The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krw.creamm, 2019-11-19 03:37:06

aot4

aot4





แผนปฏิบัติการดานดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมระยะ ๕ ป
(พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ภายใตนโยบายและแผนระดบั ชาตวิ า ดวย
การพัฒนาดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสงั คม (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐)

สาํ นักงานคณะกรรมการดจิ ทิ ัลเพอื่ เศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ
กระทรวงดจิ ิทลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม



สารบัญ

หนา้
บทท่ี ๑ การเปลยี่ นผา่ นสู่ยคุ เศรษฐกิจดจิ ทิ ัลในบริบทโลก ๗
บทที่ ๒ บรบิ ทของประเทศไทยในยุคดจิ ทิ ลั : ความทา้ ทายและโอกาส ๑๓
บทที่ ๓ เป้าหมายของการเปลย่ี นผ่านสู่ดจิ ิทลั ไทยแลนด์ในระยะ ๕ ปี ๑๙
บทท่ี ๔ ประเดน็ ขับเคลอ่ื นหลักเพอื่ การเปล่ยี นผา่ นรายยทุ ธศาสตร์ ๒๕
บทท่ี ๕ กลไกการขับเคลือ่ น ๗๗

4 แผนปฏบิ ัตกิ ารดา้ นดจิ ทิ ลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสังคม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

บทนำ�

นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ 
ตามพระราชบญั ญตั กิ ารพฒั นาดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม พ.ศ. ๒๕๖๐ ทป่ี ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา และมผี ลบงั คบั ใช้
เมอ่ื วนั ท่ี ๑๒ เมษายน ๒๕๖๒ เปน็ แผนแมบ่ ทหลกั ในการพฒั นาดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศซง่ึ มคี วามสอดคลอ้ ง
กบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และแผนพฒั นา
เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๒ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ นโยบายและแผนระดบั ชาตดิ ังกลา่ วได้กำ�หนดทศิ ทาง
การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศท่ีย่ังยืนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลโดยมีความมุ่งหมายสำ�คัญเพ่ือปฏิรูปประเทศไทย
ใหท้ นั ต่อบรบิ ทการพัฒนาทางเศรษฐกจิ และสงั คมทกี่ �ำ ลังเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ไปสยู่ ุคดจิ ทิ ลั

ในการขบั เคลอ่ื นการด�ำ เนนิ งานตามนโยบายและแผนระดบั ชาตวิ า่ ดว้ ยการพฒั นาดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมนน้ั
คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการด้านดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)
โดยแปลงวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์ระยะยาวของนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนา
ดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คมสกู่ รอบการปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ รปู ธรรมในระยะสน้ั โดยมงุ่ เนน้ การเปลย่ี นผา่ นประเทศไทยไปสกู่ ารเปน็
ประเทศทข่ี บั เคลอ่ื นและใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ไดอ้ ยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ หรอื  “Digital Transformation” อนั เปน็
การสร้างรากฐานการพัฒนาประเทศให้เป็นประเทศที่ขับเคลื่อนการพัฒนาทั้งในมิติทางเศรษฐกิจและสังคมด้วยนวัตกรรม
เพ่อื สร้างศักยภาพในการแขง่ ขันของประเทศและการยกระดับคุณภาพชวี ิตของประชาชน
แผนปฏิบัติการฉบับน้ีจะเป็นแนวทางสำ�หรับการดำ�เนินงานในลักษณะบูรณาการระหว่างหน่วยงานของ
ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยมุ่งเน้นการดำ�เนินงานในลักษณะของเครือข่ายหรือพันธมิตรร่วมกัน โดยมี
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเป็นแกนกลาง ในการบูรณาการการขับเคล่ือนการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศ ทั้งในมิติภารกิจเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda based) มิติเชิงพ้ืนท่ี (Area based) และมิติ
การบรหิ ารจดั การและพฒั นานวตั กรรมการบรกิ าร (Innovation based) เพอื่ การเปลยี่ นผา่ นประเทศไทยสกู่ ารเปน็ ประเทศ
ทข่ี ับเคลื่อนและใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยีดิจิทัลไดอ้ ยา่ งเต็มศักยภาพ

5

101010010

การเปลยี่ นผา่ นสู่ยคุ
เศรษฐกจิ ดิจิทลั ในบรบิ ทโลก

6 แผนปฏิบัตกิ ารดา้ นดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

บทที่ ๑

การเปลี่ยนผา่ นสยู่ ุคเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั ในบรบิ ทโลก

วิวัฒนาการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลถูกพัฒนาข้ึนอย่างต่อเน่ืองและรวดเร็วแบบก้าวกระโดด ซึ่งมีอิทธิพลต่อ
รูปแบบการด�ำเนินวิถีชีวิตของผู้คนในสังคมท่ีมีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยส�ำคัญ โดยสะท้อนผ่านทางพฤติกรรม
การบริโภคที่เปล่ียนแปลงไปท้ังในด้านเศรษฐกิจและสังคม ดังเช่น การซ้ือขายสินค้าบริการท่ีไม่จ�ำเป็นต้องมีหน้าร้าน
อีกต่อไป แต่เป็นการค้าขายผ่านออนไลน์ หรือการแสวงหาความรู้เพื่อเพ่ิมพูนทักษะใหม่ๆ ซ่ึงไม่จ�ำเป็นต้องเดินทางไป
อบรมตามสถาบันการศึกษาต่างๆ แต่สามารถศึกษาผ่านสื่อออนไลน์ได้อย่างตรงตามความต้องการท่ีแท้จริงของผู้เรียนรู้
เปน็ ตน้ อนั เปน็ ผลพวงของความก้าวหน้าทางเทคโนโลย ี

ปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลกโดยเฉพาะประเทศพัฒนาแล้วได้น�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมาขับเคลื่อนการพัฒนา
ประเทศสู่เศรษฐกิจและสังคมดิจิทลั ใน ๕ มิติ

๑. การเชอื่ มต่อ (Connectivity) สารสนเทศและการส่อื สารตลอดจนระบบอัตโนมัติ
การเชื่อมต่อในท่ีน้ีมิได้หมายความเพียง มาใชม้ ากมายในทกุ ขน้ั ตอน ตลอดจนหลายกจิ กรรม
เร่ืองของสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ ที่เกิดขึ้นบนโลกของความเป็นจริงถูกย้ายไปใน
เช่น ถนน รถไฟ รถไฟความเร็วสูง หรือโครงสร้าง โลกออนไลน์เกิดการสร้างและแลกเปลี่ยนข้อมูล
พ้ืนฐานบรอดแบนด์เท่านั้น แต่เป็นการกล่าว จำ�นวนมหาศาลโดยเฉพาะใน Social Media และ
ถึงการสร้างให้สังคมชุมชนเศรษฐกิจ เกิดการ ทำ�อย่างไรจึงจะสร้างประโยชน์จากการวิเคราะห์
Connectivity หรือการเชื่อมต่อกันนั้น ซง่ึ หมายถงึ ขอ้ มูลขนาดใหญ่เหล่าน้ี
การพัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐานบรอดแบนดค์ ณุ ภาพสูง ๔. เทคโนโลยเี ปลยี่ นโลก (Digital Disruption)
อนั เปน็ เงอ่ื นไขทจ่ี �ำ เปน็ ส�ำ หรบั การตอ่ ยอดการพฒั นา เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีทันสมัยจะเข้ามาปรับ
และใช้บริการต่างๆ เป็นพื้นฐานในการเชื่อมโยง เปลี่ยนกฎเกณฑ์ กติกา รูปแบบและโครงสร้างของ
คน ทรพั ยากร อุปกรณด์ ิจทิ ลั และทุกสรรพสงิ่   ทุกสิ่ง เกิดการพลิกโฉมรูปแบบการดำ�เนินชีวิต
การประกอบธุรกิจและเศรษฐกจิ โลก เชน่ การเกดิ
๒. ทักษะดา้ นดิจิทลั (Human Capital/ Digital อีเมลทำ�ให้คนส่งจดหมายทางไปรษณีย์น้อยลง
Skill) สมาร์ตโฟนมีกล้องถ่ายรูปทำ�ให้อุตสาหกรรมกล้อง
ประเทศท่ีพัฒนาแล้วในหลายประเทศ เปลี่ยน รวมถึง รูปแบบการเก็บข้อมูลที่เปลี่ยนไป
ได้ให้ความสำ�คัญต่อการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล อยู่บนคลาวดค์ อมพวิ ติ้ง เป็นตน้
เนื่องจากเห็นถึงความสำ�คัญและโอกาสอันยิ่ง ๕. การสรา้ งบรกิ ารสาธารณะในระบบดจิ ทิ ลั (Digital
ใหญ่ท่ีจะเพ่ิมขีดความสามารถทางการแข่งขัน Public Service)
ของประเทศไทย ทกั ษะดา้ นดิจทิ ลั จงึ ได้กลายเปน็ หลายประเทศปรับตัวและให้ความสำ�คัญ
ทักษะพื้นฐานเป็นทักษะที่จำ�เป็นในการใช้งาน ต่อการพัฒนาบริการสาธารณะ เพื่อสร้างคุณภาพ
และสรา้ งประโยชนจ์ ากเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั  ขณะเดยี วกนั ชีวิตท่ีดีและความสะดวกสบายในการดำ�รงชีวิต
ก็ต้องเฝ้าระวังผลกระทบทางลบ อันเกิดจากการใช้ ให้กับประชาชน ตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัดคือ การสร้าง
เทคโนโลยีดิจิทัลในทางมิชอบและหรือไม่เหมาะสม ระบบบริการขนส่งมวลชนท่ีผู้ใช้บริการสามารถ
วางแผนการเดินทางผ่าน Mobile Application
๓. การใชข้ ้อมลู ผ่านเครือข่าย (Data Driven) เป็นต้น ดังน้ันบริการสาธารณะจะกลายเป็นระบบ
เป็นเร่อื งท่หี ลีกเล่ยี งไม่ได้ท่จี ะต้องกล่าวถึง  ดิจิทัลที่ทุกคนเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลาและสร้างความ
เพราะการพฒั นาอตุ สาหกรรมใหไ้ ปส ู่ Industry 4.0  สะดวกใหก้ ับทกุ คนในสงั คม
ได้น้ันปัจจัยสำ�คัญคือ การใช้ข้อมูลผ่านเครือข่าย 
เม่อื โลกจริงและโลกเสมือนถูกผนวกรวมเข้าด้วยกัน 7
ภาคบริการโดยเฉพาะภาคการเงินและการธนาคาร
เ ป็ น ตั ว อ ย่ า ง ข อ ง ก า ร เ ป ล่ี ย น ผ่ า น ท่ี ร ว ด เ ร็ ว
และเห็นเด่นชัดท่ีสุด เนื่องจากเป็นภาคเศรษฐกิจ
ของการแลกเปล่ียนข้อมูลและมีการนำ�เทคโนโลยี

ดงั นน้ั จากทก่ี ลา่ วขา้ งต้นจะพบวา่ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เปน็ เทคโนโลยที ม่ี อี ทิ ธพิ ลอยา่ งมากตอ่ การใชช้ วี ติ ของประชาชน
สง่ ผลกระทบใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงในหลากหลายมติ  ิ อนั เนอ่ื งจากความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยที เี่ ปน็ ไปอยา่ งกา้ วกระโดด
ความสามารถในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลจึงเป็นปัจจัยส�ำคัญของการพัฒนาประเทศ ดังท่ีหลายประเทศ
ได้ตระหนักถึง จึงได้ทุ่มการลงทุน การพัฒนา และส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในทุกภาคส่วน จงึ เปน็ สง่ิ ส�ำคญั ทค่ี วรตอ้ ง
ตระหนกั ถงึ ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปนี้

๑) กอ่ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทางนวตั กรรมอยา่ งพลกิ ผนั  (Disruptive Innovation) โดยมี
เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นตัวเร่งส�ำคัญ เช่น Xaas, Cybersecurity, Artificial Intelligence,
Mixed Reality, Predictive Analytics, 5G, Cognitive Computing, Software-Defined
Anything, Commercial Drones เป็นต้น1 เทคโนโลยีดิจิทัลเหล่านี้จะมาเปล่ียนแปลง
อุตสาหกรรมและสังคม สร้างตลาดใหม่ เกิดผู้บริโภคกลุ่มใหม่ รูปแบบธุรกิจใหม่ ตลอดจน
การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเดิมในรูปแบบ เพ่ือขับเคลื่อน
โอกาสการเตบิ โตทวั่ โลก

๒) ก่อให้เกิดการปฎิวัติการตลาดด้วยส่ือสังคมออนไลน์ โดยส่ือสังคมออนไลน์กลายมาเป็น
ส่ือกระแสหลักของโลกในยุคปัจจุบันส่งผลให้เกิดการพัฒนาเครื่องมือหรือแอปพลิเคชัน
ใหม่ๆ ท่ีมาเปล่ียนรูปแบบการปฏิสัมพันธ์ในสังคม มีการเสนอขายสินค้าและบริการแบบ
เฉพาะเจาะจงเปน็ รายบคุ คลมากขน้ึ เจ้าของผลิตภัณฑ์ต้องเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับ
ลกู คา้ มากขน้ึ  เพอื่ สามารถใหบ้ รกิ ารไดต้ รงกบั ความตอ้ งการของลกู คา้ มปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั ลกู คา้
ไดด้ ขี นึ้  สรา้ งคณุ คา่ ให้กับลูกคา้  สามารถเพมิ่ ระดบั ความพึงพอใจ และรักษาฐานลูกค้าไวไ้ ด้

๓) กอ่ ใหเ้ กดิ การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอื่ การผลติ มากยงิ่ ขน้ึ (Consumption To Production) 
โดยในอดีตที่ผ่านมาสังคมในระดับประชาชนยังใช้เทคโนโลยีเพ่ือการสื่อสารการเข้าถึง
ข้อมูลข่าวสาร หรือกิจกรรมสาระบันเทิงเป็นส่วนใหญ่ แต่ในยุคปัจจุบันนั้นจะเป็นโลก
ท่ีประชาชนและผู้บริโภคกลายมาเป็นผู้ผลิตโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือส่งเสริมให้เกิด
การผลติ ทปี่ ระหยดั ตอ่ ขนาดทม่ี ากขน้ึ  จากการใชท้ รพั ยากรรว่ มกนั หรอื การผลติ ตลอดหว่ งโซ่
อปุ ทานมปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ จากการใชร้ ะบบ AI, Big Data ประกอบการวเิ คราะห ์ แมก้ ระทงั่
เกดิ อาชีพใหม่ๆ มากขึ้น และวิถีการประกอบอาชีพท่ีเปลี่ยนไปจากเดิม 

๔) ก่อให้เกิดการแข่งขันที่อยู่บนพื้นฐานของนวัตกรรมสินค้าและบริการ (Innovation
Economy) โดยในโลกยคุ ดจิ ทิ ลั น ี้ การแขง่ ขนั ในเชงิ ราคาจะเปน็ เรอ่ื งของอดตี  (เชน่  การตดั
ราคาสนิ คา้ และบรกิ ารกนั ทางออนไลน)์  และธรุ กจิ ทไี่ มส่ ามารถใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอ่ื ปรบั เปลย่ี น
กระบวนการทางธุรกิจ สร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้าและบริการเดิมของตน หรือสร้างสินค้า
และบริการใหม่ๆ ที่ตอบสนองความต้องการของตลาด จะไม่สามารถแข่งขันได้อีกต่อไป
ในขณะเดียวกันภาคธุรกิจก็ต้องเพ่ิมทักษะในการใช้หรือวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่มากข้ึน
หรือภาคธุรกิจสามารถปรับรูปแบบการท�ำงานได้ยืดหยุ่นข้ึนผ่านระบบ Cloud และการ
เชือ่ มต่อกนั ระหวา่ งคนและอินเทอรเ์ น็ต อยา่ งไรกต็ าม ภาคธุรกิจกค็ วรเตรยี มความพรอ้ ม
ในการรบั มอื ท่จี ะแข่งขันกบั ธุรกจิ อ่ืนทไ่ี ม่เคยเกย่ี วข้องกันมาก่อนด้วย

8๑  Frost&Sullivan, Top 50 Emerging Technologies, ๒๐๑๗
แผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

๕) ก่อให้เกิดการใช้ระบบอัจฉริยะ (Smart Everything) มากข้ึน ซ่ึงจากน้ีไปจะเป็น
เร่ืองของการใช้เทคโนโลยีและแอปพลิเคชันอัจฉริยะต่างๆ ในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
และสังคมมากขึ้นเร่ือยๆ ตั้งแต่ระดับประชาชน เชน่  การใช้ชวี ิตประจ�ำวนั ในบ้าน การเดินทาง
การดูแลสุขภาพ การใช้พลังงาน ไปถึงระดับอุตสาหกรรม เช่น การเกษตร การผลิตสินค้า
ในโรงงาน หรอื แมก้ ระท่ังเรอ่ื งการเฝา้ ระวงั ภยั พบิ ตั ิ การดูแลสง่ิ แวดล้อม และอนื่ ๆ อกี มากมาย
ในอนาคต

๖) ก่อให้เกิดข้อมูลทั้งจากผู้ใช้งานและจากอุปกรณ์เซ็นเซอร์ต่างๆ จ�ำนวนมหาศาล
โลกดิจิทัลจึงเป็นโลกของการแข่งขันด้วยข้อมูล ซ่ึงศักยภาพในด้านการวิเคราะห์ข้อมูล
ขนาดใหญ่จะเป็นเรื่องจ�ำเป็นและเป็นพื้นฐานส�ำหรับทุกหน่วยงานและองค์กรท้ังภาครัฐ
และเอกชน นอกจากน ี้ ข้อมูลสว่ นบุคคลมีความส�ำคัญมากท้งั ในเชิงธรุ กิจ และการคมุ้ ครอง
ขอ้ มูลสว่ นบุคคลจะกลายเป็นประเด็นส�ำคญั ท่สี ดุ  ในยคุ ของ Big Data


๗) ก่อให้เกิดความเสี่ยงด้านความปลอดภัยไซเบอร์ ตามมาอีกหลายรูปแบบเช่น

การก่อกวน สร้างความร�ำคาญแก่ผู้ใช้ระบบ การเข้าถึงข้อมูลและระบบโดยไม่ได้รับ
อนุญาต การยับยั้งข้อมูลและระบบ การสร้างความเสียหายแก่ระบบ การจารกรรมข้อมูล
บนระบบคอมพิวเตอร์ (ข้อมูลการค้า การเงิน หรือข้อมูลส่วนตัว) หรือแม้แต่การโจมตี
โครงสร้างพ้ืนฐานท่ีมีความส�ำคัญยิ่งยวดท่ีสามารถท�ำให้ระบบเศรษฐกิจหยุดชะงักและได้
รับความเสียหายหรือเกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู้คน โดยท่ีภัยไซเบอร์เหล่าน้ี
ล้วนแล้วแต่พัฒนาอย่างรวดเร็วตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและบ่อยคร้ังยังเป็นเร่ือง
ท่ีท�ำจากนอกประเทศ ท�ำให้การป้องกันหรือติดตามจับกุมการกระท�ำผิดเป็นเร่ืองท่ียาก
และสลบั ซับซ้อนมากขึ้นอกี ดว้ ย
๘) ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงคร้ังใหญ่ในเรื่องของโครงสร้างก�ำลังคน ทั้งในเชิงลบ
และเชิงบวก งานหลายประเภท โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคอุตสาหกรรม โรงงาน
และภาคบริการ จะเร่ิมถูกทดแทนด้วยระบบอัตโนมัติจากเทคโนโลยีดิจิทัลที่สามารถ
ท�ำได้ดีกว่าและมีประสิทธิภาพมากกว่า (เช่น พนักงานขายต๋ัว การใช้บริการทางการเงิน)
ขณะเดียวกันก็จะมีงานรูปแบบใหม่ที่ต้องใช้ความรู้และทักษะสูงเกิดข้ึน เช่น
นักวิทยาศาสตร์หรือผู้เช่ียวชาญด้านข้อมูล ผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์
ผู้เชี่ยวชาญด้านโซเชียลเน็ตเวิร์ค นักธุรกิจดิจิทัล ฯลฯ นอกจากน้ีจะมีงานบางประเภท
ท่ีอาจต้องเปลีย่ นบทบาทไป เช่น คร ู กลายเป็นผ้อู �ำนวยการสอนมากกว่าผูส้ อน


9

เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นกลไกส�ำคัญในการด�ำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม  การใช้ชีวิตประจ�ำวันของ
ประชาชน การเปลย่ี นกระบวนทศั นท์ างความคดิ  รปู แบบการมปี ฏสิ มั พนั ธข์ องคนในสงั คม การปฏริ ปู กระบวนการทางธรุ กจิ
ซ่ึงรวมถึงการผลิตการค้า การบริการ และการบริหารราชการแผ่นดิน อันน�ำมาสู่การพัฒนาทางเศรษฐกิจการพัฒนา
คุณภาพชีวิตของคนในสังคม  โดยแนวทางการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมดจิ ทิ ลั ของประเทศไทยนนั้ จะตง้ั อยบู่ นคุณลักษณะ
ส�ำคัญทเี่ กิดจากความสามารถและพลวตั ของเทคโนโลยีดิจทิ ัล อันไดแ้ ก่

๑) การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นเครื่องมือในการ ๓) การสร้างและใช้ประโยชน์จากข้อมูลท่ีเป็น
เชื่อมต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม จ�ำนวนมหาศาล ทั้งท่ีเป็นข้อมูลที่มีการถูก
ของประชาคมในประเทศและประชาคมโลก บันทึกโดยคน  เช่น  ข้อมูลการเงิน ข้อมูล
การเช่ือมต่อดังกล่าวน�ำไปสู่การแบ่งปัน ลูกค้า ข้อมูล Social Media และข้อมูล
ทรพั ยากร แนวคดิ ใหมแ่ ละผลประโยชนร์ ว่ มกนั ที่มีการจัดเก็บโดยอุปกรณ์และไหลผ่าน
อย่างไร้พรมแดน  โดยท่ีประชาชนในประเทศ เครือข่าย (Internet of Things) มาวิเคราะห์
สามารถมีบทบาทและมีส่วนร่วมได้อย่างท่ัวถึง ผ่านระบบประมวลผลขนาดใหญ่ เพื่อใช้
และเทา่ เทยี ม ป ร ะ โ ย ช น ์ ใ น ก า ร ป รั บ ป รุ ง ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
การด�ำเนนิ งานในการผลติ และบรกิ ารและสรา้ ง
๒) การเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจและสังคมที่ขับเคลื่อน ความได้เปรียบในการแข่งขันในยุคดิจิทัลของ
ด้วยนวัตกรรมโดยเฉพาะอยา่ งย่งิ นวัตกรรมดิจทิ ัล ประเทศรวมถงึ การให้บริการประชาชน
เพ่อื สร้างคุณค่า (Value Creation) และขดี ความ
สามารถทางการแขง่ ขนั ในระดับสากลตลอดจน ๔) การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่แพร่กระจายแทรกซมึ
การยกระดับ“คุณภาพชีวิต”ของประชาชน ไปทุกภาคส่วน เพ่ือสร้างโอกาสให้คนทุกกลุ่ม
ในประเทศ มีส่วนร่วมในการสร้างและน�ำพาประเทศไทย
ไปสู่สังคมท่ีทุกคนสามารถกลายเป็นผู้ผลิต
และสร้างมลู ค่า

การปรับเปลี่ยนประเทศไทยสู่บริบทใหม่ในยุคดิจิทัล  จึงให้ความส�ำคัญต่อการน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมาเป็น
กุญแจส�ำคัญช่วยน�ำพาให้ประชาชนทุกคนในประเทศไทย มีความอยู่ดี มีสุข มีระบบเศรษฐกิจท่ีขับเคล่ือนด้วย
นวัตกรรม เทคโนโลยี และความคดิ สร้างสรรค ์ เพ่ือความเจริญท่ียัง่ ยนื ต่อไปในอนาคต

10 แผนปฏบิ ัติการดา้ นดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ จิ ทั ล เ ป ็ น กุ ญ แ จ
สำ� คัญชว่ ยน�ำพาใหป้ ระเทศไทย

มรี ะบบเศรษฐกจิ ขบั เคลอ่ื นดว้ ยนวัตกรรม
มคี วามคดิ สร้างสรรค์
มีความอยดู่ ี
มีสุข

11

บริบทของประเทศไทย

ในยุคดิจทิ ัล: ความทา้ ทายและโอกาส

12 แผนปฏิบตั ิการด้านดจิ ิทัลเพื่อเศรษฐกจิ และสงั คม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

บรบิ ทของประเทศไทยในยบุคทดทจิ ทิ่ี ๒ลั : ความทา้ ทายและโอกาส

เทคโนโลยีดิจิทัล ได้เช่ือมโยงผู้คนและเข้ามามีอิทธิพลต่อการปรับเปล่ียนรูปแบบวิถีการด�ำรงชีวิตในปัจจุบัน
อย่างมากมาย ที่สร้างให้เกิดโอกาสใหม่ และพลังการเปล่ียนแปลงใหม่อย่างรวดเร็วทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม 
ซงึ่ จากผลการสำ� รวจของ Accenture2 ในกลมุ่ ผบู้ รหิ ารธรุ กจิ และไอทมี ากกวา่  ๓,๑๐๐ คน พบวา่ รอ้ ยละ ๓๓ ของเศรษฐกจิ
ท่ัวโลกต่างได้รับผลกระทบจากยุคดิจิทัล นอกจากนี้ ร้อยละ ๘๖ ของผู้ที่ตอบผลการส�ำรวจยังคาดว่าในอีก ๓ ปีข้างหน้า 
การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีจะเปลี่ยนไปในอัตราท่ีไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน จึงส�ำคัญอย่างย่ิงที่จะต้องมีการเตรียมพร้อม
และแสวงหาโอกาสในการพัฒนาประเทศ

จากอดีตท่ีผ่านมาถึงแม้ประเทศไทยจะมุ่งเน้นให้ความส�ำคัญในการขับเคลื่อนการเติบโตด้านผลิตภัณฑ์
มวลรวมของประเทศ (GDP) เปน็ ส�ำคญั  ไมไ่ ดใ้ หค้ วามส�ำคญั ตอ่ การพฒั นาสง่ิ แวดลอ้ ม คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนเทา่ ทคี่ วร
ส่งผลให้ประเทศไทยยังคงต้องเผชิญกับปัญหาความเหลื่อมล้�ำทางเศรษฐกิจและสังคมมาโดยตลอด ท้ังด้าน
การกระจายรายได้ การศึกษา การสาธารณสุข การเข้าถึงระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ตลอดจนปัญหาความยากจนของ
ประชาชนที่เรื้อรังมานาน ในขณะที่ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยมีอัตราการเติบโตท่ีชะลอตัวลงอยู่ที่
ประมาณรอ้ ยละ ๓.๕ ตอ่ ป ี ระหวา่ งป ี พ.ศ. ๒๕๔๙ – ๒๕๕๘3 เปน็ ตน้ มา


โดยรัฐบาลยุคปัจจุบันได้มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาเศรษฐกิจไทยให้เติบโตอย่างต่อเน่ืองในระยะยาวตามแผน
ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี เพ่ือบรรลุเป้าหมายการเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วผ่านการปฏิรูปในหลายด้าน ท้ังในเรื่องของ
การศึกษา ขีดความสามารถในการแข่งขัน รวมถึงการบริหารจัดการโครงสร้างพ้ืนฐานของภาครัฐและระบบราชการ ฯลฯ
เพื่อให้ประเทศไทยก้าวพ้นจากประเทศรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูงต่อไป ซึ่งเป็นโอกาสและความท้าทาย
ในการพัฒนาประเทศเพื่อรองรับต่อสถานการณ์และแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น ซึ่งต้องให้ความส�ำคัญและเตรียมรับมือ
ดังตัวอย่างความทา้ ทายท่ีต้องเผชิญต่อไปนี้ 3
๑ กับดัก ๓ ด้าน ที่ประเทศไทยก�ำลังเผชิญอย่ใู นปัจจุบัน

กับดักรายได้ปานกลาง (Middle-Income Trap) โดยท่ีประเทศไทยตกอยู่ในภาวะดังกล่าวอย่างยาวนาน
มาเกือบ ๒๐ ปี การก้าวข้ามกับดักรายได้ปานกลางไปสู่การเป็นประเทศที่มีรายได้ระดับสูงเป็นหน่ึง
ในเป้าหมายการพัฒนาประเทศเร่งด่วนของรัฐบาล ด้วยการลงทุนและพัฒนาอุตสาหกรรมท่ีมีอยู่แล้ว
ในประเทศ และอตุ สาหกรรมกระแสใหมท่ ห่ี มายรวมถึงอตุ สาหกรรมดจิ ิทลั

กับดักความเหล่ือมล�้ำ (Inequality Trap) โดยท่ีปัญหาความเหลื่อมล้�ำในสังคมนั้นมีหลากหลายมิติ
ทั้งด้านการพัฒนาคุณภาพคน ด้านการศึกษา ด้านรายได้ ด้านโอกาสทางสังคมและการได้รับสิทธิประโยชน์
ต่างๆ รวมถึงบริการของภาครัฐ และยังรวมถึงความเหล่ือมล�้ำทางดิจิทัล (Digital Divide) หรือความ
แตกต่างและช่องว่างระหว่างผู้ที่สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลกับผู้ที่เข้าไม่ถึง ไม่เข้าใจ
และไม่สามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีใหม่ได้
กับดักความไม่สมดุล (Imbalance Trap) หลายทศวรรษที่ผ่านมา ประเทศไทยเน้นพัฒนาความมั่งคั่ง
ทางเศรษฐกิจ โดยละเลยการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม การสร้างสังคมท่ีอยู่ดีมีสุขและการยกระดับศักยภาพ
และภมู ิปญั ญามนษุ ย ์ จนสง่ ผลกระทบเชิงลบในมิติต่างๆ มากมาย

๒ Accenture, #TECHVISION๒๐๑๖, ๒๐๑๖ 13

๓ ธนาคารโลก (ประเทศไทย), ภาพรวมประเทศไทย, ๒๕๖๐

โดยกบั ดัก ๓ ดา้ นที่กล่าวมาข้างตน้ เปน็ สาเหตหุ ลกั ทท่ี �ำให้ประเทศไทยไม่สามารถสร้างความมั่งคง่ั มีความม่ันคง
ในแนวทางที่ย่ังยืนได้ (ปัจจุบันประชากรโลกมีรายได้เฉล่ียต่อหัวปีละ ๑๓,๕๐๐ เหรียญดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่คนไทย
มีรายได้เฉล่ียต่อหัวปีละ ๖,๕๐๐ เหรียญดอลลาร์สหรัฐ แสดงว่าคนไทยมีรายได้เฉล่ียเพียงคร่ึงหน่ึงของประชากรโลก
เท่านนั้ )4 จงึ เป็นเหตผุ ลส�ำคัญของการปรบั เปล่ียนโมเดลทางเศรษฐกจิ จาก Thailand 3.0 ไปสู่ Thailand 4.0 โดยใช้
โครงสรา้ งพื้นฐานดา้ นดิจทิ ลั และเทคโนโลยีดิจทิ ัลที่ทันสมยั เป็นเครื่องมือสนับสนุนทส่ี �ำคัญ

๒ การเพ่ิมขีดความสามารถทางการแขง่ ขนั ของภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ ดว้ ยนวัตกรรม
ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยยังไม่สามารถก้าวไปอยู่ในกลุ่มประเทศท่ีแข่งขัน
ด้วยนวัตกรรมได้ ซึ่งยังคงด�ำเนินงานในรูปแบบเดิม และยังคงใช้แรงงานคนด�ำเนินงานเป็นส่วนใหญ่
รวมถึงยังอาศัยการนําเข้าจากต่างประเทศเป็นตัวขับเคล่ือนหลัก มากกว่าการใช้เทคโนโลยีและโครงสร้าง
พื้นฐานด้านดิจิทัลเข้ามาช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพและศักยภาพในการด�ำเนินธุรกิจ โดยเฉพาะในกลุ่ม SMEs
ซึ่งแม้มีการจ้างงานรวมถึงร้อยละ ๘๐.๔ ของประเทศ แต่มูลค่าการด�ำเนินธุรกิจของ SMEs คิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ ๓๗.๓ ของ GDP และผลิตภาพของ SMEs ไทยยังไม่สูงนัก นอกจากนี้ SMEs มีการเข้าถึงและใช้งาน
เทคโนโลยดี ิจทิ ัลในระดบั ต�ำ่ เมื่อเทยี บกับธุรกิจขนาดใหญ่

๓ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ของโลก
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจถือเป็นโอกาสส�ำคัญของประเทศไทย ท่ีจะใช้ประโยชน์จากการรวมกลุ่ม
ทางเศรษฐกจิ  โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ รวมถึงการรวมกล่มุ
ทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ ท่ีมีผลกระทบโดยตรงต่อประเทศไทย ตลอดจนการปรับตัวเข้าสู่เศรษฐกิจ
โลกแบบหลายศนู ยก์ ลาง กอปรกบั ปญั หาตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ระบบเศรษฐกจิ ชนั้ น�ำของโลก ไดแ้ ก ่ สหรฐั อเมรกิ า
ยุโรป และญ่ีปุ่น เป็นต้น จะเป็นประเด็นยุทธศาสตร์ส�ำคัญในการขับเคล่ือนระบบเศรษฐกิจของประเทศ
ซ่ึงประเทศไทยมีจุดเด่นด้านภูมิศาสตร์ที่ตั้งอยู่กลางคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีความ
หลากหลายทางชีวภาพของทั้งพืชและสัตว์มาก อันเป็นรากฐานม่ันคงของการผลิตในภาคเกษตรกรรม
มสี ถานที่ทอ่ งเทย่ี วทห่ี ลากหลายท่ีสุดประเทศหนึง่  คุณภาพฝมี อื แรงงานเป็นท่ยี อมรบั ในระดบั สากล

๔ การกา้ วสสู่ ังคมผสู้ งู อายุ
จากรายงานขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ ประเทศไทยจะมีจ�ำนวนประชากรสูงอายุมากขึ้น
อยา่ งไมเ่ คยมมี ากอ่ น โดยคาดกนั วา่ จ�ำนวนผมู้ อี ายมุ ากกวา่  ๖๕ ป ี จะมจี �ำนวนประมาณรอ้ ยละ ๒๐ ของประชากร
ใน พ.ศ. ๒๕๖๘ และเพ่ิมเป็นร้อยละ ๓๐ ใน พ.ศ. ๒๕๙๓ ตามล�ำดับ การเผชิญกับการเปล่ียนแปลง
โครงสร้างประชากร จะมีนัยต่อผลิตภาพ (Productivity) และการมีส่วนร่วมในภาคแรงงานในอนาคต
รวมถึงความต้องการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และเทคโนโลยีดิจิทัลในการดูแลผู้สูงอายุ โดยที่หากไม่มี
การเตรียมความพร้อมทีด่ ีพอ ผู้สูงอายเุ หลา่ นจ้ี ะเป็นภาระของประเทศในดา้ นงบประมาณเพ่มิ ข้นึ เร่ือยๆ

๕ การพฒั นาศกั ยภาพคนในประเทศ
ในการพัฒนาศักยภาพของคนในประเทศ เทคโนโลยีดิจิทัลจะเป็นเคร่ืองมือในการสร้างศักยภาพ
ของทุกคน ยกระดับคนไปสู่สังคมฐานความรู้ ให้มีความสามารถเพิ่มขึ้น ให้สามารถขยับไปสู่การผลิตท่ีใช้
เทคโนโลยีหรือรู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยี และข้อมูลข่าวสารในการประกอบอาชีพมากขึ้น เพ่ือแก้ปัญหา
การขาดแคลนแรงงานทักษะฝีมือสูง และการว่างงานของแรงงานทักษะฝีมือต่�ำ นอกจากนี้ ส�ำหรับประชาชน
ทว่ั ไปเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั จะชว่ ยใหท้ กุ คนเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ขา่ วสาร สามารถพฒั นาตนเองใหเ้ ปน็ คนทฉ่ี ลาด รเู้ ทา่ ทนั สอ่ื
เท่าทนั โลกด้วย

14๔  ปาฐกถาพเิ ศษหวั ขอ้ “ความทา้ ทายและโอกาสทางเศรษฐกิจของประเทศ”, กรณ์ จาติกวณิช ประธานชมรมฟนิ เทคแห่งประเทศไทย
แผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นดจิ ทิ ัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

๖ การแก้ไขปัญหาคอรร์ ัปชัน
ปัญหาคอร์รัปชันเป็นปัญหาเร้ือรังของประเทศท่ีส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและการพัฒนาประเทศ
ในทุกมิติโดยคอร์รัปชันเป็นอุปสรรคอันดับหน่ึงในทัศนะของนักลงทุนต่างชาติที่จะตัดสินใจลงทุน
และท�ำธุรกิจในประเทศไทย โดยกรณีคอร์รัปชันท่ีส�ำคัญคือการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐและการใช้
งบประมาณประจ�ำปี ทั้งน้ีองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นมีสถิติเร่ืองร้องเรียนทุจริตสูงสุด จ�ำเป็นต้องมีการสร้าง
ความโปร่งใสให้กับภาครัฐด้วยการเปิดเผยข้อมูล เพื่อให้ภาคประชาสังคม เข้ามามีส่วนในการตรวจสอบ
การท�ำงานของภาครฐั ได ้ ภายใตข้ อบเขตของกฎหมายและกฎระเบียบที่เก่ียวข้อง

๗ การรับมือต่อภยั คกุ คามไซเบอร์
ภัยในรูปแบบใหม่ๆ รวมถึงภัยคุกคามไซเบอร์รูปแบบต่างๆ มีการพัฒนาและเปล่ียนแปลง
รูปแบบอย่างต่อเน่ืองและท�ำให้เกิดผลกระทบที่ทวีความรุนแรงตามจ�ำนวนธุรกิจและผู้ใช้งานระบบดิจิทัล
ดังน้ัน ประเทศไทยจึงต้องเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับภัยต่างๆเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มขีด
ความสามารถของบุคลากรในการรักษาความม่ันคงปลอดภัยและการพัฒนาทักษะความรู้เพ่ือป้องกันตนเอง
และหนว่ ยงาน ลดความเสยี่ งจากการถกู โจมตหี รอื ภยั คกุ คามและลดความเสยี หายจากผลกระทบทอี่ าจเกดิ ขนึ้

๘  การบรหิ ารจดั การภัยธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
การบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเป็นส่ิงจ�ำเป็นมากข้ึนในยุคปัจจุบัน เนื่องจาก
ทรัพยากรธรรมชาติส่วนใหญ่ถูกน�ำไปใช้ในการพัฒนาประเทศท้ังเชิงเศรษฐกิจและสังคม ท�ำให้เกิด
ปัญหาความเส่ือมโทรมและความขัดแย้ง ในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น  นอกจากนี้
ประเทศไทยยังตอ้ งรับมอื กบั ปญั หาส่ิงแวดลอ้ มทเี่ พิ่มสงู ขึ้น เช่น คุณภาพน้ำ� ขยะมูลฝอย มลพษิ ทางอากาศ
กา๊ ซเรือนกระจก จากการขยายตวั ของเศรษฐกิจและชุมชนเมอื ง ไปจนถงึ การเตรียมพร้อมกบั การเกิดภยั ภิบัติ
ตามธรรมชาติท่ีเกิดบ่อยครั้งและทวีความรุนแรงอันจะส่งผลกระทบโดยตรงกับภาคการผลิตของประเทศ
โดยเฉพาะภาคการเกษตร


  ตามที่ได้กล่าวถึงอิทธิพลของเทคโนโลยีดิจิทัล ที่มีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศซ่ึงเป็นทั้งโอกาส
และความท้าทายของประเทศไทย ที่จะใช้ประโยชน์สูงสุดจากเทคโนโลยีดิจิทัลในการพลิกโฉมการพัฒนาประเทศเข้าสู่
ยุคดจิ ทิ ลั ในมิติตา่ งๆ ดังน้ี

มติ ิดา้ นเศรษฐกิจ มิตดิ า้ นสงั คม

มติ ดิ า้ นสิ่งแวดล้อม

15

๑. มติ ดิ ้านเศรษฐกจิ

การปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจ เพื่อแก้ปัญหาความเหลื่อมล้�ำด้านรายได้ ให้เกิด
การกระจายทรัพยากรและโอกาสที่ทั่วถึง พัฒนาขีดความสามารถของธุรกิจในภาค
การเกษตร การผลิต และการบริการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในกลุ่ม SMEs และวิสาหกิจชุมชน
การปฏิรูปอุตสาหกรรมเข้าสู่ยุค ๔.๐ เพ่ือก้าวข้ามกับดักรายได้ปานกลาง หาโอกาส
ทางธุรกิจรูปแบบใหม่ ที่ไม่เน้นแรงงานราคาถูก ทรัพยากรธรรมชาติที่ร่อยหรอ แต่หันไป
เน้นการสร้างนวัตกรรม เทคโนโลยีที่จะช่วยให้เกิดสินค้าหรือบริการที่แก้ปัญหาได้
แบบกา้ วกระโดด
การเพิ่มศักยภาพของภาคธุรกิจ เพื่อช่วงชิงความได้เปรียบในการแข่งขันจากการ
รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ที่จะเป็นทั้งโอกาสและอุปสรรค
ของประเทศไทยในอนาคต

๒. มิตดิ า้ นสงั คม

การปฏิรูปการศึกษา เพ่ือพัฒนาทุนมนุษย์ ศักยภาพของคนในประเทศ เพ่ือให้
ทกุ ภาคสว่ นด�ำเนนิ งานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล ทง้ั การเกษตร อตุ สาหกรรม
และบริการ โดยคนร่นุ ใหม่จะต้องชาญฉลาด รู้เทา่ ทนั สอื่  เทา่ ทนั โลก
การปฏิรูปการเมือง เพ่ือแก้ปัญหาคอร์รัปชันอันเป็นปัญหาเรื้อรังของประเทศ สร้างความ
โปร่งใสให้กับภาครัฐ เพ่ิมประสิทธิภาพในการท�ำงานของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่รัฐ
และเพม่ิ ชอ่ งทางให้ประชาชนมีส่วนร่วม มีสิทธิมเี สียงในการบริหารประเทศมากขน้ึ
การปฏิรูประบบราชการ เพ่ือเพิ่มศักยภาพ และประสิทธิภาพการให้บริการของภาครัฐ
เพิ่มความโปร่งใส การเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายข้ึน เพ่ิมโอกาสทางสังคม สร้างความเท่าเทียม
และยกระดับคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน
การปฏิรูประบบบริการสุขภาพ จากเดิมที่มี “ช่องว่าง” ทั้งในด้านการจัดการทรัพยากร
และการให้บริการต่อประชาชน ให้ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน
และชมุ ชนไดอ้ ยา่ งครอบคลมุ  ทวั่ ถงึ และเทา่ เทยี มในการอ�ำนวยความสะดวกแกป่ ระชาชนมากขนึ้
และเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมสูงอายุ ที่จะส่งผลต่อภาระงบประมาณด้านสุขภาพ
ตอ่ ไปในอนาคต 

๓. มติ ิดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม

การปฏิรูปการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อลดปัญหาความไม่เป็นธรรมในการจัดสรร
ทรัพยากรและความเหล่ือมล�้ำอันเกิดจากการผลักภาระความเส่ือมโทรมของสภาพ
แวดล้อมให้แก่ประชาชน ด้วยการสร้างความยั่งยืนผ่านกลไกการพัฒนาท่ีจะช่วยลด
ความเปราะบางตอ่ ภยั ธรรมชาต ิ และการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ไปจนถงึ การสง่ เสรมิ
การใชพ้ ลงั งานอย่างมีประสิทธิภาพและใชพ้ ลังงานทีเ่ ป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ มมากขึน้ 5
มติ คิ วามทา้ ทายเหลา่ นล้ี ว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ โอกาสส�ำคญั ของประเทศทจี่ ะน�ำเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เขา้ มาสรา้ งการเปลยี่ นแปลง
ใหเ้ กดิ ขนึ้ และชว่ ยเพมิ่ พลงั ขบั เคลอ่ื นประเทศสคู่ วามเปน็ ประเทศไทย๔.๐เพอื่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายไดอ้ ยา่ งเหน็ ผลเปน็ รปู ธรรมไดต้ อ่ ไป

16๕ วาระปฏิรปู ที่ ๒๕ : ระบบการบรหิ ารทรพั ยากร : ระบบการบรหิ ารทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม, สภาปฏิรูปแหง่ ชาต,ิ ๒๕๕๘
แผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นดิจิทัลเพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

มิ ติ ค ว า ม ท ้ า ท า ย คื อ โ อ ก า ส
ที่ จ ะ น� ำ เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ จิ ทั ล เ ป ็ น
พลงั ขับเคลอ่ื นสไู่ ทยแลนด์ ๔.๐

17

เป้าหมายของการเปลย่ี น
ผา่ นสดู่ จิ ทิ ัลไทยแลนด์
ในระยะ 5 ปี

18 แผนปฏิบัติการด้านดิจิทัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

เป้าหมายของการเปลี่ยนผบ่านทสทูด่ ี่ ๓จิ ทิ ลั ไทยแลนดใ์ นระยะ ๕ ปี

การปฏิรูปและขับเคล่ือนประเทศไทยไปสู่ระบบเศรษฐกิจและสังคม ท่ีขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม (Innovation

Driven Economy) เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการพัฒนาประเทศจากฐานรากในทุกๆ มิติ
ทางเศรษฐกิจและสังคม ที่จะน�ำพาประเทศไทยไปสู่วิสัยทัศน์ของรัฐบาลในด้านความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ความมั่นคง
ทางสังคม และความยั่งยืนเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ตามแนวทางประชารัฐ โดยนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วย
การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นแผนแม่บทของการพัฒนาและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
โดยมีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเป็นปัจจัยขับเคลื่อนส�ำคัญ เพ่ือน�ำพาประเทศไทยไปสู่ Digital Thailand ซ่ึงหมายถึง
ยุคสมัยในอีกสองทศวรรษข้างหน้าท่ีประเทศไทยสามารถสร้างสรรค์และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล
อยา่ งเตม็ ศกั ยภาพในการพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานนวตั กรรม ขอ้ มลู  ทนุ มนษุ ยแ์ ละทรพั ยากรอนื่ ใด เพอ่ื ขบั เคลอ่ื นการพฒั นา
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไปสู่ความมั่นคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนา ๖ ด้าน ดังน้ี 

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ พฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานดจิ ทิ ลั ประสทิ ธภิ าพสงู
ใหค้ รอบคลมุ ทวั่ ประเทศ
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ ขบั เคลื่อนเศรษฐกิจดว้ ยเทคโนโลยีดิจิทัล
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ สรา้ งสงั คมคณุ ภาพดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ปรับเปลีย่ นภาครัฐส่กู ารเป็นรฐั บาลดจิ ทิ ัล
ย ทุ ธ ศาสต ร์ที่ ๕ พแลัฒะนสางั กค�มำลดงั จิ คทิ นลั ใหพ้ รอ้ มเข้าสู่ยคุ เศรษฐกจิ
ยุทธศาสตร์ท่ี ๖ สร้างความเช่อื มน่ั ในการใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั

19

ในการขับเคลื่อนการด�ำเนินงานตามนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ
และสงั คม ได้มกี ารแปลงวสิ ัยทัศน์เปา้ หมาย และยุทธศาสตร์ระยะยาวของนโยบายและแผนระดับชาติดงั กลา่ ว ไปส่กู รอบ
การปฏิบตั ทิ เี่ ปน็ รูปธรรมในระยะสน้ั โดยจัดท�ำเป็นแผนปฏบิ ตั ิการดา้ นดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกจิ และสงั คม ระยะ ๕ ปี ท่ีมงุ่ เนน้
การเปล่ียนผ่านประเทศไทยไปสู่การเป็นประเทศที่ขับเคลื่อนและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่างเต็มศักยภาพ
หรือ “Digital Transformation”อันเป็นการสร้างรากฐานการพัฒนาประเทศให้เป็นประเทศที่ขับเคลื่อนการพัฒนา
ทง้ั ในมติ ทิ างเศรษฐกจิ และสงั คมดว้ ยนวตั กรรมเพอื่ สรา้ งศกั ยภาพในการแขง่ ขนั ของประเทศ และยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน

แผนปฏิบัติการด้านดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมฉบับน้ี ได้ก�ำหนดเป้าหมายและแนวทางการพัฒนาดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ในระยะ ๕ ปี ท่ีสอดคล้องตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัล
เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม พ.ศ. ๒๕๖๐ (มาตรา ๖) และใช้นโยบายและแผนระดับชาตวิ า่ ด้วยการพัฒนาดจิ ทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ
และสังคม พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ เป็นกรอบน�ำความคิดในการวางแผนไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ

SYSTEM OF INTELLIGENCE

EMPOWER YOUR ENGAGE YOUR OPTIMIZE YOUR TRANSFORM
EMPLOYEES CUSTOMERS OPERATIONS YOUR PRODUCT

20 แผนปฏิบัติการดา้ นดจิ ทิ ัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสังคม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

พระราชบัญญัตกิ ารพฒั นาดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสงั คม พ.ศ. ๒๕๖๐
มาตรา ๖ นโยบายและแผนระดบั ชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ และสงั คม

มีเป้าหมายและแนวทางอย่างนอ้ ยดังต่อไปน้ี

(๑) การดําเนินการและการพัฒนาให้การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
โดยวิธีการอย่างหน่ึงอย่างใดท่ีทําให้สามารถใช้ร่วมกันหรือเชื่อมโยงกันได้หรือวิธีอ่ืนใดท่ีเป็น
การประหยดั  ทรพั ยากรของชาตแิ ละเกดิ ความสะดวกตอ่ ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ ง รวมถงึ การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ
ในการใชจ้ ่ายงบประมาณประจาํ ป ี
(๒) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีดิจิทัลที่เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ซ่ึงต้องครอบคลุมโครงข่ายการติดต่อส่ือสาร แพร่เสียง แพร่ภาพในทุกรูปแบบไม่ว่าจะอยู่ใน
ภาคพนื้ ดนิ พน้ื นำ้�  ในอากาศ หรอื อวกาศและเปา้ หมายในการใชค้ ลน่ื ความถใี่ หเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ
ตอ่ การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมและประโยชนข์ องประชาชน
(๓) การส่งเสริมและสนับสนุนให้มีระบบการให้บริการหรือแอปพลิเคชันสําหรับประยุกต์
ใชง้ านด้วยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั
(๔) การส่งเสริมให้เกิดมาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ในการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลให้สอดคล้องกัน
เพ่ือให้การทํางานระหว่างระบบสามารถทํางานเช่ือมโยงกันได้อย่างมีความมั่นคงปลอดภัย
อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานรวมตลอดท้ังทําให้ระบบหรือการให้บริการมีความน่าเช่ือถือ
และมีแนวทางการส่งเสริมให้เกิดการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลใการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
และพาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละมหี ลกั ประกนั การเขา้ ถงึ และใชป้ ระโยชนข์ องประชาชนอยา่ งเทา่ เทยี ม
ทั่วถงึ และเป็นธรรม โดยไม่เลอื กปฏบิ ตั ิ
(๕) การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาให้เกิดอุตสาหกรรมและนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
การพัฒนาให้เกิดการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสร้างหรือเผยแพร่เนื้อหาผ่านทางสื่อที่ก่อให้เกิด
ประโยชน์ตอ่  เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและความมั่นคงของประเทศ
(๖) การส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและพัฒนากําลังคน ให้เกิดความพร้อมและความรู้
ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลและส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานของรัฐและเอกชน ใช้เทคโนโลยี
ดิจิทัล ให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม รวมท้ังสร้างความตระหนักและรู้เท่าทันส่ือ
และสารสนเทศอน่ื  สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหล้ ดความเหลอ่ื มลำ�้ ในการเขา้ ถงึ บรกิ ารทจี่ าํ เปน็ ตอ่ การ
พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน
(๗) การพัฒนาคลังข้อมูลและฐานข้อมูลดิจิทัล การบริหารจัดการความรู้ รวมท้ังการส่งเสริม
เพ่ือให้มีระบบที่เป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้และให้บริการข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ท่ีทันสมัย
ซง่ึ เออื้ ตอ่ การนาํ ไปใช้ประโยชน์ในรปู แบบท่เี หมาะกับยคุ สมัย

21

เป้าหมายและตวั ช้วี ดั การพัฒนาดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสงั คม
ตามแผนปฏบิ ัตกิ ารด้านดิจิทัลเพ่อื เศรษฐกิจและสังคม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

เป้าหมาย ตัวชี้วัด

๑. ขบั เคล่อื นเศรษฐกจิ

เพ่มิ  รายไดเ้ ฉลี่ยของครวั เรอื นและการกระจาย ๑) ธุรกจิ SMEs ปรับเปลยี่ นเป็น Digital SMEs ๕๐๐,๐๐๐ ราย
๒) อตั ราการเติบโตของ GDP เพิม่ ขน้ึ รอ้ ยละ ๒ จากการนำ�เทคโนโลยีดจิ ิทัลไปใช้
รายไดแ้ ละความมัง่ คัง่ ทางเศรษฐกจิ
ในภมู ิภาค ตลอดจนเพิม่  GDP จากการใช้ ประโยชน์ในทกุ ภาคส่วน
เทคโนโลยีดจิ ิทัลในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
๓) สัดส่วนมลู ค่าเพิม่ ของอุตสาหกรรมเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ต่อ GDP เพม่ิ ขึ้นเปน็

ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๑๘.๒

๔) เพิม่ การลงทุนใหม่ หรอื ลงทนุ เพ่ิมในประเทศอยา่ งนอ้ ย ๕๐,๐๐๐ ลา้ นบาท

๒. สร้างสงั คมคณุ ภาพ ๑) อัตราการเติบโตของ GDP เพ่มิ ขึ้นรอ้ ยละ ๒ จากการน�ำเทคโนโลยีดจิ ิทลั
เพมิ่  คุณภาพชวี ิต โอกาสในการเข้าถึงบริการ
ไปใชป้ ระโยชนใ์ นทกุ ภาคสว่ น
ดา้ นสขุ ภาพและโอกาสในการเข้าถงึ ความรู้
ด้านทกั ษะอาชีพ ให้กบั ประชาชนทกุ คน ๒) อนั ดบั การพฒั นาดา้ นไอซีทีของประเทศในดชั นี ICT Development Index
โดยเฉพาะผู้พกิ ารและกลมุ่ คนชายขอบ
ตลอดจนเพ่ิมความปลอดภยั ในชวี ิต (IDI) อยใู่ นกล่มุ ประเทศทีม่ กี ารพฒั นาสงู สุด ๖๐ อันดบั แรก ได้แก่ ด้านการ
และทรพั ยส์ นิ ใหป้ ระชาชนในทุกพนื้ ที่ เข้าถงึ (Access Index) การใช้งาน (Use Index) และทักษะผู้ใช้ (Skills Index)

๓) เมืองอจั ฉริยะ ๗๗ เมือง

๓. พัฒนารัฐบาลดจิ ทิ ัล ผลคะแนนการจดั อนั ดบั E-Government Development Index เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ ๒๕
ประหยดั  การใช้กระดาษในทกุ ขน้ั ตอน

การท�ำงาน ลดเวลาในการติดต่อ/รบั บรกิ าร
ภาครฐั และเวลาในการจดทะเบยี นเรม่ิ ต้น
ธรุ กิจ ส�ำหรบั ประชาชนและภาคธรุ กจิ

22 แผนปฏิบตั ิการด้านดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสังคม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

เปา้ หมาย ตัวชี้วดั

๔. พัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐานดิจิทัลรองรบั การเปล่ยี นแปลง

ขยาย อนิ เทอรเ์ น็ตความเรว็ สงู ใหค้ รอบคลุม ๑) อนั ดับการพัฒนาด้าน Technological Infrastructure
ของ World Competitiveness Scoreboard อยูใ่ น ๓๕ อันดับแรก
ทุกพืน้ ทีแ่ ละสรา้ งโอกาสใหป้ ระชาชนในชนบท
เข้าถึงอนิ เทอรเ์ นต็ ด้วยตน้ ทุนที่ไมต่ า่ งกบั ๒) โครงสรา้ งพื้นฐานบรอดแบนด์ทค่ี รอบคลมุ ๗๔,๙๖๕ หมูบ่ า้ นท่ัวประเทศ
ประชาชนในเมือง (๑๐๐%)

๓) ประเทศไทยเป็นศนู ยก์ ลางการเชอื่ มตอ่ และแลกเปลยี่ นขอ้ มูลในภูมภิ าค

๕. สรา้ งความเช่อื ม่ัน อันดบั ความเส่ียงจากการโจมตที างไซเบอร์ต�่ำกวา่ อนั ดับ ๑๐ ของโลก
ขจัด ภัยคุกคามไซเบอร์การโจมตีเว็บไซต์

หนว่ ยงานภาครฐั  เนื้อหาไมเ่ หมาะสม
ทางอินเทอร์เนต็  กลโกงออนไลน/์ การฉอ้ โกง
รูปแบบใหม่ๆ ตลอดจนสร้างความเชอ่ื มนั่
ให้กบั ภาคธุรกิจและประชาชนในการท�ำ
ธุรกรรมออนไลน์

๖. พฒั นาก�ำ ลังคนดิจทิ ัล ๑) ประชาชนรอ้ ยละ ๗๕ มีทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอยา่ งปลอดภัย
พัฒนา ทักษะด้านดิจทิ ลั ให้กบั ทุกอาชีพ
และสร้างสรรค์
เพ่อื เพมิ่ ผลิตภาพแรงงานและการสร้างธรุ กจิ
รปู แบบใหม่และพฒั นาทักษะดา้ นดิจิทลั ๒) สรา้ งก�ำ ลงั คนดจิ ิทลั ๕๐๐,๐๐๐ คน
ของข้าราชการและบุคลากรภาครฐั  ตลอดจน
สร้างความตระหนกั ให้ประชาชนใช้เทคโนโลยี
ดิจทิ ัลอยา่ งสรา้ งสรรค์

23

ประเด็นขบั เคลอ่ื นหลัก
เพ่ือการเปลย่ี นผ่านราย
ยุทธศาสตร์

24 แผนปฏิบตั กิ ารด้านดิจิทัลเพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ประเด็นขบั เคลือ่ นหลกั เพบือ่ ทกาทรี่ เ๔ปลี่ยนผา่ นรายยทุ ธศาสตร์

การเปล่ียนผ่านไปสู่การเป็นประเทศท่ีขับเคลื่อนและใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมดิจิทัลได้อย่างเต็มศักยภาพ
หรือ “Digital Transformation” ในบริบทของไทยจะหมายถึงการน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับและประยุกต์ใช้กับทุกส่วน
ของระบบเศรษฐกิจและสังคม ที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ระดับฐานราก กระบวนการท�ำงาน จนถึงกระบวนการ
สร้างคุณค่าให้กับลูกค้าและกลุ่มผู้ใช้ประโยชน์ ซ่ึง “คน” คือ กลไกขับเคลื่อนที่ส�ำคัญ เพื่อการปรับเปลี่ยนประเทศไทย
ให้เป็นประเทศไทย ๔.๐ ท่ีมีรายได้สูง หลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลาง (Middle-Income Trap) ยกระดับ
คุณภาพชีวิตประชาชนด้วยการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเต็มศักยภาพ โดยแผนปฏิบัติการดิจิทัล
เพ่ือเศรษฐกิจและสังคมระยะ ๕ ป ี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๕) จะเปน็ เคร่ืองมือในการแปลงนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วย
การพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมใน ๖ มิติ ท่ีสอดคล้องกับ ๖ ยุทธศาสตร์
ของนโยบายและแผนระดับชาตดิ งั กล่าว ด้วย ๑๕ ประเดน็ การขบั เคล่ือนทีส่ �ำคญั ดงั ภาพ 

ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาดจิ ิทัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คม: ประเด็นขบั เคลอ่ื น

25

ประเดน็ ขบั เคลือ่ นและตวั อย่างโครงการสำ� คัญ เพ่ือสร้างพลงั การเปล่ยี นแปลงให้กับประเทศไทย

เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนา อย่างเห็นผลเป็นรูปธรรม มีความจ�ำเป็นอย่างย่ิงที่ต้องขับเคลื่อนผ่านโครงการ
ส�ำคัญ ท่ีต้องร่วมกันขับเคล่ือนอย่างบูรณาการท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน และเพื่อให้การด�ำเนินงาน
มีความชดั เจน ลดความซำ้� ซ้อน โดยได้ก�ำหนดนิยามของคำ� สำ� คญั เพื่อใหม้ คี วามเขา้ ใจตรงกัน ดังต่อไปน้ี

o หน่วยงานขับเคลื่อนหลัก หมายถึง หน่วยงาน
ทบี่ รหิ ารจดั การภาพรวมและรบั ผดิ ชอบดำ� เนนิ งาน o ตัวอย่างโครงการสำ� คญั  หมายถงึ  ตวั อยา่ งโครงการ
โครงการเป็นหลกั
ที่ส่งผลกระทบสูงต่อเศรษฐกิจและสังคมของ
o หน่วยงานขบั เคลื่อนรอง หมายถึง หน่วยงานท่ีให้ ประเทศเพื่อวางรากฐานส�ำหรับการพัฒนาดิจิทัล
การสนบั สนนุ สง่ เสรมิ หนว่ ยงานหลกั และประสาน เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คมและ/หรอื โครงการทตี่ อ้ งการ
กับหน่วยงานอื่นๆ ที่เก่ียวข้องเพ่ือร่วมขับเคล่ือน การบูรณาการการท�ำงานระหว่างหน่วยงาน
แผนงานให้บรรลุเปา้ หมาย เพ่อื ให้ไดผ้ ลลพั ธใ์ นระดับประเทศ ลดความซ้�ำซอ้ น
ลดตน้ ทุน มีประสิทธภิ าพประสิทธิผล เปน็ รปู ธรรม
ตั ว อ ย ่ า ง โ ค ร ง ก า ร ที่ เ ส น อ ใ น แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร
ฉ บั บ นี้ เ ป ็ น ก ร อ บ แ น ว ท า ง เ บ้ื อ ง ต ้ น ส� ำ ห รั บ
หน่วยงานในการจัดท�ำแผนงาน/โครงการรองรับ
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องยังสามารถพิจารณาจัดท�ำ
แผนงาน/โครงการอ่ืนๆ เพ่ิมเติมเพื่อขับเคลื่อน
การด�ำเนนิ งานตามแผนปฏิบัตกิ ารฉบับน้ี

โดยประเดน็ การขบั เคลื่อนและตัวอยา่ งโครงการสำ� คัญ มรี ายละเอยี ดดังต่อไปนี้

๑. ยุทธศาสตรข์ บั เคลอ่ื นเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีดิจทิ ลั : ๕ ประเด็นขับเคลอ่ื น

๑.๑ การพฒั นา SMEs ไทยบนฐานของเศรษฐกจิ ดิจิทลั (Digital SMEs)
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) มีบทบาทส�ำคัญมากต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจาก
ท�ำให้เกิดการจ้างงานจ�ำนวนมาก กล่าวคือ จ�ำนวน SMEs ปี ๒๕๕๘ มีจ�ำนวนท้ังส้ิน ๒,๗๖๕,๙๘๖ ราย มีการจ้างงาน
ทั้งส้ิน ๑๐,๗๔๙,๗๓๕ คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ ๘๐.๔๔ ของการจ้างงานรวมท้ังหมด6 การเพิ่มขีดความสามารถทางการ
แข่งขันให้แก่ผู้ประกอบการ SMEs เป็นโจทย์ส�ำคัญที่ภาครัฐไทยต้องเร่ง
ด�ำเนินการ เพราะ SMEs ไทย ยังคงพึ่งพาการค้าขายภายในประเทศ จากการสำ�รวจการมีการใช้ไอซีทีในสถานประกอบการ
เป็นส่วนใหญ่ และมีผู้ประกอบการเพียงไม่ก่ีหม่ืนรายเท่านั้นที่มีศักยภาพ พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยสำ�นักงานสถติ แิ ห่งชาติ พบวา่ ธุรกจิ
สำ� หรบั การท�ำตลาดตา่ งประเทศ SMEs (ขนาดการจ้างงาน ๑-๑๐ คน) มกี ารใชค้ อมพิวเตอร์
เพียงร้อยละ  ๒๕.๐  และมีการใช้อินเทอร์เน็ตเพียง

รอ้ ยละ ๒๒.๔ ขณะทธ่ี ุรกิจขนาดใหญม่ ีการใช้คอมพวิ เตอร์

การเปลี่ยนผ่าน SMEs ไทยบนพ้ืนฐานของเศรษฐกิจดิจิทัล และอินเทอร์เน็ตมากถึงร้อยละ ๙๙.๖ (ขนาดการจ้าง
(Digital SMEs) เป็นการช่วยให้ SMEs สามารถปรับเปล่ียนการทำ�ธุรกิจ งาน > ๒๐๐ คน) และร้อยละ ๙๗.๔ (ขนาดการจา้ งงาน
แบบเดิมไปสู่การทำ�ธุรกิจดิจิทัลท่ีอาศัยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
การสร้างความเข้มแข็งในประเทศและเช่ือมโยงตลาดภายในประเทศ ๕๑ – ๒๐๐ คน) ตามลำ�ดบั และเมื่อพจิ ารณาการขาย
กับตลาดต่างประเทศได้อย่างมีศักยภาพ ด้วยการส่งเสริมสนับสนุน
ให้เกิดการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในทุกกระบวนการทางธุรกิจ สนิ ค้าและบรกิ ารทางอนิ เทอรเ์ น็ต พบว่า ธรุ กจิ SMEs

มีการขายสินค้าออนไลน์เพียงร้อยละ  ๒.๖  จึงมีความ

จำ�เป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องมีการส่งเสริมและกระตุ้นให้ธุรกิจ

SMEs ใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลเป็นเครื่องมอื ในการขบั เคลือ่ น

บนพ้ืนฐานของการปรับเปลี่ยนรูปแบบและกระบวนการดำ�เนินงานของ ซ่ึงส่วนใหญ่ยังไม่สามารถนำ�เทคโนโลยีสารสนเทศและ
ธุรกิจ SMEs ตลอดห่วงโซ่คุณค่า (ICT) ให้ SMEs สามารถใช้นวัตกรรม การสอ่ื สาร หรอื ICT มาใชใ้ นธรุ กจิ ได้ เนอ่ื งจากขาดความรู้
และมีความเช่ียวชาญในการใช้เทคโนโลยีเพ่ิมขึ้นในการเพิ่มประสิทธิภาพ ความเข้าใจ และทักษะในการใช้ประโยชน์

26๖ รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ปี ๒๕๕๙, ส�ำ นกั งานส่งเสริมวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
แผนปฏิบตั ิการดา้ นดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสงั คม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

และลดต้นทุนการดำ�เนินงาน ท่นี ำ�ไปส่กู ารสร้างโอกาสทางการค้าผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลตลอดจนเป็นการสร้างความเข้มแข็ง
Eทcาoงsกyาsรteคm้าใ)ห ท้กีเ่ ับหรมะาะบสบมเเศพรอ่ื ษใฐหก้ปิจระดเิจทิทศัลไททย้ังเรปะ็นบศบูน ยดก์ ้วลยากงากราสรคร้า้าแงลระะกบาบรนลิเงวทศุนสรำะ�หดรบั ับภธมู ุรภิ กาิจคดิจิทัล (Digital Business 


แนวทางการขับเคล่อื น
๑. พัฒนา SMEs ในด้านการค้าดิจิทัล (ทั้งการค้าขาย และการตลาด) ผ่านพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ สื่อดิจิทัล และสังคมออนไลน์ ท้ังตลาดในประเทศและขยายไป
สตู่ ลาดโลก
๒. ปรับเปล่ียน SMEs สู่การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการเพ่ิมประสิทธิภาพ
กระบวนการทางธุรกิจและพัฒนานวัตกรรมสินค้าและบริการ ท้ังตลาดในประเทศ
และขยายไปสู่ตลาดโลก
๓. พัฒนาระบบสนับสนุนการค้าออนไลน์ส�ำหรับ SMEs เช่น Digital Payment/
Micro Payment, Data Pool, e-Trade, e-Invoice, Cybersecurity
๔. กระตุ้น SMEs ให้ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลด้วยกลไก เช่น การสร้างความตระหนัก
การใหส้ ิทธปิ ระโยชนท์ างภาษี การใหท้ นุ สนบั สนุน การเขา้ ถึงแหล่งทุน



27

ตัวอย่างโครงการขบั เคล่อื นระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

โครงการสำ�คัญ แนวทางการดำ�เนนิ งาน เป้าหมาย หน่วยงาน
– ผปู้ ระกอบไทยสามารถ
โครงการพฒั นาศักยภาพ – ผลกั ดนั  สนับสนุน ผปู้ ระกอบการ SMEs หน่วยงาน
ผู้ประกอบการไทย ใช้ดจิ ิทัลในการด�ำ เนนิ ธุรกิจ ขบั เคลอ่ื นหลกั
ด้วยเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ทงั้ ภาคการคา้ ภาคอุตสาหกรรมการผลิต ๕๐๐,๐๐๐ ราย
(Digital SMEs) อตุ สาหกรรมการบริการ  ปรบั แนวทาง นร.(สสว.)
– SMEs ไทยสามารถท�ำ ตลาด พณ. อก. ดศ.
โครงการพฒั นาระบบ การดำ�เนินธรุ กิจ SMEs ส่กู ารท�ำ ธรุ กิจดจิ ทิ ัล หนว่ ยงาน
สนบั สนนุ การค้าและธรุ กรรม ตา่ งประเทศผา่ นระบบดจิ ทิ ลั ได้ ขับเคลื่อนรอง
ออนไลน์ (Digital Business Transformation) เพอ่ื เพม่ิ กษ. กค. กต.
(Digital Commerce) ประสทิ ธภิ าพในการท�ำ งาน สรา้ งสนิ คา้ บรกิ ารใหม่ – ประชาชนทั่วประเทศ
และ/หรอื ท�ำ การตลาดทงั้ ในประเทศ หน่วยงาน
และตา่ งประเทศดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ิทลั ใชร้ ะบบ Digital Payment ขบั เคลอ่ื นหลกั
(พร้อมเพย์และอื่นๆ) 
– กระตุ้นประชาชนใช้ระบบ Digital Payment ดศ. พณ. 
ธรุ กจิ  SMEs สามารถท�ำ หนว่ ยงาน
(เป็นการสรา้ ง Demand) e-Business ต้งั แต่พน้ื ฐาน ขับเคลื่อนรอง
ดำ�เนนิ การสนับสนนุ ให ้ SMEs ปรบั เปลย่ี นวธิ ี ไปจนถงึ สร้างห่วงโซ่อปุ ทาน กค. กษ. อก.
การท�ำ ธุรกิจ โดยการเพม่ิ ช่องทางการคา้ ทเี่ ชื่อมโยงกันด้วยเทคโนโลยี
ดว้ ย e-Commerce และปรบั ปรงุ ระบบงานภายใน หรอื  e-Supply Chain
ดว้ ยการน�ำ ระบบ ERP มาประยุกตใ์ ช้ นำ�ระบบ จำ�นวน ๒๐,๐๐๐ ราย
e-Invoice เพ่อื ลดต้นทุน และการใชร้ ะบบ
e-Supply Chain เพอ่ื เชอ่ื มโยงธรุ กจิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกนั


ตัวอย่างโครงการส�ำคัญระยะ ๑ ปี ๖ เดือน

โครงการระยะ ๑ ปี ๖ เดือน หนว่ ยงาน
๑. โครงการพัฒนาศกั ยภาพผปู้ ระกอบการไทยด้วยเทคโนโลยีดจิ ิทัล (Digital SMEs)
นร.(สสว.) พณ. อก. ดศ.

๒. โครงการสนบั สนนุ ธุรกจิ SMEs ให้ค้าขายออนไลน์ (Digital Commerce) ดศ. พณ. 

๓. โครงการ e-Trade Facilitation ดศ.

๔. โครงการเปลยี่ นผา่ นการใช้ใบกำ�กับภาษี Electronic (e-Invoice) ดศ.

28 แผนปฏบิ ตั กิ ารด้านดจิ ทิ ัลเพือ่ เศรษฐกิจและสังคม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ผลผลิต
๑ )     ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร   S M E s   ( D i g i t a l   S M E s )   ป รั บ แ น ว ท า ง ก า ร ด�ำ เ นิ น ธุ ร กิ จ   S M E s   สู ่ ก า ร ท�ำ ธุ ร กิ จ ดิ จิ ทั ล

๑๕,๐๐๐ ราย
๒)  ธุรกจิ SMEs ค้าขายออนไลนไ์ ด้ ๕๐,๐๐๐ ราย

๑.๒ การเพิ่มประสทิ ธิภาพและผลติ ภาพการผลิตด้วยเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (Digital Manufacturing)
สู่อุตสาหกรรม ๔.๐ (Industry 4.0)
ด้วยภาวะการแข่งขันที่รุนแรงมากข้ึนจึงเป็น ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม มี ค ว า ม จำ � เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก ที่ จ ะ
เรื่องส�ำคัญท่ีอุตสาหกรรมไทยต้องรักษาความสามารถ ต้องปรับตัวเองด้วยอัตราเร่งให้สอดคล้องทันต่อนโยบาย
ทางการผลิตให้อยู่ต่อไปได้ ทั้งในเร่ืองของปัจจัยการผลิต Thailand 4.0 และการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก
แรงงาน และประสิทธิภาพการผลิตของเครอ่ื งจักร ตลอดจน การผลิตแบบ Digital Manufacturing เป็นการรวมกันของ
อตุ สาหกรรมการผลติ  กบั โลกดจิ ทิ ลั ผา่ นระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็
กระบวนการท�ำงาน ซึ่งอุตสาหกรรมไทยเป็นอุตสาหกรรม และเป็นการรวมตัวกันของภาคธุรกิจกับภาคการผลิตเพื่อ
ที่ใช้แรงงานเข้มข้นจึงอยู่ภายใต้สภาวะที่ต้องตื่นตัว ตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค ช่วยให้ผู้ประกอบการ
เพราะมีปัจจัยหลายๆ ด้านที่ควรระมัดระวัง เช่น การสูญเสีย SMEs สามารถเพม่ิ ศกั ยภาพในการผลิตใหก้ บั การผลติ สินค้าทมี่ ี
ความสามารถทางการผลิตอันเน่ืองมาจากการขาดแคลน ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร า ย ใ ห ม่
แรงงาน การปรับขึ้นของค่าแรงข้ันต�่ำให้เข้ากับภาวะ ได้ง่ายขึ้น เน่ืองจากระบบการผลิตสามารถส่งข้อมูลการซ่อม
เศรษฐกิจและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน จึงต้อง บำ�รุงเคร่ืองจักรกลับไปท่ีบริษัทผู้ผลิตเครื่องจักรผ่านระบบ
มีการปรับตัวและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้สอดรับ อินเทอร์เน็ตและผู้ประกอบการสามารถหาช่องทางทางการ
ตลาดทก่ี วา้ งและหลากหลายมากยิ่งขนึ้ เป็นการเพิ่มช่องทางการ
กบั สถานการณ์ ค้าและการผลิตสินค้าผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ส่งผลให้มีกลุ่ม
ลกู ค้ามากข้ึน

การแข่งขันท่ีต้องเผชิญ ภาคอุตสาหกรรมการผลิต
ของไทยในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็น SMEs และยังเน้นการรับเหมาช่วงผลิตจากบริษัทขนาดใหญ่อื่นๆ ที่อยู่ในสายการผลิต
ไม่เน้นการยกระดับการผลิตและพัฒนาสินค้าเป็นของตนเอง ท�ำให้การพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการผลิตยังคงมี
รูปแบบเดิมๆ ท่ีไม่มีความทันสมัย สร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้าได้น้อย และบุคลากรส่วนใหญ่ยังขาดประสบการณ์
ดา้ นการบรหิ ารจดั การ การพฒั นาของอตุ สาหกรรมอยทู่ ร่ี ะดบั อตุ สาหกรรม ๒.๐ ถงึ ๓.๐ ทกี่ ารผลติ ยงั ไมม่ กี ารเชอ่ื มตอ่ ขอ้ มลู
ระหว่างเคร่ืองจักรกับเคร่ืองจักรหรือเครื่องจักรกับผู้ควบคุม ท�ำให้ไม่เพียงไม่สามารถจัดการและควบคุมการผลิตได้แต่ยัง
มีต้นทุนการผลิตสูงเกินจ�ำเป็นเพราะการหยุดชะงักของเคร่ืองจักรท่ีเกิดขึ้นบ่อยๆ เพราะการท่ีข้อมูลของแต่ละส่วนไม่มี
การเชือ่ มตอ่ กัน สง่ ผลให้ผูท้ ีเ่ ก่ยี วขอ้ งไม่สามารถจัดการหรือดูแลระบบได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและทนั ท่วงที 

การเพ่ิมประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Manufacturing) จึงเป็นแนวทางหนง่ึ
ในการชว่ ยยกระดบั SMEs ใหพ้ ฒั นาอยใู่ นระดบั อตุ สาหกรรม ๔.๐ ได้ ซงึ่ จะชว่ ยสรา้ งการเปลยี่ นแปลงใหก้ บั ผปู้ ระกอบการได้
ใน ๒ ดา้ น

๑)  ด้านประสิทธิภาพการผลิตท่ีพัฒนาสูงข้ึน คือผลิตสินค้าท่ีมีความเท่ียงตรงแม่นยำ�มากข้ึน (ท้ังในเชิงรูปแบบ 
และจำ�นวน) โดยทเ่ี ครอ่ื งจกั รในสายการผลติ สามารถสอ่ื สารกบั ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งเพอ่ื การจดั การและควบคมุ ไดแ้ บบ Real-Time ​ผา่ นระบบ
เครือข่าย ส่งผลให้การผลิตมีประสิทธิภาพสูงขึ้นและต้นทุนลดลงอย่างชัดเจน รวมถึงแรงงานสามารถทำ�งานได้ง่ายขึ้น 
อันเนื่องจากมีการพฒั นาทกั ษะ ความสามารถ ความรู้ ความเขา้ ใจท่ีจะประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสมัยใหม่ชว่ ยในการทำ�งาน 
ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ


๒) การลดความสูญเปล่าด้านทรัพยากร อาทิ การลดระยะเวลาการนำ�เสนอสินค้าเข้าสู่ท้องตลาดเรียกว่า
Time To Market ท่ีลดลงได้ประมาณรอ้ ยละ ๓๐ ลดตน้ ทุนการผลิตลดลงไปได้ถึงร้อยละ ๑๓ (โดยเฉล่ีย) ในขณะที่ต้นทุน
เฉพาะด้านวัสดุ อุปกรณ์ลดลงได้ร้อยละ ๔๐ เป็นต้น ตลอดจนยังช่วยเช่ือมความต้องการของผู้บริโภคแต่ละรายเข้ากับ
กระบวนการผลติ สนิ คา้ ไดโ้ ดยตรง (Mass Customization) ตอบสนองความตอ้ งการเฉพาะรายบคุ คล สกู่ ารสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ
ในผลิตภัณฑ์และบริการใหมๆ่ รวมถงึ การเช่อื มต่อหว่ งโซ่การผลติ ในระดบั โลก (Global Supply Chain)  

29

แนวทางการขบั เคลื่อน
มุ่งเน้นปฏิรูปอุตสาหกรรมไทยด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลไปสู่ยุค ๔.๐ จากปัจจุบันที่ภาคอุตสาหรรมไทยยังคงใช้
เทคโนโลยขี น้ั ตำ่� ในการผลติ เชอ่ื มโยงขอ้ มลู ในการบรหิ ารจดั การนอ้ ย ขาดแคลนแรงงาน และตน้ ทนุ สงู เขา้ สกู่ ารผลติ
แบบ Industry 4.0 หรอื การผลติ ทใี่ ชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เชน่ IoT, Big Data และ 3D Printing เพอื่ การผลติ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพสงู
เที่ยงตรงแม่นย�ำ สอ่ื สารระหว่างเคร่อื งจักรและผทู้ �ำงานและควบคุมไดแ้ บบ Real-Time ใชป้ ระโยชน์จากการวเิ คราะห์
ขอ้ มูลในการผลติ ทั้งหว่ งโซ่อปุ ทานมากขนึ้ รวมถงึ การเช่ือมต่อหว่ งโซก่ ารผลติ ในระดบั โลก (Global Supply Chain)

๑. สร้างความตระหนักและถ่ายทอดองค์ความรู้ ๔. ก ร ะ ตุ ้ น ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ทุ ก ข น า ด ใ น ภ า ค
ที่จ�ำเป็นในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล อุตสาหกรรมให้เร่ิมปรับตัวเข้าสู่เทคโนโลยีดิจิทัล
แก่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมการผลิต ด้วยกลไก เช่น การให้สิทธิประโยชน์ทางภาษี
โดยเฉพาะอย่างยงิ่ กล่มุ SMEs การใหท้ นุ สนับสนุน การเขา้ ถงึ แหลง่ ทนุ

  ๕. เพิ่มจ�ำนวนและคุณภาพของก�ำลังคนในภาค
๒. ส่งเสริมสนับสนุนด้านเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้อง อตุ สาหกรรมใหม้ ที กั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั สงู ขน้ึ เพอ่ื รองรบั
ความก้าวหน้าเทคโนโลยี โดยใช้แนวทางประชารัฐ
เช่น การออกแบบและพัฒนาระบบ การพัฒนา (ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา)
IoT Platform การใหค้ �ำปรึกษา การจับคูธ่ รุ กิจ
เทคโนโลยแี ละผปู้ ระกอบการในภาคอตุ สาหกรรม
๓. ส่งเสริมสนับสนุนการเช่ือมโยงระบบการผลิต
ของภาคอุตสาหกรรมไทยให้เป็นเครือข่าย
ในห่วงโซ่การผลิตของอุตสาหกรรมระดับโลก
(Global Value Chain)

ตัวอยา่ งโครงการขบั เคลอื่ นระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

โครงการสำ�คัญ แนวทางการดำ�เนินงาน เปา้ หมาย หนว่ ยงาน

โครงการยกระดบั การผลิต ขยายอุตสาหกรรมเทคโนโลยกี ารผลติ ดิจทิ ลั   – SMEs ไทยสามารถ หน่วยงาน
ไทยสอู่ ุตสาหกรรม ๔.๐ ในประเทศไทยโดยรว่ มมอื กับบรษิ ัทชัน้ นำ�ระดบั โลก ท�ำ ตลาดตา่ งประเทศ ขบั เคลอ่ื นหลกั
ด้วยแพลตฟอร์มการผลติ ยกระดับ SMEs ในการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั   ผา่ นระบบดิจทิ ลั ได้ อก. ดศ. อว.
แบบดจิ ิทัล ในการออกแบบและการผลิตเชิงวิศวกรรม   –  เกดิ อตุ สาหกรรม
(Digital Manufacturing (Digital Engineering) ไปสูก่ ารมคี วามสามารถ  เทคโนโลยีการผลิต หนว่ ยงาน
Platform) ในดา้ นการออกแบบที่เรยี กว่า Original Design   แบบดิจิทลั ในประเทศไทย ขบั เคลอ่ื นรอง
Manufacturing (ODM) จนถงึ การมตี ราสินค้า  รง. พณ. BOI
เป็นของตนเอง หรือเรียกวา่  Original Brand  
Manufacturing (OBM) รองรับการพัฒนา 
อุตสาหกรรมเป้าหมายทีส่ รา้ งมลู คา่ ตามแนวทาง 
ของรัฐบาล

30 แผนปฏบิ ัตกิ ารดา้ นดจิ ทิ ัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

โครงการสำ�คัญ แนวทางการด�ำ เนินงาน เปา้ หมาย หน่วยงาน

โครงการการพัฒนาโรงงาน –  พฒั นาโรงงานท่ัวไปใหม้ เี ครอ่ื งจักรในสาย – โรงงานอุตสาหกรรม หน่วยงาน
อัจฉริยะ (Smart Factory) การผลติ ทสี่ ามารถสอื่ สารกับผู้ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ขบั เคลอ่ื นหลกั
เพื่อการจดั การและควบคมุ ได้แบบ Real-time ​ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงกลมุ่ อก. ดศ. อว.
ผ่านระบบเครอื ข่าย ส่งผลใหก้ ารผลติ S-Curve, New S-Curve
มีประสทิ ธภิ าพสูงขน้ึ และตน้ ทุนต�่ำลงอย่างชดั เจน ปรบั ตัวเขา้ สยู่ คุ ๔.๐ ทงั้ ดา้ น หนว่ ยงาน
–  ถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละใหผ้ เู้ ช่ยี วชาญ เทคโนโลยี  การเช่อื มโยง ขบั เคลอ่ื นรอง
ได้ด�ำเนนิ งานกบั ผปู้ ระกอบการเพ่อื แลกเปลย่ี น สู่ตลาดโลก รง. พณ. กค.
เรยี นร้กู ารประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีดิจทิ ัล
ในกระบวนการผลติ – มกี ารลงทุนดา้ นดจิ ิทลั BOI
–  จูงใจนักลงทนุ ตา่ งประเทศ  ด้วยการให้สทิ ธิ
ประโยชน์เพิ่มเติมเต็มทเี่ พื่อลงทุนเพ่ิม เพมิ่ ขนึ้ เพอ่ื ปรับปรงุ
ในประเทศไทย กระบวนการผลิตและการ
–  จูงใจ  SMEs  ไทยขนาดกลางและเล็ก ด�ำเนนิ ธรุ กจิ
ลงทนุ เพม่ิ   ด้วยมาตรการกระตุ้นตา่ งๆ
เชน่   สรา้ งความตระหนัก  ใหค้ �ำปรกึ ษา – มูลคา่ การน�ำเขา้ เครอ่ื งจกั ร
ด้านเทคโนโลย ี สนับสนุนการเขา้ ถึงแหล่งทุน
หรืออดุ หนุนเงนิ ทุน  ไปจนถงึ การชว่ ยจบั คธู่ ุรกิจ อุปกรณ์หรอื เทคโนโลยี
กบั ผูพ้ ฒั นาระบบ จากตา่ งประเทศลดลง
–  สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การพฒั นา Platform การผลติ
ดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั สญั ชาตไิ ทยในราคาทเ่ี ปน็ กลาง
เพอื่ สง่ เสรมิ ผปู้ ระกอบการไทยเปลยี่ นระบบการผลติ
ที่ทนั สมัยดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล

ตัวอยา่ งโครงการส�ำคญั ระยะ ๑ ปี ๖ เดอื น หนว่ ยงาน

โครงการระยะ ๑ ปี ๖ เดอื น ดศ. BOI พณ.
๑. โครงการส่งเสริมการลงทุนดา้ นเทคโนโลยีดจิ ิทัลในอุตสาหกรรมการผลติ อก. ดศ. อว.

๒. โครงการสง่ เสริมการใชเ้ ทคโนโลยอี อกแบบและสร้างระบบสนบั สนุนการพัฒนา ดศ. อว.
อก. ดศ.
Digital Manufacturing Platform

๓. โครงการเชือ่ มโยงและขยายเครือขา่ ยการผลิตสูห่ ่วงโซก่ ารผลิตดา้ นดจิ ทิ ลั
๔. โครงการพัฒนา IoT Platform สำ�หรบั การผลติ ในโรงงานอุตสาหกรรม

ผลผลติ
๑) โรงงานอุตสาหกรรมสามารถประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยกี ารผลติ ดิจทิ ัลในอตุ สาหกรรม ไม่น้อยกว่า ๕๐ ราย
๒) เกิดการเชอ่ื มโยงเครือขา่ ยอตุ สาหกรรมการผลติ ดา้ นดจิ ิทัล ในห่วงโซ่มลู คา่

31

๑.๓ การพฒั นาเกษตรยุคใหมด่ ้วยเทคโนโลยีดิจทิ ลั (Digital Agriculture)
จากกระแสการเปลี่ยนแปลงระดับโลก (Mega Trend) ท่ีธนาคารโลกได้คาดการณ์ไว้ว่าใน ๒๐ ปีข้างหน้า

ทุกประเทศจะมีความต้องการอาหารเพ่ิมขึ้นอีกประมาณร้อยละ ๕๐ จากจ�ำนวนประชากรท่ีเพ่ิมขึ้น ในขณะที่จ�ำนวน
ผู้สูงอายุมีมากข้ึน แต่วัยแรงงานลดลง ตลอดจนยังมีปัญหาการขาดแคลนน�้ำเพื่อการเกษตร และการลดลงของพื้นที่
เพาะปลูก เน่ืองจากการพัฒนาสู่ความเป็นเมืองอย่างรวดเร็ว ดังนั้น ความต้องการปริมาณผลผลิตทางการเกษตรเพื่อเป็น
วัตถุดิบทางอาหารย่อมมีสูงขึ้นตามไปด้วย แต่แรงงานภาคการเกษตรและผลิตภาพในการเพ่ิมผลผลิตทางการเกษตร
มขี อ้ จ�ำกดั ขณะเดยี วกนั ในประเทศไทยกพ็ บวา่  โครงสรา้ งเศรษฐกจิ เปลย่ี นผา่ นจากภาคเกษตรไปสภู่ าคอตุ สาหกรรมและบรกิ าร
มากข้ึน โดยสัดส่วนภาคเกษตรลดลงจากร้อยละ ๙.๙ ในปี ๒๕๓๓ เป็นร้อยละ ๙.๑ ในปี ๒๕๕๘ และมีการขยายตัว
ทาง GDP ที่ต�่ำกว่าศักยภาพทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศที่ควรจะเป็นเพียงแค่ ร้อยละ ๑.๒7 สิ่งเหล่าน้ีล้วนเป็น
ความท้าทายของภาคการเกษตรไทยท่ตี อ้ งเรง่ ปรบั ตัว

การพัฒนาเกษตรยุคใหม่ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Agriculture) จึงเข้ามามีบทบาทส�ำคัญต่อการเพิ่ม
ความสามารถในการผลิตของภาคการเกษตรไทย ด้วยการนําเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยลดข้อจ�ำกัดในการด�ำเนินงาน
จากการน�ำระบบอัตโนมัติไปช่วยเพ่ิมผลผลิตของภาคเกษตร การน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศไปช่วยในการบริหารจัดการ
ในเร่ืองการตลาด เร่ืองของพื้นท่ีการเพาะปลูก การบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์ การวางแผนและการคาดการณ์
สถานการณ์ในอนาคตให้เหมาะสมแก่การเพาะปลูก การเลี้ยงปศุสัตว์ และการทําประมง ต่างๆ เหล่านี้เป็นต้น เพื่อให้ได้
ผลผลิตสูงขึ้นอย่างมีคุณภาพ จนน�ำไปสู่การเพ่ิมขึ้นของบุคลากรของภาคการเกษตรที่เพียงพอจะเข้ามาสู่ภาคอุตสาหกรรม
และบริการได้มากขึ้น ยกระดับคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น มีรายได้ที่มั่นคง หลุดพ้นจาก “กับดักความยากจน” โดยผันตัวเอง
จากเกษตรกรผู้ผลติ มาเป็นผ้ปู ระกอบการทางการเกษตรยคุ ใหม ่ (Digital Agriculture) ได้ในทสี่ ดุ
แนวทางการขบั เคลือ่ น

มุ่งเน้นการเปลี่ยนประเทศไทยด้วยการขับเคล่ือนสู่เกษตรยุคใหม่ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล จากการผลิตแบบเดิม
ในภาคเกษตรที่มีข้อจ�ำกัดมากมาย เช่น การขาดแคลนแรงงาน พ้ืนท่ีเพาะปลูกลดลง สภาพอากาศเปล่ียน ส่งผลให้
เกิดภาวะการผลิตที่ “ท�ำมากได้น้อย” ไปสู่การเกษตรยุคใหม่ที่ “ท�ำน้อยได้มาก” ด้วยการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
ดิจิทัล (เช่น ระบบอัตโนมัติ ระบบ IoT ระบบ Data Analytics) ต้ังแต่การเพ่ิมประสิทธิภาพ และผลิตภาพในการผลิตไปสู่
การเพมิ่ มลู คา่ ในการขายสนิ ค้า และการบริหารจัดการตลอดห่วงโซค่ ณุ ค่า

๑. กระตุ้นให้เกิดการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและข้อมูลในผลิตและบริหารจัดการสินค้าเกษตร
ตัง้ แต่การเพาะปลกู การเกบ็ เก่ียวผลผลิต ไปจนถงึ การบริหารจดั การตลอดห่วงโซ่คณุ ค่า

๒. เปลี่ยนเกษตรกรดั้งเดิมสู่การเป็นผู้ประกอบการดิจิทัลทางการเกษตร ที่เน้นการใช้
เทคโนโลยีดิจิทัลใน การค้าขายออนไลน์ การท�ำการตลาด ไปจนถึงกระบวนการน�ำส่ง
สนิ ค้าและบรกิ ารใหก้ ับผู้บรโิ ภค

๓. ปรับปรุงและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ดิจิทัลทางการเกษตรให้ครบถ้วน น่าสนใจ เข้าใจง่าย
และประชาสมั พนั ธเ์ พอ่ื ใหเ้ กษตรกรเขา้ ถงึ ขา่ วสาร องคค์ วามรู้ สามารถน�ำไปพฒั นาอาชพี ได้

๔. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การวิจัย พฒั นา และถ่ายทอดเทคโนโลยีนวตั กรรมดิจทิ ลั ด้านการเกษตร
เพื่อยกระดับภาคการเกษตรดัง้ เดมิ สกู่ ารเกษตรยคุ ใหม่

๕. ส่งเสรมิ สนบั สนุน การลงทุนปรับเปลี่ยนสู่เกษตรสมยั ใหมด่ ว้ ยเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล ในรปู แบบ
ตา่ งๆ เช่น การใหท้ นุ สนบั สนนุ จัดหาแหลง่ ทุนดอกเบยี้ ตำ่�

32๗  แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาตฉิ บบั ที ่ ๑๒
แผนปฏิบัติการดา้ นดิจิทลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ตวั อย่างโครงการขับเคลือ่ นระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

โครงการสำ�คัญ แนวทางการด�ำ เนินงาน เปา้ หมาย หนว่ ยงาน

โครงการพฒั นา พัฒนา (training, coaching) เกษตรกรร่นุ ใหม่ เกษตรกรสามารถน�ำ เทคโนโลยี หนว่ ยงาน
New Generation และเกษตรกรดัง้ เดิม (เพาะปลกู  ประมง ปศสุ ัตว)์   ดิจทิ ัลไปประยุกต์ใชเ้ พอื่ เพิ่ม ขบั เคลอ่ื นหลกั
Smart Farmers ใหก้ ลายเปน็ Smart Farmers ทท่ี ำ�การเกษตร
ท่ัวประเทศ บนฐานของขอ้ มูล องค์ความรู้ และเทคโนโลยี ผลติ ภาพ และมลู คา่ ทางการเกษตร กษ. ดศ. อว.

โครงการการพัฒนาแปลง พฒั นาแปลงเกษตรอจั รยิ ะสำ�หรบั เกษตร มแี ปลงเกษตรอจั ฉรยิ ะ   
เกษตรอัจริยะดว้ ยเทคโนโลยี มูลค่าสูงและเกษตรแปลงใหญ ่ ทีใ่ ชป้ ระโยชน์ หนว่ ยงาน
ดจิ ทิ ัล (Digital Farming) จากขอ้ มลู และ/หรือเทคโนโลยีเช่น IoT  (Smart Farms) ทั่วประเทศ
และ Automation ต้ังแต่การผลิต บรหิ ารจดั การ  ๑๐,๐๐๐ แห่ง ขบั เคลอ่ื นหลกั
กษ. ดศ. อว.
การขาย ทำ�การตลาด สินค้าเกษตรตลอดท้งั หว่ งโซ่
คุณค่า โดยมีกลไกส่งเสรมิ เชน่  การใหค้ วามรู้ หน่วยงาน
การให้คำ�ปรกึ ษา การชว่ ยหาแหลง่ ทุน การอดุ หนนุ ขบั เคลื่อนรอง
ทางการเงนิ และการชว่ ยเหลอื ดา้ นเทคโนโลยี
กค. BOI

ตวั อยา่ งโครงการส�ำคัญระยะ ๑ ปี ๖ เดอื น หน่วยงาน

โครงการสำ�คัญ ระยะ ๑ ปี ๖ เดือน กษ. ดศ. อว. และเครอื ข่ายมหาวทิ ยาลยั
๑. โครงการพฒั นาการเกษตรแมน่ ย�ำ ดว้ ยเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล กษ. ดศ. อว. และเครือข่ายมหาวทิ ยาลัย
๒. โครงการเพม่ิ ทกั ษะ และศกั ยภาพเกษตรกรไทยสู่การทำ�การเกษตรสมัยใหม่
๓. โครงการพฒั นาระบบเชือ่ มโยงด้าน Logistic ทางการเกษตรตลอด supply chain อว. กษ. ดศ.
๔. โครงการเพิ่มรายได้ ลดรายจา่ ยจากการใช้เทคโนโลยีดิจิทลั ในภาคเกษตร ดศ. กษ. อว.

ผลผลติ
๑) ระบบการวเิ คราะหท์ างการเกษตรแมน่ ย�ำดว้ ยเทคโนโลยดี ิจิทัล ท่ีเกษตรกรสามารถน�ำไปประยกุ ต์ใชใ้ นแปลง
เกษตรได้ ไม่ต่�ำกว่า ๕๐๐ แปลง
๒) สร้างเกษตรกรสมัยใหม่ท่ีสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตพืชผลทางการเกษตร
ได้ ๓๐,๐๐๐ ราย
๓) แพลตฟอร์มการเกษตรอัจฉรยิ ะส�ำหรบั วิเคราะห์พืชมูลคา่ สูงทางเศรษฐกิจ๒ชนดิ เพอ่ื การเพาะปลูกทแ่ี มน่ ย�ำ
๔) ผู้ประกอบการ/เกษตรกร/วิสาหกิจเร่ิมต้น มีการน�ำหรือใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้พัฒนาพื้นท่ีการเกษตร
จ�ำนวน ๒,๐๐๐ ราย

33

๑.๔ การเพ่ิมมูลคา่ ให้ธรุ กิจบริการดว้ ยเทคโนโลยดี ิจิทัล (Digital Services)
ธุรกิจการค้าบริการมีบทบาทส�ำคัญต่อการพัฒนาประเทศ ยิ่งเศรษฐกิจมีการพัฒนามากข้ึน ภาคบริการจะย่ิง
ทวีความส�ำคัญมากข้ึนไปเป็นล�ำดับ ประเทศไทยมีสัดส่วนของภาคบริการอยู่ที่ร้อยละ ๕๐ มาโดยตลอด โดยภาคบริการ
เป็นตัวแปรส�ำคัญท่ีผลักดันเศรษฐกิจไทยมาอย่างช้านาน โดยในปี ๒๕๕๙ มูลค่าการค้าบริการโลกขยายตัว
ร้อยละ ๒.๕ แต่การส่งออกภาคบริการของไทยขยายตัวถึงร้อยละ ๑๐.๔ ชี้ให้เห็นว่าภาคบริการของไทยเติบโต
มากกว่าโลก อย่างไรก็ตาม ธุรกิจบริการของไทยส่วนใหญ่ไม่เน้นการใช้เทคโนโลยีแต่ใช้แรงงานทักษะต�่ำในการ
ให้บริการ เช่น ธุรกิจโรงแรมและร้านอาหาร ธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง และธุรกิจท่องเท่ียว นอกจากนี้การส่งออกบริการของไทย
ยังคงกระจุกตัวอยู่ในธุรกิจท่องเที่ยว ซึ่งอาจไม่เกิดความย่ังยืนในอนาคต ดังนั้น นโยบาย Thailand 4.0 จึงมุ่งเปลี่ยนผ่าน
จากการให้บริการแบบเดิม (Traditional Services) สู่การสร้างมูลค่าสูง (High Value Services) ในภาคบริการ เพื่อร่วม
สร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจไทยในอนาคต
แนวทางการขับเคลอ่ื น

มุ่งยกระดับธุรกิจบริการแบบเดิม (Traditional Services) สู่บริการมูลค่าสูง (High Value Services)
โดยสนับสนุนการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลในกลุ่มธุรกิจบริการเป้าหมาย ได้แก่ ธุรกิจท่องเท่ียว แฟชั่น ไลฟ์สไตล์
และสื่อสร้างสรรค์และแอนิเมชัน รวมถึงการเพิ่มผลิตภาพแรงงานภาคบริการ และพัฒนาทักษะแรงงานให้มีความรู้สูง
และตรงตามความตอ้ งการของตลาด เพือ่ ให้ธุรกจิ บริการสามารถเติบโตได้อยา่ งยั่งยนื  

๑. เร่งสนับสนุนให้ผู้ประกอบการธุรกิจบริการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสร้างการเข้าถึง
ใชง้ านงา่ ย และปลอดภัย ในการเพม่ิ ขีดความสามารถการให้บรกิ าร

๒. ผลักดันให้เกิดธุรกิจบริการรูปแบบใหม่ โดยน�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้
ในการพัฒนาธุรกจิ

๓. สนบั สนุนการพฒั นานวตั กรรมบรกิ ารเพอื่ อ�ำนวยความสะดวกแกผ่ ใู้ ชบ้ รกิ าร อาทิ การบรหิ าร
จดั การการท่องเที่ยวไดด้ ว้ ยตนเองแบบเบ็ดเสรจ็ Logistic การคมนาคม เปน็ ตน้

๔. พัฒนาระบบบริหารจดั การหลังบา้ นในธุรกิจ ซงึ่ เป็นแพลตฟอร์มกลาง ทีจ่ ะชว่ ยลดต้นทนุ
การบริหารจัดการ

ตวั อยา่ งโครงการขบั เคลอ่ื นระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

โครงการสำ�คัญ แนวทางการดำ�เนินงาน เป้าหมาย หน่วยงาน

Tourism Intelligence บูรณาการข้อมูลการท่องเทีย่ วจากหนว่ ยงาน มกี ารบรู ณาการข้อมูล หน่วยงาน
Center ต่างๆ เชน่ ขอ้ มลู สถานทที่ ่องเทยี่ ว ข้อมลู ท่ีพกั การทอ่ งเทยี่ วทค่ี รอบคลมุ ขบั เคลอ่ื นหลกั
ขอ้ มูลรา้ นอาหาร ขอ้ มูลการเดนิ ทาง รวมถงึ ระบบ อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทย่ี ว
วิเคราะห์ข้อมูลและแสดงผลเพือ่ สนับสนุน ของประเทศ กก. 
การบรหิ ารจดั การท้ังในภาครฐั และภาคเอกชน
หนว่ ยงาน
ขบั เคลอ่ื นรอง
ดศ. อก. BOI

พณ.

34 แผนปฏบิ ัตกิ ารด้านดิจทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

โครงการส�ำ คญั แนวทางการดำ�เนนิ งาน เปา้ หมาย หน่วยงาน

โครงการการพัฒนาระบบ พฒั นาระบบตดิ ตามท่มี าของสินคา้ ตลอดห่วงโซ่ - ระบบตรวจสอบย้อนกลบั หน่วยงาน
บรกิ ารเพอื่ ตรวจสอบ อปุ ทานตง้ั แต่กระบวนการผลติ ไปจนถึงผูบ้ ริโภค ผลิตภัณฑอ์ าหาร ทชี่ ว่ ยธรุ กจิ ขบั เคลอื่ นหลกั
ย้อนกลบั ผลติ ภณั ฑ์อาหาร ซึ่งในแตล่ ะขัน้ ตอนได้มีการรวบรวมข้อมูล ลดต้นทุนในการด�ำเนนิ งาน ดศ. อก. กษ.
(Digital Food Chain) การผลติ ของตัวสนิ คา้ เพอ่ื อ�ำนวยความสะดวก
ในการเรยี กตรวจสอบขอ้ มลู ยอ้ นกลบั ไปเพอ่ื ตดิ ตาม - เกิดธุรกจิ บริการใหม่ หนว่ ยงาน
ทม่ี าของสนิ คา้ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ตงั้ แตว่ ตั ถดุ บิ การผลติ ด้วยเทคโนโลยดี จิ ิทัล ขบั เคลอ่ื นรอง
กระบวนการแปรรูป การขนส่ง จนถึงการกระจาย สสว. พณ.
ผลิตภณั ฑอ์ าหารสู่ผ้บู ริโภค
อว.

โครงการสนบั สนนุ ผ้ปู ระกอบ สนับสนุนการเข้าถงึ แหลง่ ทุน ดอกเบ้ยี ต่�ำ ธรุ กจิ บริการสามารถประยกุ ต์ หน่วยงาน
การยกระดับคุณภาพธุรกิจ และการให้ค�ำปรกึ ษา ในการยกระดับบริการ ใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลในการเพิม่ ขบั เคลอื่ นหลกั
บรกิ ารดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ของภาคธรุ กจิ ดว้ ยเทคโนโลยีดิจทิ ัล ตาม Sector ประสิทธิภาพการใหบ้ รกิ ารได้
ส�ำคญั ของประเทศ ไม่นอ้ ยกว่า ๑๐๐,๐๐๐ ราย ดศ.
หนว่ ยงาน
ขบั เคลอ่ื นรอง
สสว. พณ.

อว.

ตวั อย่างโครงการส�ำคัญระยะ ๑ ปี ๖ เดอื น

โครงการสำ�คญั ระยะ ๑ ปี ๖ เดอื น หนว่ ยงาน

๑. โครงการพัฒนาศกั ยภาพการใหบ้ ริการดจิ ิทลั ในธรุ กจิ บริการ ดศ. อก. กก. สธ. อว.

๒. โครงการส่งเสริมธรุ กิจบริการเกดิ ใหมด่ จิ ทิ ลั (Digital Entrepreneur) ดศ. อก. นร.(สสว.) 

๓. โครงการวิจยั และพฒั นานวตั กรรมการบริการดิจทิ ัลเพ่อื ยกระดับผูป้ ระกอบการ อว. ดศ. นร.


ผลผลิต

๑) สร้างผู้ประกอบการธรุ กิจบรกิ ารด้วยเทคโนโลยีดิจิทลั (Digital Services Entrepreneur) ๒๐๐ ราย
๒) ตน้ แบบระบบบรกิ าร Digital Service ในอุตสาหกรรมอาหาร การท่องเท่ียว ทธี่ รุ กจิ สามารถประยุกต์

ใชไ้ ดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ ๕ ต้นแบบ
๓) เกดิ ธรุ กจิ บรกิ ารดจิ ทิ ัลเพ่ิมขน้ึ ไมน่ ้อยกวา่ ๕๐ ราย

35

๑.๕ การสง่ เสรมิ และพฒั นาอตุ สาหกรรมดจิ ทิ ลั และดจิ ทิ ลั คอนเทนต ์
(Digital Technology and Content Industries)
กลมุ่ อตุ สาหกรรมดจิ ทิ ลั และดจิ ทิ ลั คอนเทนต ์ (Digital Technology and Content Industries) เปน็ อตุ สาหกรรม
ทอี่ ยใู่ นกลมุ่ อตุ สาหกรรมอนาคต (New S-Curve) ทร่ี ฐั บาลใหก้ ารสนบั สนนุ 8 เนอื่ งจากเปน็ อตุ สาหกรรมทม่ี ศี กั ยภาพตอ่ การ
เติบโตในระบบเศรษฐกิจของประเทศ และเป็นอุตสาหกรรม
ทช่ี ว่ ยสนบั สนนุ ใหอ้ ตุ สาหกรรมอน่ื ๆ มคี วามเขม้ แขง็  ทส่ี อดรบั อุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve) เป็นอุตสาหกรรมใหม่ที่มี
กับโมเดลประเทศไทย ๔.๐9 ท่ีมุ่งเน้นปรับเปลี่ยนโครงสร้าง การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างเข้มข้น กลุ่มน้ีมีความสามารถ
เศรษฐกิจจากเดิมท่ีขับเคล่ือนด้วยการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการเติบโตต่อไปในอนาคตสูง แต่เน่อื งจากเป็นอุตสาหกรรมใหม่
ยังมีผู้ประกอบการน้อย กลุ่มอุตสาหกรรมยังไม่เข้มแข็ง มูลค่า
ในการผลิตภาคอุตสาหกรรม ไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วย ทางเศรษฐกิจยังไม่มากนักเมื่อเทียบกับกลุ่มแรก ดังนั้นจึงต้องมี
เทคโนโลยีและนวัตกรรม (Innovation Drive Economy) การพฒั นาเสรมิ สรา้ งความแข็งแกรง่ ให้ผปู้ ระกอบการในกลุ่มนี้
ดังน้ันการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทัลและดิจิทัล
คอนเทนต์ (Digital Technology and Content Industries) จึงเป็นแนวทางส�ำคัญหนึ่งในการเพิ่มขีดความสามารถ
ทางการแข่งขันของประเทศให้สามารถพัฒนาได้อย่างก้าวกระโดดได้ เป็นการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ
สอู่ ตุ สาหกรรมแหง่ อนาคตซงึ่ เปน็ ฐานการผลติ ของอตุ สาหกรรมการผลติ และการบรกิ ารในระบบเศรษฐกจิ  รองรบั ภาคธรุ กจิ
ทตี่ อ้ งใชเ้ ทคโนโลยขี นั้ สงู ในอนาคต

แนวทางการขบั เคลือ่ น
มุ่งสร้างความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ให้กับอุตสาหกรรมดิจิทัลและดิจิทัลคอนเทนต์ของประเทศไทย โดยเปลี่ยน

จากอุตสาหกรรมดิจิทัลเดิมของไทยท่ีแม้จะเติบโตทุกปี แต่ยังไม่มีศักยภาพด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมมากนัก
เม่ือเทียบกับประเทศท่ีเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจดิจิทัลในระดับก้าวหน้า อีกทั้งยังขาดแคลนก�ำลังคนดิจิทัลที่มีทักษะสูง
ท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ ไปสู่อุตสาหกรรมดิจิทัลและดิจิทัลคอนเทนต์ท่ีเน้นการขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ดจิ ทิ ลั มากขน้ึ บนฐานทปี่ ระเทศไทยมคี วามเขม้ แขง็ หรอื ตอ้ งการพฒั นาดว่ น มกี ารพฒั นาผลติ ภณั ฑ/์ บรกิ ารทสี่ รา้ งมลู คา่ เพม่ิ
สูงมากข้ึน และมีก�ำลังคนดิจิทัลที่มีความรู้ ความเช่ียวชาญเพียงพอต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม โดยเน้นสาขาส�ำคัญ
เร่งด่วน เช่น Smart Devices, Software & Software Services, Cloud Computing, Digital Service Platforms,
Cybersecurity, Digital Content, Data Center และ Internet Connectivity เป็นตน้

๑. เรง่ สรา้ งความต้องการในตลาด (Demand-Driven) ที่เปน็ อตุ สาหกรรมยุทธศาสตร์ S-Curve/ New S-Curve
ของประเทศ เชน่ เกษตรและอาหาร อตุ สาหกรรมการผลติ บรกิ ารสขุ ภาพ บรกิ ารท่องเท่ียว ฯลฯ เพ่อื ส่งเสริม
ใหต้ ลาดธุรกจิ เทคโนโลยดี จิ ิทลั ในประเทศไทยเตบิ โต

๒. เร่งสร้างระบบนิเวศของธุรกิจเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology Startups) เพื่อให้ธุรกิจเทคโนโลยี
ดจิ ิทัลท่ีมศี กั ยภาพเป็นกลไกหลักในการขับเคล่ือนการเติบโตของอุตสาหกรรมดจิ ทิ ัล


๓. ส่งเสริมและดึงดูดการลงทุนและประกอบธุรกิจด้านเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีเป็นกลุ่มเป้าหมาย ทั้งจากนักลงทุน

ในประเทศและตา่ งประเทศ ผา่ นกลไกการสรา้ งเครอื ขา่ ยนกั ลงทนุ ระดบั โลกและภมู ภิ าค การใหส้ ทิ ธปิ ระโยชน์
ทางภาษี และสทิ ธปิ ระโยชน์ในดา้ นอืน่ ๆ

๔. สง่ เสรมิ การสง่ ออกสนิ คา้ และบรกิ ารของธรุ กจิ ดา้ นเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ทเี่ ปน็ กลมุ่ เปา้ หมาย โดยใชก้ ลไกการสง่ เสรมิ
ตา่ งๆ เชน่ อ�ำนวยความสะดวก ใหค้ �ำปรึกษา หาตลาด จบั คู่ธุรกจิ จดั กจิ กรรม และท�ำ Roadshow ฯลฯ

๘  มติ ครม.วนั ท ่ี ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ เรอ่ื ง เหน็ ชอบในหลักการข้อเสนอ ๑๐ อตุ สาหกรรมเปา้ หมาย ซึ่งเป็นกลไกขับเคล่ือนเศรษฐกจิ เพ่อื อนาคต 

36๙  ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาอุตสาหกรรมไทย ๔.๐ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙)
แผนปฏบิ ัติการดา้ นดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

๕. วิจัย พัฒนา นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคการศึกษา พร้อมท้ัง
สร้างแรงจูงใจใหเ้ อกชนเพม่ิ การลงทนุ ด้านการวิจยั และพฒั นานวัตกรรมเทคโนโลยดี ิจิทลั

๖. สร้างสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการลงทุนในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลแห่งอนาคต เช่น การจัดต้ัง
เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ การสรา้ งสงิ่ อ�ำนวยความสะดวก และการเรง่ พัฒนาก�ำลงั คนดิจทิ ัลในประเทศ และการให้
สทิ ธพิ ิเศษในการเข้าประเทศมาท�ำงานของบุคลากรจากตา่ งประเทศทม่ี คี วามเช่ยี วชาญเฉพาะทาง เปน็ ต้น

ตัวอยา่ งโครงการขับเคลอ่ื นระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

โครงการสำ�คัญ แนวทางการดำ�เนินงาน เป้าหมาย หน่วยงาน
– จัดต้ังสถาบัน IoT
โครงการจดั ตงั้ สถาบัน จดั ตง้ั สถาบนั เทคโนโลยไี อโอที ทม่ี งุ่ เนน้ การพฒั นา – เครือข่ายผ้ใู หบ้ ริการ IoT หนว่ ยงาน
เทคโนโลยไี อโอที (IoT นวตั กรรมเทคโนโลยี IoT, Big Data Analytics ขบั เคลอื่ นหลกั
Institute) และ Robotics เพอ่ื รองรบั การพฒั นาเศรษฐกจิ – เครือขา่ ย ทปี่ ระกอบด้วย
และสงั คมเขา้ สยู่ คุ ๔.๐ โดยสถาบนั นจี้ ะท�ำหนา้ ท่ี ผู้ใหบ้ ริการขนาดใหญ่ ขนาด ดศ. อก.
R&D Digital Technology พฒั นานวตั กรรมทจี่ �ำเปน็   ใหบ้ รกิ ารโครงสรา้ ง กลางและเลก็ กลุม่ Startups หนว่ ยงาน
พัฒนาธรุ กจิ เกิดใหมด่ จิ ิทัล พน้ื ฐานและเครอ่ื งมอื ส�ำหรบั สรา้ งสรรคน์ วตั กรรม – ให้ความรู้ และค�ำปรกึ ษา ขบั เคลอ่ื นรอง
(Digital Entrepreneur)  IoT สง่ เสรมิ และถา่ ยทอดความรทู้ างเทคโนโลยี ทางเทคนคิ และโมเดลธรุ กจิ กษ. สธ. 
แก่ Digital Technology Startups สรา้ งความ แกผ่ ปู้ ระกอบการในภาค
ตระหนกั ความรู้ ความเขา้ ใจในการน�ำเทคโนโลยี อตุ สาหกรรมการผลิต หนว่ ยงาน
IoT ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น Real Sector ใหค้ �ำปรกึ ษา (โรงงานอุตสาหกรรม) ขบั เคลอื่ นหลกั
ภาคการเกษตร และภาค
และจบั คธู่ รุ กจิ ระหวา่ งภาคธรุ กจิ และ Digital บรกิ าร ปีละ ๑,๐๐๐ ราย อว. ศธ. 
หนว่ ยงาน
Technology SMEs/Startups ในการพฒั นา – ตน้ แบบนวตั กรรมเทคโนโลยี ขบั เคลอื่ นรอง
ระบบ IoT เพอื่ ตอบโจทยธ์ รุ กจิ  โดยมอี ตุ สาหกรรม ดจิ ิทัลดา้ นการเกษตร ดศ. อก. BOI
เปา้ หมายใน ๓ ปแี รกคอื อตุ สาหกรรมการผลติ การผลติ การบริการ
อตุ สาหกรรมการเกษตรและอตุ สาหกรรมบรกิ าร – จ�ำนวนลขิ สิทธิ/์ สิทธิบัตร/ พณ.
ดา้ นสขุ ภาพ (สงั คมสงู อาย)ุ อนสุ ทิ ธิบตั รทย่ี น่ื จด หน่วยงาน
วจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพื่อรองรบั – มูลคา่ การลงทุนทเี่ กดิ ขน้ึ ขบั เคลอื่ นหลกั
ความกา้ วหนา้ และแนวโนม้ การเปลี่ยนแปลง จากงานวิจยั พฒั นา ดศ. อว.
ในอนาคตและตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรม และนวัตกรรม หนว่ ยงาน
มธี รุ กจิ เกิดใหม่ ไมน่ ้อยกวา่ ขบั เคลอื่ นรอง
จัดหากลไก มาตรการ และแหลง่ ทุน สนับสนุน ๓๐๐ ราย ประกอบด้วย นร. (สสว.)
การสร้างธรุ กจิ นวัตกรรมดา้ นเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั คนรุ่นใหมท่ ีม่ ีความรูด้ ้าน อก. พณ.
การใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั
เพือ่ สรา้ งธุรกิจใหมท่ ่ตี ลาด กค.
ตอ้ งการ ไมต่ ำ�่ กวา่  ๑,๕๐๐ ราย

37

โครงการส�ำ คญั แนวทางการด�ำ เนนิ งาน เป้าหมาย หนว่ ยงาน
– สัดส่วนมลู คา่ เพิ่มทาง
พฒั นาอตุ สาหกรรมดิจทิ ลั จดั หากลไก และมาตรการสนบั สนนุ ใหเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื หนว่ ยงาน
คอนเทนตไ์ ทยสู่ตลาดโลก ในการประชาสมั พันธ์ประเทศไทยสปู่ ระชาคมโลก เศรษฐกจิ จากการเพม่ิ มลู ค่า ขบั เคลอ่ื นหลกั
อตุ สาหกรรมดิจทิ ลั บันเทงิ ไทย
ดว้ ยการพัฒนาระบบ พฒั นาคน พฒั นาฐานขอ้ มูล และพัฒนาอตุ สาหกรรมดิจทิ ัล วธ. ดศ. 

และพัฒนาการตลาด – ผลกั ดันใหไ้ ทยสามารถ หนว่ ยงาน
ขบั เคลอ่ื นรอง
เป็นผ้นู ำ�อตุ สาหกรรมดจิ ิทัล
ในภาคพน้ื เอเชียตะวนั ออก กต. พณ.
เฉยี งใต้ สถาบนั
การศกึ ษา


ตวั อยา่ งโครงการส�ำคญั ระยะ ๑ ปี ๖ เดอื น

โครงการส�ำ คญั ระยะ ๑ ปี ๖ เดอื น หนว่ ยงาน
๑. โครงการจัดตงั้ ศนู ยค์ วามเป็นเลศิ ด้านนวัตกรรมดิจทิ ลั (IoT Institute)
ดศ. และ อก.
๒. โครงการวิจยั พฒั นาดจิ ทิ ัลเทคโนโลยีเพ่อื ยกระดบั อตุ สาหกรรมไทย อว. เครือข่ายสถาบนั
การศกึ ษา และสภาอตุ สาหกรรม
๓. โครงการสง่ เสริมธุรกจิ เกิดใหม่ดิจิทัล (Digital Entrepreneur) ดศ. อก. นร.(สสว.) 
๔. สนับสนุนผ้ปู ระกอบการแอนเิ มชั่น และคอมพิวเตอรก์ ราฟิกของไทยในการสรา้ งสรรค์ผลงาน ดศ. เครอื ขา่ ยสถาบัน
การศึกษา
และสรา้ ง IP เปน็ ของตนเอง

ผลผลติ  
๑)  มีศนู ยน์ วตั กรรม หรอื ศนู ยก์ ารออกแบบในอุตสาหกรรมดิจิทัลระดบั สากลไม่ตำ�่ กวา่  ๒ ศนู ย์
๒)  สนับสนนุ  SMEs ใหไ้ ดร้ บั การถ่ายทอดเทคโนโลยีและรับงาน Outsourcing ไมต่ ่ำ� กวา่  ๑๐๐ บรษิ ัท
๓)  จัดตงั้ ศนู ย์ความเปน็ เลิศด้านนวตั กรรมดจิ ิทัล ๑ ศูนย์ ในกรุงเทพฯ (๒๐,๐๐๐ ตร.ม.)  
๔)  ความร่วมมือด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยีดิจิทัล การส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรมดิจิทัล และการลงทุน/
ร่วมทนุ กบั บรษิ ัทช้นั น�ำระดบั โลก ไมต่ ่�ำกว่า ๓ ราย
๕)  ผลงานการออกแบบนวัตกรรมบริการทางธุรกิจ หรือ ผลงานการออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม
ด้านดิจิทัล หรือผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ์ส�ำหรับอุปกรณ์และช้ินส่วนอัจฉริยะท่ีเข้าสู่ตลาด
เชงิ พาณิชย ์ ๑๕ ผลงาน
๖)  เกิดธุรกิจดิจิทัล ที่เป็นพื้นฐานของการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายอ่ืน หรือสร้างงาน Outsourcing
ไม่ตำ�่ กว่า ๑๐๐ ราย
๗)  ต้นแบบเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ือรองรับอุตสาหกรรม New S-Curve ที่อุตสาหกรรมสามารถน�ำไปใช้
ประโยชนไ์ ด ้ อย่างนอ้ ย ๖ ตน้ แบบ

38 แผนปฏิบัตกิ ารดา้ นดิจิทลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสังคม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

๒. ยทุ ธศาสตรส์ รา้ งสงั คมคณุ ภาพด้วยเทคโนโลยีดจิ ิทัล: ๓ ประเด็นขับเคลือ่ น

๒.๑ การพฒั นาชุมชนชนบทด้วยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั  (Digital Community) 
ปัญหาด้านความเหล่ือมล�้ำและความยากจนเป็นประเด็นที่รัฐบาลให้ความส�ำคัญและมีนโยบายในการจัดการ
ปัญหามาตลอด จากรายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหล่ือมล�้ำในประเทศไทย โดยส�ำนักงาน
สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ปี ๒๕๕๘ พบว่าในปีท่ีผ่านมาแม้ว่าความยากจนในประเทศไทย
โดยรวมจะลดลง โดยจ�ำนวนประชากรท่เี ขา้ ขา่ ยคนจนในประเทศจะลดลงจากรอ้ ยละ ๑๐.๕๓ ของประชากรท้ังประเทศ
ในปี ๒๕๕๗ เหลือเพียงร้อยละ ๗.๒ ในปี ๒๕๕๘ แต่ในรอบเกือบ ๓ ทศวรรษที่ผ่านมา สถานการณ์ความเหลื่อมล้�ำ
ด้านรายได้ของประเทศไทยดีข้ึนเพียงเล็กน้อย10 ประเทศไทยยังมีปัญหาเรื่องความเหล่ือมล้�ำในการกระจายรายได้
ความยากจนส่วนใหญ่ยังกระจุกตัวอยู่ในเขตชนบทของประเทศ โดยในปี ๒๕๕๘ เขตชนบทมีสัดส่วนคนจนร้อยละ ๘.๙๑
ขณะท่ีเขตเมืองมีสัดส่วนคนจนเพียงร้อยละ ๕.๔๙ โดยคนยากจนส่วนใหญ่กระจุกตัวอยู่ในพ้ืนท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคใต้ และภาคเหนือ โดยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีสัดส่วนคนจนเป็นร้อยละ ๑๐.๓๐ ในภาคใต้ ร้อยละ ๙.๙๒
และในภาคเหนอื รอ้ ยละ ๘.๗๘ ของประชากร
แนวทางการขบั เคลอื่ น
สนับสนุนให้ชุมชนสามารถใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในการสร้างรายได้ให้กับประชาชน
ในชุมชนผ่านการขายสินค้าและบริการท้องถิ่นในรูปแบบออนไลน์ ซึ่งจะช่วยลดความเหล่ือมล�้ำของการกระจายรายได้
ในประเทศไทยระหวา่ งประชาชนที่อาศัยอยู่ภายในเมอื งและในชนบท และผลักดนั ใหเ้ กดิ การบรกิ ารรูปแบบใหมเ่ พ่ือชว่ ย
เสรมิ สร้างคณุ ภาพชวี ิตท่ดี ขี ้ึนใหก้ ับประชาชนในชมุ ชน

๑. เร่งกระตุ้นและพัฒนาการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลในชุมชนระดับหมู่บ้าน
ท่ัวประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือสร้างงาน สร้างรายได้
การเรยี นร ู้ การดูแลสขุ ภาพ และการใช้บริการของรฐั

๒. บูรณาการศูนย์ดิจิทัลชุมชนในทุกต�ำบลทั่วประเทศ โดยสร้างเครือข่ายศูนย์ต่างๆ  ท่ีให้
บริการในลักษณะคล้ายกันจากทุกหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง สนับสนุนบริการอินเทอร์เน็ต
บรอดแบนด์ และก�ำหนดบรกิ ารขั้นต�่ำตามมาตรฐานศูนย์ดจิ ิทัลชุมชน (เช่น พื้นท่ีส�ำหรับ
กิจกรรม อุปกรณ์และการเช่ือมต่อโครงข่าย บริการอินเทอร์เน็ต Wi-Fi กิจกรรมให้ความรู้
และแลกเปลี่ยนเรยี นร ู้ ใหบ้ รกิ าร One-Stop-Service ของรฐั  ฯลฯ)


๓. ผลักดันให้มีการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการค้า (E-Commerce) ให้ชุมชนสามารถ

ใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงบรอดแบนด์ท่ีก�ำลังเข้าสู่ชุมชนหมู่บ้านท่ัวประเทศ
ได้น�ำสินค้าและบริการของชุมชนเข้าสู่ตลาดภายในประเทศและตลาดโลก เป็นการสร้าง
รายได ้ สร้างงาน สร้างผู้ประกอบการใหม่ในท้องถนิ่  

๑๐  จากขอ้ มูลการส�ำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครวั เรือนส�ำนักงานสถิตแิ ห่งชาต ิ ประมวลผลโดยส�ำนักพฒั นาฐานขอ้ มลู และตวั ชีว้ ดั ภาวะสงั คม สศช. พบวา่
ในป ี พ.ศ. ๒๕๕๘ ประเทศไทยมคี ่าสัมประสิทธิ์ความไมเ่ สมอภาคของรายได ้ (Gini Coefficient) ซงึ่ เปน็ ค่าทบ่ี ง่ ช้คี วามเหลอื่ มลำ�้ ของการกระจายรายได้ อย่ทู ี ่ ๐.๔๔๕
ซง่ึ ถอื วา่ อยใู่ นระดบั ปานกลาง (คา่ ยงิ่ เขา้ ใกล ้ ๑ ยง่ิ มคี วามเหลอ่ื มลำ้� สงู ) โดยกลมุ่ คนทรี่ วยทส่ี ดุ ในประเทศและกลมุ่ คนทจ่ี นทสี่ ดุ ในประเทศยงั มคี วามเหลอื่ มลำ้� ทางดา้ นรายไดอ้ ย ู่ ๒๒.๑ เท่า 

39

ตัวอย่างโครงการขบั เคลอื่ นระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

โครงการส�ำ คัญ แนวทางการดำ�เนินงาน เปา้ หมาย หน่วยงาน

การพฒั นาระบบ เปน็ การยกระดับความเป็นอยู่คนในชมุชน สรา้ งงาน – ระบบพร้อมโพสตท์ ี่ประกอบดว้ ย หนว่ ยงาน
e-Marketplace และกระจายรายไดส้ ชู่ นบท โดยโครงการจะประกอบดว้ ย ขบั เคลอ่ื นหลกั
กลาง ระบบพรอ้ มโพสต์ (ร้านค้าออนไลนเ์ พ่ือการจำ�หนา่ ย ระบบร้านคา้ ออนไลน์เพอ่ื การจำ�หนา่ ย e-Market-
e-Logistics และสง่ั ซอื้ สนิ ค้า ระบบการชำ�ระเงนิ ระบบการขนส่ง และส่งั ซอื้ สินค้าใหแ้ ก่รา้ นค้าชุมชน place กลาง
และ e-Payment และกระจายสินค้า) รา้ นคา้ ประชารัฐ (กองทุนหมบู่ า้ น) (e–Marketplace)  พณ. ดศ.
เป็นจุดบริการ Point of Sale ประจำ�หม่บู า้ นใหผ้ ปู้ ระกอบ
การจากชมุ ชนสามารถคา้ ขายไดจ้ รงิ ผา่ นระบบ นอกจากน้ี – ระบบการช�ำ ระเงิน ระบบการขนส่ง e-Logistics
หนว่ ยงานของรฐั ทม่ี ภี ารกจิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่ ศนู ยด์ จิ ทิ ลั ชมุ ชน และ
ทท่ี ำ�การไปรษณยี ์อนุญาตรว่ มด�ำ เนนิ การเป็นศนู ยอ์ บรม และกระจายสินคา้ ที่มปี ระสิทธิภาพ
และใหบ้ ริการดา้ น e-Commerce เพอ่ื ส่งเสรมิ ใหช้ ุมชน ดำ�เนนิ การได้ครอบคลุมพ้ืนที่ e-Payment
มีทักษะและมบี ริการ สนบั สนนุ เพอ่ื ให้สามารถประกอบ ทั่วประเทศ กค.
การขายสนิ ค้าผา่ นทางแพลตฟอร์มออนไลน์ได้
– รา้ นคา้ ประชารฐั (ออฟไลน์)

ท่วั ประเทศ อย่างน้อย ๑๐,๐๐๐ แห่ง
เช่ือมต่อกับระบบพร้อมโพสต์

– ประชาชนในชมุ ชนสามารถสร้าง หนว่ ยงาน
ขบั เคลอ่ื นรอง
รายไดจ้ ากคา้ ขายออนไลน์อยา่ งน้อย
๒๑๗,๐๐๐ รายการ

– ผู้เขา้ เยย่ี มชมสินค้าและบรกิ าร มท. กษ.

ชุมชนบน e-Marketplace เดือนละ
๕ ลา้ นคน และมลู ค่าซ้ือขายสินค้า
และบรกิ ารไมต่ �ำ่ กว่า ๔๕ ล้านบาท
ตอ่ เดอื น


ตวั อย่างโครงการส�ำคญั ระยะ ๑ ปี ๖ เดือน

โครงการสำ�คญั ระยะ ๑ ปี ๖ เดอื น หน่วยงาน
๑. โครงการศูนยด์ ิจิทัลชุมชน กจิ กรรม e-Commerce
ดศ.
๒. โครงการพฒั นาศกั ยภาพผู้ประกอบการใชเ้ ทคโนโลยีและนวตั กรรมดิจทิ ัล ดศ.
ดศ.
๓. โครงการเผยแพร่และใหค้ วามรแู้ ก่ชมุ ชน ภายใต้โครงการเน็ตประชารฐั พณ.
ดศ.
๔. โครงการรา้ นคา้ ประชารัฐ ดศ.
๕. โครงการจัดหาสินคา้ /บรกิ าร และเตรียมความพรอ้ มของประชาชนในชมุ ชนส�ำ หรบั

การจำ�หน่ายสนิ คา้ /บรกิ ารผา่ นระบบ e-Commerce

๖. กำ�หนดหลกั เกณฑก์ ฎระเบียบและนโยบาย รวมถึงให้คำ�แนะน�ำ ท่ีจ�ำ เปน็ ในการพฒั นาโครงการ

ใหต้ รงตามมาตรฐาน

40 แผนปฏิบัติการดา้ นดิจิทลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสังคม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ผลผลติ
๑) ร้านค้าประชารฐั ๑๐,๐๐๐ แห่ง เช่ือมต่อระบบพร้อมโพสต์
๒) มสี ินค้าชมุ ชนจ�ำหนา่ ยผา่ นช่องทางออนไลนไ์ ม่ต�ำ่ กว่า ๕๐,๐๐๐ รายการ
๓) ท่ีท�ำการ/รา้ นคา้ ไปรษณยี ์ และเครือข่ายกว่า ๓,๐๐๐ แห่ง เปน็ แหล่งลงทะเบยี น และให้ความรู้แก่ชุมชน
รวมถงึ ประชาสัมพนั ธก์ ารจัดเตรียมสินค้า/บริการ ทไี่ ด้มาตรฐานและปลอดภัยในการจัดสง่

๒.๒ การพฒั นาการศกึ ษาและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั  (Digital Learning & Knowledge)
เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่า ประเทศไทยยังคงต้องเผชิญกับความเหล่ือมล้�ำทางการศึกษาและการเรียนรู้

ท่ีนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลสามารถน�ำมาใช้ปฏิรูปการศึกษาและการเรียนเรียนรู้จากระบบการศึกษาแบบเดิม
ไปสู่โอกาสในการศึกษาที่มีมาตรฐานระดับโลกและการเข้าถึงบริการการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนักเรียน นักศึกษา
และประชาชนท่ัวไปในรูปแบบ ทุกวัย ทุกที่ ทุกเวลาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล เป็นการเตรียมความพร้อมก�ำลังคนเข้าสู่
ยคุ ดจิ ทิ ลั ในระยะยาว ขณะทกี่ ระแสโลกาภวิ ฒั นท์ ม่ี ากบั เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ท�ำใหโ้ ลกแคบลงและเกดิ การไหลบา่ ของวฒั นธรรม
ต่างประเทศทั้งตะวันตกและตะวันออกเข้าสู่ประเทศไทยในอัตราเร่งที่เร็วมากอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน อย่างไรก็ตาม
จุดประสงค์ของแผนฯ ฉบับน้ีมิใช่การหยุดย้ังกระแสโลก หากเป็นการปรับตัวให้เข้ากับกระแสดังกล่าว
และในขณะเดียวกันก็ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือสร้างหรือรวบรวมความรู้ อนุรักษ์เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม
(เช่น ศิลปะและสถาปัตยกรรมอันเป็นมรดกชาติ ความเชื่อประเพณีท่ีเป็นอัตลักษณ์ไทย ไปจนถึงภูมิปัญญาท้องถ่ิน ฯลฯ)
ใหเ้ กดิ แหลง่ เรยี นรดู้ จิ ทิ ลั ทนี่ า่ สนใจ นา่ ตดิ ตาม ทง้ั ในหมชู่ าวไทย และชาวตา่ งชาต ิ โดยทโี่ จทยค์ วามทา้ ทายในดา้ นแหลง่ เรยี นรู้
และศิลปวัฒนธรรมของไทยมีตวั อย่างเดน่ ๆ อาทิ

ประเทศไทยยังคงมีความรู้ในรูปแบบดิจิทัล (ที่เป็นภาษาไทย) และแหล่งเรียนรู้ที่น่าสนใจ
หลากหลาย เหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการของคนในประเทศไม่เพียงพอ
กลา่ วคอื  ยงั คงมปี ญั หาความเหลอ่ื มลำ้� ดา้ นเนอื้ หาและองคค์ วามร ู้ (Content Divide) ซง่ึ ถอื เปน็
อกี มิตหิ น่งึ ของความเหล่อื มลำ้� ดิจทิ ลั  (Digital Divide)

กระแสโลกาภิวัฒน์ท�ำให้คนรุ่นใหม่ห่างจาก ศิลปะ วัฒนธรรมไทย อัตลักษณ์ไทยมากข้ึน
เร่ือยๆ ซึ่งในแง่หนึ่งก็อาจเป็นเพราะยังไม่มีการน�ำเสนอศิลปวัฒนธรรมไทยในรูปแบบ
ท่นี า่ สนใจและท�ำให้คนรุน่ ใหมร่ สู้ กึ มีสว่ นรว่ มเป็นเจา้ ของ

ศิลปวัฒนธรรม ประเภทท่ีเป็นวัตถุ หรือเอกสารส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ของชาติ
หรือแม้แต่ศิลปะการแสดง ภูมิปัญญาพื้นบ้านต่างๆ ล้วนแล้วแต่จะเสื่อมช�ำรุดและสูญหาย
ไปตามกาลเวลา หากไม่มีการอนุรักษ์ไว้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตาม หากเก็บรักษาไว้
เปน็ อยา่ งด ี ประชาชนเขา้ ถงึ ไดย้ าก กไ็ มก่ อ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนท์ างสงั คมเทา่ ทคี่ วร (ตวั อยา่ งเชน่
สหภาพยโุ รปไดแ้ ปลงเนอื้ หาทางวฒั นธรรม หรอื  Cultural Collections ใหอ้ ยใู่ นรปู แบบดิจิทัล
เพอ่ื การอนรุ กั ษแ์ ละเผยแพรไ่ ปแล้วถงึ  ๒๐%)11

แหล่งเรียนรู้ในประเทศไทย เช่น ห้องสมุด/ หอสมุด หอจดหมายเหตุ พิพิธภัณฑ์
หอศิลป์ สวนสัตว์ อุทยานเพ่ือการพักผ่อนและเรียนรู้ โบราณสถาน ศาสนสถาน
แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม แหล่งเรียนรู้ในท้องถ่ิน ฯลฯ ส่วนใหญ่ยังคงด�ำเนินการ
ในรูปแบบเดมิ  ยงั ไม่ปรบั ตัวเข้าสูย่ คุ ดิจทิ ลั

ประเทศไทยยังคงต้องพัฒนาศักยภาพในการส่งออกศิลปวัฒนธรรมในรูปแบบ
สิ น ค ้ า   D i g i t a l   C o n t e n t   ข อ ง ไ ท ย ต ่ า ง ๆ   แ ล ะ บ ริ ก า ร ท ่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง วั ฒ น ธ ร ร ม
ทที่ นั สมยั มากขนึ้ ในการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งปลอดภยั  และเกดิ ประโยชนส์ รา้ งสรรคส์ �ำหรบั ประชาชน

๑๑  http://splatform.jrc.ec.europa.eu/digitisation-of-cultural-heritage 41

ทุกคน ทุกกลุ่ม ทุกวัยไปพร้อมกับเร่งใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่
ท่ีประชาชนนิยม และเพ่ือน�ำพาศิลปวัฒนธรรมไทยเข้าสู่ยุคดิจิทัล ให้เกิดความสนใจในกลุ่มคนรุ่นใหม่และให้เป็นที่รู้จัก
ในหมชู่ าวต่างประเทศ
แนวทางการขบั เคลอ่ื น

พัฒนาการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล โดยแก้ปัญหา การเข้าถึงระบบการศึกษา
และเข้าถึงการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพอย่างท่ัวถึงเท่าเทียมของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไป สู่โอกาสในการศึกษา
และการเรยี นรทู้ ม่ี มี าตรฐานระดบั โลกและการเขา้ ถงึ บรกิ ารการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ของประชาชนทกุ กลมุ่  ทกุ วยั  ทกุ ความสนใจ ทกุ ที่
ทกุ เวลาผา่ นเทคโนโลยดี ิจิทลั

๑ .   ป รั บ ป รุ ง แ ล ะ ข ย า ย โ ค ร ง ส ร้ า ง พ้ื น ฐ า น ๖ .   เ ร่ ง ผ ลิ ต แ ล ะ แ ป ล ง ข้ อ มู ล แ ล ะ อ ง ค์ ค ว า ม รู้
บรอดแบนด์ไปสู่โรงเรียน สถาบันการศึกษา ข อ ง ห น่ ว ย ง า น รั ฐ ใ ห้ อ ยู่ ใ น รู ป แ บ บ ดิ จิ ทั ล
และแหล่งเรียนรู้ทั่วประเทศ รวมถึงบูรณาการ (Digitization of Knowledge) และจะเปิดใหก้ บั
นำ�เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีเหมาะสมเข้าสู่โรงเรียน ประชาชนและภาคธุรกิจ เข้าถึง สืบค้น นำ�ข้อมูล
ในพ้ืนทห่ี ่างไกลชายขอบ ไปตอ่ ยอดใชป้ ระโยชน์
๒. บูรณาการและพัฒนาระบบบริการเรียน  
รู้ใ นร ะ ดับ ประ เ ทศ ร วมถึงก ารพั ฒ นา ส่ื อ ๗. พัฒนาแพลตฟอร์มเปิดสำ�หรับการรวบรวม
การเรียนรู้ระบบเปิด (Open Educational ข้อมูล องค์ความรู้ จากทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน
Resource: OER) ทท่ี กุ คนสามารถเขา้ มาใชบ้ รกิ าร ภ า ค ป ร ะ ช า ช น   โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง เ นื้ อ ห า
ได้โดยงา่ ย ด้านสังคมและวัฒนธรรม ในรูปแบบตัวอักษร
๓ .   ป รั บ ป รุ ง แ ล ะ พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ตั้ ง แ ต่ และมัลติมีเดีย หรือรูปแบบการนำ�เสนอที่ใช้
ป ร ะ ถ ม   มั ธ ย ม   อ า ชี ว ศึ ก ษ า   ไ ป จ น ถึ ง เทคโนโลยีใหม่และประมวลผลข้อมูลและแสดงผล
อุดมศึกษา เพ่ือให้ครอบคลุมทักษะท่ีจำ�เป็น อย่างชาญฉลาด ตลอดจนสนับสนุนให้ภาคเอกชน
สำ � ห รั บ กำ � ลั ง ค น ยุ ค ดิ จิ ทั ล   เ ช่ น   ห ลั ก สู ต ร และภาคประชาชน ผลิตเน้อื หาดิจิทัลด้านสังคม
ก า ร เ ขี ย น โ ป ร แ ก ร ม   สำ � ห รั บ นั ก เ รี ย น ทุ ก ค น และศิลปะวัฒนธรรมท่ีรองรับความหลากหลาย
(สC�ำ oหdรับinยgุค ดFิจoิทrลั A (l2l1) sแt ลCะeหnลtuักrสy ูตSรkทill่ีสs)อนทักษะ ทางสงั คม โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ  การสรา้ งเนอ้ื หาของทอ้ งถน่ิ
๔ .   วิ จั ย   พั ฒ น า   แ ล ะ ต่ อ ย อ ด น วั ต ก ร ร ม  
และเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาและการเรียนรู้ ๘. พัฒนาแหล่งเรียนรู้ในประเทศเพื่อเข้าสู่
ตลอดชีวิต เช่น แพลตฟอร์ม แอปพลิเคชัน โมเดล ยุคดิจิทัล เช่น หรือการพัฒนาไปสู่ Digital
การเรียนการสอน โมเดลธุรกิจ หรือเนื้อหา/ส่ือ Library และ Digital Museum ท่ีให้บริการ
การเรยี นรู้ ประชาชนท้ังในรูปแบบออนไลน์ รวมทั้งเผยแพร่
๕. พัฒนาระบบ Big Data และ Analytics ประชาสัมพันธ์แหล่งเรียนรู้และศิลปวัฒนธรรม
ดา้ นการศกึ ษาและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ  เพอ่ื พฒั นา ใ น รู ป แ บ บ ดิ จิ ทั ล ใ น ภ า ษ า สำ � คั ญ ข อ ง โ ล ก
ผเู้ รยี น และสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจเชงิ นโยบายของรฐั และโฆษณาผ่านสื่อออนไลน์ไปในระดับภูมิภาค
อาเซยี น ระดบั ทวีป และระดบั โลก

42 แผนปฏบิ ตั ิการดา้ นดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ตัวอยา่ งโครงการขับเคลือ่ นระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

โครงการสำ�คญั แนวทางการด�ำ เนินงาน เป้าหมาย หนว่ ยงาน
– แพลตฟอร์มบริการการ
โครงการพฒั นาบรกิ าร บูรณาการแพลตฟอรม์ บริการการเรยี นรู้ หนว่ ยงาน
การเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต ตลอดชีวิตส�ำ หรับประชาชนท่ัวประเทศ เรียนรตู้ ลอดชีวิตสู่ยุคดิจทิ ลั ขบั เคลอ่ื นหลกั
สยู่ คุ ดิจทิ ลั โดยหลกั สูตรตา่ งๆ บนแพลตฟอร์มน้ี ทป่ี ระชาชนทว่ั ประเทศเขา้ ถงึ ได้ ศธ. อว. ดศ.
(Lifelong Learning) จะมาจากสถาบนั การศกึ ษา และสถาบันอบรม
ของรฐั และเอกชน บรษิ ัทเอกชน  – ผเู้ รยี นจ�ำ นวน ๒ ลา้ นคน พม.
หนว่ ยงานภาครฐั อน่ื ๆ หรอื ประชาชนทว่ั ไป
ท่มี ีความรู้ ความเชีย่ วชาญเฉพาะด้าน เขา้ ใช้บริการการเรียนรู้ หนว่ ยงาน
ทง้ั ในรปู แบบไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ย และคดิ คา่ ใชจ้ า่ ย  ตลอดชวี ิต ขบั เคลอ่ื นรอง
(รฐั จะอดุ หนนุ คา่ เรยี นหลกั สตู รบนแพลตฟอรม์ ทกุ กระทรวง
ทง้ั หมดหรอื บางส่วน) โดยประชาชนทุกคน
ท่ัวประเทศจะสามารถเขา้ เรยี นในระบบได้ 
โดยม ี Cash Credit ของตัวเอง หลกั สตู รบน
แพลตฟอร์มนีจ้ ะมคี วามหลากหลาย ท้งั เรียนรู้
เพ่อื ประกอบอาชพี  พฒั นาตนเอง หรอื เพ่อื สาระ
บนั เทิงตามความสนใจ

*หมายเหตุ สามารถใชแ้ พลตฟอรม์ เดยี วกันกับ
โครงการ Online Academy for Digital
Workforce โดยแบ่งออกเปน็ หลาย Modules

43

โครงการสำ�คัญ แนวทางการด�ำ เนินงาน เป้าหมาย หน่วยงาน
– แผนบรู ณาการความรว่ มมอื
โครงการพัฒนาแพลตฟอร์ม บรู ณาการพัฒนาแพลตฟอร์มเพื่ออนุรักษ์ หนว่ ยงาน
องคค์ วามรดู้ า้ นสงั คม เผยแพรอ่ งคค์ วามรดู้ า้ นสงั คมและวฒั นธรรม เพือ่ รวมรวม จดั เก็บ จัดแสดง ขบั เคลอ่ื นหลกั
และวฒั นธรรม (Digital อัตลกั ษณไ์ ทยและใช้ประโยชน ์ จากต้นทุน ขอ้ มลู องค์ความรู้ดา้ นสงั คม นร. วธ. ดศ.
Knowledge and Cultural ทางสังคมและวฒั นธรรมไปต่อยอดเชิงพาณชิ ย์ และวัฒนธรรมในรปู แบบ
Archive) (เช่น อตุ สาหกรรมท่องเทีย่ ว อตุ สาหกรรม ดิจทิ ัล กก.
Digital Content ของประเทศ) โดยจะต้อง
บูรณาการความร่วมมือของหนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้อง – เอกสารส�ำ คัญของชาติ หนว่ ยงาน
เพื่อเรมิ่ แปลงข้อมูลองคค์ วามรู้วัฒนธรรม ขับเคลอื่ นรอง
ให้อยใู่ นรปู แบบดิจิทลั พัฒนาแพลตฟอรม์ กลาง เอกสารเก่าทมี่ ีคณุ ค่า
เพื่อจัดเกบ็ จัดแสดงข้อมลู และองค์ความรู้ ทางประวตั ศิ าสตร์ในรูปแบบ อว. พม.
ในรูปแบบท่ีนา่ สนใจ ดงึ ดดู คนรนุ่ ใหม่ ดิจทิ ลั ๑,๐๐๐ Collections
ประชาชนไทยทัว่ ไป และชาวต่างชาติ
โดยในการผลิต Content จะใช้โมเดล – เนื้อหาดิจทิ ัลเชงิ สังคม
ทผ่ี สมผสานระหวา่ งการด�ำ เนนิ การเองโดยภาครฐั
(เชน่ เอกสารสำ�คัญของชาติ) การดำ�เนนิ การ และวัฒนธรรม ที่ผลิตโดย
โดยภาคเอกชน (เชน่ CSR หรอื จัดจ้าง) ภาคเอกชน และประชาชน
และภาคประชาชน (User-Generated ๑๐,๐๐๐ ชนิ้
Content) 
– ศาสนสถานส�ำ คญั โบราณ

สถานส�ำ คัญ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว
เชงิ วัฒนธรรมสำ�คัญ
ภูมิปญั ญาท้องถิน่ ในรปู แบบ
ดจิ ิทลั (เชน่ เร่อื งเล่า วดี ีโอ
สารคดี ภาพถา่ ย ๓๖๐ องศา,
AR, VR, Virtual Museum)
๑,๐๐๐ แห่ง

44 แผนปฏิบัตกิ ารด้านดจิ ทิ ลั เพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ตัวอยา่ งโครงการส�ำคัญระยะ ๑ ปี ๖ เดือน หนว่ ยงาน

ศธ. ดศ. ตชด. อว.
โครงการสำ�คญั ระยะ ๑ ปี ๖ เดือน
๑. โครงการพัฒนาระบบการเรยี นรู้ตลอดชีวิตในพน้ื ที่ห่างไกลดว้ ยเทคโนโลยีดิจิทลั

๒. โครงการส่งเสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู้ เพอื่ เพ่ิมโอกาสทางอาชพี และรายได้ ศธ. ดศ. พม. 
และเครอื ข่ายสถาบนั การศกึ ษา
ด้วยเทคโนโลยดี ิจิทัล
ดศ.
๓. โครงการส่งเสริมการใช้สื่อดิจทิ ัลอย่างสรา้ งสรรค์และรับผิดชอบตอ่ สงั คม

ผลผลติ
๑) ประชาชนทกุ กลุ่ม (รวมถึงคนพิการ ผูส้ ูงอายุ และผ้ดู ้อยโอกาส) ไมน่ อ้ ยกว่า ๑,๐๐๐,๐๐๐ คน มที กั ษะการใช้
เทคโนโลยอี ย่างเกิดประโยชน์ (Digital Literacy) ในการสร้างอาชพี  และรายได้
๒) เด็กและเยาวชนในพ้ืนท่ีห่างไกลสามารถเข้าถึงระบบการศึกษา เรียนรู้ดิจิทัลได้ไม่น้อยกว่า ๕๐๐,๐๐๐ คน
ในทกุ ภูมภิ าคของประเทศไทย

๒.๓ การพฒั นาบริการสุขภาพด้วยเทคโนโลยีดจิ ิทัล (Digital Health)
แม้ว่าประเทศไทยถือเป็นประเทศท่ีประสบความส�ำเร็จมากประเทศหนึ่งในด้านการให้บริการทางการแพทย์

และสุขภาพแก่ประชาชนด้วยหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าส�ำหรับประชาชนทุกคนมาตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ และการมีสถาน
บริการสาธารณสุขทั่วประเทศ ประเทศไทยยังคงมีความท้าทายในด้านการพัฒนาบริการทางการแพทย์และสุขภาพท่ีมี
คณุ ภาพ ประสทิ ธิภาพ ทวั่ ถงึ  เท่าเทียมอยอู่ ีกหลายประการ12 อาทิเช่น 

บริการทางการแพทย์และสุขภาพยังคงมีความเหล่ือมล�้ำในเชิงพ้ืนที่สูง ประชาชนในพ้ืนที่
หา่ งไกลยังคงมีปญั หาในการเดนิ ทางเขา้ มารับบริการทางการแพทยแ์ ละสุขภาพ โดยเฉพาะ
อยา่ งยง่ิ ในกรณฉี กุ เฉนิ หรอื กรณไี มฉ่ กุ เฉนิ แตต่ อ้ งเขา้ รบั บรกิ ารทสี่ ถานบรกิ ารสาธารณสขุ บอ่ ยครง้ั

บริการทางการแพทย์และสุขภาพยังคงมีปัญหาด้านประสิทธิภาพการบริการ โรงพยาบาล
ของรัฐมีผู้เข้ารับบริการจ�ำนวนมาก บุคลากรทางการแพทย์ไม่เพียงพอ ท�ำให้การเข้ารับ
บรกิ ารเป็นเร่อื งยุ่งยากและเสียเวลาเป็นอนั มาก 

ประชาชนยงั คงไมส่ ามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู สขุ ภาพเพอ่ื บรหิ ารจดั การสขุ ภาพของตนเองไดอ้ ยา่ งสะดวก
งา่ ยดาย เนอื่ งจากการเชอ่ื มโยงระบบขอ้ มลู ของหนว่ ยงานสาธารณสขุ ยงั ไมส่ มบรู ณ ์

ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุอันเกิดจากคนเกิดน้อยลงและชีวิตยืนยาวขึ้น
และปญั หาจะรนุ แรงขน้ึ เรอ่ื ยๆ ท�ำใหค้ นวยั ท�ำงานในอนาคตอนั ใกลจ้ ะตอ้ งแบกรบั ภาระภาษี
เพื่อเป็นงบประมาณในการให้บริการทางการแพทย์และสุขภาพแก่ผู้สูงอายุสูงที่ไม่ได้
ท�ำงานแล้วเป็นจ�ำนวนมาก การใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยดูแลผู้ป่วย หรือใช้เพ่ือป้องกันไม่ให้
เกดิ การเจ็บป่วย จึงทวีความส�ำคญั ในยุคต่อไปเปน็ อยา่ งมาก

ความท้าทายดังกล่าวข้างต้น ล้วนแล้วแต่เป็นปัญหาที่สามารถแก้หรือบรรเทาได้ด้วยการน�ำนวัตกรรม
และเทคโนโลยีดิจิทัลในยุคปัจจุบันมาพัฒนาบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ ทั่วถึง เท่าเทียมมากขึ้น โดยเน้น
การพัฒนาระบบโครงสร้างพืน้ ฐานดิจิทลั เพอ่ื สขุ ภาพทป่ี ระชาชนถงึ ระดบั ชุมชนจะไดป้ ระโยชนเ์ ปน็ รูปธรรม

๑๒  เฉพาะสว่ นทีเ่ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั สามารถไปชว่ ยแก้ปัญหาได้ 45

แนวทางการขับเคลือ่ น

มุ่งใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือพัฒนาบริการด้านสุขภาพ จากปัจจุบันท่ีประเทศไทยยังคงมีปัญหา
ความเหลื่อมล้�ำในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพของประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นท่ีห่างไกล ประชาชนยังไม่สามารถ
เข้าถึงข้อมูลสุขภาพของตนได้ และยังไม่มีการเตรียมความพร้อมอย่างจริงจังส�ำหรับสังคมสูงอายุท่ีจะเพ่ิมจ�ำนวนผู้ใช้
บริการด้านสุขภาพ ไปสู่ภาพอนาคตที่เน้นการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ
ด้านสุขภาพ ดแู ลประชาชนในพนื้ ทีห่ ่างไกล ให้ความรู้ดา้ นสขุ ภาพ ไปจนถงึ การน�ำเทคโนโลยใี หมม่ าชว่ ยดแู ลผสู้ ูงอายุ


๑. เตรียมความพร้อมด้านโครงสร้างพ้ืนฐานดิจิทัล โดยเชื่อมโรงพยาบาลรัฐขนาดใหญ่
ทวั่ ประเทศดว้ ยระบบ GIN  และเพม่ิ ระบบส�ำรองและจดั เกบ็ ขอ้ มลู กลางเพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ
การบริการด้านสุขภาพ
๒. พัฒนาระบบบริการสุขภาพทางไกลด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลทั้งระบบการประชุมทางไกล
(Conference) ระหว่างโรงพยาบาล และระบบการปรกึ ษาด้านสุขภาพออนไลน์ (Chat)
ส�ำหรับประชาชน
๓. บูรณาการพฒั นาข้อมูล คลงั ข้อมูล และระบบระเบยี นสุขภาพสว่ นบคุ คลท่ีมคี วามปลอดภัย
และคุ้มครองความเป็นส่วนตัวของข้อมูลสุขภาพที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากลเพ่ือการ
บรหิ ารจัดการสขุ ภาพด้วยตวั เองของประชาชนอย่างง่ายดาย ทุกที่ ทุกเวลา
๔. พัฒนาระบบ Big Data และ Analytics ด้านสขุ ภาพเพ่ือเพมิ่ ประสิทธภิ าพการใหบ้ ริการ
สขุ ภาพแก่ประชาชน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ กรณฉี กุ เฉนิ เฝา้ ระวงั และปอ้ งกนั เหตุดา้ นสขุ ภาพ
และสนบั สนุนการตดั สนิ ใจเชงิ นโยบายของรฐั

๕. พัฒนาระบบการส่อื สารข้อมลู ทเ่ี กี่ยวกับการดูแลสุขภาพของประชาชน (Health Literacy)
ทีใ่ ห้ความรู้ด้านสุขภาพ สุขภาวะ อาหาร และยาใหแ้ ก่ประชาชน เพือ่ เตรยี มพรอ้ มสสู่ งั คม
สูงวัย
๖. พฒั นาบรกิ ารอจั ฉรยิ ะดา้ นสขุ ภาพ (Smart Services) เชน่ ระบบอจั รยิ ะส�ำหรบั บรกิ ารการแพทย์
ฉุกเฉนิ บรกิ ารการตรวจสอบสิทธแิ ละข้อมูลสขุ ภาพ บริการระบบนัดหมายของโรงพยาบาล
ไปจนถงึ บริการอัจฉรยิ ะเพ่ือผู้พกิ ารและผ้สู ูงอายุในการเขา้ สู่สงั คมสูงวัย

46 แผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นดิจทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ตวั อย่างโครงการขบั เคลอ่ื นระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

โครงการสำ�คัญ แนวทางการด�ำ เนินงาน เป้าหมาย หนว่ ยงาน
– ระบบสอื่ สารความรู้
โครงการพัฒนาระบบบรกิ าร พัฒนาระบบบริการดา้ นสขุ ภาพส�ำ หรับประชาชน หนว่ ยงาน
ดา้ นสขุ ภาพส�ำ หรบั ประชาชน ด้วยเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพื่อเตรยี มความพร้อมของ ดา้ นสขุ ภาพ (Health Literacy) ขบั เคลอ่ื นหลกั
ด้วยเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ประชาชนทว่ั ประเทศในการเขา้ ส่สู งั คมสงู อายุ บริการคำ�ปรกึ ษาดา้ นสุขภาพ
(Digital Health Services) โดยเน้นการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัลเพือ่ สอื่ สารให้ เบ้ืองตน้ ออนไลน์ และบริการ สธ. ดศ.
ความรู้ดา้ นสขุ ภาพแก่ประชาชน (Health Literacy)  ฉกุ เฉิน ส�ำ หรับประชาชน
ให้ค�ำ ปรึกษาด้านสขุ ภาพเบือ้ งตน้ ทัว่ ไปและบรกิ าร ทั่วประเทศ (Chat/ Hotline) หนว่ ยงาน
ฉกุ เฉนิ แกป่ ระชาชน (ระบบ Chat/Hotline)  ขับเคลอื่ นรอง
และพฒั นาระบบระเบยี นข้อมูลทปี่ ระชาชน – กรอบแนวทางค้มุ ครอง อว. นร. พม.
สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู สุขภาพของตนผ่านระบบ
ดจิ ทิ ลั เพือ่ การดูแลสขุ ภาพของตนเอง ความปลอดภัยและความเป็น
อยา่ งมคี ณุ ภาพ ประสิทธิภาพสงู สุด สว่ นตัวของข้อมลู สุขภาพ
ส่วนบคุ คล

– ประชาชนทวั่ ประเทศ

สามารถเขา้ ถงึ ข้อมลู สุขภาพ
ส่วนบุคคลผ่านระบบดิจทิ ัลได้

ตวั อยา่ งโครงการส�ำคัญระยะ ๑ ปี ๖ เดือน

โครงการสำ�คญั ระยะ ๑ ปี ๖ เดือน หนว่ ยงาน
๑. โครงการสง่ เสรมิ การเฝา้ ระวงั และดแู ลสขุ ภาพตลอดทกุ ชว่ งวยั ไทยดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั
สธ. พม. ดศ.

๒. โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาระบบดจิ ิทัลอำ�นวยความสะดวกในการดูแลสุขภาพ สธ. พม. ดศ.
อว. สธ. ดศ.
แก่ผ้ดู อ้ ยโอกาส คนพิการ และผู้สงู อายุ
๓. โครงการวิจยั และพัฒนาระบบดูแลสุขภาพประชาชนทกุ ช่วงวัย

ผลผลิต
๑) ประชาชนทุกกลุ่ม (รวมถึงคนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส) สามารถเข้าถึงระบบเฝ้าระวังและดแู ล

สุขภาพตนเองได้ ไม่น้อยกว่า ๑,๐๐๐,๐๐๐ คน
๒) คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส ในพ้ืนท่ีห่างไกลสามารถเข้าถึงระบบบริการสุขภาพทางการแพทย์

ที่เชอ่ื มโยงไดก้ บั สถานีอนามัย และโรงพยาบาลท้องถน่ิ ได้อย่างนอ้ ย ๕ พ้นื ที่เปา้ หมายการพฒั นา
๓) ระบบระเบยี นสุขภาพอิเลก็ ทรอนิกส์ ๑ ระบบท่มี ีผูใ้ ชง้ าน ๓,๐๐๐ ราย ผ่านโรงพยาบาลที่ใช้ระบบ

47

๓. ยทุ ธศาสตร์ปรับเปลย่ี นภาครัฐส่เู ปน็ รฐั บาลดจิ ทิ ัล: ๒ ประเดน็ ขับเคลือ่ น

๓.๑ การยกระดับบริการภาครฐั  (Government Transformation For Government Services)
รัฐบาลเป็นเหมือนองคก์ รกลางขนาดใหญท่ เ่ี ช่ือมทุกภาคสว่ นในสังคมเข้าไว้ด้วยกนั ในทกุ ชว่ งชวี ติ ของประชาชน
ทุกคนจะต้องมีความเก่ียวข้องกับภาครัฐเป็นระยะตั้งแต่เกิดจนตาย ในขณะท่ีภาคธุรกิจก็ต้องเก่ียวข้องและติดต่อกับ
ภาครัฐต้ังแต่เร่ิมต้นเปิดกิจการจนถึงปิดกิจการ ดังน้ัน รัฐบาลจึงมีหน้าที่ในการจัดให้มีบริการสาธารณะหรือบริการ
ส่วนรวม บริการของภาครัฐสามารถช่วยเพิ่มรายได้และลดรายจ่ายให้แก่ประชาชนและภาคธุรกิจ กว่า ๒๐ ปีที่ผ่านมา
ประเทศไทยมุ่งเน้นพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ท่ีภาครัฐน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาพัฒนาระบบต่างๆ
เพ่ือปรับเปล่ียนการท�ำงานและการเก็บข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้การท�ำงานรวดเร็ว ทันสมัย
แต่อย่างไรก็ตามการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะต่างคนต่างท�ำ น�ำไปสู่การจัดเก็บข้อมูลแบบแยกส่วน
และขาดเอกภาพของขอ้ มลู ประชาชน (Multiple Views of Citizen) โดยประชาชนหนง่ึ คนอาจมตี วั ตนอยใู่ นหลายฐานขอ้ มลู
ภาครัฐที่กระจัดกระจาย เช่น ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ทะเบียนเกษตรกร ทะเบียนผู้เสียภาษีเงินได้ ทะเบียน
ผู้ได้รับอนุญาตขับข่ี ทะเบียนผู้สูงอายุ หรือเป็นผู้มีอ�ำนาจลงนามในทะเบียนธุรกิจ ซึ่งเป็นอุปสรรคส�ำคัญต่อการบูรณาการ
ระหวา่ งหนว่ ยงานเพอ่ื ยกระดบั งานบรกิ ารภาครฐั


ผลการจัดอันดับดัชนี E-Government Development Index (EGDI) ซ่ึงจัดท�ำโดยองค์การสหประชาชาติ
(United Nations) โดยเฉพาะด้านบริการออนไลน์ (Online Service) พบว่าอันดับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
ของประเทศไทยในด้านดังกล่าวอยู่ในอันดับที่ ๗๙ ของโลก โดยอันดับดังกล่าวลดลงจากอันดับที่ ๗๖ ของโลก
ในผลการจัดอันดับปีก่อนหน้า (ปี ๒๕๕๗) และอยู่ในอันดับที่ ๕ ของกลุ่มประเทศอาเซียน (เป็นรองประเทศ
สิงคโปร์ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม) นอกจากนี้ จากรายงาน Doing Business ของธนาคารโลก ช้ีผลการจัด
อันดับความยาก-ง่ายในการประกอบธุรกิจปี ๒๐๑๗ พบว่า ประเทศไทยอยู่ในอันดับรวมที่ ๔๖ จาก ๑๙๐ ประเทศ
ทั่วโลก และอยู่ในอันดับที่ ๗๘ ด้านการเร่ิมต้นธุรกิจ (Starting Business) เพ่ือก้าวข้ามอุปสรรคดังกล่าว รัฐบาลจึงมี
แนวคิดท่ีจะบูรณาการข้อมูลประชาชนให้เป็นภาพเดียว (Single View of Citizen) โดยเช่ือมโยงข้อมูลประชาชนจาก
ฐานข้อมูลของทุกหน่วยงานในทุกภาคส่วน ให้สามารถเห็นข้อมูลประชาชนได้สมบูรณ์ย่ิงขึ้น น�ำไปสู่การพัฒนาบริการ
เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้กับผู้รับบริการได้อย่างแท้จริง สามารถให้บริการประชาชนและภาคธุรกิจได้ดีขึ้น รวมทั้ง
สามารถลดต้นทนุ  และระยะเวลาในการด�ำเนินการ โดยสามารถจัดแบง่ กลมุ่ ของบรกิ ารภาครฐั ออกเปน็  ๓ กลุ่ม ได้แก่

๑. การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ได้แก่ สวัสดิการประชาชน การเพ่ิมประสิทธิภาพ
แรงงาน การศกึ ษา และการสาธารณสุข

๒. การยกระดับขีดความสามารถการแข่งขันของภาคธุรกิจ ได้แก่ การเพิ่มประสิทธิภาพ
ภาคการเกษตร วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การท่องเที่ยว ภาษีและรายได้
การลงทนุ  การคมนาคม การคา้  (น�ำเขา้ /สง่ ออก) และสาธารณูปโภค

๓. การยกระดับความมั่นคงและเพิ่มความปลอดภัยของประชาชน ได้แก่ ความปลอดภัย
สาธารณะ การบริหารจัดการชายแดน การป้องกันภัยธรรมชาติ และการจัดการ
ในภาวะวิกฤติ

48 แผนปฏบิ ัตกิ ารดา้ นดจิ ิทัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

แนวทางการขบั เคล่อื น
มุ่งเน้นการพัฒนาขีดความสามารถเชิงดิจิทัลภาครัฐเพ่ือยกระดับบริการภาครัฐให้ตอบสนองประชาชน

และผู้ประกอบการทุกภาคส่วนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว แม่นย�ำ โดยไม่ต้องใช้ส�ำเนาเอกสาร อีกท้ังประชาชนเข้าถึงข้อมูล
ภาครัฐได้สะดวก และเหมาะสม เพอ่ื ส่งเสริมความโปร่งใส และการสว่ นร่วมของประชาชน ประกอบด้วย

๑. พัฒนาขีดความสามารถเชิงดิจิทัลภาครัฐเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
โดยให้ความส�ำคัญกับการช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส การเพิ่มและพัฒนาประสิทธิภาพ
แรงงาน การเพ่ิมโอกาสและยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเพ่ิมโอกาสในการเข้าถึง
บริการสาธารณสุข เพ่ือให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้นจากการได้รับความช่วยเหลือ
ที่เหมาะสมและสามารถพ่งึ พาตนเองได้

๒. พัฒนาขีดความสามารถเชิงดิจิทัลภาครัฐเพ่ือยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของภาคธุรกิจในด้านต่างๆ โดยให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาภาคการเกษตร อุตสาหกรรม
การผลิต บริการการท่องเที่ยว บริการขนส่ง บริการอัจฉริยะในด้านสาธารณูปโภค
การอ�ำนวยความสะดวกแก่นักลงทุน การเพิ่มศักยภาพแก่ผู้ประกอบการส่งออก/น�ำเข้า
และธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม รวมถึงการยกระดับประสิทธิภาพกระบวนการภาษี
ของภาครัฐ เพื่อให้ภาคธุรกิจมีขีดความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น น�ำไปสู่การเจริญ
เติบโตทางเศรษฐกจิ ของประเทศอย่างยง่ั ยืน

๓. พัฒนาขีดความสามารถเชิงดิจิทัลภาครัฐเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งในการรักษา
ความปลอดภัยจากทั้งภัยภายในประเทศ ภัยภายนอกประเทศ และภัยธรรมชาติ
โดยเนน้ การปอ้ งกนั กอ่ นเกดิ เหตแุ ละการแกไ้ ขสถานการณใ์ นภาวะวกิ ฤตอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
ภายในระยะเวลาโดยเร็วท่ีสุด เพื่อลดความเส่ียง และลดผลกระทบต่อประชาชน
และประเทศเมือ่ เกิดภัยธรรมชาตหิ รอื ภาวะวกิ ฤต

ตัวอย่างโครงการขับเคลอื่ นระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

โครงการส�ำ คญั แนวทางการดำ�เนินงาน เป้าหมาย หนว่ ยงาน

โปรแกรมการเปล่ียนผา่ น ก.พ.ร. รว่ มกบั สพร. พฒั นากรอบมาตรฐาน – Digital Transformation หน่วยงาน
บรกิ ารภาครัฐสยู่ คุ ดจิ ทิ ลั การพฒั นา บรกิ ารดจิ ิทัลภาครัฐส�ำ หรับหนว่ ยงาน Program Training & Workshop ขบั เคลอ่ื นหลกั
(Digital Transformation ตา่ งๆ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการผลติ บริการดิจิทลั ก.พ.ร. สพร.
Program: DTP) – ติดตามความกา้ วหน้า
ของหนว่ ยงานท่ีรว่ มโครงการ
ในการนำ� Prototype
ไปพฒั นาต่อยอดและขยายผล
เปน็ บรกิ าร

49


Click to View FlipBook Version