย
พัฒนาการเรียนการสอน ให้กับนักเรียนเพื่อให้นักเรียนเป็นบุคคลที่มี
ความรู้ ทักษะ และทันต่อเหตุการณ์ สามารถนาความรู้ท่ีได้ไปพัฒนา
ชมุ ชนและท้องถนิ่
การยึดมัน่ ในการปกครองระบบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข และ
วางตวั เป็นกลาง ตามหมวดที่ 6 วินัยและการรกั ษาวินยั พระราชบัญญตั ิระเบียบขา้ ราชการครู
และบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2551
มาตรา 83 ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาตอ้ งสนบั สนนุ การปกครองในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุขตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยด้วย
ความบรสิ ุทธ์ใิ จและมีหน้าทว่ี างรากฐานใหเ้ กิดระบอบการปกครองเช่นว่านนั้
ขา้ พเจ้าได้ประพฤตปิ ฏิบัตติ น ในการใชส้ ิทธิและหนา้ ทีต่ ามระบอบ
ประชาธปิ ไตย โดยการไปใช้สิทธใิ นการเลอื กต้ังทุกครง้ั ที่มสี ิทธิในการ
เลือกตง้ั เช่น การเลือกต้ัง สมาชิกผแู้ ทนราษฎร สมาชิกองค์การบรหิ าร
ส่วนตาบล การเลอื กตงั้ ครู หรอื ตัวแทนครใู นการเข้าไปทาหนา้ ที่ หรือ
หนว่ ยงานต่างๆ ดว้ ยความซอื่ สัตย์รวมท้ังการมสี ่วนร่วมในการส่งเสริม
สนับสนุนกจิ กรรมท่เี กีย่ วข้องเช่น ให้ความร่วมมือกับทาง คณะกรรมการ
สานักงานเลอื กตง้ั รว่ มเปน็ คณะกรรมการในการเลอื กต้งั การสอนนกั เรียน
ในเรอื่ งการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็
ประมุขให้นกั เรียนเขา้ ใจอย่างแท้จรงิ เกดิ การตระหนักถงึ ความสาคญั จน
นาไปสู่การปฏบิ ัติ การแสดงออกทางการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่
ถกู ต้อง กิจกรรมท่ีช่วยส่งเสริม เชน่ สอดแทรกประชาธิปไตยในชั้นเรยี น
จากการเลือกตัวแทนหัวหน้าห้อง เปน็ ต้น
เศรษฐกิจพอเพียง มีความสาคัญและมีคุณค่าต่อประชาชนในทุกระดับ
ตัง้ แตร่ ะดบั ครอบครวั ระดับชมุ ชน จนถึงระดบั ประเทศ โดยเศรษฐกิจพอเพียงเปน็
ปรัชญาที่ช้ีแนะแนวทางให้ประชาชนสามารถดารงชีวิตแบบพออยู่พอกินและ
สามารถพ่ึงพาตนเองได้ เศรษฐกิจพอเพียงจึงมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ
อันจะนาไปสู่สังคมที่มีคุณภาพท้ังทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงการนาปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ใน การพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนจะก่อให้เกิด
ประโยชนต์ อ่ ชุมชนและสังคม
ข้ า พ เ จ้ า ต ร ะ ห นั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า ข อ ง ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต ต า ม ห ลั ก
เศรษฐกิจพอเพียง โดยการเข้าอบรมความรู้เก่ียวกับหลักสูตร
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และพยายามน้อมนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงมาใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั เพ่ือความม่นั คงของตนเอง
ในปัจจบุ ันและอนาคต
ข้าพเจ้านาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาสอดแทรกในการ
สอนของนักเรียน พบว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนาหลักของความพอเพียง คือ
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว บนเงื่อนไขของความรู้คู่
คณุ ธรรม นกั เรยี นนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
ข้าพเจ้าปฏิบัติหน้าท่ีข้าราชการ ท้ังงานในด้านการสอน งานตาม
คาสั่งทไ่ี ด้รับมอบหมาย ด้วยความอุตสาหะ ขยนั อดทน มุ่งมั่นและ
รับผิดชอบอย่างเต็มรู้ เต็มใจ เต็มเวลา เต็มคน เต็มพลัง เอาใจใส่
นักเรียนในด้านการเรียน และความประพฤติให้นักเรียนเป็นผู้ท่ีมี
ความรู้ ความประพฤติท่ีดี สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
รับผิดชอบงานท่ีได้รับมอบหมายอย่างต้ังใจให้เสร็จทันเวลา พร้อมท้ัง
ประพฤติ ปฏิบัติตนอย่างเรียบง่าย และประหยัดโดยใช้ทรัพยากรใน
หน่วยงานอย่างประหยัดและคุ้มค่าช่วยลดค่าใช้จ่ายในโรงเรียนด้วย
การปิดน้าปิดไฟทุกคร้ังที่ไม่ได้ใช้งาน รวมถึงการรณรงค์และปลูก
จิตสานึกนักเรียนในการช่วยกันประหยัดน้า ประหยัดไฟฟ้าทุกครั้ง
ก่อนออกจากห้องเรียน หรือทากจิ กรรมใดๆ ท่ใี ชน้ ้า หรือไฟ เสร็จแลว้
ข้าพเจ้าดาเนินชีวิตโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของในหลวงรัชกาลท่ี 9 การดาเนินชีวิตอย่างมีภูมิคุ้มกันท่ีดี ความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล คือ เม่ือมีรายรับจะมีการบริหารจัดการ
อย่างพอประมาณ ประหยัดไม่ฟุ่มเฟือย จัดทารายรับ-รายจ่ายของ
ตนเองผ่านแอพพลิเคช่ันเพ่ือสามารถควบคุมระดับการใช้จ่ายของตน
ไม่ให้เกินตัวจนเกิดหน้ีสะสมและมีจัดสรรปั นส่วนในการออมเงินท่ี
หลากหลายรูปแบบ เช่น สลากออมสิน การเป็นสมาชิกสหกรณ์ออม
ทรพั ยค์ รู สมาชกิ กบข. สมาชิกกองทนุ หมูบ่ า้ น มเี หตุและผลทุกครั้งใน
การตัดสินใจ และมีความรู้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
โดยอาศัยความรู้และคณุ ธรรม
ข้าพเจ้าปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ลูกศิษย์ ใช้ชีวิตบนทางสาย
กลาง ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวิตและ
เป็นผู้ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และใฝ่พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มีการปรับปรุง
พัฒนางานการสอนอยเู่ สมอ
หนา้ ที่และความรบั ผดิ ชอบของครู
๑. ครูต้องสอนในสาขาวิชาท่ีตนรับผิดชอบ ปฏิบัติหน้าท่ีครูท่ีปรึกษาประจาชั้นที่ปรึกษา
กิจกรรมชมุ นมุ และงานอน่ื ๆ ทห่ี ัวหน้าสาขาวิชามอบหมาย
๒. ครูตอ้ งรับผดิ ชอบคาบสอนและช่ัวโมงปฏิบัตงิ าน ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้เข้าสอน
๓. ครูเขา้ สอนตรงเวลาและเตม็ เวลา และออกจากห้องสอนตรงเวลา เพ่ือสร้างศรัทธาสร้าง
นิสัยการตรงเวลาใหแ้ กน่ กั เรยี น
๔. หา้ มเปลี่ยนคาบสอนโดยพลการ (ไม่ได้รบั อนญุ าตจากทางโรงเรียน)
๕. เข้าสอนแทนตามที่หัวหนา้ สาขาวชิ ามอบหมาย
๖. การลากิจ หรือไปเข้ารับการอบรม สัมมนา ปฏิบัติงานต่างจังหวัด หากมีคาบสอน ให้ตก
ลงกับนักเรียนในห้องน้ัน ๆ เพ่ือจัดสอนแทนก่อนไป หรือหลังจากกลับมา หรือย้ายคาบ
ให้เรียบร้อย และต้องได้รับอนุญาตจากโรงเรียนก่อน โดยไม่ฝากคาบสอนให้ผู้อื่นสอน
แทนโดยพลการ
๗. หลงั การสอนใหบ้ ันทกึ รายการลงในสมดุ บนั ทกึ การสอนประจาชนั้
๘. ครตู อ้ งมแี ผนการสอนรายวชิ าท่รี ับผดิ ชอบ ท้ังฉบับย่อและฉบับสมบรู ณ์
๙. ครูต้องเตรียมการสอนและมอี ปุ กรณก์ ารสอน
๑๐. ครูท่ีไมเ่ ตรยี มการสอนให้พรอ้ ม นอกจากจะลดความมนั่ ใจในการสอนแล้วยงั จะมผี ลให้
นกั เรียนลดความเชอ่ื ถือในตวั ครูได้
ข้าพเจา้ ปฏบิ ตั ิหน้าทที่ ่ไี ด้รบั มอบหมายอยา่ งเต็มความสามารถ เต็มเวลา
เอาใจใส่ตอ่ การปฏบิ ตั หิ นา้ ที่อยา่ งสม่าเสมอ โดยมีการวางแผนการสอน
ล่วงหนา้ จดั ทา และจัดหาสื่อ จดั กจิ กรรมโดยเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ไม่ละท้งิ
การสอนกลางคัน มีการปรบั ปรงุ พัฒนางานการสอนอยู่เสมอ
ข้าพเจ้ารูแ้ ละตระหนักในหน้าท่ขี องครู ดังน้ี
๕.๒.๑ งานสอน คือ มีการเตรยี มการสอนและวางแผนการสอน
๕.๒.๒ งานครู คือ ครูต้องรับผิดชอบงานด้านตา่ งๆ เช่น งานธรุ การ งาน
บรหิ าร งานบรกิ าร และงานอื่นๆ ทีท่ าให้องค์กรก้าวหนา้
๕.๒.๓ งานนักศึกษา คือ ให้เวลาในการอบรม ส่ังสอน เมอ่ื ศิษยต์ ้องการ
คาแนะนาหรอื การชว่ ยเหลือ