The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานโครงการ ส่งผู้บริหาร ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tip8rn, 2022-05-02 04:23:12

รายงานโครงการ ส่งผู้บริหาร ฉบับสมบูรณ์

รายงานโครงการ ส่งผู้บริหาร ฉบับสมบูรณ์

รายงานสรปุ โครงการพัฒนาศักยภาพเครอื ขา ยพัฒนาองคก ร หลกั สตู รนักพฒั นาองคก รรนุ ใหม รุน ที่ 2

บทสรปุ ผูบรหิ าร

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเครือขายพัฒนาองคกรหลักสูตรนักพัฒนาองคกรรุนใหม
รุนที่ 2 กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพ่ือเสริมสรางคุณลักษณะของผูเขารับการอบรมใหมี
สมรรถนะ (ความรู ทักษะ บุคลิกลักษณะ) ในดานการพัฒนาหนวยงานที่สังกัดสูระบบราชการ 4.0 และ
เกิดสมรรถนะในการใชดิจิทัลเทคโนโลยี นวัตกรรมที่ผสมผสานระหวางภาครัฐและสวนงานอื่น ๆ ในการออกแบบ
การพัฒนาหนวยงานในสังกัดไดอยางเหมาะสม สามารถนำแนวคิดสูการปฏิบัติงาน ตลอดจนบูรณาการและ
ประยุกตใชกับงานทุกระบบในหนวยงานได กลุมเปาหมาย คือ หัวหนากลุมพัฒนาองคกรที่ปฏิบัติงานใหม
ไมเ กนิ 1 ป ขา ราชการ/พนักงานราชการท่ีปฏิบัตงิ านในกลมุ พฒั นาองคกร ไมนอ ยกวา 1 ป และไมเกนิ 2 ป โดยตอ ง
มีประสบการณดานการบริหารจัดการภาครัฐในการเปนระบบราชการ 4.0 และคำรับรองการปฏิบัติราชการของ
หนว ยงาน รวมท้ังผานการประเมนิ E-learning PMQA 4.0 รอยละ 80 จำนวน 38 คน ระยะเวลาการอบรม 5 วัน

รูปแบบการประชุมฯ ประกอบดวย การบรรยายภาคทฤษฎีเพื่อปรับฐานองคความรูในดานตาง ๆ
ทีม่ คี วามจำเปน และความสำคัญสำหรับนักพัฒนาองคกร รนุ 2 ไดแก

1) การพัฒนาองคกรกับการขับเคลื่อนกรมควบคุมโรค โดย นางเบญจมาภรณ ภิญโญพรพาณิชย
ผอู ำนวยการกลมุ พัฒนาระบบบรหิ าร

2) The Next Normal ของกรมควบคุมโรค โดย ดร.ธนาวิชญ จินดาประดิษฐ ที่ปรึกษาการพัฒนาระบบ
คณุ ภาพและเทคโนโลยี

3) ธรรมาภิบาลกับราชการในยุค 4.0 โดย รศ.ดร. ดนุวัศ สาคริก อาจารยประจำคณะรัฐประศาสนศาสตร
สถาบันบัณฑติ พฒั นศาสตร

4) การออกแบบแนวคิดภาครัฐเชิงพาณิชย (Public Entrepreneurships) โดย รศ.ดร. ดนุวัศ สาคริก
อาจารยป ระจำคณะรฐั ประศาสนศาสตร สถาบนั บัณฑิตพัฒนศาสตร

5) การปรับเปลี่ยนองคกรในยุคดิจิทัล (Digital Transformation) โดย ดร.นนท อัครประเสริฐกุล
ฝายสงเสริมเมอื งอจั ฉรยิ ะ สำนกั งานเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล

6) การออกแบบกระบวนการคิด (Design Thinking) โดย ดร.นนท อัครประเสริฐกุล ฝายสงเสริมเมือง
อจั ฉรยิ ะ สำนักงานเศรษฐกจิ ดิจิทัล

7) การมีสวนรวมของประชาชนและภาครัฐ (Collaboration Transformation) โดย นายศุภณัฐ เพิ่มพูนวิวัฒน
ผอู ำนวยการสำนกั สันติวธิ ีและธรรมาภบิ าล สถาบนั พระปกเกลา

8) การศกึ ษาดูงาน ณ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สวทช.) โดย อาจารยวารณุ ี ลีละธนาวิทย
9) ทักษะการสื่อสารและจัดทำสื่อดิจิทัลเพื่อการสื่อสารเพื่อการนำเสนอ โดย รศ.ดร. สมิทธ บุญชุติมา
อาจารยประจำคณะนเิ ทศศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั

2

รายงานสรปุ โครงการพฒั นาศกั ยภาพเครือขายพัฒนาองคกร หลกั สตู รนักพฒั นาองคก รรนุ ใหม รุนที่ 2

ภาคปฏิบัติ เนนกิจกรรมกลุมปฏิบัติการ ไดแก การวิเคราะหลักษณะสำคัญขององคกร วินิจฉัยองคกร
การจัดทำแผนยกระดับการพัฒนา สูระบบราชการ 4.0 ระยะ 3 ป (พ.ศ. 2565 - 2567) ของหนวยงาน และ
การนำเสนอ (Presentation) ผลงานกลมุ และผลงานเด่ียว

ผลการประชมุ จากการประเมนิ ความรูกอนและหลังการอบรม ผลงานกลมุ และการประเมินขอมูลท่ัวไป
และความคิดเห็นตอ รปู แบบการจดั อบรม จากผูเขาอบรม ดังตอ ไปนี้

1) ขอมูลทว่ั ไปผเู ขา อบรม

แผนภาพที่ 1 จำนวน รอยละแสดงขอมลู ท่ัวไปของผูอบรม

จํานวนผอู บรม
ทง้ั หมด 38 คน

ขอ มูลทั่วไป เพศชาย จาํ นวน 7 คน เพศหญงิ จํานวน 31 คน
คิดเปน รอ ยละ 18.42 คิดเปนรอยละ 81.58

0 10 20 30 40

จากแผนภาพท่ี 1 จำนวน รอ ยละแสดงขอมลู ทั่วไปของผอู บรม พบวา ผูเ ขาอบรมเปน เพศหญิง 31 คน
คดิ เปนรอ ยละ 81.58 เพศชาย 7 คน คดิ เปน รอ ยละ 18.42

แผนภาพที่ 2 จำนวน รอ ยละแสดงระยะเวลาการทำงานผอู บรม

3 ป ขึ้นไป จาํ นวน 13 คน 0-1 ป (ไมเ กนิ 1 ป)
คดิ เปนรอ ยละ 34.21 จาํ นวน 12 คน

คิดเปนรอ ยละ 31.58

2-3 ป (2 ปข้นึ ไป ไมเ กนิ 3 ป) 1-2 ป (1 ปข้นึ ไป ไม
จํานวน 3 คน เกนิ 2 ป)

คิดเปน รอ ยละ 7.89 จาํ นวน 10 คน
คิดเปนรอยละ 26.32

จากแผนภาพที่ 2 จำนวน รอยละแสดงระยะเวลาการทำงานผูอบรม พบวา ผูอบรมมีระยะเวลา
การทำงานอยูในชวง 3 ปขึ้นไป มากที่สุด จำนวน 13 คน คิดเปนรอยละ 34.21 และระยะเวลาการทำงาน
ชว ง 2 – 3 ป (2 ป ไมเกิน 3 ป) นอ ยท่ีสดุ จำนวน 3 คน คดิ เปน รอยละ 7.89

3

รายงานสรปุ โครงการพฒั นาศักยภาพเครอื ขายพัฒนาองคก ร หลกั สตู รนกั พฒั นาองคก รรนุ ใหม รนุ ที่ 2

แผนภาพท่ี 3 จำนวน รอยละแสดงตำแหนงการทำงานผูอบรม

นกั ทรพั ยากรบุคคล เจาพนกั งานธรุ การ
จํานวน 5 คน จํานวน 1 คน

คิดเปน รอ ยละ 13.16 คดิ เปน รอ ยละ 2.63

นักวเิ คราะหน โยบายและ ตาํ แหนง การทาํ งาน นกั วิชาการสาธารณสขุ
แผน ของผูอบรม จาํ นวน 20 คน

จาํ นวน 12 คน คดิ เปน รอ ยละ 52.63
คดิ เปนรอยละ 31.58

จากแผนภาพที่ 3 จำนวน รอยละแสดงตำแหนงการทำงานผูอบรม พบวา ผูอบรมมีตำแหนง
นักวิชาการสาธารณสุข มากที่สุด จำนวน 20 คน คิดเปนรอยละ 52.63 และมีตำแหนง เจาพนักงานธุรการ
นอ ยทสี่ ุด จำนวน 1 คน คดิ เปน รอ ยละ 2.63

2) สรปุ ผลการวดั ความรู และเปรียบเทยี บคะแนนผลการทดสอบกอน (Pre-test) และหลังการอบรม (Post-test)

แผนภาพท่ี 4 ผลการทดสอบกอน - หลัง การอบรม

30 คะแนนสูงสดุ 27 คะแนนสูงสดุ 26

25

20 คะแนนตา่ํ สดุ 11 คะแนนตาํ่ สดุ 14

15

10

5

0 หลงั อบรม
กอ่ นอบรม

คะแนนสงู สดุ คะแนนต่าํ สดุ

จากแผนภาพที่ 4 ผลการทดสอบกอน - หลัง การอบรมกอนการอบรม (Pre-test) พบวา มีจำนวน
ผูทำขอสอบทั้งหมด 38 คน จากขอสอบจำนวน 30 ขอ โดยผูที่ทำขอสอบกอนการอบรม (Pre-test) ไดคะแนน
สูงสุด 27 คะแนน คิดเปนรอยละ 90.00 คะแนนต่ำสุด 11 คะแนน คิดเปนรอยละ 36.67 และผูที่ทำขอสอบหลัง
การอบรม (Post-test) ไดคะแนนสูงสุด 26 คะแนน คิดเปนรอยละ 86.67 คะแนนต่ำสุด 14 คะแนน คิดเปน
รอยละ 46.67 ซึ่งขอสอบหลังการอบรม (Post-test) จำแนกเปนขอสอบท่ีเหมือนกอนอบรม (Pre-test)
จำนวน 11 ขอ และขอสอบที่ไมเหมือนกอนการอบรม (Pre-test) จำนวน 19 ขอ จำแนกเปน 2 สวน ไดแก 1)
ขอสอบที่เหมือนกอนอบรม (Pre-test) จำนวน 11 ขอ พบวา มีผูไดคะแนนลดลงจากกอนอบรม (Pre-test)
จำนวน 24 คน โดยลดลงมากที่สุด จำนวน 4 ขอ และขอที่พบวาผิดมากที่สุด คือ ขอใดไมใชขั้นตอนของ
การประเมินผลคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดยทางผูจัดจะมีแนวทางในการพัฒนาใหความรูในเรื่อง

4

รายงานสรปุ โครงการพฒั นาศักยภาพเครือขายพัฒนาองคกร หลักสตู รนักพฒั นาองคกรรนุ ใหม รนุ ที่ 2

การประเมินผลคำรับรองการปฏิบตั ิราชการผา นทาง Online เพอื่ ใหน กั พฒั นาองคกรมคี วามรู ความเขาใจ ในเรื่อง
ดังกลาวเพิ่มมากขึ้น 2) ขอสอบที่ไมเหมือนกอนการอบรม (Pre-test) จำนวน 19 ขอ คะแนนสูงสุด 17 คะแนน
คดิ เปน รอ ยละ 89.47คะแนนตำ่ สดุ 9 คะแนน คดิ เปนรอ ยละ 47.37

สรปุ ผลการวัดความรู พบวา ผเู ขา อบรมสว นใหญผา นเกณฑคะแนนที่ตงั้ ไว คอื รอ ยละ 60 จำนวน 38 คน
คดิ เปนรอยละ 100

3) ผลการประเมินความพึงพอใจตอภาพรวมการอบรม พบวา กอ นการอบรม ผูเขาอบรมมีความรูความเขาใจ
ในเน้ือหาของโครงการดังกลาวในระดับนอย (คาเฉลี่ย = 2.06, รอยละ = 51.50) หลังการอบรมมีความรูความเขาใจ
ในเนื้อหาของโครงการดังกลาวเพิ่มขึ้น โดยมีระดับความพึงพอใจมากที่สุด (คาเฉลี่ย = 3.34, รอยละ = 83.50)
และประเดน็ ท่ีผเู ขาอบรมสวนใหญ มีความพึงพอใจมากทส่ี ุด ไดแ ก ดา นวิทยากร (รอยละ = 93.75, คาเฉล่ีย = 3.75 )

4) ประเด็นส่ิงทไ่ี ดร ับ ปญหาอปุ สรรค ความตอ งการและขอเสนอแนะอื่น ๆ จากผเู ขา อบรม
จากแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจของผูอบรม มีการตอบแบบสอบถามจำนวน 38 คน
โดยสรปุ เปน ประเด็นท่สี ำคญั ไดด งั นี้

สงิ่ ทีไ่ ดร บั จากการอบรม
1) ไดรับการความรูเรื่องการเปลี่ยนผานองคการไปสูองคการดิจิทัล และไดรับความรูความเขาใจ
เร่อื งทักษะการส่อื สารและการจัดทำสื่อดิจทิ ลั เพื่อการนำเสนอ
2) ไดรับความรู เรื่อง ธรรมาภิบาลกับราชการในยุค 4.0 และการออกแบบแนวคิดภาครัฐ
เชิงพาณิชย (Public Entrepreneurship) และไดฝกปฏิบัติ เรื่อง Eliminate-Reduce-Raise-Create (ERRC)
Grid ในองคก รวา ควรมีการปรับปรงุ และพฒั นางานในอนาคตอยางไร
3) ไดเครือขายในการปรึกษางาน แลกเปลี่ยนเรียนรู ประสบการณ ระหวางหนวยงาน วิทยากร
ผจู ัดอบรม และเพือ่ นรว มรนุ
4) ไดเรียนรูก ารเตรียมความพรอมในการพัฒนาองคกรเชิงระบบ และการนำแนวทางการนำดจิ ทิ ลั
มาใชกบั องคกรของตนเอง
5) มีการนำความรูที่ไดไปประยุกตใชกับงานที่ไดรับมอบหมายได และคาดวาจะนำความรูที่ได
ไปประยุกตใ ชก ับหนวยงานของตนเองได
6) มีความรูค วามเขาใจในการกำหนด เขยี นตัวชี้วัดที่ถกู ตอง
7) มแี นวคดิ การสรางกระบวนการเรยี นรู เหน็ ตัวอยางท่ีดีของการจดั การความรู
8) พัฒนาความคิดวเิ คราะหเช่อื มโยงกระบวนการทำงาน
9) ไดองคความรูในการทำงานในฐานะของนักพัฒนาองคก ร
10) ไดเรียนรโู ครงสรางกรม บทบาทหนาที่ ภารกิจ กพร. กรม

5

รายงานสรปุ โครงการพัฒนาศักยภาพเครอื ขา ยพัฒนาองคก ร หลักสตู รนกั พฒั นาองคก รรนุ ใหม รนุ ที่ 2

ปญ หาอุปสรรค
1) พ้นื ฐานความรูบุคลากรท่เี ขา รวมอบรมมคี วามรไู มเ ทากัน ทำใหไ มเขา ใจในบางเรื่อง
2) ความสัมพนั ธนอกกลุม ยงั นอ ย รจู กั กนั ไมทั่วถงึ
3) การแปลงแนวคดิ ทฤษฎที ี่ไดรับ นำไปสกู ระบวนการปฏิบัตใิ นหนวยงาน
4) บางกิจกรรมอาจยากเกินไปสำหรบั คนทยี่ งั ไมมีขอ มูลความรูพ ้ืนฐาน
5) เน้ือหา กิจกรรม คอนขา งแนน ไมส ามารถจัดลำดบั ความสำคญั ได
บทสรปุ ขอคนพบ ขอ เสนอเพือ่ พัฒนา
กลุมพัฒนาระบบบริหาร ไดประชุมสรุปภาพรวมจากการอบรมจากผลการประเมิน และเชิงประจักษ
แบง เปน 3 ประเดน็ ดังนี้
1) ดานความรู ความเขาใจ ในเนื้อหาของโครงการ กอนอบรมอยูในระดับนอย (รอยละ = 51.50,
คา เฉลย่ี = 2.06) หลงั อบรมมีความรู ความเขา ใจเพ่มิ ข้ึนอยใู นระดบั มากท่ีสุด (รอยละ = 83.50, คา เฉลย่ี 3.34)
2) ดานผลคะแนนทดสอบกอนและหลังการอบรม พบวา ผูเขาอบรมมีความรู ผานเกณฑรอยละ 60
จำนวน 38 คน คดิ เปนรอยละ 100
3) ดา นทกั ษะกิจกรรมกลุม พบวา ผเู ขาอบรมมีสวนรวมในการทำกจิ กรรมกลุม สนใจในการสืบคน
วิเคราะหขอมูลตามแนวคิดท่ีไดรับการอบรม รวมแสดงความคิดเห็นทั้งจากการไดรับจากการอบรมและความรู
ความสามารถในดานตาง ๆ ของแตละบุคคล ตลอดจนสามารถผลัดเปลี่ยนเพื่อนำเสนอผลงานได ทำใหเกิด
ความสำเร็จในทกุ ผลงาน
สรุปผลโครงการ ภาพรวมสัมฤทธิ์ผลตามวัตถุประสงค กลาวคือ สวนใหญผูเขารับการอบรม
มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับแนวคิดของการบริหารจัดการองคกรแนวใหมเพิ่มขึ้น อีกทั้งยังกอใหเกิดเครือขาย
การพัฒนาองคกรเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ กลุมพัฒนาบริหารยังคงตองพัฒนางานอยางตอเนื่อง กลาวคือ ตองพัฒนาเนื้อหา
ใหทันสมัย และสามารถแปลงแนวคิดตาง ๆ สูภาษาการปฏิบัติ พรอมหาตัวอยาง เครื่องมือ นวัตกรรมสำหรับ
การพัฒนาองคกรเพิ่มขึ้น ตลอดจนตองจัดใหมีเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรูเครือขายกลุมพัฒนาองคกรอยางนอย
ปล ะครง้ั และนำทุกความคดิ เห็นจากผูเขา อบรม มาปรบั ปรุงพัฒนา จัดทำเปนแผนงานโครงการอยา งเรง ดวน

กลมุ พัฒนาระบบบริหาร
มนี าคม 2565

6

รายงานสรปุ โครงการพัฒนาศักยภาพเครือขายพฒั นาองคกร หลกั สูตรนักพฒั นาองคกรรนุ ใหม รุน ท่ี 2

สารบัญ

บทสรปุ ผบู ริหาร.....................................................................................................................................................2
สารบญั .................................................................................................................................................................. 7
สวนท่ี 1 บทนำ ....................................................................................................................................................12

หลกั การและเหตุผล ......................................................................................................................................12
วตั ถปุ ระสงค..................................................................................................................................................13
กลุมเปาหมาย ...............................................................................................................................................13
ระยะเวลา ....................................................................................................................................................13
ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน .................................................................................................................................14
คำนิยาม ........................................................................................................................................................14
หลกั เกณฑการประกนั คุณภาพการฝกอบรม..................................................................................................15
โครงสรา งและรายละเอียดของหลักสูตรฯ......................................................................................................18
สถานทใี่ นการอบรม.....................................................................................................................................19
คำอธิบายรายวชิ า ........................................................................................................................................19
วิทยากร .......................................................................................................................................................21
เงื่อนไขการจบหลักสตู ร และการประเมินผลการอบรม ................................................................................22
กำหนดการอบรม .........................................................................................................................................2 3
ผูจดั การหลักสตู ร .........................................................................................................................................24
สวนที่ 2 การดำเนนิ งานโครงการ .........................................................................................................................25
พิธเี ปด ........................................................................................................................................................25
การบรรยายพเิ ศษ เรื่อง การพฒั นาองคกรแนวใหม......................................................................................25
แนะนำหลกั สตู รฯ.........................................................................................................................................26
ทดสอบความรูก อ นการอบรม (Pre-test) ....................................................................................................26
การบรรยายเรื่อง แนวคิดการพัฒนาองคภาครัฐ และการปรับบทบาทภารกิจและโครงสรางหนวยงาน
กรมควบคุมโรค ...........................................................................................................................................27

7

รายงานสรปุ โครงการพฒั นาศักยภาพเครอื ขา ยพฒั นาองคกร หลกั สูตรนกั พฒั นาองคกรรุน ใหม รุน ที่ 2

การบรรยาย เรื่อง The Next Normal ของกรมควบคุมโรค ......................................................................27
การบรรยายและฝกปฏิบตั ิ เรอ่ื ง ทกั ษะการสือ่ สารและจัดทำส่ือดจิ ทิ ัลเพื่อการนำเสนอ ..............................28
การบรรยายและฝกปฏบิ ัติ เรื่อง ธรรมมาภิบาลกบั ราชการ 4.0......................................................................28
การบรรยายและฝก ปฏบิ ัติ เร่ือง การออกแบบแนวคดิ ภาครัฐเชิงพาณิชย (Public Entrepreneurship) ............... 29
อภปิ ราย เร่อื ง การดำเนนิ งานบริหารจัดการภาครฐั (PMQA 4.0) ระดับหนว ยงาน กรมควบคุมโรค...................... 29
การบรรยายและฝกปฏบิ ัติ เร่อื ง การปรับเปลีย่ นองคกรในยุคดิจทิ ัล (Digital Transformation) ............. 30
การบรรยายและฝกปฏบิ ตั ิ เรือ่ ง การออกแบบการะบวนการคดิ (Design Thinking) ................................30
อภิปรายเร่ือง การดำเนินการตัวชีว้ ัดคำรับรองการปฏิบตั ริ าชการ............................................................... 30
การบรรยาย เร่ือง การมสี ว นรว มของประชาชนและภาครฐั (Collaboration Government) ....................31
ศึกษาดงู าน ณ สำนกั งานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง ชาติ (สวทช.) .............................................31
กิจกรรมนันทนาการ ..................................................................................................................................32
นำเสนองานกลุม งานรายบคุ คล และทดสอบหลังการอบรม (Post-test) .................................................32
พธิ ปี ด........................................................................................................................................................33
สว นท่ี 3 ผลการอบรม.........................................................................................................................................34
สรปุ ผลการวัดความรู และเปรยี บเทียบคะแนนผลการทดสอบกอนและหลังการอบรมฯ...........................34
ผลการวเิ คราะหขอ มูลจากแบบสอบถาม ..................................................................................................35
สรุปผลการอบรม......................................................................................................................................49
ขอ เสนอแนะ ............................................................................................................................................50
ภาคผนวก ..........................................................................................................................................................52
เฉลยคำตอบแบบวดั ความรู ......................................................................................................................53
ผลงานกลมุ ...............................................................................................................................................54
รายละเอยี ดการสมัครเขา รับการอบรม.....................................................................................................64
ใบสมัคร ...................................................................................................................................................65
ใบงานที่ 1................................................................................................................................................67

8

รายงานสรปุ โครงการพัฒนาศักยภาพเครือขา ยพัฒนาองคก ร หลกั สตู รนกั พฒั นาองคก รรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

ใบงานที่ 2...................................................................................................................................................68
คำกลา ว ......................................................................................................................................................69
แบบประเมินในการอบรม ...........................................................................................................................74
วิทยากรพล่ี ี้ยง.............................................................................................................................................80
ใบประกาศนียบตั ร......................................................................................................................................81

9

รายงานสรปุ โครงการพัฒนาศักยภาพเครอื ขายพฒั นาองคกร หลักสูตรนักพฒั นาองคก รรุนใหม รุน ที่ 2

สารบัญภาพ

แผนภาพท่ี 1 จำนวน รอ ยละแสดงขอมูลท่วั ไปของผูอบรม .............................................................................. 3
แผนภาพท่ี 2 จำนวน รอยละแสดงระยะเวลาการทำงานผอู บรม ...................................................................... 3
แผนภาพท่ี 3 จำนวน รอยละแสดงตำแหนงการทำงานผูอบรม......................................................................... 3
แผนภาพที่ 4 ผลการทดสอบกอน - หลงั การอบรม......................................................................................... 4
แผนภาพที่ 5 ผลการทดสอบกอ น - หลงั การอบรม...................................................................................................................................... 34
แผนภาพที่ 6 จำนวน รอยละแสดงขอมูลทัว่ ไปของผูอบรม...................................................................................................................... 36
แผนภาพท่ี 7 จำนวน รอยละแสดงระยะเวลาการทำงานผอู บรม ......................................................................................................... 36
แผนภาพท่ี 8 จำนวน รอ ยละแสดงตำแหนงการทำงานผูอบรม............................................................................................................. 37

10

รายงานสรปุ โครงการพัฒนาศกั ยภาพเครอื ขา ยพฒั นาองคก ร หลักสตู รนกั พฒั นาองคกรรุนใหม รุนท่ี 2

สารบัญตาราง

ตาราง 1 คาเฉล่ีย รอยละ และระดับความพึงพอของผูเขาอบรมในหัวขอ แนวคิดการพัฒนาองคภาครัฐ
และการปรบั บทบาทภารกจิ และโครงสรา งหนวยงานกรมควบคมุ โรค...................................................................37
ตาราง 2 คาเฉล่ีย รอยละ และระดับความพึงพอใจของผูเ ขาอบรมในหัวขอ The Next Normal ของกรมควบคมุ โรค ............38
ตาราง 3 คาเฉลี่ย รอยละ และระดับความพึงพอใจของผูเขาอบรมในหัวขอ ทักษะการสื่อสารและจัดทำสื่อดิจิทัล
เพอื่ การนำเสนอ...................................................................................................................................................39
ตาราง 4 ภาพรวมของวัน.....................................................................................................................................40
ตาราง 5 คาเฉล่ยี รอยละ และระดับความพงึ พอใจของผเู ขาอบรมในหวั ขอ ธรรมมาภบิ าลกับราชการ 4.0................... 40
ตาราง 6 คาเฉลี่ย รอยละ และระดับความพึงพอใจของผูเขาอบรมในหัวขอ การออกแบบแนวคิดภาครัฐ
เชิงพาณชิ ย (Public Entrepreneurship) ...........................................................................................................41
ตาราง 7 ภาพรวมของวนั .....................................................................................................................................42
ตาราง 8 คาเฉลี่ย รอยละ และระดับความพึงพอใจของผูเขาอบรมในหัวขอ การปรับเปลี่ยนองคกรในยุคดิจิทัล
(Digital Transformation) .................................................................................................................................43
ตาราง 9 คาเฉลี่ย รอยละ และระดับความพึงพอใจของผูเขาอบรมในหัวขอ การออกแบบการะบวนการคิด
(Design Thinking) .............................................................................................................................................44
ตาราง 10 ภาพรวมของวัน...................................................................................................................................45
ตาราง 11 คาเฉลี่ย รอยละ และระดับความพึงพอใจของผูเขาอบรมในหัวขอการมีสวนรวมของประชาชนและ
ภาครฐั (Collaboration Government) ............................................................................................................45
ตาราง 12 คา เฉลย่ี รอยละ และระดับความพึงพอใจของผูเขาอบรมในการศึกษาดูงาน ณ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) และการบรรยาย เรื่อง ระบบ ICT เพื่อการบริหารจัดการงานของ สวทช. ............... 46
ตาราง 13 ภาพรวมของวนั ...................................................................................................................................47
ตาราง 14 ภาพรวมโครงการฯ..............................................................................................................................47
ตาราง 15 ความพงึ พอใจในภาพรวมท้งั โครงการ..................................................................................................49
ตาราง 16 ความคาดหวัง......................................................................................................................................49
ตาราง 17 ความคุมคา .........................................................................................................................................49

11

รายงานสรปุ โครงการพฒั นาศักยภาพเครอื ขา ยพัฒนาองคกร หลักสูตรนักพฒั นาองคกรรนุ ใหม รุนท่ี 2

สวนที่ 1 บทนำ
โครงการพฒั นาศักยภาพเครือขายพัฒนาองคก ร หลกั สูตรนกั พฒั นาองคก รรุนใหม รนุ ที่ 2

1) หลักการและเหตผุ ล
ภายใตระบบราชการจะตองทํางานโดยยึดหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี

เพื่อประโยชนสุขของประชาชน (Better Governance, Happier Citizens) โดยตองปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการ
ทํางานใหมเพื่อพลิกโฉม (Transform) ใหสามารถเปนที่เชื่อถือไววางใจ และเปนที่พึ่งของประชาชนไดอยางแทจริง
(ระบบราชการ 4.0 สำนักงาน ก.พ.ร., 2560) ภายใตวิถีชีวิตใหม (New Normal) ที่สงผลกระทบทั้งดานเศรษฐกิจ
การเมือง สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี สิ่งแวดลอม รวมถึงพฤติกรรมของปจเจกบุคคล องคกรเอกชน ซึ่งมีรูปแบบ
การดำเนินชีวิต กิจกรรม และพฤติกรรมตาง ๆ ที่แตกตางไปจากเดิม สงผลใหภาครัฐจำเปนตองเตรียมพรอมและ
รับมือกับการเปลี่ยนแปลงอยางทันทวงที (Rapid Change) โดยการนำเทคโนโลยีดิจิทัล ระบบฐานขอมูลขนาดใหญ
(Big Data) และนวัตกรรมมาประยุกตใชในการใหบริการประชาชนปรับบทบาทภารกิจ และโครงสรางหนวยงาน
ภาครัฐใหทันสมัย ยืดหยุน รองรับการเปลี่ยนแปลง และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานภาครัฐ ทั้งนี้โดยวางเปาให
ภาครัฐปรับตัวเองสูระบบราชการ 4.0 โดยมุงเนนใหภาครัฐมีขนาดที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ขับเคลื่อน
ดวยเทคโนโลยีและฐานขอมูล (Data Driven) และนำนวัตกรรมมาเปนกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนการบริหารงาน
ภาครัฐ (Innovation Driven) อันจะสงผลใหภาครัฐมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ประชาชไดรับการบริการภาครัฐที่ตรงตาม
ความตองการ และประชาชนมีความเชื่อมั่นในภาครัฐ (Public Trust) (ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย
พ.ศ. 2564 – 2565, สำนักงาน ก.พ.ร.)

การดำเนินการบริหารจัดการภาครัฐและการปฏิรูปองคการของกรมควบคุมโรคสูระบบราชการ 4.0
โดยกลุมพัฒนาระบบบริหาร ในฐานะหนวยงานหลักในการขับเคลื่อนโดยใชแนวทางการบริหารจัดการภาครัฐ
จากสำนักงาน ก.พ.ร. มาอยางตอเน่ืองตาม Road map (ป 2556 – 2563) จนเมอ่ื ป 2563 ถือวา บรรลุตามเปาหมาย
ที่วางไว เมื่อไดรับรางวัลกรมควบคุมโรค 4.0 ระดับ Significance (ไดรับคะแนน 470 จาก 500 คะแนน เปนหนึ่งใน
สองหนวยงานในระดับประเทศ) หลังจากนั้นตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ.2564 – 2566 กลุมพัฒนาระบบบริหารจึงได
วาง Roadmap ระยะ 3 ป ดำเนินงานอยางตอเนื่องตามแผนการยกระดับสูระบบราชการ 4.0 ในอนาคต ในแบบ
“การขบั เคลื่อนองคการแหงนวัตกรรมสูการควบคุมโรคในชวี ิตปกติ วถิ ใี หมท ย่ี ่ังยืน” (Sustainably New Normal of
Disease Control) โดยจะเนนการพัฒนาลงสูหนวยงานในสังกัดกรมอยางเขมขนเพื่อใหทุกหนวยงานเขาสูระดับ
Significance ทง้ั น้ีปจจยั สำคัญอีกหนึ่งประการท่ีจะนำไปสูความสำเร็จดังกลาว คือ การพฒั นากำลงั คนและนวัตกรรม
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถและใชดิจิทัล มาปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานในการปองกัน ควบคุมโรค มีความยืดหยุนและ
ความสามารถในการตอบสนองกับสถานการณตาง ๆ ไดอยางทันเวลา ตลอดจนเปนองคการที่มีขีดสมรรถนะสูง
และปรับตัวเขาสูส ภาพความเปลยี่ นแปลงของสถานการณโ ลก และปฏบิ ัตหิ นาท่ไี ดอยา งเหมาะสมกับบทบาทของตน

12

รายงานสรปุ โครงการพฒั นาศกั ยภาพเครือขายพฒั นาองคกร หลกั สูตรนกั พฒั นาองคก รรุนใหม รุน ท่ี 2

ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 กลุมพัฒนาระบบบริหาร จึงไดจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพเครือขายพัฒนา
องคกร กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565 หลักสูตรนักพัฒนาองคกร กรมควบคุมโรค รุน 2
เพื่อเสริมสรางคุณลักษณะสูการเปนนักพัฒนาองคกรรุนใหมที่ปรับเปลี่ยนกระบวนการทางความคิด (Mindset)
มีความเปนผูประกอบการสาธารณะหรือแนวคิดเชิงพาณิชย (Public Entrepreneurship) สามารถตกผลึกการนำ
แนวคิดการสานพลังระหวางภาครัฐและภาคสวนอื่น ๆ ในสังคม (Collaboration) การสรางนวัตกรรม(Innovation)
และการปรับเขาสูความเปนดจิ ทิ ัล (Digitalization) ไปขับเคล่ือนและพัฒนาหนว ยงานในสังกัดเขาสูระบบราชการ 4.0
ผลทไ่ี ดร ับจากกิจกรรมน้จี ะเปนสว นหนึ่งที่สำคัญในการสรา งบุคลากรของกรมใหมีสมรรถนะทจี่ ําเปน และเปลี่ยนแปลง
พฤตกิ รรม ทําใหสามารถปฏิบตั ิภารกิจปกปองประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพไดตามบรรลุตามวตั ถุประสงคไดอยา ง
มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนเพื่อสรางคุณภาพของผลงานปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของกรม
ใหเปน ท่ยี อมรบั ในระดับชาตแิ ละนานาชาติเพิ่มขึ้นตอไป
2) วตั ถุประสงค

2.1 เพื่อเสริมสรางคุณลักษณะของผูเขารับการอบรมใหมีสมรรถนะ (ความรู ทักษะ บุคลิกลักษณะ)
ในดา นการพัฒนาหนวยงานที่สงั กัดสรู ะบบราชการ 4.0

2.2 เพอ่ื ใหผ เู ขารบั การอบรมเกิดสมรรถนะในการใชดิจทิ ลั เทคโนโลยี นวตั กรรมท่ผี สมผสานระหวางภาครัฐ
และสว นงานอ่ืน ๆ ในการออกแบบการพัฒนาหนวยงานในสังกัดไดอยางเหมาะสม

2.3 เพ่ือสรา งเครอื ขา ยนักพัฒนาองคกรระบบราชการ 4.0 ของกรมควบคมุ โรค
3) กลมุ เปา หมาย

ผูเขารับการอบรมโครงการพัฒนาศักยภาพเครือขายพัฒนาองคกร กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ
พ.ศ.2565 หลักสูตรนักพัฒนาองคกร กรมควบคุมโรค รุนที่ 2 จากทุกหนวยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค
หนว ยงานละ 1 คน รวมเปนจำนวน 43 คน ประกอบดวยบคุ ลากร 2 กลุม ดังน้ี

3.1 หวั หนากลุมพฒั นาองคกรที่ปฏบิ ัตงิ านใหม ไมเ กนิ 1 ป
3.2 ขาราชการ/พนักงานราชการที่ปฏิบัติงานในกลุมพัฒนาองคกร ไมนอยกวา 1 ป และไมเกิน 2 ป
โดยตองมีประสบการณดานการบริหารจัดการภาครัฐในการเปนระบบราชการ 4.0 และคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ของหนวยงาน รวมทง้ั ผานการประเมนิ E-learning PMQA 4.0 รอ ยละ 80
3.3 ตองเขา รว มการอบรมไดต ลอดหลักสูตร

4) ระยะเวลา
วนั ท่ี 28 กุมภาพันธ - 4 มนี าคม 2565 จำนวน 5 วัน ณ โรงแรมทินีดี โฮเทล แอนด รสี อรท จังหวัดปทมุ ธานี

13

รายงานสรปุ โครงการพฒั นาศักยภาพเครอื ขายพฒั นาองคกร หลกั สูตรนกั พฒั นาองคกรรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

5) ขั้นตอนการดำเนนิ งาน
5.1 แตงตั้งคณะทำงานจัดทำโครงการฯ พรอมมอบหมายหนาที่ เพื่อวางกรอบการดำเนินงาน กำหนด

แผนการดำเนินงานเกณฑการคัดเลือกบุคลากรเขาอบรม เนื้อหาในการอบรม การวัดและประเมินผลบุคลากรและ
โครงการ กำหนดหลักเกณฑการประกันคณุ ภาพการฝกอบรม นำหลักเกณฑการประกันคุณภาพการฝกอบรมไปปฏิบัติ
เปน แนวทางในการจดั ฝกอบรมพฒั นาบุคลากร รวมทงั้ ประเมนิ ประสิทธิภาพประสทิ ธิผลการฝกอบรมของบคุ ลากร

5.2 ศึกษาสภาพขอมูลพื้นฐานบุคลากรกลุมพัฒนาองคกรของหนวยงานในสังกัดกรมควบคุมโรคเพื่อทราบ
ความตองการและวิเคราะหจำนวนบคุ ลากรที่มีคุณสมบตั ติ ามเกณฑ

5.3 ขออนุมัติโครงการ และทำหนังสือแจงเวียนทุกหนวยงาน เพื่อใหสงบุคลากรที่เขาเกณฑการอบรม
เขา รวมโครงการ

5.4 ประชุมคณะทำงานตามแผนที่กำหนดเพื่อเตรียมงานทั้งดานวิชาการ วิทยากร งบประมาณ และเอกสาร
ทีใ่ ชในการอบรม

6) คำนิยาม
นักพัฒนาองคกร รุน 2 หมายถึง กลุมขาราชการ หรือ พนักงานราชการ ที่ปฏิบัติงานในกลุมพัฒนา

องคก รระยะเวลาไมเ กนิ 2 ป ของทุกหนวยงานในสงั กดั กรมควบคุมโรค
หลักสูตรนักพัฒนาองคกร กรมควบคุมโรค รุน 2 หมายถึง เนื้อหาวิชา ความรูทั้งภาคทฤษฎีและ

ภาคปฏิบัติเกี่ยวกับเแนวคิดระบบราชการ 4.0 และปจจัยแหงความความสำเร็จในการเปนหนวยงานตามระบบ
ราชการ 4.0 ของกรมควบคุมโรค ประกอบดวย ระบบราชการ 4.0 เพื่อรองรับตอยุทธศาสตรประเทศไทย 4.0
ไดแก องคกรแหงการเปดกวางและเชื่อมโยงกัน (Open & Connected Government) การยึดประชาชนเปน
ศูนยกลาง (Citizen-Centric Government) และองคกรขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart & High
Performance Government) ปจจัยแหงความความสำเร็จของระบบราชการ 4.0 ไดแก การสานพลังระหวาง
ภาครัฐและภาคสวนอื่น ๆ ในสังคม (Collaboration) การสรางนวัตกรรม (Innovation) และการปรับเขาสู
ความเปนดิจิทัล (Digitalization) ตลอดจนการศึกษาดูงานในหนวยงานตนแบบในองคกรภาครัฐ และภาคเอกชน
การทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนรู และการจัดทำรายงานการวินิจฉัยองคกรและแผนยกระดับการพัฒนา
สรู ะบบราชการ 4.0 ผา นกระบวนการเรยี นรแู บบมีสว นรว มของผูเขารบั การอบรม

ปจจัยเกื้อหนุนในการฝกอบรม หมายถึง ทรัพยากรที่ใชในการดำเนินการฝกอบรม เชน สถานท่ี
สิ่งแวดลอม บรรยากาศ อุณหภูมิ แสงสวาง ระดับเสียง วัสดุ อุปกรณ สื่อ เทคโนโลยีตาง ๆ เปนตน ที่ใชอำนวย
ความสะดวกและดำเนนิ การในการฝกอบรมใหบรรลุเปาหมาย

ผลลัพธของการฝกอบรม หมายถึง ความรู (Knowledge) ทักษะ (Skill) และทัศนคติ (Attitude)
ท่เี กิดข้นึ ในตัวบคุ ลากรซึง่ ตามวัตถปุ ระสงคทก่ี ำหนดไวในหลกั สตู รการฝก อบรม

14

รายงานสรปุ โครงการพัฒนาศักยภาพเครอื ขา ยพัฒนาองคกร หลักสูตรนกั พฒั นาองคก รรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

ความคุมคาของการฝกอบรม หมายถึง การวัดและประเมินผูที่ผานการฝกอบรมสามารถนำความรู
ทักษะ และประสบการณที่ไดรับจากการฝกอบรมไปใชในการปฏิบัติงาน รวมถึงการประเมินความพึงพอใจ
ของผูบงั คบั บัญชาทมี่ ีตอ คณุ ภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรภายหลังไดร บั การฝก อบรม

เกณฑการดำเนินงาน หมายถึง รายละเอียดของการดำเนินงานหรือผลการดำเนินงาน เพื่อใหบรรลุ
ถึงคณุ ภาพและมาตรฐานในแตล ะตวั บงช้ี กำหนดเปน 2 ลักษณะคือ เกณฑเชิงปรมิ าณ และเกณฑเชิงคุณภาพ

7) หลักเกณฑการประกนั คณุ ภาพการฝก อบรม
ในการดำเนินการพัฒนาบุคลากรจะตองคำนงึ ถงึ ความสอดคลองกับความตองการขององคก รและบุคลากร

คุมคาตอการลงทุน และมีคุณภาพ โดยหลักสูตรที่จัดขึ้นตองผานการศึกษาเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวของ
และเปน ไปตามเกณฑป ระกันคุณภาพการฝกอบรมกรมควบคมุ โรคอกี ดว ย กลมุ พัฒนาระบบบรหิ ารไดจ ดั ทำเน้ือหา
รายวชิ าของหลักสูตร ตลอดจนการประเมนิ ผลโปรแกรมการฝก อบรมตามเกณฑฯ ดงั กลาว
โดยพยายามยึดหลักการประเมินความรูสึก ประเมินการเรียนรู ประเมินพฤติกรรมและการประเมินผลลัพธ
ตามสภาพการณที่จะสามารถทำการประเมินได เพื่อใหมั่นใจวาการดำเนินการพัฒนาบุคลากร จะสามารถ
ดำเนินการไดอยางตอเนื่อง เกดิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล มีคุณภาพอยางแทจ ริง

หลกั สตู รนกั พัฒนาองคกร กรมควบคมุ โรค รนุ ท่ี 2 ภายใตโครงการพฒั นาศักยภาพเครือขายพัฒนาองคกร
กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565 ไดกำหนดมาตรฐานในการดำเนินการดานการประกันคุณภาพ
การฝกอบรมที่ครอบคลุมปจจัยนำเขา (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต (Output) ตามทฤษฎีเชิงระบบ
คือ เร่มิ ต้งั แตก ารหาความจำเปนในการฝกอบรม ตลอดจนการประเมินและติดตามผลการฝกอบรม โดยในหลักสูตร
ฝกอบรมจะมีการประเมิน ซึ่งประกอบดวยมาตรฐานคุณภาพ 6 มาตรฐาน ตัวบงชี้คุณภาพ 12 ตัว (กองบริหาร
ทรัพยากรบคุ คล กรมควบคุมโรค; หลักเกณฑก ารประกนั คุณภาพการฝก อบรม, 2558) ดังน้ี

มาตรฐานท่ี 1 หลกั สูตร ประกอบดว ย 2 ตวั บงช้ี ดังนี้
1) มีการหาความจำเปนและความตองการในการฝกอบรม คือ มีขอมูลการวิเคราะหความจำเปนและ
ความตองการในการฝกอบรมซึ่งเกี่ยวของกับความรู ทักษะ และสมรรถนะของบุคลากร ที่จะตองใชใน
การปฏิบัติงานในกลุมพัฒนาองคกร โดยใชขอมูลขอเสนอแนะในดานการพัฒนาบุคลากจากผลการประเมิน
โครงการพัฒนาเครือขายพฒั นาองคกรในแตละครั้ง ซึ่งขอ คน พบท่ีมีความตองการมากทส่ี ุดคือ การพัฒนากำลังคน
ที่เพิ่งเขามาปฏิบัติงานในกลุมพัฒนาองคกรเพื่อใหมีพื้นฐานความรูในงานบริหารจัดการภาครัฐ (ผลการประเมิน
โครงการพัฒนาเครือขายพฒั นาองคกร กลมุ พัฒนาระบบบรหิ าร, ป 2562 – 2564)

2) วิเคราะหความสอดคลองเนื้อหาหลักสูตรการฝกอบรม โดยเปนไปตามแผนยุทธศาสตรที่ 4
การปรับปรุงระบบบริหารจัดการและการพัฒนาความรวมมือของกรมควบคุมโรค และจุดเนนนโยบาย
กรมควบคุมโรคสรู าชการ 4.0

15

รายงานสรปุ โครงการพัฒนาศักยภาพเครอื ขา ยพฒั นาองคก ร หลักสูตรนกั พฒั นาองคกรรุน ใหม รุนที่ 2

มาตรฐานท่ี 2 ผูเขารับการฝกอบรม ประกอบดวย 2 ตวั บง ช้ี ดังนี้

1) มีการกำหนดและคัดเลือกผูที่มีคณุ สมบัติเหมาะสมตรงกับหลักสูตรโดยมีการระบุตำแหนงหรือเง่ือนไข

ของผูเขารับการฝกอบรมหรือหนวยงานพิจารณาสงเขารับการฝกอบรมกลาวคือ จะพิจารณาตามคุณสมบัติและ

หนาทไ่ี ดปฏบิ ตั งิ านอยจู ากขาราชการและพนักงานราชการทปี่ ฏิบตั ิงานในกลมุ พฒั นาองคก ร ไมเ กิน 2 ป

2) มีการกำหนดจำนวนผูเขารบั การฝกอบรมทเี่ หมาะสมกับหลักสูตร เชน พิจารณาจากการระบุจำนวนไว

ท่แี นน อนตามหลักสตู รกำหนด หรอื ตามรายช่ือที่ระบไุ วในหนงั สือท่ีอนุมตั ิ หรือจากแบบประเมินผลของผูเขารับการ

ฝก อบรมในแตละหลักสตู ร คอื ตอ งไดค ะแนนไมนอยกวารอยละ 60 เปน ตน

มาตรฐานที่ 3 วิทยากร/ผูสอน ประกอบดว ย 2 ตัวบงชี้ ดังนี้

1) มีการคัดเลือกและสรรหาวิทยากรจากทั้งภาครัฐ สถานบันการศึกษาชั้นนำ และองคการมหาชน

ที่มีความรู ประสบการณ ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประวัติผลงานวิชาการที่สอดคลองกับเนื้อหาของ

ระบบราชการ 4.0

2) วิทยากรมีความสามารถในการถายทอด และสื่อสารใหผูเขารับการฝกอบรมเขาใจ คือ ประเมินจากแบบ

ประเมินผลของผูเขา รับการฝกอบรมในแตละหลักสตู ร คอื ตอ งไดค ะแนนไมนอยกวารอยละ 60

มาตรฐานที่ 4 เทคนิคการฝกอบรม ประกอบดว ย 2 ตัวบง ช้ี ดังนี้

1) กำหนดเทคนิควิธีการฝกอบรมที่เหมาะสม สอดคลองกับวัตถุประสงคของหลักสูตร คือ ประเมินจาก

แบบประเมินผลของผูเ ขารบั การฝกอบรมในแตละหลักสูตร ตอ งไดค ะแนนไมน อยกวารอยละ 60

2) มีการใชอุปกรณและสื่อที่เหมาะสม สอดคลอ งกับรปู แบบ วธิ กี ารสอน คอื ประเมินจากแบบประเมินผล

ของผูเขารับการฝกอบรมในแตละหลักสูตร ตองไดค ะแนนไมน อยกวา รอ ยละ 60

มาตรฐานท่ี 5 สถานทจ่ี ัดฝกอบรม ประกอบดว ย 1 ตวั บงช้ี ดงั นี้

1) มีการกำหนดสถานที่ฝกอบรมและสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรู คือ ประเมินจากแบบประเมินผล

ของผเู ขารับการฝกอบรมในแตละหลักสูตร ตอ งไดคะแนนไมน อ ยกวา รอ ยละ 60

มาตรฐานท่ี 6 การประเมนิ ผลของโครงการฝก อบรม ประกอบดวย 2 ตวั บง ช้ี ดังน้ี

การประเมินผลการฝกอบรมที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จากการประเมินทั้งเชิงปริมาณและเชิง

คุณภาพ รายละเอียดดังนี้

6.1 คะแนนเชิงคุณภาพ หมายถึง การประเมินตัวบงชี้ในลักษณะการประเมินกระบวนการ (Process)

วา มีการดำเนินงานจริงตามท่ีกำหนดหรือไม ไดแก มาตรฐานที่ 1 การจดั ทำหลกั สตู ร มาตรฐานท่ี 5 ผเู ขารบั การอบรม

และมาตรฐานที่ 6 การประเมนิ ผลของโครงการฝกอบรม

เกณฑก ารประเมินของแตละตวั บงช้ี ไดแ ก

คะแนน 1 หมายถึง ไมม ีการดำเนินงานตามเกณฑ

คะแนน 2 หมายถึง มีการดำเนนิ งานตามเกณฑบ างสว น

คะแนน 3 หมายถึง มกี ารดำเนินงานครบถวนตามเกณฑ

16

รายงานสรปุ โครงการพฒั นาศักยภาพเครอื ขายพฒั นาองคกร หลกั สตู รนักพฒั นาองคกรรุนใหม รุนที่ 2

เกณฑค ะแนนเฉล่ียรายมาตรฐาน

คา ระดับคะแนน เงือ่ นไขเกณฑ คะแนนมาตรฐาน
1.00 – 1.66 ไมผ า น 1
1.67 – 2.33 ผา น 2
2.34 – 3.00

6.2 คะแนนเชิงปริมาณ หมายถึง การประเมินตัวบงชี้จากผลประเมินความพึงพอใจผูเขาอบรมตอ
โครงการอบรม ไดแก มาตรฐานท่ี 2 วทิ ยากร/ผูสอน มาตรฐานท่ี 3 เทคนิคการฝกอบรม และมาตรฐานที่ 4 ปจจัย
เกอ้ื หนนุ ในการฝก อบรม

เกณฑการประเมินของแตละตัวบงช้ีตามขอกำหนดประกันคุณภาพของกรมควบคุมโรค โดยใชแบบ
ประเมินความพึงพอใจจากแบบสอบถามความพึงพอใจโครงการฝกอบรม (แบบฟอรม TF-01) แบบติดตามผล
การอบรม (แบบฟอรม TF-02) แบบฟอรมสรุปผลการติดตามผลการฝกอบรมรายโครงการ (แบบฟอรม TF-05)
และแบบฟอรมสรุปผลการติดตามการฝกอบรมรายหนวยงาน (แบบฟอรม TF-06) มาหาคะแนนเฉลี่ย
รายมาตรฐานโดยใชเ กณฑแ บงเปน 4 ระดบั ดังน้ี

คา ระดับคะแนน การแปลความหมาย เงอื่ นไขเกณฑ คะแนนมาตรฐาน
ความพึงพอใจ ระดับคะแนน
1.00 – 1.75 ไมผ า น 1
1.76 – 2.50 พึงพอใจนอ ยทีส่ ุด ผา น 2
2.51 – 3.25 พึงพอใจนอ ย
3.26 – 4.00 พึงพอใจมาก
พึงพอใจมากทีส่ ุด

สำหรับการประเมินผลการฝกอบรม (Training Evaluation) คือ การเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อประเมิน
ความสำเร็จของโครงการ ใชแนวคิดของเคิรกแพทริค (Kirkpatrick, 1977, 1983, 1994 quoted in Cascio and
Aguinis, 2010) โดยอาศยั เกณฑ (Criteria) 4 ประเภท ดังนี้

1) การประเมินปฏกิ ริ ิยา (Reaction) เปน การวัดทศั นคติของผเู ขา อบรมถึงความรสู ึกพึงพอใจตอการจัดอบรม
2) การประเมินการเรียนรู (Learning) เปนการวัดถึงการเพิ่มพูนความรู (Knowledge) ทักษะ (Skill)
และทศั นคติ (Attitude) ตามกรอบของวตั ถุประสงคการอบรมท่ีตั้งไว โดยมีวิธปี ระเมินวัตถุประสงคใหความรูดวยการ
ทดสอบกอนและภายหลังการอบรม (Pre-test & Post-test) และวัตถุประสงคการเสริมทักษะการลงปฏิบัติจริง
(Performance Test) และเพื่อเปลย่ี นแปลงทัศนคติ วัดดวยแบบประเมนิ ทัศนคติ (Attitude Test)
3) การประเมินพฤติกรรม (Behavior) เปนการประเมินการนำความรูที่ไดจากการอบรมไปใชใน
การปฏบิ ตั งิ านจรงิ
4) การประเมินผลลัพธ (Outcomes หรอื Results) เปนนการประเมินผลท่ีองคการไดร ับจากการอบรม เชน
องคกรมีสมรรถนะถึงขัน้ ระดบั Significant และความพงึ พอใจของผูรบั บริการของแตหนวยงานเพ่ิมข้ึน เปนตน

17

รายงานสรปุ โครงการพฒั นาศักยภาพเครอื ขา ยพฒั นาองคก ร หลกั สตู รนกั พฒั นาองคกรรนุ ใหม รุนท่ี 2

ผเู ขารบั การฝกอบรมตามแบบประเมิน โดยมีคะแนนไมนอยกวารอยละ 60 หรอื ประเมนิ จากการทดสอบหลัง
การฝกอบรม โดยตองมีคะแนนไมนอยกวารอยละ 60 และมีการติดตามและประเมินผลความคุมคาของ
การจัดฝกอบรม คือ มีการติดตามและประเมินผลความคุมคาของการจัดฝกอบรม (หลัง 3 เดือน) โดยผลประเมินใน
ภาพรวมในแตละหลักสูตร โดยตอ งมคี ะแนนไมน อยกวารอยละ 60

8) โครงสรางและรายละเอียดของหลักสูตรฯ

8.1 กรอบแนวคดิ ในการจดั การอบรม
การดำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพเครือขายพัฒนาองคกร กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ

พ.ศ.2565 หลกั สูตรนกั พฒั นาองคก ร กรมควบคมุ โรค รนุ ที่ 2 มกี รอบแนวคดิ ในการจัดการเรียนรูตามวตั ถปุ ระสงค
หลักของการดำเนินโครงการฯ เพ่ือพัฒนาผเู ขารับการอบรมไดร ับการพฒั นาสมรรถนะการปรับเปล่ียนชุดความคิด
(Mindset) ทกั ษะทส่ี ำคญั และจำเปน (Skillset) ในการเปนนักพฒั นาองคก รและนกั ปฏิบัติ (Operator) ท่ีสามารถ
กอใหเกิดการเปล่ียนแปลงอยางสมดุลในยุคดิจิทัลเทคโนโลยี และการเรียนรูผานเคร่ืองมือ (Toolset)
ท่หี ลากหลาย สามารถนำไปใชไดในการทำงานไดจรงิ ตามคณุ ลกั ษณะของระบบราชการ 4.0

ระยะเวลาในการอบรม 5 วนั จำนวน 45 ชั่วโมง ประกอบดวย 3 สวน ไดแก
1) การอบรมภาคทฤษฎี เปนการปรับฐานองคความรูในดานตาง ๆ ที่มีความจำเปนและความสำคัญ
สำหรับนักพัฒนาองคกร ที่จะตองทำงานบริหารงานแบบบูรณาการ เพื่อใหสอดคลองกับระบบราชการที่ปรับเปลี่ยน
บริบทการบริหารงานภาครัฐซึ่งแตกตางไปจากเดิม ตามสภาวการณของสิ่งแวดลอมมิติตาง ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลง
อยา งรวดเร็ว วิธีการและเคร่อื งมอื การเรียนรู ไดแ ก การบรรยาย Workshop และการนำเสนอ (Presentation)
2) ภาคปฏิบตั ิ เนน กจิ กรรมกลมุ ปฏบิ ตั ิการ จดั ทําเอกสารวชิ าการรายกลุม และรายบคุ คล
3) การศกึ ษาดงู าน
มีรายละเอียด ดังนี้

การอบรมภาคทฤษฎี จำนวน 25 ชวั่ โมง แบงเปน เนอ้ื หาวิชา

- แนวคิดระบบราชการ 4.0 และปจจัยสำคัญตอความสำเร็จของการพัฒนา 4 ชว่ั โมง

หนวยงานไปสรู ะบบราชการ 4.0 ช่ัวโมง
ชว่ั โมง
- การทำแผนยกระดบั องคกร 3
ชว่ั โมง
- การสานพลังความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคสวนอื่น ๆ ในสังคม 3 ชว่ั โมง
ชั่วโมง
(Collaborative Governance) ช่ัวโมง
ชั่วโมง
- การออกแบบแนวคดิ ภาครฐั เชิงพาณชิ ย (Public Entrepreneurship) 3

- การปรบั เขา สูค วามเปนดิจทิ ลั (Digitalization) 3

- การสรางนวตั กรรม (Innovation & Design Thinking) 3

- ทักษะการส่ือสารและจัดทำสื่อดิจิทัล 3

- การแลกเปลีย่ นความรู ประสบการณ และสรุปความคดิ รวบยอด 3

18

รายงานสรปุ โครงการพฒั นาศกั ยภาพเครอื ขายพฒั นาองคก ร หลกั สตู รนักพฒั นาองคก รรนุ ใหม รุนที่ 2

ภาคปฏิบัติ จำนวน 17 ช่ัวโมง แบง เปน เนอ้ื หาวชิ า 3 ชัว่ โมง
- การปฐมนิเทศ และปจ ฉิมนิเทศ 1 ชวั่ โมง
10 ชั่วโมง
- กิจกรรม Edutainment 3 ช่ัวโมง

- การจัดทำเอกสารวชิ าการรายบุคคล และรายกลมุ
- การนำเสนอรายงานรายบุคคล และรายกลุม

การศกึ ษาดูงาน จำนวน 3 ชวั่ โมง เนนองคกร Digital Transformation

9) สถานท่ใี นการอบรม

- โรงแรมทนิ ิดี โฮเทล แอนด รีสอรท จังหวัดปทมุ ธานี
- ศกึ ษาดูงาน ณ สำนักงานพฒั นาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยแี หงชาติ (สวทช.)

10) คำอธิบายรายวิชา

ระบบราชการ 4.0
ประเทศไทยจะมงุ สูไทยแลนด 4.0 โดยใชหลกั ยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป เนน ใหภาครัฐตอ งปรับตวั ใหสามารถ
อำนวยความสะดวก ดำเนนิ กกิจกรรมทางเศรษฐกจิ และสังคมยุคดิจทิ ัล ทามกลางความเปลย่ี นแปลงท่รี วดเร็วและ
ไมส ามารถคาดเดาได ท้งั นี้ตอ งยดึ ภาครฐั หรือระบบราชการ จะตองทำงานโดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าลของการบริหาร
กิจการบานเมืองที่ดีเพื่อประโยชนสุขของประชาชน (Better Governance, Happier Citizens) โดยตอง
ปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธกี ารทำงานใหมเ พื่อพลิกโฉม (Transform) ใหสามารถเปนที่เช่ือถือไววางใจและเปนพึง่
ของประชาชนไดอ ยา งแทจรงิ (Credible and Trusted Government)

องคกรท่ีเปดกวางและเชอื่ มโยงกนั (Open & Connected Government)
การเปดเผยโปรงใสในการทำงาน โดยบุคคลภายนอกสามารถเขาถึงขอมูลขาวสารของทางราชการ

หรือมีการแบงปนขอมูลซึ่งกันและกัน และสามารถเขามาตรวจสอบการทำงานได ตลอดจนเปดกวางใหกลไกหรอื

ภาคสว นอน่ื ๆ เชน ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คมไดเ ขามามสี วนรวม การสานพลังความรว มมอื ระหวางภาครฐั และ
ภาคสว นอ่ืน ๆ ในสังคม (Collaborative Governance) และโอนถายภารกจิ ที่ภาครฐั ไมค วรดำเนินการเองออกไป

ใหแกภาคสว นอน่ื ๆ (Public Entrepreneurship)

ยดึ ประชาชนเปนศนู ยก ลาง (Citizen-Centric Government)
ทำงานในเชิงรุกและมองไปขางหนา โดยตั้งคำถามกับตนเองเสมอวา ประชาชนจะไดอะไร มุงเนนแกไข
ปญหาและตอบสนองความตองการของประชาชน โดยไมตองรอใหเขามาติดตอขอรับบริการหรือรองขอ
ความชวยเหลือจากทางราชการ (Proactive Public Services) รวมทั้งใชประโยชนจากขอมูลภาครัฐ
(Big Government Data) และระบบดิจิทัลสมัยใหมในการจัดบริการสาธารณะที่ตรงกับความตองการของ
ประชาชน (Personalized หรือ Tailored Services) พรอมทั้งอำนวยความสะดวก โดยมีการเช่ือมโยงกันเองของ
ทางราชการเพื่อใหบริการไดเสร็จสิ้นเพียงจุดเดียว ประชาชนสามารถเรียกใชบริการของทางราชการไดตลอดเวลา

19

รายงานสรปุ โครงการพัฒนาศกั ยภาพเครอื ขายพฒั นาองคกร หลักสูตรนักพฒั นาองคก รรนุ ใหม รุน ท่ี 2

ตามความตองการของตนและผานการติดตอไดหลายชองทางผสมผสานกันทั้งการติดตอดวยตนเอง เว็บไซต
โซเชยี ลมเี ดยี หรอื แอปพลิเคชนั ทางโทรศัพทมือถือดวยทักษะการสอื่ สารและจัดทำสื่อดจิ ิทัล

มีขีดสมรรถนะสงู และทันสมัย (Smart & High Performance Government)
ตองทำงานอยางเตรียมการไวลวงหนา มีการวิเคราะหความเสี่ยง สรางนวัตกรรมหรือความคิดริเริ่มและ
ประยุกตองคความรูในแบบสหสาขาวิชาเขามาใช ปรับตัวเขาสูสภาพความเปนสำนักงานสมัยใหม ปฏิบัติหนาที่ได
อยา งเหมาะสมกับบทบาทของตน การสรางนวัตกรรม (Innovation & Design Thinking & DigitalTransformation)

20

รายงานสรปุ โครงการพฒั นาศักยภาพเครือขายพฒั นาองคก ร หลกั สูตรนกั พฒั นาองคก รรุนใหม รนุ ท่ี 2

11) วทิ ยากร
คณะวิทยากรโครงการพัฒนาศักยภาพเครือขายพัฒนาองคกร กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ

พ.ศ.2565 หลักสูตรนักพัฒนาองคกร กรมควบคุมโรค รุนที่ 2 ไดรับเกียรติจากผูบริหารระดับสูง อาจารยผูเชี่ยวชาญ
จากมหาวิทยาลัย ผเู ชี่ยวชาญจากภาคเอกชนในงานดานตาง ๆ ทเ่ี ปน ที่ยอมรบั อาทิ

นายแพทยโอภาส การยก วนิ พงศ นายแพทยอภิชาต วชิรพันธ
อธิบดกี รมควบคมุ โรค รองอธบิ ดีกรมควบคมุ โรค

นางเบญจมาภรณ ภญิ โญพรพาณิชย นายศุภณัฐ เพิ่มพูนวิวัฒน
ผูอ ำนวยการกลมุ พฒั นาระบบบริหาร ผอู ำนวยการสำนกั สันตวิ ธิ ี
และธรรมาภิบาล
สถาบนั พระปกเกลา

อาจารยวารณุ ี ลีละธนาวิทย รศ.ดร.สมิทธิ์ บญุ ชตุ มิ า
สำนกั งานพัฒนาวิทยาศาสตร คณะนเิ ทศศาสตร
และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั

รศ. ดร.ดนวุ ัส สาครกิ ดร.ธนาวิชญ จินดาประดิษฐ
คณะรัฐประศาสนศาสตร ทีป่ รึกษาการพฒั นาระบบ
สถาบันบัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร คณุ ภาพและเทคโนโลยี
(นิดา )

ดร.นนท อัครประเสรฐิ กุล
สำนกั งานสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทลั

21

รายงานสรปุ โครงการพฒั นาศกั ยภาพเครอื ขายพฒั นาองคกร หลักสตู รนกั พฒั นาองคก รรนุ ใหม รุนที่ 2

12) เงอื่ นไขการจบหลักสูตร และการประเมินผลการอบรม
ผเู ขา รบั การอบรมในโครงการพัฒนาศักยภาพเครอื ขา ยพัฒนาองคกร กรมควบคมุ โรค ประจำปง บประมาณ

พ.ศ.2565 หลักสูตรนักพัฒนาองคกร กรมควบคุมโรค รุนที่ 2 และเปนผูผานการอบรมจะไดรับประกาศนียบัตรจาก
ผบู ริหารระดบั สงู ของกรมฯ เม่อื ปฏิบัตติ ามเกณฑต า ง ๆ ตอไปนี้ครบถว น

1) เกณฑเ วลาอบรม ผเู ขา อบรมตองเขา อบรมตลอดทง้ั หลกั สูตร หรือ รอยละ 100
2) เกณฑการมีสวนรว ม ผูเขา อบรมตอ งมสี ว นรวมในการศกึ ษาอบรม อาทิ การปฐมนเิ ทศ การปจฉิมนิเทศ
และการเขากลมุ ปฏิบตั ิการ
3) เกณฑการจัดทำเอกสารวิชาการ ผูเขาอบรมตองรวมจัดทำเอกสารวิชาการรายบุคคล และรายกลุม
โดยไดรบั การประเมินให “ผาน” จากประธานวิทยากรกลุม
4) การประเมินผลอบรมรายบุคคล ผูเขารับการอบรมตองทดสอบขอเขียนกอน และหลังการอบรม
รวมทงั้ ตอบแบบประเมินผลในโครงการ

22

13) กำหนดการอบรม

ตารางการอบรมโครงการพัฒนาศักยภาพเครอื ขา ยพัฒนาองคก ร กรมควบคมุ โรค ประจำปง บประ
ระหวา งวันท่ี 28 กุมภาพันธ – 4 มีนาคม 2565 ณ โรงแรมทินิดี โฮเทล แอนด รีสอรท จงั หวดั ปท

วันที่ / 08.30 – 09.00 – 10.00 น. 10.00 – 11.00 น. 11.00 – 12.00 น.
เวลา 09.00 น.

28 ก.พ. - พิธีเปด การอบรม - ทดสอบกอนอบรม บรรยาย เรอื่ ง การพัฒนาองคก ร
2565 - บรรยายพิเศษ (Pre-Test) กบั การขบั เคลอื่ นกรมควบคมุ โรค

โดยอธิบดกี รมควบคมุ โรค - แนะนำหลักสูตร โดย นางเบญจมาภรณ ภญิ โญพรพาณิชย
นพ.โอภาส การยก วนิ พงศ - กลมุ สัมพนั ธ โดย ผอู ำนวยการกลุมระบบบรหิ าร
ทีมงาน ดร.อจั ฉรา บุญชมุ

1 มี.ค. บรรยาย เรอ่ื ง ธรรมมาภิบาลกับราชการในยุค 4.0
2565 โดย รศ. ดร. ดนุวศั สาครกิ
อาจารยประจำคณะรฐั ประศาสนศาสตร สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร
2 มี.ค.
2565 บรรยายและฝก ปฏบิ ัติ เร่ือง การปรับเปลยี่ นองคกรในยุคดจิ ทิ ัล (Digital Transformation)
โดย ดร. นนท อัครประเสริฐกุล
3 มี.ค. ฝายสงเสริมเมืองอจั ฉรยิ ะ สำนกั งานสง เสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัล
2565
บรรยาย เรอื่ ง การมสี วนรว มของประชาชนและภาครัฐ (Collaboration Government)
4 มี.ค. โดย นายศภุ ณฐั เพ่ิมพนู วิวฒั น
2565 ผูอ ำนวยการสำนกั สนั ตวิ ิธแี ละธรรมาภบิ าล สถาบนั พระปกเกลา

ลงทะเ ีบยน บรรยายและฝกปฏบิ ัติ ทักษะการสอ่ื สาร นำเสนอรายงานเดย่ี ว / กลมุ
และจดั ทำสือ่ ดจิ ิทลั เพอื่ การนำเสนอ โดย ทีมกลุม พฒั นาระบบบรหิ าร
โดย รศ. ดร. สมิทธ์ิ บญุ ชุตมิ า อาจารยประจำ เปนผูวิพากษ
คณะนเิ ทศศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย

ผูจดั ทำโครงการ: 1. ดร. อัจฉรา บญุ ชมุ หัวหนา กลุมภารกจิ พัฒนาระบบคุณภาพและนวัตกรรม

2. นายธีรวทิ ย ตั้งจติ ไพศาล หวั หนา กลุม งานพัฒนาองคก รและผลงานคุณภาพ

กลมุ ภารกจิ พฒั นาระบบคณุ ภาพและนวัตกรรม กลุมพัฒนาระบบบรหิ าร กรมควบคุมโรค

รายงานสรปุ โครงการพัฒนาศักยภาพเครอื ขา ยพัฒนาองคกร หลักสูตรนักพฒั นาองคกรรุนใหม รุน ท่ี 2

ะมาณ พ.ศ.2565 หลกั สตู รนกั พฒั นาองคกร กรมควบคุมโรค รุนที่ 2
ทุมธานี

12.00 – 13.00 – 14.30 น. 14.30 – 16.30 น. 1 6 . 3 0 – 19.00 –
13.00 น. 17.00 น. 20.00 น.

บรรยาย เรื่อง The Next Normal ของกรมควบคมุ โรค แนะนำ บรรยาย
โดย ดร.ธนาวชิ ญ จนิ ดาประดิษฐ พ่ีเล้ียงกลุม/ ฝกทกั ษะการ
ย ทป่ี รกึ ษาการพฒั นาระบบคุณภาพและเทคโนโลยี มอบหมาย วนิ ิจฉยั องคก ร /
ใบงานกลุม แผนยกระดับ
องคกร (1)
และ
รายบคุ คล

บรรยายและฝก ปฏบิ ตั ิ เรอ่ื ง การออกแบบแนวคดิ ภาครฐั เชิงพาณชิ ย เขากลุม ฝกทกั ษะการ
(Public Entrepreneurship) วินิจฉยั องคก ร /
โดย รศ. ดร. ดนุวศั สาครกิ แ ผ น ย ก ร ะ ดั บ
อาจารยป ระจำคณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร
องคกร
(2)

บรรยายและฝก ปฏิบัติ เร่ือง การออกแบบกระบวนการคิด (Design Thinking)

โดย ดร. นนท อคั รประเสริฐกุล เขากลมุ

ฝา ยสงเสริมเมอื งอัจฉริยะ สำนักงานสงเสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั

ัพกรับประทานอาหารกลางวัน ศกึ ษาดูงาน ณ สำนักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยแี หงชาติ (สวทช.) งานเลยี้ งกอ นจบ
อาจารยว ารณุ ี ลลี ะธนาวิทย

- สรปุ ความคิดรวบยอด - อภปิ รายทั่วไป เดนิ ทางกลบั โดยสวสั ดิภาพ
โดย นางเบญจมาภรณ ภิญโญพรพาณิชย - พิธีมอบใบประกาศนียบัตร

ผอู ำนวยการกลมุ พฒั นาระบบบริหาร และคณะ และพิธีปดการอบรม
- ทดสอบหลงั อบรม (Post-Test) โดยอธิบดีกรมควบคุมโรค
นพ.โอภาส การยกวนิ พงศ

โทร. 094-2615169 Email: [email protected]
โทร. 082-4466539 Email: [email protected]
โทร. 02-5903348 Website: https://ddc.moph.go.th/psdg

23

รายงานสรุปโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารพัฒนาศักยภาพเครอื ขายพัฒนาองคก ร หลักสูตรนักพฒั นาองคก รรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

14) ผจู ัดการหลกั สูตร
นางเบญจมาภรณ ภญิ โญพรพาณชิ ย
ผูอำนวยการกลุมพฒั นาระบบบรหิ าร
ทีป่ รึกษา

ดร.อัจฉรา บญุ ชุม
นักวิเคราะหนโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
ผูชว ยผอู ำนวยการ
หัวหนา กลุมภารกจิ พฒั นาระบบคณุ ภาพและนวัตกรรม

นายธีรวิทย ตัง้ จิตไพศาล
นักวิเคราะหนโยบายและแผนชำนาญการ
หวั หนากลุมงานพัฒนาองคก รและผลงานคณุ ภาพ

24

รายงานสรุปโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการพัฒนาศกั ยภาพเครอื ขา ยพัฒนาองคกร หลกั สูตรนักพฒั นาองคก รรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

สวนท่ี 2 การดำเนนิ งานโครงการ

วนั ที่ 28 มีนาคม พ.ศ.2565
1) พิธีเปด เวลา 09.00 – 09.10 น. โดย นางเบญจมาภรณ ภิญโญพรพาณิชย ผูอำนวยการกลุมพัฒนาระบบบริหาร
กลาวรายงาน และไดรบั เกยี รตจิ าก นายแพทยอภิชาต วชริ พันธ รองอธบิ ดี กรมควบคมุ โรค ในการกลา วเปด การอบรม

2.) 09.10 – 10.00 น. การบรรยายพิเศษ เรื่อง การพัฒนาองคกรแนวใหม โดย นายแพทยอภิชาต วชิรพันธ
รองอธิบดี กรมควบคมุ โรค

25

รายงานสรุปโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารพัฒนาศักยภาพเครือขา ยพฒั นาองคก ร หลักสตู รนกั พฒั นาองคกรรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

3) 10.00 – 10.30 น. แนะนำหลกั สตู รฯ โดย ดร.อัจฉรา บญุ ชมุ และทีมงานกพร. พรอมทัง้ จดั กลุมเพื่อทำกจิ กรรม
4) เวลา 10.30 – 11.00 น. ทดสอบความรูกอ นการอบรม (Pre-test)

26

รายงานสรปุ โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการพัฒนาศักยภาพเครอื ขายพฒั นาองคกร หลักสูตรนกั พฒั นาองคกรรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

5) 11.00 – 12.00 น. การบรรยายเร่ือง แนวคดิ การพัฒนาองคภาครัฐ และการปรับบทบาทภารกิจและโครงสราง
หนว ยงานกรมควบคุมโรค โดย นางเบญจมาภรณ ภิญโญพรพาณิชย ผอู ำนวยการกลุมพัฒนาระบบบริหาร

6) 13.00 – 16.00 น. การบรรยาย เร่อื ง The Next Normal ของกรมควบคุมโรค โดย ดร.ธนาวิชญ จินดาประดิษฐ
ทป่ี รึกษาการพฒั นาระบบคุณภาพและเทคโนโลยี

27

รายงานสรุปโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการพัฒนาศกั ยภาพเครอื ขา ยพัฒนาองคก ร หลกั สูตรนกั พฒั นาองคกรรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

7) 16.00 – 19.00 น. การบรรยายและฝกปฏิบัติ เรื่อง ทักษะการสื่อสารและจัดทำส่ือดิจิทัลเพื่อการนำเสนอ
โดย รศ.ดร.สมิทธิ์ บุญชตุ มิ า อาจารยประจำคณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย

วนั ที่ 1 มนี าคม พ.ศ.2565
8) 09.00 – 12.00 น. การบรรยายและฝกปฏบิ ัติ เร่ือง ธรรมมาภิบาลกับราชการ 4.0 โดย รศ. ดร. ดนุวัศ สาคริก
อาจารยป ระจำคณะรฐั ประศาสนศาสตร สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร

28

รายงานสรปุ โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการพฒั นาศักยภาพเครือขายพฒั นาองคก ร หลกั สตู รนักพฒั นาองคกรรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

9) 12.00 – 16.00 น. การบรรยายและฝกปฏิบัติ เรื่อง การออกแบบแนวคิดภาครัฐเชิงพาณิชย (Public
Entrepreneurship) โดย รศ. ดร. ดนุวัศ สาคริก อาจารยประจำคณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิต
พัฒนบรหิ ารศาสตร

วนั ท่ี 2 มนี าคม พ.ศ.2565
10) 08.30 – 9.00 น. อภิปราย เรื่อง การดำเนินงานบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA 4.0) ระดับหนวยงาน
กรมควบคุมโรค โดย นางสาวอมรรัตน ศรีเจรญิ ทรรศน นกั วเิ คราะหนโยบายและแผนชำนาญการ กลมุ พัฒนาระบบบริหาร

29

รายงานสรปุ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพัฒนาศกั ยภาพเครือขายพัฒนาองคกร หลักสูตรนักพฒั นาองคกรรนุ ใหม รนุ ที่ 2

11) 09.00 – 12.00 น.การบรรยายและฝกปฏิบัติ เรื่อง การปรับเปลี่ยนองคกรในยุคดิจิทัล (Digital
Transformation) โดย ดร.นนท อัครประเสรฐิ กลุ ฝา ยสงเสริมเมืองอัจฉริยะ สำนักงานสง เสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ิทัล

12) 13.00 – 16.00 น. การบรรยายและฝกปฏิบัติ เรื่อง การออกแบบการะบวนการคิด (Design Thinking)
โดย ดร.นนท อคั รประเสริฐกลุ ฝายสง เสริมเมอื งอัจฉริยะ สำนกั งานสง เสรมิ เศรษฐกิจดจิ ทิ ลั

วนั ท่ี 3 มนี าคม พ.ศ.2565
13) 08.30 – 9.00 น. อภปิ รายเรื่อง การดำเนินการตัวช้วี ัดคำรับรองการปฏบิ ัติราชการ โดย นางจุฑารัตน บุญผอง
นักวเิ คราะหน โยบายและแผนชำนาญการ กลมุ พฒั นาระบบบรหิ าร

30

รายงานสรปุ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการพฒั นาศกั ยภาพเครือขายพฒั นาองคก ร หลักสูตรนกั พฒั นาองคก รรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

14) 9.00 – 12.00 น. การบรรยาย เร่ือง การมีสวนรวมของประชาชนและภาครัฐ (Collaboration
Government) โดย นายศภุ ณัฐ เพิ่มพนู ววิ ฒั น ผอู ำนวยการสำนกั สันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบนั พระปกเกลา

15) 13.00 – 16.00 น. ศึกษาดูงาน ณ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) และ
การบรรยาย เรื่อง ระบบ ICT เพื่อการบริหารจัดการงานของ สวทช. โดย อาจารย วารุณี ลีละธนาวิทย
ผชู วยผอู ำนวยการสำนกั งานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) (ดานสารสนเทศ)

31

รายงานสรุปโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารพัฒนาศักยภาพเครอื ขา ยพัฒนาองคกร หลกั สตู รนกั พฒั นาองคกรรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

16) 18.00 – 20.00 น. กจิ กรรมนันทนาการ

วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ.2565
17) นำเสนองานกลุม เรื่อง การวินิจฉัยองคกร และงานรายบุคคล เรื่อง แผนพัฒนาองคกรหนวยงานของตน
พรอ มทง้ั สรปุ ความคิดรวบยอดจากการอบรม และทดสอบหลังการอบรม (Post-test)

32

รายงานสรุปโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการพฒั นาศักยภาพเครือขา ยพัฒนาองคกร หลักสตู รนักพฒั นาองคก รรนุ ใหม รนุ ที่ 2

18) พิธีปด มีการกลา วรายงานสรุปผลการอบรม โดย นางเบญจมาภรณ ภญิ โญพรพาณิชย และไดร ับเกียรติจาก
นายแพทย อภชิ าต วชิรพนั ธ รองอธบิ ดี กรมควบคมุ โรค ในการมอบรางวัลและเกียรตบิ ัตรใหแ กผ ผู า นการอบรม

33

รายงานสรปุ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการพฒั นาศกั ยภาพเครอื ขา ยพัฒนาองคก ร หลักสตู รนักพฒั นาองคกรรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

สว นท่ี 3 ผลการอบรม

ผลจากการอบรมพัฒนาศักยภาพเครือขายพัฒนาองคกร หลักสูตรนักพัฒนาองคกรรุนใหม รุนที่ 2
กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระยะเวลาการอบรม 5 วัน มีการประเมินผลการอบรม
ไดแก ผลการทดสอบกอนการอบรม (Pre-test) เปรียบเทียบกับผลการทดสอบหลังการอบรม (Post-test)
รวมทั้งผลการสำรวจความคิดเห็นในดานตาง ๆ ผลสำรวจความพึงพอใจและขอเสนอแนะจากการวิเคราะห
ขอ มูล สรปุ ผลไดด ังน้ี

3.1 สรุปผลการวัดความรู และเปรยี บเทยี บคะแนนผลการทดสอบกอนและหลังการอบรมฯ
3.2 ผลการวิเคราะหขอ มลู จากแบบสอบถาม
3.3 สรปุ ผลการอบรม
3.4 ขอเสนอแนะ
มรี ายละเอียด ดังนี้

3.1 สรุปผลการวัดความรู และเปรียบเทยี บคะแนนผลการทดสอบกอ น (Pre-test) และหลงั การอบรม (Post-test)
เกณฑแปลความหมาย เมื่อไดคะแนนแตละขอคำตอบแตละคนแลว จะนำคะแนนแตละคนมาหาร

ดวยจำนวนขอ ทั้งหมดของแตละกลมุ จากน้ันคูณดวย 100 และแปลความหมาย Bloom (1971) ดงั นี้
ผทู มี่ ีคะแนน 80.00 - 100.00 มีการรับรูระดบั มาก
ผูท่มี คี ะแนน 60.00 - 79.99 มีการรับรูร ะดับปานกลาง
ผทู ่ีมีคะแนน 0.00 - 59.99 มีการรบั รูระดับนอ ย

แผนภาพที่ 5 ผลการทดสอบกอน - หลงั การอบรม

30 คะแนนสูงสดุ 27 คะแนนสงู สดุ 26

25

20 คะแนนตํ่าสุด 11 คะแนนตาํ่ สดุ 14

15

10

5

0 หลงั อบรม
กอ่ นอบรม

คะแนนสงู สดุ คะแนนต่าํ สดุ

กอนการอบรม (Pre-test)

ขอ สอบกอ นการอบรม (Pre-test) จำนวน 30 ขอ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

จำนวนผทู ำขอ สอบ 38 คน

- คะแนนสูงสุด 27 คะแนน คดิ เปน รอยละ 90.00

- คะแนนตำ่ สดุ 11 คะแนน คดิ เปน รอ ยละ 36.67

34

รายงานสรุปโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารพัฒนาศักยภาพเครือขา ยพัฒนาองคก ร หลกั สตู รนกั พฒั นาองคก รรนุ ใหม รนุ ที่ 2

จำนวนผทู ำขอ สอบทีม่ ีความรรู ะดับ

- ความรรู ะดบั สงู (ทำขอสอบไดร อยละ 80) จำนวน 18 คน คดิ เปนรอ ยละ 47.37

- ความรูระดบั ปานกลาง (ทำขอสอบไดร อ ยละ 60) จำนวน 15 คน คิดเปนรอ ยละ 39.47

- ความรูระดับนอย (ทำขอ สอบไดต ่ำกวารอ ยละ 60) จำนวน 5 คน คดิ เปน รอยละ 13.16

หลังการอบรม (Post-test)

ขอสอบหลังการอบรม (Post-test) จำนวน 30 ขอ โดยจำแนกเปนขอสอบที่เหมือนกอนอบรม (Pre-test)

จำนวน 11 ขอ และขอ สอบท่ไี มเหมือนกอ นการอบรม (Pre-test) จำนวน 19 ขอ โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้

จำนวนผทู ำขอสอบ 38 คน

- คะแนนสงู สดุ 26 คะแนน คิดเปน รอยละ 86.67

- คะแนนต่ำสดุ 14 คะแนน คดิ เปน รอยละ 46.67

ขอสอบที่เหมอื นกอ นอบรม (Pre-test) จำนวน 11 ขอ พบวา มีผูไดคะแนนลดลงจากกอ นอบรม (Pre-test)
จำนวน 24 คน โดยลดลงมากที่สุด จำนวน 4 ขอ และขอที่พบวาผิดมากที่สุด คือ ขอใดไมใชขั้นตอนของการ
ประเมินผลคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการ

ขอ สอบท่ไี มเ หมอื นกอ นการอบรม (Pre-test) จำนวน 19 ขอ

- คะแนนสูงสดุ 17 คะแนน คดิ เปน รอ ยละ 89.47

- คะแนนตำ่ สดุ 9 คะแนน คดิ เปนรอยละ 47.37

จำนวนผูท ำขอ สอบทมี่ ีความรูระดบั

- ความรูระดับสงู (ทำขอ สอบไดร อ ยละ 80) จำนวน 5 คน คิดเปน รอ ยละ 13.16

- ความรูร ะดับปานกลาง (ทำขอ สอบไดร อ ยละ 60) จำนวน 27 คน คิดเปน รอยละ 71.05

- ความรรู ะดบั นอย (ทำขอสอบไดต ำ่ กวา รอยละ 60) จำนวน 6 คน คดิ เปนรอยละ 15.79

สรุปผลการวดั ความรู

ผลการวัดความรู พบวา ผูเขาอบรมสวนใหญผ า นเกณฑค ะแนนท่ีตัง้ ไว คอื รอยละ 60 จำนวน 38 คน

คดิ เปนรอ ยละ 100

3.2 ผลการวเิ คราะหขอ มูลจากแบบสอบถาม

การวิเคราะหข อ มลู จากแบบสอบถามไดแ บง ผลการวเิ คราะหอ อกเปน 2 ตอน ดังน้ี
ตอนที่ 1 ขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม ใชการวิเคราะหขอมูลโดยการแจกแจง

ความถ่ี และรอ ยละ
ตอนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นกอนและหลังอบรม และผลความพึงพอใจของผูเขาอบรม

วิเคราะหขอมูลโดยการหาคาเฉลี่ย (Mean) รอยละ และระดับความพึงพอใจ โดยกำหนดเกณฑในการแปล
ความหมายของคา เฉล่ีย จำนวน 4 ระดบั ดังน้ี

35

รายงานสรปุ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาศกั ยภาพเครอื ขายพฒั นาองคก ร หลกั สตู รนกั พฒั นาองคกรรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

คาเฉลยี่ แปลความหมาย

3.26 - 4.00 มีความพึงพอใจในการบรหิ ารงานอยูในระดบั มากทสี่ ดุ
2.51 – 3.25 มคี วามพึงพอใจในการบริหารงานอยูในระดบั มาก
1.76 – 2.50 มีความพงึ พอใจในการบรหิ ารงานอยใู นระดบั นอย
1.00 – 1.75 มีความพึงพอใจในการบรหิ ารงานอยใู นระดบั นอ ยที่สดุ

ตอนที่ 1 การวเิ คราะหขอมลู เกย่ี วกบั สถานภาพทวั่ ไปของผูตอบแบบสอบถาม
การจำแนกตามสถานภาพของผตู อบแบบสอบถาม จำนวน 38 ชุด สามารถจำแนกได ดังน้ี

1) ขอ มูลทัว่ ไปของผูอบรม

แผนภาพท่ี 6 จำนวน รอยละแสดงขอมูลทั่วไปของผูอบรม

จาํ นวนผอู บรม

ขอ มูลทว่ั ไป เพศชาย จํานวน 7 คน เพศหญิง จาํ นวน 31 คน
คดิ เปนรอ ยละ 18.42 คดิ เปน รอยละ 81.58

0 10 20 30 40

จากแผนภาพท่ี 6 จำนวน รอยละแสดงขอมูลทั่วไปของผูอบรมพบวา เพศชาย จำนวน 7 คน
คดิ เปน รอ ยละ 18.42 เพศหญิง จำนวน 31 คน คิดเปนรอยละ 81.58 รวม 38 คน

2) ระยะเวลาการทำงานของผูอบรม

แผนภาพที่ 7 จำนวน รอยละแสดงระยะเวลาการทำงานผูอบรม

3 ป ขึ้นไป จาํ นวน 13 คน 0-1 ป (ไมเ กนิ 1 ป)
คิดเปนรอ ยละ 34.21 จาํ นวน 12 คน

คิดเปน รอยละ 31.58

2-3 ป (2 ปข้ึนไป ไมเ กนิ 3 ป) 1-2 ป (1 ปขนึ้ ไป ไม
จํานวน 3 คน เกนิ 2 ป)

คิดเปน รอ ยละ 7.89 จํานวน 10 คน
คิดเปนรอยละ 26.32

จากแผนภาพที่ 7 จำนวน รอยละแสดงระยะเวลาการทำงานผูอบรม พบวา ผูเขาอบรมมีระยะ
เวลาการทำงาน 3 ป ขึ้นไป มากที่สุด จำนวน 13 คน คิดเปนรอยละ 34.21 รองลงมาคือ ระยะเวลาการทำงาน
0-1 ป (ไมเ กนิ 1 ป) จำนวน 12 คน คิดเปนรอ ยละ 31.58 ระยะเวลาการทำงาน 1-2 ป (1 ปขึน้ ไป ไมเกิน 2 ป)
จำนวน 10 คน คิดเปนรอยละ 26.32 และระยะเวลาการทำงาน 2-3 ป (2 ปขึ้นไป ไมเกิน 3 ป) นอยที่สุด
จำนวน 3 คน คิดเปนรอยละ 7.89 ตามลำดบั

36

รายงานสรปุ โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารพฒั นาศักยภาพเครอื ขายพฒั นาองคกร หลกั สตู รนกั พฒั นาองคก รรนุ ใหม รนุ ที่ 2

3) ตำแหนงของผูอบรม
แผนภาพท่ี 8 จำนวน รอยละแสดงตำแหนงการทำงานผูอบรม

นกั ทรัพยากรบุคคล เจาพนกั งานธุรการ
จาํ นวน 5 คน จํานวน 1 คน

คดิ เปน รอยละ 13.16 คิดเปน รอ ยละ 2.63

นกั วเิ คราะหนโยบายและ ตําแหนง การทํางาน นกั วิชาการสาธารณสขุ
แผน ของผอู บรม จาํ นวน 20 คน

จํานวน 12 คน คดิ เปน รอยละ 52.63
คดิ เปนรอ ยละ 31.58

จากแผนภาพที่ 8 จำนวน รอยละแสดงตำแหนงการทำงานผูอบรม พบวา ผูอบรมมีตำแหนง
นักวิชาการสาธารณสุข มากที่สุด จำนวน 20 คน คิดเปนรอยละ 52.63 รองลงมาคือ ตำแหนง นักวิเคราะห
นโยบายและแผน จำนวน 12 คน คิดเปนรอยละ 31.58 ตำแหนง นักทรัพยากรบุคคล จำนวน 5 คน
คดิ เปน รอยละ 13.16 และตำแหนง เจาพนกั งานธรุ การ นอ ยท่สี ดุ จำนวน 1 คน คดิ เปน รอยละ 2.63

ตอนที่ 2 ผลการประเมนิ การอบรม

ในการวิเคราะหข อ มลู เพือ่ ประเมินผลการอบรมพฒั นาศักยภาพเครือขายพัฒนาองคกร หลักสตู รนักพฒั นา
องคกรรุนใหม รุนที่ 2 กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ในแตละดาน รวมทั้งหมด 4 ดาน
จำแนกตามหวั ขอการบรรยาย และสรปุ ผลการอบรมในแตล ะวัน มีรายละเอียดดงั น้ี

การอบรมวันแรก วันท่ี 28 กุมภาพนั ธ พ.ศ. 2565

ตาราง 1 คาเฉลี่ย รอยละ และระดับความพึงพอของผูเขาอบรมในหัวขอ แนวคิดการพัฒนาองคภาครัฐ
และการปรบั บทบาทภารกจิ และโครงสรา งหนว ยงานกรมควบคมุ โรค

ระดบั

ประเดน็ คาเฉลี่ย รอ ยละ ความพงึ

พอใจ

1. ความคิดเหน็ กอนและหลังการอบรม

กอนการอบรม ทานมคี วามรคู วามเขา ใจในเนอ้ื หาของโครงการดงั กลาว อยใู นระดับใด 1.94 48.48 นอ ย

หลังการอบรม ทานมคี วามรคู วามเขา ใจในเนื้อหาของโครงการดงั กลา วเพ่ิมข้นึ อยใู นระดับใด 3.06 76.52 มาก

2. ดานเนือ้ หาและรูปแบบการเรียนรู

หัวขอ และเน้ือหาการบรรยายมีความสอดคลอ งกับวัตถปุ ระสงคของโครงการ 3.42 85.61 มากที่สดุ

หัวขอและเน้อื หาการบรรยายมีความเหมาะสมตอ การพัฒนาความรูและทกั ษะของทา น 3.52 87.88 มากที่สดุ

กิจกรรมการเรยี นรู ชว ยใหเขาใจความรูและทกั ษะทจี่ ำเปน สำหรบั ทา นไดมากข้ึน 3.52 87.88 มากท่สี ดุ

เน้ือหาที่เรยี นรมู ปี ระโยชนต อ ผเู ขา รว มโครงการ 3.58 89.39 มากที่สุด

ภาพรวมดานเนอ้ื หาและรปู แบบการเรียนรู 3.51 87.69 มากทส่ี ดุ

37

รายงานสรปุ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารพัฒนาศกั ยภาพเครือขายพฒั นาองคก ร หลกั สตู รนกั พฒั นาองคก รรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

ประเดน็ ระดบั
คา เฉลยี่ รอ ยละ ความพงึ
3. ดานวทิ ยากร
วทิ ยากรมีความรู ความสามารถและประสบการณต รงกบั หัวขอ เปนท่ีนา เช่ือถือ พอใจ
วทิ ยากรจัดลำดับความสำคัญและความสัมพนั ธของเนอื้ หาไดอ ยางตอเน่ือง
วทิ ยากรมีความสามารถในการสอื่ สาร ถา ยทอดความรใู หเ ขา ใจไดอ ยางชดั เจน 3.73 93.18 มากที่สดุ
วทิ ยากรสามารถสรา งบรรยากาศกระตุนใหเ กดิ การเรียนรูไดดี 3.64 90.91 มากท่ีสดุ
วิทยากรเปด โอกาสในการซักถาม การเสนอความคิดเหน็ และยอมรบั ความคดิ เหน็ 3.76 93.94 มากที่สุด
ภาพรวมดานวทิ ยากร 3.61 90.15 มากท่ีสดุ
4. ดา นประโยชนท ่ีไดรับ 3.67 91.67 มากทีส่ ดุ
ไดรบั ความรู ความเขาใจ และนำไปใชไดจริง 3.68 91.97 มากท่สี ดุ
ไดเรียนรสู ่งิ ใหม ๆ ท่ีเกดิ จากการอบรม
สามารถนำความรูจากการอบรมไปประยุกตใ ชใ นหนวยงานได 3.30 82.58 มากทีส่ ุด
ภาพรวมดา นประโยชนท ่ีไดรับ 3.52 87.88 มากทีส่ ุด
3.48 87.12 มากทส่ี ุด
3.43 85.86 มากที่สุด

จากตาราง 1 ผลการประเมนิ ในหวั ขอ แนวคดิ การพัฒนาองคภาครฐั และการปรบั บทบาทภารกิจและ

โครงสรา งหนวยงานกรมควบคมุ โรค พบวา

1) ความคิดเห็นกอนและหลังการอบรม ไดแก กอนอบรม มีความรูความเขาใจในเนื้อหาอยูในระดับนอย
(คาเฉล่ีย = 1.94, รอ ยละ = 48.48) และหลงั การอบรม มคี วามรคู วามเขาใจในเนือ้ หาอยใู นระดับมาก (คาเฉล่ีย = 3.06,
รอ ยละ = 76.52)

2) ภาพรวมดานเนอื้ หาและรูปแบบการเรยี นรู อยูในระดบั มากทสี่ ดุ (คาเฉล่ีย = 3.51, รอยละ = 87.69)
3) ภาพรวมดานวิทยากร อยใู นระดับมากท่ีสุด (คาเฉลีย่ = 3.68, รอ ยละ = 91.97)
4) ภาพรวมดา นประโยชนท ่ีไดร บั อยใู นระดับมากที่สดุ (คาเฉล่ยี = 3.43, รอยละ = 85.86)

ตาราง 2 คา เฉล่ยี รอยละ และระดบั ความพงึ พอใจของผเู ขา อบรมในหัวขอ The Next Normal ของกรมควบคุมโรค

ระดบั

ประเดน็ คา เฉล่ยี รอยละ ความพึง
พอใจ

1) ความคิดเห็นกอ นและหลังการอบรม

กอนการอบรม ทา นมีความรูความเขา ใจในเนอื้ หาของโครงการดงั กลาว อยูในระดับใด 2.00 50.00 นอย

หลงั การอบรม ทานมีความรูความเขาใจในเนื้อหาของโครงการดงั กลาวเพิ่มขึ้น อยูในระดบั ใด 3.15 78.79 มาก

2) ดานเนอื้ หาและรูปแบบการเรยี นรู

หวั ขอ และเน้ือหาการบรรยายมีความสอดคลอ งกบั วัตถปุ ระสงคของโครงการ 3.42 85.61 มากทสี่ ดุ

หัวขอ และเนื้อหาการบรรยายมีความเหมาะสมตอ การพฒั นาความรแู ละทกั ษะของทา น 3.42 85.61 มากที่สุด

กิจกรรมการเรยี นรู ชวยใหเ ขา ใจความรแู ละทักษะท่จี ำเปนสำหรับทานไดมากขน้ึ 3.42 85.61 มากทสี่ ุด

เนอ้ื หาท่เี รียนรมู ปี ระโยชนตอผเู ขารว มโครงการ 3.45 86.36 มากท่ีสุด

ภาพรวมดานเน้ือหาและรูปแบบการเรียนรู 3.43 85.80 มากท่ีสุด

38

รายงานสรปุ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการพฒั นาศักยภาพเครือขายพฒั นาองคก ร หลกั สูตรนักพฒั นาองคกรรนุ ใหม รนุ ที่ 2

ประเด็น ระดับ
คาเฉลี่ย รอยละ ความพงึ
3) ดานวิทยากร
วิทยากรมคี วามรู ความสามารถและประสบการณต รงกบั หัวขอเปนทน่ี าเช่ือถอื พอใจ
วทิ ยากรจัดลำดับความสำคญั และความสมั พนั ธข องเนื้อหาไดอ ยา งตอ เน่อื ง
วทิ ยากรมคี วามสามารถในการสอื่ สาร ถายทอดความรใู หเ ขา ใจไดอยางชัดเจน 3.79 94.70 มากท่สี ดุ
วทิ ยากรสามารถสรางบรรยากาศกระตนุ ใหเกดิ การเรยี นรไู ดด ี 3.64 90.91 มากที่สดุ
วิทยากรเปด โอกาสในการซกั ถาม การเสนอความคดิ เห็น และยอมรับความคดิ เห็น 3.67 91.67 มากท่สี ดุ
ภาพรวมดา นวทิ ยากร 3.61 90.15 มากที่สุด
3.64 90.91 มากทส่ี ุด
4) ดานประโยชนท ่ไี ดรบั 3.67 91.67 มากที่สดุ

ไดรับความรู ความเขาใจ และนำไปใชไดจ ริง 3.30 82.58 มากทส่ี ดุ
ไดเ รยี นรสู ิง่ ใหม ๆ ทีเ่ กิดจากการอบรม 3.52 87.88 มากทส่ี ดุ
สามารถนำความรจู ากการอบรมไปประยุกตใชในหนว ยงานได 3.45 86.36 มากทีส่ ุด
ภาพรวมดานประโยชนทไ่ี ดรับ 3.42 85.61 มากท่ีสดุ

จากตาราง 2 ผลการประเมินในหวั ขอ The Next Normal ของกรมควบคุมโรค พบวา

1) ความคิดเห็นกอนและหลังการอบรม ไดแก กอนอบรม มีความรูความเขาใจในเนื้อหาอยูในระดับ

นอย (คาเฉลี่ย = 2.00, รอยละ = 50.00) และหลังการอบรม มีความรูความเขาใจในเนื้อหาอยูในระดับมาก

(คา เฉลีย่ = 3.15, รอยละ = 78.79)

2) ภาพรวมดานเนอ้ื หาและรปู แบบการเรียนรู อยูใ นระดบั มากท่สี ดุ (คาเฉลย่ี = 3.43, รอ ยละ = 85.80)
3) ภาพรวมดานวิทยากร อยใู นระดบั มากท่ีสุด (คา เฉลย่ี = 3.67, รอ ยละ = 91.67)
4) ภาพรวมดา นประโยชนท ี่ไดร ับ อยูใ นระดบั มากทีส่ ดุ (คาเฉล่ีย = 3.42, รอยละ = 85.61)

ตาราง 3 คาเฉลี่ย รอยละ และระดับความพึงพอใจของผูเขาอบรมในหัวขอ ทักษะการสื่อสารและจัดทำส่ือ

ดิจทิ ลั เพื่อการนำเสนอ

ระดบั

ประเดน็ คาเฉลยี่ รอยละ ความพึง
พอใจ

1) ความคิดเห็นกอนและหลงั การอบรม

กอ นการอบรม ทา นมีความรูความเขาใจในเนื้อหาของโครงการดังกลา ว อยใู นระดบั ใด 2.18 54.55 นอ ย

หลงั การอบรม ทานมคี วามรคู วามเขาใจในเน้ือหาของโครงการดังกลาวเพ่ิมขน้ึ อยูในระดับใด 3.21 80.30 มาก

2) ดา นเนอ้ื หาและรูปแบบการเรียนรู

หวั ขอ และเน้อื หาการบรรยายมีความสอดคลอ งกับวัตถปุ ระสงคของโครงการ 3.42 85.61 มากที่สุด

หวั ขอและเน้อื หาการบรรยายมคี วามเหมาะสมตอการพัฒนาความรูและทกั ษะของทา น 3.45 86.36 มากที่สดุ

กจิ กรรมการเรียนรู ชว ยใหเ ขาใจความรแู ละทกั ษะท่จี ำเปน สำหรับทา นไดม ากขึ้น 3.55 88.64 มากท่ีสุด

เนือ้ หาทเี่ รียนรูมปี ระโยชนตอผเู ขา รวมโครงการ 3.55 88.64 มากทสี่ ดุ

ภาพรวมดานเนอื้ หาและรูปแบบการเรียนรู 3.49 87.31 มากท่สี ุด

39

รายงานสรุปโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการพัฒนาศกั ยภาพเครอื ขายพฒั นาองคกร หลกั สตู รนักพฒั นาองคกรรนุ ใหม รนุ ที่ 2

ประเดน็ ระดบั
คา เฉล่ยี รอยละ ความพึง
3) ดา นวิทยากร
วทิ ยากรมคี วามรู ความสามารถและประสบการณต รงกบั หัวขอเปนทนี่ าเชอื่ ถือ พอใจ
วิทยากรจดั ลำดับความสำคญั และความสัมพนั ธข องเน้ือหาไดอยางตอ เนื่อง
วิทยากรมีความสามารถในการส่ือสาร ถา ยทอดความรูใหเ ขา ใจไดอยางชัดเจน 3.70 92.42 มากท่ีสดุ
วิทยากรสามารถสรา งบรรยากาศกระตนุ ใหเกิดการเรียนรไู ดด ี 3.61 90.15 มากทส่ี ดุ
วิทยากรเปดโอกาสในการซักถาม การเสนอความคดิ เหน็ และยอมรบั ความคดิ เหน็ 3.76 93.94 มากทส่ี ดุ
ภาพรวมดานวิทยากร 3.76 93.94 มากทีส่ ุด
4) ดานประโยชนทีไ่ ดร บั 3.76 93.94 มากทส่ี ดุ
ไดร บั ความรู ความเขาใจ และนำไปใชไดจ รงิ 3.72 92.88 มากที่สดุ
ไดเ รียนรูสิง่ ใหม ๆ ท่เี กดิ จากการอบรม
สามารถนำความรจู ากการอบรมไปประยุกตใชในหนวยงานได 3.45 86.36 มากท่ีสุด
ภาพรวมดา นประโยชนท ไี่ ดร ับ 3.45 86.36 มากที่สุด
3.48 87.12 มากที่สดุ
3.46 86.62 มากที่สุด

จากตาราง 3 ผลการประเมนิ ในหัวขอ ทกั ษะการสื่อสารและจัดทำสือ่ ดจิ ทิ ลั เพ่ือการนำเสนอ พบวา
1) ความคิดเห็นกอนและหลังการอบรม ไดแก กอนอบรม มีความรูความเขาใจในเนื้อหาอยูในระดับ
นอย (คาเฉลี่ย = 2.18, รอยละ = 54.55) และหลังการอบรม มีความรูความเขาใจในเนื้อหาอยูในระดับมาก
(คา เฉล่ยี = 3.21, รอ ยละ = 80.30)
2) ภาพรวมดานเน้ือหาและรปู แบบการเรียนรู อยใู นระดบั มากทีส่ ดุ (คาเฉลย่ี = 3.49, รอยละ = 87.31)
3) ภาพรวมดานวิทยากร อยูในระดับมากทีส่ ดุ (คา เฉลี่ย = 3.72, รอ ยละ = 92.88)
4) ภาพรวมดา นประโยชนทีไ่ ดรับ อยใู นระดบั มากที่สุด (คาเฉลีย่ = 3.46, รอยละ = 86.62)

ตาราง 4 ภาพรวมของวนั

ประเด็น คา เฉลย่ี รอยละ ระดบั ความพึงพอใจ
ทานมคี วามพงึ พอใจในการอบรมของวนั น้ีในระดับใด
3.36 84.09 มากท่สี ดุ

ขอ เสนอแนะ
- ตองการใหป รับเวลาของวทิ ยากรรอบเยน็ มาเปน ชวงเชาหรอื ชวงบาย

การอบรมวันที่สอง วันท่ี 1 มีนาคม พ.ศ. 2565

ตาราง 5 คาเฉล่ีย รอยละ และระดบั ความพึงพอใจของผูเขา อบรมในหัวขอ ธรรมมาภบิ าลกับราชการ 4.0

ประเด็น คา เฉล่ีย รอ ยละ ระดบั ความ
พงึ พอใจ

1) ความคิดเห็นกอนและหลงั การอบรม

กอ นการอบรม ทานมคี วามรูความเขาใจในเน้อื หาของโครงการดังกลาว อยูในระดบั ใด 2.00 50.00 นอย

หลังการอบรม ทานมคี วามรคู วามเขาใจในเนื้อหาของโครงการดังกลาวเพมิ่ ข้ึน อยูในระดับใด 3.15 78.85 มาก

40

รายงานสรุปโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารพัฒนาศกั ยภาพเครอื ขายพฒั นาองคก ร หลักสตู รนกั พฒั นาองคกรรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

ประเด็น คาเฉลย่ี รอ ยละ ระดบั ความ
พึงพอใจ
2) ดานเน้อื หาและรูปแบบการเรยี นรู
3.31 82.69 มากที่สดุ
หัวขอและเน้ือหาการบรรยายมีความสอดคลอ งกับวัตถปุ ระสงคข องโครงการ 3.42 85.58 มากที่สดุ
หัวขอ และเนือ้ หาการบรรยายมีความเหมาะสมตอ การพฒั นาความรแู ละทักษะของทา น 3.46 86.54 มากทส่ี ุด
กจิ กรรมการเรยี นรู ชวยใหเขาใจความรูและทกั ษะทจี่ ำเปนสำหรับทานไดมากขึ้น 3.50 87.50 มากที่สุด
เนอ้ื หาที่เรยี นรมู ีประโยชนต อผเู ขา รวมโครงการ 3.42 85.58 มากที่สุด
ภาพรวมดา นเนื้อหาและรูปแบบการเรยี นรู
3.65 91.35 มากทสี่ ุด
3) ดานวิทยากร 3.65 91.35 มากทส่ี ุด
3.69 92.31 มากทส่ี ดุ
วิทยากรมีความรู ความสามารถและประสบการณตรงกับหวั ขอ เปน ทน่ี า เชอ่ื ถอื 3.65 91.35 มากทส่ี ุด
วทิ ยากรจดั ลำดบั ความสำคัญและความสัมพนั ธของเนอ้ื หาไดอยางตอเนอื่ ง 3.69 92.31 มากที่สดุ
วิทยากรมีความสามารถในการสื่อสาร ถายทอดความรูใหเขาใจไดอ ยางชดั เจน 3.67 91.73 มากที่สุด
วทิ ยากรสามารถสรา งบรรยากาศกระตุน ใหเ กิดการเรียนรูไดดี
วิทยากรเปดโอกาสในการซกั ถาม การเสนอความคดิ เห็น และยอมรบั ความคดิ เห็น 3.46 86.54 มากที่สดุ
ภาพรวมดา นวทิ ยากร 3.54 88.46 มากทส่ี ดุ
3.46 86.54 มากทส่ี ุด
4) ดา นประโยชนท ไี่ ดร บั 3.49 87.18 มากท่ีสุด

ไดร ับความรู ความเขา ใจ และนำไปใชไดจริง
ไดเ รยี นรูส่ิงใหม ๆ ทเี่ กิดจากการอบรม
สามารถนำความรจู ากการอบรมไปประยกุ ตใ ชในหนวยงานได
ภาพรวมดา นประโยชนท ไี่ ดรับ

จากตาราง 5 ผลการประเมินในหวั ขอ ธรรมมาภิบาลกับราชการ 4.0 พบวา
1) ความคิดเห็นกอนและหลังการอบรม ไดแก กอนอบรม มีความรูความเขาใจในเนื้อหาอยูในระดับ
นอย (คาเฉลี่ย = 2.00, รอยละ = 50.00) และหลังการอบรม มีความรูความเขาใจในเนื้อหาอยูในระดับมาก
(คาเฉลย่ี = 3.15, รอ ยละ = 78.85)
2) ภาพรวมดา นเนอื้ หาและรูปแบบการเรยี นรู อยใู นระดบั มากท่ีสุด (คา เฉลี่ย = 3.42, รอยละ = 85.58)
3) ภาพรวมดา นวทิ ยากร อยูในระดบั มากทีส่ ุด (คา เฉล่ีย = 3.67, รอยละ = 91.73)
4) ภาพรวมดานประโยชนที่ไดร ับ อยใู นระดบั มากทส่ี ุด (คาเฉลี่ย = 3.49, รอยละ = 87.18)
ตาราง 6 คาเฉลี่ย รอยละ และระดับความพึงพอใจของผูเขาอบรมในหัวขอ การออกแบบแนวคิดภาครัฐ
เชงิ พาณิชย (Public Entrepreneurship)

ประเดน็ คาเฉลยี่ รอ ยละ ระดบั ความ
พงึ พอใจ

1) ความคิดเหน็ กอ นและหลังการอบรม

กอ นการอบรม ทานมคี วามรูค วามเขา ใจในเนอื้ หาของโครงการดังกลาว อยใู นระดับใด 2.00 50.00 นอ ย

หลังการอบรม ทานมคี วามรคู วามเขาใจในเนื้อหาของโครงการดงั กลาวเพ่ิมขนึ้ อยูในระดับใด 3.12 77.88 มาก

41

รายงานสรุปโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการพัฒนาศกั ยภาพเครือขา ยพัฒนาองคกร หลกั สูตรนกั พฒั นาองคกรรนุ ใหม รนุ ที่ 2

ประเดน็ คา เฉล่ีย รอยละ ระดับความ
พึงพอใจ
2) ดา นเนอ้ื หาและรปู แบบการเรียนรู
3.35 83.65 มากท่สี ุด
หัวขอและเน้ือหาการบรรยายมีความสอดคลอ งกับวตั ถุประสงคข องโครงการ 3.38 84.62 มากท่สี ุด
หัวขอ และเนอ้ื หาการบรรยายมคี วามเหมาะสมตอการพฒั นาความรแู ละทกั ษะของทา น 3.46 86.54 มากที่สดุ
กจิ กรรมการเรยี นรู ชวยใหเ ขาใจความรูและทักษะทจ่ี ำเปนสำหรับทา นไดมากข้นึ 3.42 85.58 มากท่ีสุด
เน้ือหาที่เรียนรมู ีประโยชนตอ ผูเ ขารวมโครงการ 3.40 85.10 มากทส่ี ดุ
ภาพรวมดา นเนอ้ื หาและรูปแบบการเรียนรู
3.65 91.35 มากทสี่ ุด
3) ดา นวิทยากร 3.58 89.42 มากทีส่ ุด
3.62 90.38 มากที่สุด
วทิ ยากรมีความรู ความสามารถและประสบการณตรงกับหวั ขอ เปนทีน่ าเชือ่ ถอื 3.65 91.35 มากที่สุด
วิทยากรจัดลำดับความสำคญั และความสัมพันธของเน้อื หาไดอยางตอเนื่อง 3.65 91.35 มากที่สดุ
วทิ ยากรมคี วามสามารถในการส่ือสาร ถา ยทอดความรูใ หเ ขาใจไดอยางชดั เจน 3.63 90.77 มากทสี่ ดุ
วิทยากรสามารถสรา งบรรยากาศกระตนุ ใหเ กดิ การเรยี นรูไดดี
วทิ ยากรเปดโอกาสในการซักถาม การเสนอความคิดเห็น และยอมรบั ความคดิ เห็น 3.38 84.62 มากท่ีสุด
ภาพรวมดา นวทิ ยากร
3.50 87.50 มากท่สี ุด
4) ดานประโยชนที่ไดร ับ 3.50 87.50 มากที่สดุ
3.46 86.54 มากท่ีสดุ
ไดร บั ความรู ความเขา ใจ และนำไปใชไ ดจ ริง
ไดเ รยี นรูส่งิ ใหม ๆ ทเี่ กิดจากการอบรม
สามารถนำความรจู ากการอบรมไปประยุกตใ ชในหนว ยงานได
ภาพรวมดานประโยชนทไ่ี ดร บั

จากตาราง 6 ผลการประเมินในหัวขอ การออกแบบแนวคิดภาครัฐเชิงพาณิชย (Public
Entrepreneurship) พบวา

1) ความคิดเห็นกอนและหลังการอบรม ไดแก กอนอบรม มีความรูความเขาใจในเนื้อหาอยูในระดับ
นอย (คาเฉลี่ย = 2.00, รอยละ = 50.00) และหลังการอบรม มีความรูความเขาใจในเนื้อหาอยูในระดับมาก
(คาเฉลยี่ = 3.12, รอ ยละ = 77.88)

2) ภาพรวมดา นเน้ือหาและรปู แบบการเรยี นรู อยใู นระดบั มากทสี่ ดุ (คา เฉลีย่ = 3.40, รอยละ = 85.10)
3) ภาพรวมดานวิทยากร อยูในระดับมากท่สี ุด (คาเฉลีย่ = 3.63, รอยละ = 90.77)
4) ภาพรวมดานประโยชนท่ีไดรับ อยูในระดบั มากทส่ี ดุ (คาเฉลี่ย = 3.46, รอยละ = 86.54)

ตาราง 7 ภาพรวมของวัน

ประเด็น คาเฉลยี่ รอ ยละ ระดับความพึงพอใจ
ทา นมีความพงึ พอใจในการอบรมของวนั นี้ในระดบั ใด
3.31 82.69 มากท่สี ดุ

42

รายงานสรุปโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพัฒนาศักยภาพเครือขา ยพัฒนาองคกร หลกั สูตรนกั พฒั นาองคก รรนุ ใหม รนุ ที่ 2

การอบรมวนั ทสี่ าม วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2565

ตาราง 8 คาเฉลี่ย รอยละ และระดับความพึงพอใจของผเู ขา อบรมในหัวขอ การปรับเปลยี่ นองคกรในยุคดิจิทัล
(Digital Transformation)

ประเด็น คา เฉล่ยี รอยละ ระดบั ความ
พงึ พอใจ

1) ความคิดเห็นกอนและหลงั การอบรม

กอ นการอบรม ทานมีความรคู วามเขาใจในเน้ือหาของโครงการดังกลา ว อยูใ นระดบั ใด 1.90 47.62 นอ ย
หลงั การอบรม ทานมีความรูความเขา ใจในเนื้อหาของโครงการดงั กลา วเพ่ิมขน้ึ อยใู นระดบั ใด 2.95 73.81 มาก

2) ดา นเนื้อหาและรูปแบบการเรียนรู

หวั ขอ และเน้ือหาการบรรยายมีความสอดคลองกบั วตั ถปุ ระสงคข องโครงการ 3.29 82.14 มากทส่ี ดุ
หวั ขอและเนือ้ หาการบรรยายมีความเหมาะสมตอ การพฒั นาความรูแ ละทกั ษะของทาน 3.24 80.95 มาก

กจิ กรรมการเรียนรู ชวยใหเขาใจความรแู ละทักษะทจ่ี ำเปนสำหรบั ทานไดม ากขนึ้ 3.24 80.95 มาก

เนื้อหาทเ่ี รียนรูมีประโยชนตอผเู ขารวมโครงการ 3.38 84.52 มากที่สุด

ภาพรวมดา นเน้อื หาและรปู แบบการเรยี นรู 3.29 82.14 มากท่ีสดุ

3) ดานวิทยากร

วทิ ยากรมคี วามรู ความสามารถและประสบการณตรงกับหัวขอเปนท่ีนา เชอ่ื ถือ 3.52 88.10 มากทส่ี ดุ

วิทยากรจดั ลำดบั ความสำคญั และความสมั พันธข องเนอื้ หาไดอยางตอเนอ่ื ง 3.48 86.90 มากท่สี ดุ

วทิ ยากรมคี วามสามารถในการสอ่ื สาร ถายทอดความรใู หเ ขา ใจไดอ ยา งชดั เจน 3.38 84.52 มากที่สดุ

วทิ ยากรสามารถสรางบรรยากาศกระตนุ ใหเกดิ การเรียนรไู ดด ี 3.48 86.90 มากท่สี ุด

วิทยากรเปดโอกาสในการซกั ถาม การเสนอความคิดเหน็ และยอมรบั ความคิดเห็น 3.43 85.71 มากท่สี ุด

ภาพรวมดานวิทยากร 3.46 86.43 มากท่สี ุด

4) ดานประโยชนท ไี่ ดรับ

ไดร ับความรู ความเขาใจ และนำไปใชไดจรงิ 3.29 82.14 มากที่สุด

ไดเ รยี นรสู ิ่งใหม ๆ ท่ีเกิดจากการอบรม 3.33 83.33 มากที่สุด

สามารถนำความรจู ากการอบรมไปประยกุ ตใชในหนวยงานได 3.33 83.33 มากที่สุด

ภาพรวมดานประโยชนท่ไี ดร ับ 3.32 82.94 มากที่สดุ

จากตาราง 8 ผลการประเมินในหวั ขอ การปรบั เปลี่ยนองคก รในยคุ ดิจิทลั (Digital Transformation) พบวา
1) ความคิดเห็นกอนและหลังการอบรม ไดแก กอนอบรม มีความรูความเขาใจในเนื้อหาอยูในระดับ
นอย (คาเฉลี่ย = 1.90, รอยละ = 47.62) และหลังการอบรม มีความรูความเขาใจในเนื้อหาอยูในระดับมาก
(คาเฉลี่ย = 2.95, รอยละ = 73.81)
2) ภาพรวมดา นเนือ้ หาและรปู แบบการเรียนรู อยใู นระดับมากทส่ี ุด (คา เฉล่ยี = 3.29, รอ ยละ = 82.14)
3) ภาพรวมดานวทิ ยากร อยูใ นระดับมากทส่ี ุด (คาเฉลย่ี = 3.46, รอ ยละ = 86.43)
4) ภาพรวมดา นประโยชนทไี่ ดร บั อยใู นระดับมากทสี่ ดุ (คาเฉล่ีย = 3.32, รอ ยละ = 82.94)

43

รายงานสรปุ โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารพัฒนาศักยภาพเครอื ขายพฒั นาองคกร หลักสูตรนักพฒั นาองคกรรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

ขอ เสนอแนะ
- วิทยากรควรตรงตอเวลา และรกั ษาเวลา

ตาราง 9 คาเฉลี่ย รอยละ และระดับความพึงพอใจของผูเขาอบรมในหัวขอ การออกแบบการะบวนการคิด
(Design Thinking)

ประเด็น คา เฉลย่ี รอยละ ระดับความ
พงึ พอใจ

1) ความคิดเห็นกอ นและหลงั การอบรม

กอ นการอบรม ทานมคี วามรคู วามเขา ใจในเนือ้ หาของโครงการดงั กลา ว อยูในระดับใด 2.19 54.76 นอ ย

หลังการอบรม ทานมคี วามรคู วามเขาใจในเน้ือหาของโครงการดงั กลา วเพ่ิมข้ึน อยใู นระดบั ใด 3.10 77.38 มาก

2) ดานเนือ้ หาและรปู แบบการเรยี นรู

หัวขอ และเนื้อหาการบรรยายมีความสอดคลองกบั วตั ถปุ ระสงคข องโครงการ 3.24 80.95 มาก

หวั ขอ และเนื้อหาการบรรยายมคี วามเหมาะสมตอการพัฒนาความรแู ละทกั ษะของทา น 3.29 82.14 มากทสี่ ดุ

กิจกรรมการเรยี นรู ชว ยใหเขา ใจความรูแ ละทักษะทจ่ี ำเปนสำหรบั ทา นไดม ากขนึ้ 3.19 79.76 มาก

เนื้อหาท่ีเรยี นรมู ีประโยชนต อ ผูเขารว มโครงการ 3.19 79.76 มาก

ภาพรวมดา นเนอ้ื หาและรปู แบบการเรียนรู 3.23 80.65 มาก

3) ดานวทิ ยากร

วิทยากรมีความรู ความสามารถและประสบการณต รงกับหัวขอ เปนที่นาเชือ่ ถือ 3.57 89.29 มากที่สดุ

วทิ ยากรจดั ลำดับความสำคัญและความสัมพันธข องเนื้อหาไดอ ยา งตอเนอื่ ง 3.38 84.52 มากทส่ี ุด

วทิ ยากรมีความสามารถในการสือ่ สาร ถายทอดความรูใหเขาใจไดอ ยา งชัดเจน 3.43 85.71 มากที่สดุ

วทิ ยากรสามารถสรางบรรยากาศกระตุนใหเ กดิ การเรยี นรูไดด ี 3.48 86.90 มากทส่ี ดุ

วิทยากรเปด โอกาสในการซกั ถาม การเสนอความคิดเหน็ และยอมรบั ความคดิ เห็น 3.52 88.10 มากทส่ี ดุ

ภาพรวมดานวทิ ยากร 3.48 86.90 มากท่สี ดุ

4) ดานประโยชนที่ไดรับ

ไดรับความรู ความเขา ใจ และนำไปใชไดจรงิ 3.24 80.95 มาก

ไดเ รยี นรูส่งิ ใหม ๆ ทเ่ี กิดจากการอบรม 3.43 85.71 มากท่ีสดุ

สามารถนำความรจู ากการอบรมไปประยุกตใชในหนวยงานได 3.29 82.14 มากทสี่ ดุ

ภาพรวมดา นประโยชนท ่ไี ดรับ 3.32 82.94 มากทส่ี ดุ

จากตาราง 9 คาเฉลี่ย รอยละ และระดับความพึงพอใจของผูเขาอบรมในหัวขอ การออกแบบ

กระบวนการคิด (Design Thinking) พบวา

1) ความคิดเห็นกอนและหลังการอบรม ไดแก กอนอบรม มีความรูความเขาใจในเนื้อหาอยูในระดับ
นอย (คาเฉลี่ย = 2.19, รอยละ = 54.76) และหลังการอบรม มีความรูความเขาใจในเนื้อหาอยูในระดับมาก
(คาเฉลีย่ = 3.10, รอ ยละ = 77.38)

2) ภาพรวมดานเนือ้ หาและรปู แบบการเรียนรู อยใู นระดบั มาก (คา เฉล่ีย = 3.23, รอยละ = 80.65)
3) ภาพรวมดานวทิ ยากร อยูในระดบั มากที่สดุ (คา เฉลีย่ = 3.48, รอยละ = 86.90)
4) ภาพรวมดานประโยชนท่ีไดรบั อยใู นระดบั มากทีส่ ุด (คา เฉลี่ย = 3.32, รอยละ = 82.94)

44

รายงานสรุปโครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารพัฒนาศักยภาพเครอื ขายพฒั นาองคกร หลกั สตู รนักพฒั นาองคก รรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

ขอ เสนอแนะ คา เฉลีย่ รอ ยละ ระดับความพงึ พอใจ
- ใหมีเวลาชว งทำกระบวนการกลุมมากกวานี้
3.33 83.33 มากท่ีสุด
ตาราง 10 ภาพรวมของวนั

ประเด็น
ทา นมคี วามพึงพอใจในการอบรมของวันนี้ในระดบั ใด

การอบรมวนั ท่สี ่ี วนั ที่ 3 มนี าคม พ.ศ. 2565

ตาราง 11 คาเฉลี่ย รอยละ และระดับความพงึ พอใจของผเู ขาอบรมในหวั ขอ การมีสว นรว มของประชาชนและ
ภาครัฐ (Collaboration Government)

ประเด็น คา เฉลย่ี รอ ยละ ระดับความ
พึงพอใจ

1) ความคิดเห็นกอนและหลังการอบรม

กอ นการอบรม ทานมีความรูความเขาใจในเนอ้ื หาของโครงการดงั กลาว อยูในระดับใด 2.09 52.17 นอย
หลงั การอบรม ทา นมคี วามรูความเขาใจในเน้ือหาของโครงการดงั กลาวเพ่ิมข้นึ อยใู นระดบั ใด 3.30 82.61 มากที่สุด

2) ดา นเน้อื หาและรปู แบบการเรียนรู

หวั ขอ และเนอื้ หาการบรรยายมีความสอดคลอ งกบั วตั ถปุ ระสงคของโครงการ 3.39 84.78 มากทส่ี ดุ

หัวขอ และเนอื้ หาการบรรยายมีความเหมาะสมตอการพัฒนาความรูและทักษะของทา น 3.52 88.04 มากทส่ี ุด

กจิ กรรมการเรยี นรู ชวยใหเขาใจความรแู ละทกั ษะทจี่ ำเปนสำหรับทานไดม ากข้ึน 3.52 88.04 มากทส่ี ุด

เนอื้ หาท่เี รียนรูมปี ระโยชนตอผเู ขารวมโครงการ 3.61 90.22 มากทส่ี ุด

ภาพรวมดานเนือ้ หาและรปู แบบการเรยี นรู 3.51 87.77 มากท่ีสุด

3) ดา นวิทยากร

วิทยากรมคี วามรู ความสามารถและประสบการณตรงกับหวั ขอ เปน ทน่ี าเช่ือถือ 3.61 90.22 มากที่สุด

วิทยากรจัดลำดับความสำคัญและความสัมพนั ธของเนอ้ื หาไดอ ยา งตอเนื่อง 3.70 92.39 มากทส่ี ดุ

วิทยากรมีความสามารถในการสื่อสาร ถา ยทอดความรใู หเ ขาใจไดอ ยางชัดเจน 3.70 92.39 มากทส่ี ดุ

วทิ ยากรสามารถสรา งบรรยากาศกระตุนใหเกดิ การเรียนรูไ ดดี 3.57 89.13 มากทส่ี ุด

วิทยากรเปดโอกาสในการซักถาม การเสนอความคิดเหน็ และยอมรับความคดิ เหน็ 3.70 92.39 มากทสี่ ดุ

ภาพรวมดานวิทยากร 3.65 91.30 มากทีส่ ดุ

4) ดา นประโยชนท ีไ่ ดร ับ

ไดร บั ความรู ความเขาใจ และนำไปใชไ ดจ รงิ 3.57 89.13 มากที่สดุ

ไดเ รยี นรสู ่ิงใหม ๆ ที่เกิดจากการอบรม 3.57 89.13 มากทีส่ ุด

สามารถนำความรูจากการอบรมไปประยุกตใชในหนวยงานได 3.52 88.04 มากทส่ี ุด

ภาพรวมดา นประโยชนทีไ่ ดรับ 3.55 88.77 มากท่สี ุด

45

รายงานสรปุ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพัฒนาศักยภาพเครอื ขา ยพฒั นาองคกร หลกั สตู รนกั พฒั นาองคกรรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

จากตาราง 11 ผลการประเมินในหัวขอ การมีสวนรวมของประชาชนและภาครัฐ (Collaboration
Government) พบวา

1) ความคิดเห็นกอนและหลังการอบรม ไดแก กอนอบรม มีความรูความเขาใจในเนื้อหาอยูในระดับ
นอย (คาเฉลี่ย = 2.09, รอยละ = 52.17) และหลังการอบรม มีความรูความเขาใจในเนื้อหาอยูในระดับมาก
ทสี่ ุด (คา เฉลย่ี = 3.30, รอยละ = 82.61)

2) ภาพรวมดา นเนื้อหาและรปู แบบการเรยี นรู อยใู นระดับมากที่สุด (คาเฉลย่ี = 3.51, รอ ยละ = 87.77)
3) ภาพรวมดานวิทยากร อยใู นระดับมากทีส่ ุด (คา เฉล่ีย = 3.65, รอยละ = 91.30)
4) ภาพรวมดา นประโยชนทไ่ี ดรบั อยูในระดบั มากทีส่ ุด (คา เฉลี่ย = 3.55, รอยละ = 88.77)

ตาราง 12 คาเฉลี่ย รอยละ และระดับความพึงพอใจของผูเขาอบรมในการศึกษาดูงาน ณ สำนักงานพัฒนา
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) และการบรรยาย เรอ่ื ง ระบบ ICT เพอ่ื การบริหารจดั การงานของ สวทช.

ประเด็น คาเฉล่ีย รอยละ ระดบั ความ
พงึ พอใจ

1) ความคิดเหน็ กอนและหลงั การอบรม

กอ นการอบรม ทานมีความรูความเขา ใจในเน้อื หาของโครงการดงั กลา ว อยูในระดบั ใด 2.04 51.09 นอ ย

หลังการอบรม ทานมีความรคู วามเขาใจในเนื้อหาของโครงการดงั กลา วเพิ่มข้นึ อยูในระดบั ใด 3.22 80.43 มาก

2) ดา นเนอ้ื หาและรปู แบบการเรยี นรู

หัวขอ และเนอ้ื หาการบรรยายมีความสอดคลอ งกบั วตั ถปุ ระสงคของโครงการ 3.26 81.52 มากที่สุด

หวั ขอ และเน้ือหาการบรรยายมคี วามเหมาะสมตอการพฒั นาความรแู ละทักษะของทา น 3.48 86.96 มากทีส่ ุด

กจิ กรรมการเรียนรู ชวยใหเขา ใจความรแู ละทักษะทจี่ ำเปน สำหรบั ทา นไดม ากขนึ้ 3.43 85.87 มากท่ีสดุ

เน้ือหาท่ีเรยี นรูม ีประโยชนตอ ผเู ขารวมโครงการ 3.48 86.96 มากทสี่ ุด

ภาพรวมดา นเนือ้ หาและรปู แบบการเรยี นรู 3.41 85.33 มากท่สี ดุ

3) ดา นวทิ ยากร

วิทยากรมีความรู ความสามารถและประสบการณต รงกบั หวั ขอเปนที่นาเช่ือถือ 3.39 84.78 มากท่สี ดุ

วทิ ยากรจัดลำดบั ความสำคญั และความสัมพนั ธของเน้อื หาไดอยางตอ เนื่อง 3.52 88.04 มากท่ีสดุ

วทิ ยากรมคี วามสามารถในการสื่อสาร ถายทอดความรูใหเขา ใจไดอยา งชัดเจน 3.52 88.04 มากที่สุด

วิทยากรสามารถสรา งบรรยากาศกระตนุ ใหเ กดิ การเรียนรไู ดด ี 3.48 86.96 มากทส่ี ดุ

วิทยากรเปด โอกาสในการซักถาม การเสนอความคดิ เห็น และยอมรับความคิดเหน็ 3.48 86.96 มากที่สุด

ภาพรวมดานวิทยากร 3.48 86.96 มากที่สดุ

4) ดา นประโยชนท ่ไี ดรบั

ไดรบั ความรู ความเขาใจ และนำไปใชไ ดจริง 3.43 85.87 มากที่สดุ

ไดเ รยี นรสู ่งิ ใหม ๆ ทีเ่ กิดจากการอบรม 3.52 88.04 มากท่ีสุด

สามารถนำความรจู ากการอบรมไปประยุกตใ ชในหนวยงานได 3.52 88.04 มากที่สุด

ภาพรวมดา นประโยชนท ่ีไดร ับ 3.49 87.32 มากท่ีสุด

46

รายงานสรุปโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพัฒนาศกั ยภาพเครือขายพัฒนาองคก ร หลักสตู รนกั พฒั นาองคก รรนุ ใหม รนุ ท่ี 2

จากตาราง 12 ผลการประเมินในการศึกษาดูงาน ณ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
แหงชาติ (สวทช.) และการบรรยาย เร่อื ง ระบบ ICT เพ่อื การบรหิ ารจัดการงานของ สวทช. พบวา

1) ความคิดเห็นกอนและหลังการอบรม ไดแก กอนอบรม มีความรูความเขาใจในเนื้อหาอยูในระดับ
นอย (คาเฉลี่ย = 2.04, รอยละ = 51.09) และหลังการอบรม มีความรูความเขาใจในเนื้อหาอยูในระดับมาก
(คา เฉล่ยี = 3.22, รอ ยละ = 80.43)

2) ภาพรวมดานเนอ้ื หาและรูปแบบการเรยี นรู อยูในระดับมากทสี่ ดุ (คา เฉล่ีย = 3.41, รอยละ = 85.33)
3) ภาพรวมดานวทิ ยากร อยูในระดับมากทสี่ ดุ (คาเฉล่ยี = 3.48, รอยละ = 86.96)
4) ภาพรวมดา นประโยชนที่ไดรับ อยใู นระดับมากท่ีสุด (คา เฉลี่ย = 3.49, รอ ยละ = 87.32)

ขอ เสนอแนะ

- วิทยากรมคี วามสามารถสามารถนำไปปรบั ใชไ ดอ ยา งดี
ตาราง 13 ภาพรวมของวนั

ประเด็น คาเฉล่ีย รอยละ ระดบั ความพงึ พอใจ
ทา นมีความพึงพอใจในการอบรมของวันนีใ้ นระดับใด
3.39 84.78 มากท่สี ุด

ขอเสนอแนะ
- ตองการเยี่ยมชมจุดการทำงาน เทคโนโลยี ในสวนอื่นๆ ของ สวทช.จะทำใหมองเห็นมุมมองใหม ๆ

มาปรบั ใชใ นการทำงาน

- หวั ขอ บรรยายนาสนใจ และไดค วามรูนำไปปรบั ใช

การอบรมวนั สดุ ทา ย วันที่ 4 มนี าคม พ.ศ. 2565
ตาราง 14 ภาพรวมโครงการฯ

ประเดน็ คาเฉลีย่ รอ ยละ ระดับความ
พงึ พอใจ

1) ความคิดเหน็ กอนและหลังการอบรม

กอนการอบรม ทา นมีความรคู วามเขา ใจในเน้ือหาของโครงการดังกลาว อยใู นระดบั ใด 2.06 51.50 นอ ย

หลังการอบรม ทา นมคี วามรคู วามเขาใจในเน้ือหาของโครงการดงั กลาวเพิ่มข้ึน อยใู นระดบั ใด 3.34 83.50 มากท่สี ดุ

2) ดา นเนอื้ หาและรปู แบบการเรยี นรู

หัวขอและเนือ้ หาการบรรยายมคี วามสอดคลอ งกับวัตถุประสงคข องโครงการ 3.47 86.75 มากทส่ี ุด

หวั ขอและเน้อื หาการบรรยายมีความเหมาะสมตอการพัฒนาความรูและทักษะของทาน 3.66 91.50 มากที่สดุ

กิจกรรมการเรยี นรู ชว ยใหเขาใจความรแู ละทกั ษะทจ่ี ำเปนสำหรบั ทานไดมากข้นึ 3.53 88.25 มากที่สดุ

เนือ้ หาท่เี รียนรูม ีประโยชนตอ ผูเ ขา รวมโครงการ 3.63 90.75 มากที่สดุ

ภาพรวมดา นเน้อื หาและรูปแบบการเรยี นรู 3.57 89.25 มากท่ีสุด

47

รายงานสรุปโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการพฒั นาศักยภาพเครอื ขายพฒั นาองคก ร หลกั สูตรนกั พฒั นาองคก รรนุ ใหม รนุ ที่ 2

ประเด็น คาเฉลี่ย รอยละ ระดับความ
พึงพอใจ

3) ดา นวทิ ยากร

วทิ ยากรมคี วามรู ความสามารถและประสบการณต รงกบั หัวขอ เปน ทนี่ าเช่อื ถอื 3.81 95.25 มากท่สี ุด

วทิ ยากรจดั ลำดบั ความสำคญั และความสมั พนั ธของเนือ้ หาไดอยา งตอ เนอ่ื ง 3.69 92.25 มากทีส่ ดุ

วิทยากรมคี วามสามารถในการสอื่ สาร ถายทอดความรใู หเขา ใจไดอยางชัดเจน 3.69 92.25 มากทส่ี ุด

วิทยากรสามารถสรา งบรรยากาศกระตุนใหเกดิ การเรยี นรูไ ดดี 3.78 94.50 มากทสี่ ดุ

วิทยากรเปด โอกาสในการซกั ถาม การเสนอความคิดเห็น และ ยอมรบั ความคิดเห็น 3.78 94.50 มากที่สดุ

ภาพรวมดานวิทยากร 3.75 93.75 มากท่สี ดุ

4) ดา นการจดั กระบวนการอบรม

มีกจิ กรรมการเรียนรู สอดคลอ งกับเน้ือหา นา สนใจและเขาใจงาย 3.38 84.50 มากท่สี ดุ

มีกระบวนการถายทอดความรใู หเกิดความเขา ใจ สามารถนำไปปฏบิ ตั ิไดจริง 3.47 86.75 มากทส่ี ดุ

เจาหนาที่จัดฝกอบรม มีการตดิ ตอประสานงานและใหบรกิ าร รวมถงึ อำนวยความสะดวก 3.25 81.25 มาก
แกผ เู ขา รบั การฝก อบรมครัง้ น้ี

มสี งิ่ สนับสนนุ ตามกระบวนการอบรม (เชน การกระตุนผูเขาเรยี น/การดแู ลจากผจู ดั เครอ่ื ง 3.19 79.75 มาก
เสยี ง อปุ กรณส ื่อ การแจงขาวสาร การประชาสัมพันธ เปนตน )

ภาพรวมดานการจดั กระบวนการอบรม 3.32 83.00 มากท่สี ุด

5) ดา นสถานท่ีการฝก อบรม

ความเหมาะสมของสถานทจี่ ัดการฝกอบรมในภาพรวม 3.13 78.25 มาก

สภาพแวดลอมและการจดั หองเรียน 3.13 78.25 มาก

มสี ิ่งสนับสนุนตามกระบวนการอบรม 3.03 75.75 มาก

ภาพรวมดา นสถานที่การฝกอบรม 3.09 77.25 มาก

6) ดานประโยชนท ่ีไดร ับ

ไดร ับความรู ความเขาใจ และนำไปใชไ ดจ รงิ 3.47 86.75 มากที่สุด

ไดเรียนรสู ง่ิ ใหม ๆ ที่เกิดจากการอบรม 3.63 90.75 มากที่สดุ

สามารถนำความรจู ากการอบรมไปประยุกตใ ชใ นหนว ยงานได 3.59 89.75 มากทีส่ ุด

ภาพรวมดา นประโยชนท ่ไี ดรบั 3.56 89.00 มากทสี่ ดุ

จากตาราง 14 ผลการประเมินภาพรวมโครงการฯ พบวา
1) กอนการอบรม ผูเขาอบรมมีความรูความเขาใจในเนื้อหาของโครงการดังกลาวในระดับนอย
(คาเฉลี่ย = 2.06, รอยละ = 51.50) หลังการอบรมมีความรูความเขาใจในเนื้อหาของโครงการดังกลาวเพ่มิ ขนึ้
โดยมรี ะดับความพงึ พอใจมากที่สุด (คาเฉล่ีย = 3.34, รอยละ = 83.50)
2) ภาพรวมดานเนื้อหาและรูปแบบการเรียนรู มีความสอดคลอง เหมาะสม กับวัตถุประสงคของ
โครงการและการพฒั นาความรูของผูอบรม รวมทง้ั มเี นอื้ หาและกิจกรรมทเ่ี ปนประโยชนต อผูอบรม โดยมีระดับ
ความพึงพอใจมากทส่ี ดุ (คา เฉล่ยี = 3.57, รอยละ = 89.25)
3) ภาพรวมดานวิทยากร มีความสามารถและประสบการณตรงกับหัวขอ เปนที่นาเชื่อถือ จัดลำดับ
ความสำคัญ ความสัมพันธของเนื้อหาไดอยางตอเนื่อง อีกทั้งมีความสามารถในการสื่อสาร ถายทอดความรู
ใหเขาใจ สามารถสรางบรรยากาศกระตุนใหเกิดการเรียนรูไดดี เปดโอกาสในการซักถาม เสนอความคิดเห็น
และยอมรบั ความคดิ เหน็ ของผอู บรม โดยมีระดับความพึงพอใจมากทสี่ ดุ (คา เฉลยี่ = 3.75, รอ ยละ = 93.75)

48


Click to View FlipBook Version