The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tak Suchada, 2022-05-17 06:35:57

แนวทางการขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา ประจำปี 2565

แนวทางการขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

แนวทางการขบั เคล่อื น

ศูนยค์ วามเปน็ เลศิ ทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
สำหรบั สถานศกึ ษา

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สารบญั

หนา้

1. ความเปน็ มา 1
2. วัตถปุ ระสงค์การจัดต้ัง 6
3. เปา้ หมายการพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา 6
4. แนวทางการจดั การสถานศึกษา ภายใต้ศนู ยค์ วามเป็นเลศิ ทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) 7
5. แนวทางการดำเนินงานของสถานศึกษา 10
6. แผนการดำเนินงาน 14

ภาคผนวก

- เครอื่ งมือในการดำเนนิ การ สำหรับสถานศกึ ษา

แบบที่ 1 แบบสรปุ ผลการพิจารณาการจัดกล่มุ สาขาวิชา ตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา

ภายใตศ้ ูนย์ความเปน็ เลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) 17

แบบที่ 2 ตารางสรปุ ผลการพจิ ารณาการจัดกลมุ่ สาขาวชิ า ตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา

ภายใตศ้ ูนยค์ วามเป็นเลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) 18

แบบที่ 3 แบบตรวจสอบ สำหรบั คณะกรรมการกลัน่ กรอง ระดบั สถานศึกษา

ตามแนวทางการจัดการสถานศกึ ษา ภายใต้ศูนยค์ วามเป็นเลศิ ทางการอาชวี ศกึ ษา

(Excellent Center) 19

แบบที่ 3.1 เกณฑ์การตรวจสอบ สำหรบั การจัดกลุม่ สาขาวิชา ตามแนวทางการจดั การสถานศึกษา

ภายใต้ศนู ย์ความเปน็ เลิศทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) 22

แบบที่ 4 แบบประเมินคณุ ภาพตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใตศ้ นู ย์ความเปน็ เลิศทางการ

อาชีวศกึ ษา (Excellent Center) 24

แบบที่ 4.1 ตัวช้วี ดั และเกณฑ์การประเมิน ตามแนวทางการจดั การสถานศึกษา ภายใต้ศนู ย์ความเป็น

เลิศทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) 33

แบบท่ี 5 แบบรายงานข้อมลู การจัดการอาชวี ศึกษา ตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา

ภายใตศ้ นู ยค์ วามเปน็ เลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) 43

แบบท่ี 6 ตัวอยา่ ง คำสง่ั แต่งตัง้ คณะกรรมการจดั ทำขอ้ มลู การจดั การสถานศึกษา

ภายใต้ศนู ย์ความเปน็ เลิศทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) 57

- คำชีแ้ จงและตวั อย่างการกรอกแบบรายงานข้อมูลการจดั การอาชีวศกึ ษา ตามแนวทาง

การจดั การสถานศึกษา ภายใตศ้ นู ย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) 60

โครงการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลศิ ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center)

ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ความเปน็ มา

ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการโดย นางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้

ประกาศนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ด้านการอาชีวศึกษา โดยมุ่งเน้นจัดการศึกษาเพื่อผลิต

กำลงั แรงงานทม่ี ีคุณภาพ ตามความเป็นเลศิ ของแต่ละสถานศึกษาและตามบริบทของพ้ืนที่ สอดคล้องกับความ

ต้องการของประเทศทั้งในปัจจุบันและอนาคต ตลอดจนมีการจัดการเรียนการสอนด้วยเครื่องมือที่ทันสมัย

สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่ใช้ในปัจจุบัน โดยเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์และการสื่อสาร

ภาษาต่างประเทศ นอกจากนี้ยังมุ่งเน้นการพัฒนาครูอาชีวศึกษาให้มีความรู้และความสามารถในการปฏิบัติ

(Hand-on Experience) มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ โดยการพฒั นาแบบเข้มข้น รวมท้ังการใช้แพลตฟอร์มดิจิทัล

เพื่อการเรียนรู้ เพ่ือให้การจัดการศึกษามีคุณภาพ ภายใต้ศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคน

อาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) เพื่อให้การผลิต

และพัฒนากำลงั คนอาชวี ศึกษาตอบสนองความต้องการของภาคประกอบการอย่างแทจ้ ริง ในสาขาท่สี อดคล้อง

นโยบายการพฒั นา 10+2 อตุ สาหกรรมเป้าหมายตามทศิ ทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศท้ังในเขตพัฒนา

พเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC) และพนื้ ท่อี น่ื ๆ ทว่ั ประเทศ

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นองค์กรหลักในการผลิตและพัฒนากำลังคนที่มีคุณภาพ

สอดคล้องกับความต้องการของภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม ธุรกิจและบริการ ของประเทศ โดยคำนึงถึง

ศกั ยภาพของการจดั การศึกษาอาชีวศึกษาตามบรบิ ททแี่ ตกตา่ งกันตามพน้ื ที่การพัฒนาของภมู ิภาค ที่สอดคลอ้ ง

กับทิศทางการพัฒนาประเทศตามนโยบายประเทศไทย 4.0 จึงได้กำหนดนโยบายในการพัฒนาอาชีวศึกษาสู่

ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา Excellent Center ทั้งในสถานศึกษาต้นแบบทั่วประเทศ และสถานศึกษา

ในกลุ่ม EEC โดยมีวัตถุประสงค์ คือ ผลิตและพัฒนากำลังคนระดับกลางเร่งด่วนในสาขาที่เป็นความต้องการ

ของประเทศตามโมเดลประเทศไทย 4.0 โดยความร่วมมือกับสถานประกอบการอย่างเข้มแข็ง เพิ่มกำลังคน

กลุ่มนักเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้าสู่กลุ่มอุตสาหกรรมรองรับการเปลี่ยนแปลงซึ่งเป็นผลจาก Digital

Disruption เรง่ ยกระดบั คณุ ภาพกำลงั ในกลุ่มผสู้ ำเรจ็ การศึกษาอาชวี ศึกษา ผอู้ ยู่ในภาคแรงงาน ให้มีสมรรถนะ

ใหม่ ทกั ษะใหม่ โดยกระบวนการสร้าง New Skill, Up Skill และ Re Skill พฒั นาสถานศึกษาต้นแบบเพื่อการ

ขยายผลการผลิตและพัฒนากำลังคนอย่างมีกรอบและทิศทางที่เหมาะสม สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา

ประเทศ ภูมิภาค และความต้องการของสถานประกอบการ ตลอดจนมีการบริการจัดการอาชีวศึกษาเชิงกล

ยุทธ์ บูรณาการทรัพยากรและความร่วมมือ (Strategic Alliance) จึงได้มีการดำเนินการประเมินสถานศึกษา

ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน และประกาศให้สถานศึกษาที่มีความ

เป็นเลิศ จำนวน 120 แห่ง ใน 42 สาขาวิชา/สาขางาน เพื่อดำเนินภารกิจให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และ

เป้าหมายของโครงการต่อไป ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง ศูนย์ความเป็นเลิศ

ทางการอาชวี ศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ลงวนั ท่ี 18 มิถุนายน 2564 ดงั นี้

1. สาขาวิชาเทคนิคเคร่ืองกล 1.1 วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี

1.2 วทิ ยาลยั เทคนิคอตุ สาหกรรมยานยนต์

1.3 วทิ ยาลัยเทคนคิ แพร่

1.4 วทิ ยาลยั เทคนคิ นครสวรรค์

1.5 วทิ ยาลัยเทคนิคตรัง

2

2. สาขาวชิ าเทคนิคเครื่องกล 1.6 วิทยาลัยเทคนคิ นครศรีธรรมราช
(สาขางานเทคนิคซ่อมตัวถังและสีรถยนต)์ 1.7 วทิ ยาลยั เทคนิคสกลนคร
1.8 วทิ ยาลัยเทคนิคนครราชสมี า
3. สาขาวิชาเทคนคิ การผลิต 1.9 วิทยาลัยเทคนคิ ฉะเชงิ เทรา
4. สาขาวชิ าเทคโนโลยีโทรคมนาคม 1.10 วิทยาลัยเทคโนโลยียานยนตโ์ ตโยต้า
5. สาขาวิชาอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 2.1 วทิ ยาลัยการอาชีพไชยา

6. สาขาวิชาช่างอตุ สาหกรรมฐานวิทยาศาสตร์ 3.1 วทิ ยาลยั เทคนิคสมทุ รสงคราม
7. สาขาวิชาการท่องเที่ยว 4.1 วทิ ยาลยั การอาชพี นวมินทราชทู ิศ
8. สาขาวชิ าพาณชิ ยกรรมและบริการฐานวทิ ยาศาสตร์ 5.1 วิทยาลยั เทคนคิ นครนายก
9. สาขาวิชาการโรงแรม 5.2 วิทยาลัยเทคนิคลำปาง
5.3 วทิ ยาลัยเทคนิคสุราษฎรธ์ านี
10. สาขาวชิ าการจัดประชุมและนิทรรศการ 5.4 วิทยาลยั เทคนิคหนองคาย
11. สาขาวิชาเทคโนโลยีชวี ภาพการเกษตร 6.1 วิทยาลัยเทคนิคสุรนารี
6.2 วิทยาลยั อาชวี ศึกษาเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี)
ฐานวทิ ยาศาสตร์ 7.1 วิทยาลยั อาชวี ศึกษาเชยี งราย
12. สาขาวชิ าพืชศาสตร์ 8.1 วทิ ยาลัยเทคนคิ พังงา
9.1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาปทุมธานี
13. สาขาวิชาสัตวศาสตร์ 9.2 วทิ ยาลยั บริหารธรุ กิจและการท่องเท่ียวกรุงเทพ
9.3 วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาเชยี งใหม่
14. สาขาวิชาเพาะเลย้ี งสัตว์นำ้ 9.4 วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาภเู ก็ต
15. สาขาวชิ าช่างกลเกษตร 9.5 วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาอุบลราชธานี
16. สาขาวชิ าอตุ สาหกรรมเกษตร 9.6 วทิ ยาลัยเทคโนโลยวี มิ ลบรหิ ารธุรกิจ
17. สาขาวชิ าเทคโนโลยอี าหารฐานวทิ ยาศาสตร์ 10.1 วิทยาลัยอาชวี ศึกษาขอนแก่น
11.1 วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลำพูน

12.1 วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบรุ ี
12.2 วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชยี งราย
12.3 วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีแพร่
12.4 วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี ะเยา
12.5 วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชียงใหม่
13.1 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยลี พบรุ ี
13.2 วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยสี งขลา
13.3 วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี รสี ะเกษ
14.1 วทิ ยาลยั ประมงติณสลู านนท์
15.1 วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยบี ุรีรัมย์
16.1 วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม
17.1 วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาสงิ ห์บุรี

3

18. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 18.1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา
18.2 วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาเอ่ียมละออ
19. สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 18.3 วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาฉะเชงิ เทรา
20. สาขาวิชาวิศวกรรมเมคคาทรอนกิ ส์ 18.4 วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษานครปฐม
21. สาขาวชิ าเมคคาทรอนิกส์และหนุ่ ยนต์ 18.5 วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาลำปาง
18.6 วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาอตุ รดิตถ์
22. สาขาวชิ าเทคนคิ ซ่อมบำรงุ เรือ 18.7 วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาเชียงราย
23. สาขาวิชาการจัดการโลจสิ ตกิ ส์และ 18.8 วิทยาลยั อาชวี ศึกษาปตั ตานี
18.9 วิทยาลยั อาชีวศึกษาสงขลา
ซพั พลายเชน 18.10 วิทยาลยั อาชีวศึกษานครราชสีมา
24. สาขาวชิ าเทคนิคเครอ่ื งกลเรือ 18.11 วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาสรุ นิ ทร์
25. สาขาวชิ าช่างอากาศยาน 18.12 วิทยาลัยเทคโนโลยีธรุ กิจการอาหารไทยและนานาชาติ
19.1 วิทยาลยั อาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบรุ )ี
20.1 วทิ ยาลยั เทคนิคสรุ นารี
21.1 วทิ ยาลยั เทคนิคนครราชสมี า
21.2 วทิ ยาลัยเทคนิคชลบุรี
21.3 วทิ ยาลัยเทคนิคสตั หบี
21.4 วทิ ยาลัยเทคนิคมีนบรุ ี
21.5 วทิ ยาลัยเทคนิคพระนครศรีอยธุ ยา
21.6 วทิ ยาลยั เทคนคิ สุพรรณบุรี
21.7 วทิ ยาลยั เทคนิคสระบุรี
21.8 วทิ ยาลัยเทคนิคสมทุ รสาคร
21.9 วิทยาลัยเทคนคิ สมทุ รสงคราม
21.10 วิทยาลยั เทคนคิ กำแพงเพชร
21.11 วิทยาลัยเทคนคิ พจิ ิตร
21.12 วทิ ยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช
21.13 วทิ ยาลัยเทคนคิ รอ้ ยเอด็
21.14 วิทยาลยั เทคโนโลยีสยาม
22.1 วทิ ยาลยั เทคนิคภเู ก็ต
23.1 วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาอุดรธานี

24.1 วิทยาลัยเทคนคิ บ้านคา่ ย
24.2 วิทยาลัยเทคโนโลยแี ละอุตสาหกรรม

การต่อเรือนครศรีธรรมราช
25.1 วิทยาลยั เทคนิคดอนเมอื ง
25.2 วทิ ยาลัยเทคนคิ สมุทรปราการ
25.3 วทิ ยาลยั เทคนิคสัตหบี
25.4 วิทยาลัยเทคนคิ ถลาง

26. สาขาวชิ าเทคนิคควบคมุ และ 4
ซอ่ มบำรุงระบบขนส่งทางราง
25.5 วทิ ยาลัยเทคนคิ อุบลราชธานี
27. สาขาวชิ าปโิ ตรเคมี 25.6 วิทยาลยั การอาชีพขอนแกน่
28. สาขาวชิ าเคมอี ุตสาหกรรม 26.1 วทิ ยาลัยเทคนคิ สัตหีบ
29. สาขาวชิ าเทคโนโลยีเครื่องมือวดั และ 26.2 วทิ ยาลยั เทคนคิ ชลบุรี
26.3 วิทยาลยั เทคนคิ พระนครศรอี ยธุ ยา
ควบคุมงานปโิ ตรเลยี ม 26.4 วิทยาลยั เทคนิคนครลำปาง
30. สาขาวชิ าไฟฟา้ 26.5 วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่
31. สาขาวชิ าอุตสาหกรรมการผลติ ไฟฟา้ 26.6 วิทยาลยั เทคนคิ สุราษฎรธ์ านี
32. สาขาวชิ าเทคนิคพลงั งานทดแทน 26.7 วิทยาลยั เทคนิควาปีปทมุ
33. สาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ิทัล 26.8 วิทยาลยั การอาชพี บา้ นไผ่
26.9 วทิ ยาลัยเทคโนโลยฐี านเทคโนโลยี
34. สาขาวิชาคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก 27.1 วทิ ยาลัยเทคนคิ มาบตาพดุ
27.2 วทิ ยาลยั เทคโนโลยีไออารพ์ ีซี
35. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 28.1 วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง
36. สาขาวิชาช่างกอ่ สรา้ ง 28.2 วทิ ยาลัยเทคโนโลยไี ออารพ์ ซี ี
29.1 วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่

30.1 วิทยาลัยเทคนิคราชสทิ ธาราม
30.2 วิทยาลยั เทคนคิ สระบรุ ี
31.1 วทิ ยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการ กฟผ. แมเ่ มาะ
32.1 วทิ ยาลยั เทคนิคชัยภมู ิ
33.1 วทิ ยาลัยพณชิ ยการอินทราชยั
33.2 วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาธนบุรี
33.3 วิทยาลยั พณิชยการธนบุรี
33.4 วิทยาลัยเทคนคิ วังนำ้ เยน็
33.5 วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาสุพรรณบรุ ี
33.6 วทิ ยาลัยเทคนคิ เชียงใหม่
33.7 วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาอุดรธานี
33.8 วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาขอนแกน่
33.9 วทิ ยาลยั เทคโนโลยีตัง้ ตรงจิตรพณิชยการ
34.1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์

สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา
สริ โิ สภาพัณณวดี***
34.2 วทิ ยาลยั เทคโนโลยสี ยามบริหารธรุ กจิ
35.1 วทิ ยาลยั เทคนคิ กระบี่
35.2 วิทยาลยั เทคโนโลยีสยามบรหิ ารธรุ กิจ นนทบุรี
36.1 วิทยาลยั เทคนคิ ดุสิต
36.2 วทิ ยาลยั เทคนคิ สระแกว้

5

37. สาขาวิชาเทคโนโลยสี ิ่งทอ 36.3 วทิ ยาลัยเทคโนโลยีบุญถาวร
38. สาขาวชิ าเครอื่ งประดบั อัญมณี 37.1 วทิ ยาลัยเทคนคิ โพธาราม
39. สาขาวิชาธุรกจิ ค้าปลกี 38.1 กาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย ช่างทองหลวง
39.1 วิทยาลัยพณชิ ยการบางนา
40. สาขาวชิ าเทคนิคเครื่องทำความเย็น 39.2 วทิ ยาลยั เทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
และปรบั อากาศ 40.1 วทิ ยาลยั เทคนิคราชสิทธาราม

41. สาขาวิชาเทคนิคโลหะ 41.1 วทิ ยาลยั เทคนคิ หาดใหญ่
42. สาขาวชิ าเทคโนโลยีความงาม 42.1 วิทยาลัยสารพัดช่างสมทุ รปราการ

สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีนโยบายในการขยาย
สถานศึกษาและสาขาวิชาเพิ่มขึ้น เพื่อร่วมดำเนินการขับเคลื่อนภารกิจศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา
(Excellent Center) ตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา และให้ครบตามโครงสร้างการ
บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking
Management : CVM) ทเ่ี ชือ่ มโยงการบริหารจัดการเครอื ขา่ ยการผลติ และพฒั นากำลงั คนอาชีวศกึ ษาระหว่าง
สถานศึกษากลมุ่ CVM กลุ่ม Excellent Center กลุ่ม Expert และกลุ่ม Standard ดงั น้ี

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

สถาบันคณุ วุฒวิ ิชาชพี สถานศึกษา CVM อ.กรอ.อศ.
สถาบนั พัฒนาฝีมือแรงงาน
สถานศึกษา Excellent Center สถานประกอบการ
องค์กรวิชาชีพ อ่นื ๆ (Node)
สถานประกอบการ

สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา
Excellent Excellent Excellent Excellent Excellent
ภาคเหนือ ภาคกลาง
ภาคใต้ ภาคตะวนั ออกและกทม. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา
Expert Expert สถานศกึ ษา สถานศึกษา สถานศกึ ษา
Standard Standard Expert Expert Expert
Standard Standard Standard

6

วตั ถุประสงคก์ ารจดั ต้ัง
1. เพอื่ ผลติ และพัฒนาทุนมนุษย์ระดบั ช่างเทคนิคและนักเทคโนโลยชี ้ันสูง สามารถทำงานได้ในระดับ

สากล ภายใต้หลกั สตู รท่ยี ึดโยงกบั กรอบคุณวฒุ ิแห่งชาติ และการจัดการเรยี นการสอนทมี่ ีคณุ ภาพ
2. เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีความเป็นเลิศในสาขาวิชาที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน สังคม

และยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ตลอดจนเป็นสถานศกึ ษาแห่งความสุข (Happiness College) และมคี วาม
ปลอดภัยสำหรบั นักเรียนนกั ศกึ ษาอาชีวศึกษา

3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนความร่วมมือภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคอุตสาหกรรม ทั้งในประเทศ
และต่างประเทศ ในการต่อยอดองค์ความรู้สู่การผลิตเป็นนวัตกรรมที่จะช่วยสร้างขีดความสามารถในการ
แข่งขนั ระดับประเทศและระดับนานาชาติ

4. เพ่อื พฒั นาครูให้มีสมรรถนะและประสบการณ์วิชาชีพท่ีตรงกบั ความต้องการของภาคประกอบการ
รวมทง้ั ได้รบั การรับรองมาตรฐานอาชีพจากหนว่ ยงานทไ่ี ด้รับการยอมรับ

5. เพ่อื พัฒนาทักษะนักเรียนนักศึกษาให้มีองค์ความร้แู ละทักษะใหมท่ ่ีจำเป็นต่อการเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง รวมถึงมี คุณลักษณะที่พึงประสงค์และประสบการณ์วิชาชีพ ตรงกับ
ความต้องการของภาคประกอบการ รวมท้ังไดร้ ับการรบั รองมาตรฐานอาชพี จากหน่วยงานท่ีได้รับการยอมรับ

เป้าหมายการพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา
1. สถานศึกษามีนวัตกรรมการบริหารจัดการสอดคล้องกบั สภาพบริบท และตอบสนองความต้องการ

ของชุมชน สังคม และยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ มีครุภัณฑ์และอุปกรณ์ สื่อ เทคโนโลยีดิจิทัล ทรัพยากร
สิ่งสนับสนุนการศึกษา ที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนมีแนวทางการบำรุงรักษาให้มีสภาพท่ี
พร้อมใช้งานอย่างต่อเนื่อง และมีสภาพแวดล้อมทางการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ทาง
วิชาการและวิชาชีพได้

2. สถานศึกษามีภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรทางวิชาชีพ สถานประกอบการ
สถาบันการศึกษาอาชีวศึกษา/อุดมศึกษาท้ังในประเทศหรือต่างประเทศ ในในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิ
ภาคีอย่างเข้มขน้ การพัฒนาทักษะทางวชิ าการ ทักษะทางวิชาชีพ และการฝึกประสบการณ์ทักษะวชิ าชีพของ
ครู และผู้เรยี น อยา่ งมีคุณภาพ

3. หลกั สตู รมคี วามสอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เช่อื มโยงสมรรถนะอาชีพ
ในการทำงานสู่ระบบคุณวุฒิทางการศึกษา หรือมาตรฐานอาชีพตามที่หน่วยงานซึ่งมีหน้าที่ให้การรับรอง
มาตรฐานกำหนดไว้ และมนี วตั กรรมการจัดการเรยี นรูท้ ี่หลากหลาย ในสาขาวิชาทีม่ คี วามเป็นเลิศ

4. ครูมีสมรรถนะทางวิชาชีพที่ทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่สถานประกอบการใช้ในปัจจุบัน
ตลอดจนมีทักษะการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับโลกดิจิทัลและโลกอนาคต และได้รับการฝึก
ประสบการณ์ทักษะวิชาชีพในสถานประกอบการ และมีใบรับรองผลการประเมินสมรรถนะบุคคลตาม
มาตรฐานอาชีพจากสถาบนั คุณวุฒิวิชาชพี ตรงตามระดบั ที่สำเร็จการศึกษา

5. ผู้เรียนมีสมรรถนะทางวิชาชีพและคุณลักษณะตามความต้องการของสถานประกอบการใน
สาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศ ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ เป็นผู้สร้างสรรค์นวัตกรรม เป็น
พลเมืองทเ่ี ขม้ แขง็ และไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานอาชีพจากหนว่ ยงานท่ีได้รับการยอมรับ

6. สถานศึกษาเป็นศูนย์พัฒนาอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ การประเมินสมรรถนะบุคคลตาม
มาตรฐานอาชีพในสาขาอาชีพที่สอดคล้องกับสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศ ให้กับผู้เรียน ผู้สำเร็จการศึกษา

7

ผปู้ ระกอบอาชีพ หรือ ประชาชนทวั่ ไป เพือ่ สร้างโอกาสการเขา้ สู่โลกอาชพี และการมีงานทำแนวทางการพัฒนา
คุณภาพอาชวี ศกึ ษา

แนวทางการจดั การสถานศกึ ษา ภายใต้ศูนย์ความเปน็ เลศิ ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center)
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้ดำเนินการโครงการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางการ

อาชีวศึกษา (Excellent Center) โดยการยกระดับคุณภาพอาชีวศึกษาให้มีศักยภาพในการแข่งขัน
และตอบโจทย์การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทย (อาชีวศึกษายกกำลังสอง) ด้วยการจับคู่สถานศึกษา
ภาครัฐกับสถานประกอบการชั้นนำที่มีขีดความสามารถในการร่วมวิเคราะห์สมรรถนะตามสาขาอาชีพ
และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของวิทยาการสมัยใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จนนำไปสู่การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาครู การพัฒนานักเรียนนักศึกษา และพัฒนาทรัพยากรทางการศึกษา ตลอดจน
แหลง่ ฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพ อย่างมีคุณภาพ รวมทั้งยกระดบั ให้เป็นศนู ย์บรหิ ารเครือข่ายการผลิตและพัฒนา
กำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) เพื่อเป็น
ต้นแบบและเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาครูและบุคลากรในสาขาวิชาเฉพาะทาง พัฒนาผู้เรียนอาชีวศึกษา
กำลังแรงงาน และประชาชนทว่ั ไป ใหม้ ที กั ษะและสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานทั้ง
ในปัจจบุ นั และอนาคต ตามทิศทางการพฒั นาอุตสาหกรรมของประเทศไทย

เพื่อให้การจัดการอาชีวศึกษาเป็นไปตามนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ในการพัฒนา
อาชีวศึกษาสู่ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
โดยได้กำหนดแนวทางการดำเนนิ การพฒั นาคุณภาพอาชวี ศกึ ษา จัดกลุ่มสถานศกึ ษาออกเปน็ 3 กลมุ่ ดังนี้

1. กลมุ่ ท่ัวไป (Standard)
สถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาทุกแหง่ ทจ่ี ดั การศกึ ษาตามมาตรฐานอาชวี ศึกษา โดยเปน็
1. สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาต่าง ๆ ตามหลักสูตรของสำนักงาน

คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภายใตม้ าตรฐานการอาชวี ศกึ ษา
2. สาขาวชิ ามคี รวู ิชาชีพในการจัดการเรยี นการสอน
3. สถานศึกษามีโครงสร้างพื้นฐาน มีครุภัณฑ์และอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน ที่พร้อมต่อการ

จัดการเรียนการสอนอยา่ งมีคณุ ภาพ

8

4. สถานศึกษาจดั การอาชวี ศึกษาเพือ่ ผลติ และพัฒนากำลงั คนเพ่ือตอบความตอ้ งการของชุมชน
5. สถานศึกษาต้องได้รบั รองคุณภาพสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาจากหน่วยงานตน้ สงั กัด

2. กลุ่มเชยี่ วชาญเฉพาะ (Expert)
สถานศึกษาอาชีวศึกษาที่มีบริบททางการศึกษาที่เอื้อต่อการจัดการอาชีวศึกษาในสาขาวิชาที่มี

ความเชย่ี วชาญเฉพาะอย่างมีคณุ ภาพ โดยมุง่ เนน้ การจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี โดยเป็น
1. สถานศึกษามคี วามร่วมมอื กบั สถานประกอบการในการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี

ในสาขาวชิ าทมี่ คี วามเชีย่ วชาญเฉพาะ
2. ครูในสาขาวิชาที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะมีจำนวนที่เพียงพอต่อการจัดการอาชีวศึกษาที่มี

คณุ ภาพ และได้รบั การฝกึ ประสบการณ์ทักษะวชิ าชพี ในสถานประกอบการ
3. สถานศึกษาตอ้ งมีโครงสรา้ งพ้ืนฐานและสภาพแวดลอ้ มทางการศึกษาที่มีคุณภาพ มคี รภุ ัณฑ์

และอปุ กรณ์ทีเ่ พียงพอตอ่ การจัดการเรียนการสอน ในสาขาวชิ าที่มีความเช่ยี วชาญเฉพาะอย่างมีคุณภาพ
4. สถานศึกษาจดั การอาชีวศกึ ษาเพอ่ื ผลิตและพัฒนากำลังคนเพื่อตอบความตอ้ งการของชมุ ชน
5. สถานศกึ ษาตอ้ งได้รบั รองคณุ ภาพสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาจากต้นสงั กัด
6. สถานศึกษามีความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในประเทศ ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาง

วชิ าการและวิชาชีพของครแู ละผเู้ รียน
7. สถานศึกษาต้องพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการอย่างต่อเนื่อง ในสาขาวิชาที่มี

ความเชย่ี วชาญเฉพาะ
8. สถานศึกษามีบริบททางการศึกษาและบริบทเชิงพื้นที่ ที่เอื้อต่อการจัดการอาชีวศึกษาใน

สาขาวชิ าทม่ี ีความเชีย่ วชาญเฉพาะให้มคี ณุ ภาพ

3. กลมุ่ ความเปน็ เลิศ (Excellence Center)
เป็นสถานศึกษาอาชีวศึกษาที่มีบริบททางการศึกษาและบริบทเชิงพื้นที่ ที่เอื้อต่อการจัดการ

อาชีวศึกษาในสาขาวิชาที่ตรงกับทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายของป ระเทศ (S-Curve)
อยา่ งมคี ุณภาพ โดยมุ่งเน้นการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีอยา่ งเข้มขน้ โดยเปน็

1. สถานศึกษามีความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีอย่าง
เข้มขน้ ในสาขาวิชาทมี่ ีความเปน็ เลศิ

2. ครูในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศมีจำนวนที่เพียงพอต่อการจัดการอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพ และ
ได้รับการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพในสถานประกอบการ ตลอดจนมีความสามารถในการผลิตสื่อดิจิทัล
(Digital Content) และจัดการเรียนการสอนด้วยแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ (Digital Learning
Platform) อยา่ งมีคุณภาพ รวมทั้งมีใบรับรองผลการประเมนิ สมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพจากสถาบัน
คุณวุฒิวิชาชพี ตรงตามระดับทีส่ ำเรจ็ การศกึ ษา

3. สถานศึกษาต้องมโี ครงสร้างพื้นฐานและสภาพแวดล้อมทางการศกึ ษาใหเ้ ปน็ แหล่งเรียนรดู้ ้านดิจิทัล
ที่มีคุณภาพ มีครุภัณฑ์และอุปกรณ์ที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน จัดหาแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อการ
เรียนรู้ (Digital Learning Platform) ในสาขาวิชาท่ีมีความเปน็ เลิศ อย่างมคี ณุ ภาพ

4. สถานศึกษาจัดการอาชีวศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคน ในสาขาวิชาที่ตรงกับทิศทางการ
พัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (S-Curve)

5. สถานศึกษาต้องไดร้ ับรองคุณภาพสถานศึกษาอาชวี ศึกษาจากต้นสงั กดั

9

6. สถานศกึ ษามคี วามรว่ มมือกับสถาบนั การศึกษาอาชวี ศกึ ษา/อุดมศึกษาในประเทศหรือต่างประเทศ
ในการแลกเปลี่ยนเรียนรทู้ างวิชาการและวิชาชีพของครแู ละผเู้ รียน

7. สถานศึกษาต้องพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพร่วมกับสถานประกอบการอย่าง
ต่อเนื่อง สามารถเชื่อมโยงสมรรถนะอาชีพในการทำงานสู่ระบบคุณวุฒิทางการศึกษา และมีนวัตกรร มการ
จดั การเรียนรทู้ ่ีหลากหลาย ในสาขาวชิ าทีม่ ีความเป็นเลศิ

8. สถานศึกษามีบรบิ ททางการศึกษาและบริบทเชิงพืน้ ท่ี ที่เอื้อต่อการจัดการอาชีวศึกษาในสาขาวิชา
ที่มคี วามเปน็ เลิศ ให้มคี ุณภาพ

9. สถานศึกษาเสริมสร้างให้ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษามีสมรรถนะและคุณลักษณะตาม
ความต้องการของสถานประกอบการ และจบแล้วตอ้ งมงี านทำ

ภาพแสดงความเชื่อมโยงของการพฒั นาคุณภาพสถานศึกษาอาชวี ศึกษาภายใต้โครงการพฒั นา
ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center)

ทั้งนี้ การพิจารณาคัดเลอื กสถานศึกษาอาชีวศึกษารัฐและเอกชนในแต่ละกลุม่ ให้เป็นไปตามแนวทาง
ที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด โดยคำนึงถึงความสอดคล้องกับทิศทางการผลิตและพัฒนา
กำลงั คนในสาขาวิชาท่เี ปน็ เปา้ หมายการพฒั นาอุตสาหกรรมของประเทศตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
และความเหมาะสมกับยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่ เพื่อเพิ่มศักยภาพและความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศต่อไป

10

แนวทางการดำเนินงานของสถานศกึ ษา

แนวทางการจดั การสถานศกึ ษา ภายใต้ศูนยค์ วามเป็นเลศิ
ทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center)

สถานศึกษาดำเนนิ การประชุมคณะผู้บริหาร ครู และ สง่ สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
บคุ ลากรทางการศึกษาเพ่ือประชุมชแ้ี จงนโยบายการจดั การ ผา่ นชอ่ งทาง AMS e-Office
สถานศึกษาภายใต้ ศนู ย์ความเปน็ เลิศทางการอาชีวศึกษา
หมายเหตุ เฉพาะผลการประเมินกลุ่มความ
(Excellent Center) เป็นเลศิ (Excellent Center) เทา่ นน้ั

สถานศกึ ษาจัดทำคำสั่งแตง่ ตงั้
- คณะกรรมการดำเนนิ งานระดับสาขาวชิ า
- คณะกรรมการกลั่นกรอง ระดบั สถานศกึ ษา

สาขาวิชา ดำเนนิ การจัดทำข้อมูลตามแบบรายงานข้อมูล
การจดั การอาชวี ศกึ ษาตามแนวทางการจดั การสถานศึกษา

ภายใตศ้ นู ย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา

คณะกรรมการกลัน่ กรอง ระดับสถานศึกษา ตรวจสอบข้อมูล
พิจารณาตามเกณฑ์การจดั กลุ่มสาขาวชิ า ตามแนวทางการจดั

สถานศกึ ษาภายใตศ้ นู ย์ความเปน็ เลิศทางการอาชวี ศึกษา
สถานศกึ ษา ประเมินระดับคุณภาพ และดำเนินการสรุปผล

การพจิ ารณา การจัดกลุ่มสาขาวชิ า

นำผลการจดั กลุม่ สาขาวชิ า ตามแนวทาง
การจดั สถานศึกษาภายใต้ศูนย์ความเปน็ เลิศทางการ
อาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) เสนอต่อคณะ

กรรมการบรหิ ารสถานศึกษา

ผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษารบั รองผลการจัดกลุ่มสาขาวิชา และ
จดั สง่ ผลการจดั กลุ่มสาขาวิชา และขอ้ มลู ประกอบ

11

1. สถานศึกษาดำเนินการประชุมคณะผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเพื่อประชุมชี้แจง
นโยบายการจัดการสถานศกึ ษาภายใต้ ศนู ย์ความเป็นเลิศทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center)

เมื่อสถานศึกษาได้รับหนังสือแจ้งเรื่อง แนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศ
ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และคู่มือการดำเนินงานขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการ
อาชีวศึกษา (Excellent Center) จากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาแลว้ ให้สถานศึกษาดำเนนิ การ
จัดประชุมชี้แจงแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent
Center) ใหก้ ับคณะผ้บู รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ท้งั สถานศึกษา เพอื่ ให้ทุกคนในสถานศึกษาได้รับ
ทราบและมสี ่วนร่วมในการดำเนนิ การทกุ ขัน้ ตอนอยา่ งมีคุณภาพ และเป็นไปในทศิ ทางเดยี วกัน

2. สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
ดำเนนิ งานระดบั สาขาวิชา และคำส่ังแตง่ ตง้ั คณะกรรมการกลนั่ กรอง ระดับสถานศึกษา

สถานศึกษาดำเนินการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ จำนวน 3 คณะ คือ คณะกรรมการ
อำนวยการ ควรประกอบดว้ ย ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา เปน็ ประธาน รองผู้อำนวยการสถานศึกษาทกุ ฝ่าย เปน็
กรรมการ และรองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ เป็นกรรมการและเลขานุการ เพอื่ ดำเนินการกำหนดแนวทาง และ
กำกับติดตาม การขับเคล่ือนการจดั การสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent
Center) ระดับสาขาวชิ า

ตัวอยา่ ง ผ้อู ำนวยการวทิ ยาลยั ............................................... ประธานกรรมการ
คณะกรรมการอำนวยการ รองผอู้ ำนวยการฝ่ายบริหารทรัพยากร กรรมการ
รองผู้อำนวยการฝา่ ยพฒั นากิจการนกั เรียนนกั ศึกษา กรรมการ
1. ........................................ รองผอู้ ำนวยการฝ่ายแผนงานและความรว่ มมอื กรรมการ
2. ........................................ รองผูอ้ ำนวยการฝ่ายวิชาการ
3. ........................................ กรรมการและเลขานุการ
4. ........................................
5. ........................................

คณะกรรมการกล่ันกรองระดับสถานศึกษา ควรประกอบดว้ ย ผู้อำนวยการสถานศึกษา เป็นประธาน
รองผู้อำนวยการสถานศึกษาทุกฝา่ ย เป็นกรรมการ รองผอู้ ำนวยการฝ่ายวชิ าการ เป็นกรรมการและเลขานุการ
และหัวหนา้ งานพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน เป็นผู้ช่วยเลขานกุ าร เพื่อดำเนนิ การ ตรวจสอบขอ้ มูลและ
พจิ ารณาตามเกณฑ์การจัดกลมุ่ สาขาวิชา นำเสนอผลการจดั กลุ่มสาขาวชิ า รวมทงั้ รายงานผลการพิจารณาการ
จัดกลุ่มสาขาวิชา ตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา
(Excellent Center)

ตวั อยา่ ง ประธานกรรมการ
คณะกรรมการกลนั่ กรองระดับสถานศึกษา กรรมการ
กรรมการ
1. ........................................ ผอู้ ำนวยการวิทยาลยั .......................................... กรรมการ
2. ........................................ รองผ้อู ำนวยการฝ่ายบริหารทรพั ยากร
กรรมการและเลขานุการ
3. ........................................ รองผู้อำนวยการฝา่ ยพฒั นากิจการนกั เรยี นนักศึกษา ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร

4. ........................................ รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยแผนงานและความรว่ มมือ
5. ........................................ รองผู้อำนวยการฝ่ายวชิ าการ

6. ........................................ หัวหน้างานพฒั นาหลักสูตรการเรียนการสอน

12

และคณะกรรมการจัดทำข้อมูลระดับสาขาวิชา ควรประกอบด้วย หวั หน้าสาขาวชิ า เป็นประธาน ครู
ทุกคนในสาขาวิชา เป็นกรรมการ และให้ครูจำนวน 1 คนในสาขาวิชา เป็นกรรมการและเลขานุการ เพ่ือ
ดำเนินการจัดทำข้อมูลของสาขาวิชาตามแบบรายงานข้อมูลการจัดการอาชีวศึกษา ตามแนวทางการจัดการ
สถานศกึ ษา ภายใต้ศูนยค์ วามเป็นเลิศทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) ตาม(แบบท่ี 6)

ตวั อย่าง ประธานกรรมการ
คณะกรรมการจัดทำข้อมลู ระดับสาขาวิชา กรรมการ
กรรมการ
1 สาขาวิชา................................................... กรรมการ
1.1 ..................................................... หัวหนา้ สาขาวชิ า
1.2 ..................................................... ครูในสาขาวชิ า กรรมการและเลขานุการ
1.3 ..................................................... ครูในสาขาวชิ า
1.4 ..................................................... ครูในสาขาวิชา
1.5 ..................................................... ครูในสาขาวชิ า

3. คณะกรรมการดำเนินงานระดับสาขาวิชา ดำเนินการจัดทำข้อมูลตามแบบรายงานข้อมูลการ
จัดการอาชีวศึกษาตามแนวทางการจัดการสถานศึกษาภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา
(Excellent Center)

คณะกรรมการดำเนินงานระดับสาขาวิชาตามที่ได้รับแต่งตั้งตามคำสั่งของสถานศึกษา ดำเนินการ
จัดทำข้อมูลของสาขาวิชาตามแบบรายงานข้อมูลการจัดการอาชีวศึกษา ตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา
ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลศิ ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) (แบบที่ 5) โดยสามารถศึกษารายละเอียด
และตัวอย่างการกรอกข้อมูล ในคำชี้แจงการกรอกแบบรายงานข้อมูล พร้อมทั้งส่งแบบรายงานข้อมูลให้กับ
คณะกรรมการกลน่ั กรองระดบั สถานศกึ ษาตรวจสอบข้อมลู และพิจารณา

4. คณะกรรมการกลั่นกรอง ระดับสถานศึกษา ตรวจสอบข้อมูล พิจารณาตามเกณฑ์การจัดกลุ่ม
สาขาวิชา ตามแนวทางการจัดสถานศึกษาภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent
Center) และประเมินระดับคณุ ภาพของสาขาวิชา

เมื่อทุกสาขาวิชาส่งข้อมูลรายงานตามแบบรายงานข้อมูลการจัดการอาชีวศึกษา ตามแนวทางการ
จัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ครบทุกสาขาวิชาแล้ว
ให้คณะกรรมการกลั่นกรองระดับสถานศึกษา ดำเนินการตรวจสอบข้อมูลและพิจารณาตามเกณฑ์การจัดกลุ่ม
สาขาวิชาตามแนวทางการจัดสถานศึกษาภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center)
(แบบที่ 3.1) และบันทึกการตรวจสอบตามแบบการตรวจสอบ (แบบที่ 3) พร้อมทั้งสรุปผลการพิจารณาว่า
สาขาวชิ าอยู่ในกลุ่มใด ตามประกาศสำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

เมื่อจัดกลุ่มสาขาวิชาตามแนวทางฯที่กำหนดแล้ว ให้คณะกรรมการกลั่นกรอง ระดับสาขาวิชา
ดำเนินการประเมินคุณภาพ ตามตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมิน (แบบที่ 4.1) และบันทึกผลการประเมินตาม
แบบประเมนิ (แบบที่ 4) พรอ้ มท้งั สรุปผลการประเมินคุณภาพของแตส่ าขาวิชา

13

5. คณะกรรมการกลั่นกรอง ระดับสถานศึกษา ดำเนินการสรุปผลการพิจารณา การจัดกลุ่ม
สาขาวิชา ตามแนวทางการจัดสถานศึกษาภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent
Center)

เมื่อคณะกรรมการกลั่นกรองครบทุกสาขาวิชา ให้ดำเนินการจัดทำสรุปผลการพิจารณา การจัดกลุ่ม
สาขาวิชา ตามแนวทางการจัดสถานศึกษาภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center)
ตาม(แบบที่ 2)

6. คณะกรรมการกลั่นกรอง ระดับสถานศึกษา นำผลการจัดกลุ่มสาขาวิชา ตามแนวทาง
การจัดสถานศึกษาภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) เสนอต่อ
คณะกรรมการบริหารสถานศกึ ษา

คณะกรรมการกลั่นกรอง นำสรุปผลการพิจารณาการจัดกลุ่มสาขาวิชา ตามแนวทางการจัด
สถานศกึ ษาภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) เสนอตอ่ คณะกรรมการบริหาร
สถานศึกษา เพ่ือเห็นชอบการจัดกล่มุ สาขาวชิ าต่อไป

7. ผู้อำนวยการสถานศึกษารับรองผลการจัดกลุ่มสาขาวิชา ตามแนวทางการจัดสถานศึกษา
ภายใตศ้ ูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center)

เมื่อคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาเห็นชอบการจัดกลุ่มสาขาวิชาแล้ว ให้ผู้อำนวยการสถานศึกษา
รับรองผลการจัดกลุ่มสาขาวิชา ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง แนวทางการ
จดั การสถานศกึ ษา ภายใตศ้ นู ยค์ วามเปน็ เลิศทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) ตาม (แบบท่ี 1)

8. สถานศึกษาจัดส่งผลการจัดกลุ่มสาขาวิชา และข้อมูลประกอบสำหรับสาขาวิชาที่มีผลการ
พิจาณาอยู่ในกลุ่มความเป็นเลิศ (Excellent Center) ให้สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผ่าน
ทาง AMS e - Office

สถานศึกษาจัดส่งข้อมูลผลการจัดกลุ่มสาขาวิชา ตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์
ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และข้อมูลประกอบเฉพาะสาขาวิชาที่มีผลการ
พิจารณาอยู่ในกลุ่มความเปน็ เลิศ (Excellent Center) ให้สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยจัดชุด
เอกสารตามลำดบั ดงั นี้

แบบที่ 1 แบบสรุปผลการพิจารณาการจัดกลุ่มสาขาวิชาตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้
ศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center)

แบบท่ี 2 ตารางสรุปผลการพจิ ารณาการจดั กล่มุ สาขาวิชา ตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้
ศนู ย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center)

แบบที่ 3 แบบตรวจสอบสำหรับคณะกรรมการกลั่นกรองระดับสถานศึกษา ตามแนวทางการจัดการ
สถานศึกษา ภายใต้ศนู ยค์ วามเป็นเลศิ ทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center)

แบบที่ 4 แบบประเมินคุณภาพตามแนวทางการจดั การสถานศกึ ษา ภายใต้ศนู ยค์ วามเปน็ เลิศทางการ
อาชีวศกึ ษา (Excellent Center)

แบบที่ 5 แบบรายงานข้อมูลการจัดการอาชีวศึกษาตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์
ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) (เฉพาะสาขาท่ีมีผลการพิจารณาอยู่ในกลุ่มความเป็น
เลศิ (Excellent Center))

14

แบบที่ 6 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำข้อมูลการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศ
ทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center)

ผา่ นชอ่ งทาง AMS e-Office ภายในวนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2565

แผนการดำเนนิ งาน
สำนกั งานคณะกรรมการอาชวี ศึกษามแี ผนในการดำเนินงานโครงการยกระดบั คุณภาพอาชีวศกึ ษาให้มี

ศักยภาพในการแข่งขันและตอบโจทย์การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทย (อาชีวศึกษายกกำลังสอง)
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดังน้ี

ลำดบั กจิ กรรม ระยะเวลาเรม่ิ ระยะเวลา
10 พ.ค. 65 ส้นิ สดุ
1 สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาแจง้ ประกาศใหส้ ถานศึกษาทราบ
และดำเนนิ การ 12 พ.ค. 65

2 สถานศึกษาดำเนนิ การประชมุ คณะผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา 17 พ.ค. 65 18 พ.ค. 65
เพื่อประชุมชแี้ จงนโยบายการจดั การสถานศึกษาภายใต้ ศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ
ทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center)

3 สถานศกึ ษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจัดทำคำสัง่ แตง่ ตัง้ 18 พ.ค. 65 20 พ.ค. 65
คณะกรรมการดำเนนิ งานระดบั สาขาวิชา และคำส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการ
กล่ันกรอง ระดับสถานศกึ ษา

4 คณะกรรมการดำเนนิ งานระดบั สาขาวิชา ดำเนินการจัดทำข้อมลู ตามแบบ 18 พ.ค. 65 23 พ.ค. 65
รายงานขอ้ มลู การจดั การอาชวี ศกึ ษาตามแนวทางการจดั การสถานศกึ ษา 25 พ.ค. 65
ภายใต้ศนู ย์ความเปน็ เลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) 27 พ.ค. 65
27 พ.ค. 65
5 คณะกรรมการกลัน่ กรอง ระดบั สถานศึกษา ตรวจสอบขอ้ มลู พจิ ารณาตาม 20 พ.ค. 65 27 พ.ค. 65
เกณฑก์ ารจัดกลมุ่ สาขาวิชา และประเมนิ ระดบั คุณภาพของสาขาวชิ า
ตามแนวทางการจดั สถานศกึ ษาภายใตศ้ นู ยค์ วามเปน็ เลิศทางการอาชีวศกึ ษา
(Excellent Center)

6 คณะกรรมการกลนั่ กรอง ระดบั สถานศึกษา ดำเนินการสรุปผลการพิจารณา 25 พ.ค. 65
การจัดกลมุ่ สาขาวิชา ตามแนวทางการจัดสถานศึกษาภายใตศ้ ูนยค์ วามเปน็ เลิศ
ทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center)

7 คณะกรรมการกลน่ั กรอง ระดับสถานศึกษา นำผลการจดั กลุม่ สาขาวิชา ตาม 25 พ.ค. 65
แนวทางการจดั สถานศกึ ษาภายใตศ้ ูนยค์ วามเปน็ เลิศทางการอาชีวศกึ ษา
(Excellent Center) เสนอต่อ คณะกรรมการบรหิ ารสถานศึกษา

8 ผู้อำนวยการสถานศกึ ษารบั รองผลการจดั กลุม่ สาขาวชิ า ตามแนวทางการจดั
สถานศกึ ษาภายใตศ้ นู ย์ความเปน็ เลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center)

15

ลำดับ กิจกรรม ระยะเวลาเรม่ิ ระยะเวลา
สิ้นสดุ
9 สถานศกึ ษาจดั สง่ ผลการจดั กลมุ่ สาขาวชิ า และขอ้ มลู ประกอบสำหรบั สาขาวิชา
ทีม่ ผี ลการพจิ ารณาอยูใ่ นกลุ่มความเป็นเลศิ (Excellent Center) ใหส้ ำนักงาน 31 พ.ค. 65
คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ผา่ นทาง AMS e - Office
2 ม.ิ ย. 65
10 ฝา่ ยเลขานุการฯ รวบรวมเอกสารจากสถานศกึ ษา ดำเนนิ การสรุปขอ้ มูลและ 31 พ.ค. 65
จำแนกสาขาวชิ าตามกลุ่มอาชีพในอตุ สาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (S- 10 ม.ิ ย. 65
Curve) พร้อมทัง้ นำเสนอตอ่ คณะอนุกรรมการกลั่นกรอง ระดับสำนกั งาน
คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา 14 ม.ิ ย. 65
24 ม.ิ ย. 65
11 คณะอนกุ รรมการกลัน่ กรอง ระดบั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา 6 ม.ิ ย. 65
พจิ ารณาคดั เลอื กสถานศึกษาในสงั กดั แต่ละกลมุ่ ให้เป็นไปตามแนวทางที่ 1 ก.ค. 65
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษากำหนด

12 สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา นำผลการพจิ ารณาคดั เลือก
สถานศึกษา กล่มุ ความเป็นเลิศ (Excellent Center) เสนอต่อรฐั มนตรวี า่ การ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

13 สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาประกาศผลการคัดเลอื กสถานศึกษา
ภายใต้โครงการพัฒนาศูนยค์ วามเปน็ เลศิ ทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent
Center)

14 สถานศกึ ษาท่ีไดร้ ับคดั เลือกภายใตโ้ ครงการพฒั นาศนู ยค์ วามเป็นเลศิ ทางการ
อาชวี ศึกษา (Excellent Center) ดำเนนิ การจดั ตัง้ ศูนยภ์ ายในโครงสรา้ งการ
บริหารสถานศกึ ษา (เทียบเท่างาน /แผนก ) และแตง่ ตง้ั บคุ ลากรประจำศูนย์
ความเปน็ เลศิ ทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center)

ภาคผนวก

17

แบบท่ี 1

แบบสรปุ ผลการพจิ ารณาการจัดกลมุ่ สาขาวชิ าและระดบั คณุ ภาพ
ตามแนวทางการจดั การสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลศิ ทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center)

ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

----------------------------------------------------

ตามที่ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้ประกาศเรื่อง แนวทางการจัดการสถานศึกษา
ภายใตศ้ ูนย์ความเปน็ เลศิ ทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) เพ่อื เปน็ แนวทางการบริหารจัดการสถานศึกษา
อาชีวศกึ ษาภาครัฐและภาคเอกชน โดยแบ่งได้ 3 กลมุ่ คือ กล่มุ ทวั่ ไป (Standard) กล่มุ เชย่ี วชาญเฉพาะ (Expert)
และกลุ่มความเป็นเลิศ (Excellent Center) ซึ่งการพิจารณาคัดเลือกสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐและ
ภาคเอกชนในแต่ละกลุ่ม เป็นไปตามแนวทางที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด
โดยคำนึงถึงความสอดคล้องกับทิศทางการผลิตและพัฒนากำลังคนในสาขาวิชาที่เป็นเป้าหมายการพัฒนา
อุตสาหกรรมของประเทศตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและความเห มาะสมกับยุทธศาสตร์การพัฒนา
เชงิ พน้ื ที่ เพ่อื เพ่ิมศกั ยภาพและความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศตอ่ ไป นัน้

บัดนี้ คณะกรรมการกลั่นกรองได้พิจารณาตามหลักเกณฑ์แบบประเมิน ฯ เรียบร้อยแล้ว จึงขอประกาศ

ตามคณุ ลักษณะ จำนวน ....... กลมุ่ ดงั น้ี

1. กลมุ่ ความเปน็ เลศิ (Excellent Center)

2.1 สาขาวชิ า ระดบั คุณภาพ ...............

2.2 สาขาวชิ า ระดับคุณภาพ ...............

2. กลมุ่ เชี่ยวชาญเฉพาะ (Expert)

3.1 สาขาวิชา ระดบั คุณภาพ ...............

3.2 สาขาวชิ า ระดบั คุณภาพ ...............

3.3 สาขาวชิ า ระดับคุณภาพ ...............

3. กลมุ่ ท่วั ไป (Standard)

4.1 สาขาวชิ า ระดับคุณภาพ ...............

4.2 สาขาวิชา ระดับคุณภาพ ...............

4.3 สาขาวิชา ระดบั คุณภาพ ...............

4.4 สาขาวิชา ระดับคุณภาพ ...............

ทั้งนี้ ต้งั แต่ บดั นี้เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ .......เดือน................พ.ศ. 2565

(..............................................)
ผอู้ ำนวยการวิทยาลยั ...............................

ตารางสรุปผลการพจิ ารณาก

ตามแนวทางการจัดการสถานศกึ ษา ภายใต้ศนู ย์ความเ

ประจำปีงบประมาณ

วิทยาลัย………………………………………………

Standard Exper

1.สาขาวชิ า…………………...............................………………… 1.สาขาวชิ า………………….............
ระดับคุณภาพ ................................................................... ระดบั คุณภาพ ............................
2.สาขาวิชา……………………………...............................……… 2.สาขาวชิ า…………………………….
ระดบั คุณภาพ ................................................................... ระดบั คุณภาพ ............................
3.สาขาวิชา…………………………...............................………… 3.สาขาวชิ า…………………………....
ระดับคุณภาพ ...................................................................
4.สาขาวิชา……………………………...............................………
ระดับคุณภาพ ...................................................................

........................................... ...........................................
(.......................................................) (............................................. .........)

คณะกรรมการกล่นั กรอง คณะกรรมการกลน่ั กรอง

ผู้รบั รอง
(..........................
ผ้อู ำนวย

การจัดกลุม่ สาขาวชิ า 18
เปน็ เลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center)
ณ พ.ศ. 2565 แบบท่ี 2
………………………………………………

rt Excellent

...................………………… 1.สาขาวชิ า…………………...............................…………………
........................................ ระดับคุณภาพ ...................................................................
...............................……… 2.สาขาวชิ า……………………………...............................………
........................................
............................…………

........................................... ...........................................
(.....................................................) (........................................ ...............)

คณะกรรมการกลน่ั กรอง คณะกรรมการกลนั่ กรอง

.........................................)
ยการสถานศกึ ษา

19

แบบตรวจสอบ แบบท่ี 3

สำหรับคณะกรรมการกลัน่ กรอง ระดับสถานศึกษา

ตามแนวทางการจดั การสถานศกึ ษา ภายใต้ศูนยค์ วามเป็นเลศิ ทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center)

--------------------------------------------------

ชื่อสถานศึกษา ...................................................................................................................................................

ประเภทสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษา  รฐั  เอกชน

ระดับ  ปวช.  ปวส.  ทล.บ.

สาขาวิชา…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
สาขางาน……………………………………………………………………………………………………………………………………………

รายการประเมนิ

1. ความร่วมมอื กบั สถานประกอบการ
 ไมม่ ีความรว่ มมอื
 มีความร่วมมอื
 ในพน้ื ทีบ่ รกิ าร
 นอกพน้ื ท่บี รกิ าร/นอกจังหวดั
 ต่างประเทศ

2. ความรว่ มมอื กับสถานประกอบการในการจดั การศึกษาระบบทวภิ าคี
 ไม่มคี วามร่วมมอื
 มคี วามร่วมมอื กับสถานประกอบการอย่างเข้มข้น
 1.1 การพฒั นาหลกั สูตร
 1.2 การพัฒนาครู
 1.3 การพฒั นานักเรียนนักศึกษา

 1.4 การสนับสนุนทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษา

3. อตั ราสว่ นครตู ่อนกั เรียนนกั ศกึ ษา

 3.1 มีข้อมลู ครู
 3.2 อัตราส่วน ครู : นกั เรียน นกั ศึกษา

อัตราสว่ น ........... : ..............

4. ครูมีความสามารถในการผลิตสื่อดิจิทัล (Digital Content) และจัดการเรียนการสอนด้วยแพลตฟอร์มดิจิทัล

เพอื่ การเรียนรู้ (Digital Learning Platform) อยา่ งมีคุณภาพ
 ไมม่ ี
 มี จำนวน……….คน ……………………รายวชิ า

20

5. ครูมีใบรับรองผลการประเมินสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพจากสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ
หรือ มาตรฐานฝีมือแรงงานจากสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือ ใบอนุญาตประกอบอาชีพ (License)
จากหนว่ ยงานท่มี ีอำนาจในการรับรองมาตรฐานอาชีพ

 ไม่มี
 มี จำนวน……….คน

6. โครงสรา้ งพืน้ ฐานและสภาพแวดล้อมทางการศึกษา
6.1 ครภุ ณั ฑแ์ ละอุปกรณ์
 ไม่มี
 มี
 ผลการคำนวณ ไม่ เพยี งพอ
 ผลการคำนวณ เพียงพอ
6.2 นำระบบเครอื ขา่ ยอจั ฉริยะ และเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล เข้ามาใชใ้ นสถานศกึ ษา
 ไมม่ ี
 มี

6.3 แพลตฟอร์มดจิ ทิ ลั เพ่ือการเรยี นรู้ (Digital Learning Platform)
 ไม่มี
 มี

6.4 มศี ักยภาพในการพัฒนาสกู่ ารเปน็ SMART College

 ไม่มี
 มี

7. การจัดการอาชวี ศึกษาเพ่อื ผลติ และพฒั นากำลังคน
 7.1 ตอบสนองความต้องการของชุมชน
 7.2 ตอบสนองทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ (S-Curve)

8. ความร่วมมือกบั สถาบันการศึกษาอาชีวศกึ ษา/อดุ มศึกษาในประเทศ
 ไมม่ ีความรว่ มมอื
 มคี วามร่วมมือ

9. ความร่วมมือกบั สถาบันการศึกษาอาชีวศกึ ษา/อุดมศึกษาต่างประเทศ
 ไมม่ ีความร่วมมือ
 มคี วามร่วมมือ

10. การพัฒนาหลกั สตู รให้สอดคล้องกบั มาตรฐานอาชพี

10.1 การพัฒนาหลกั สตู รรว่ มกับสถานประกอบการ
 ไม่มี
 มี

21

10.2 ความเชอื่ มโยงสมรรถนะอาชีพกบั ระบบคณุ วฒุ ิทางการศกึ ษา
 ไม่มี
 มี

11. นวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้
 ไมม่ ี
 มี

12. ระบบสะสมหนว่ ยการเรียนรู้ (Credit Bank)
 ไมม่ ี
 มี

13. การเสริมสร้างให้ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษามีสมรรถนะและคุณลักษณะตามความต้องการ
ของสถานประกอบการ และจบแลว้ ต้องมงี านทำ

13.1 โครงการเสริมสรา้ งสมรรถนะผ้เู รียน
 ไมม่ ี
 มี

13.2 การทดสอบมาตรฐานอาชีพของนักเรยี นนักศึกษา
 ไม่มี
 มี

14. ขอ้ มูลการมงี านทำของผู้สำเรจ็ การศึกษา (ปีการศกึ ษา 2562)

ภาวะการมงี านทำร้อยละ ........................

15. บรบิ ททางการศกึ ษาและบริบทเชงิ พื้นท่ี ทเ่ี อ้อื ต่อการจดั การเรยี นการสอนในสาขาวิชา
............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................................................

สรุปผลการพจิ ารณา  Standard

 Expert
 Excellent Center

................................................. ................................................... ...........................................
(....................................................) (..................................................) (..............................................)

................................................. ...................................................
(....................................................) (..................................................)

22

แบบที่ 3.1

เกณฑก์ ารตรวจสอบ สำหรับการจดั กลมุ่ สาขาวิชา

ตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใตศ้ นู ย์ความเปน็ เลิศทางการอาชีวศกึ ษา

(Excellent Center)

รายการประเมนิ Standard Expert Excellent

1.ความรว่ มมือกบั สถาน - มีรายการประเมิน ขอ้ 1 - มรี ายการประเมนิ ข้อ 1 - มรี ายการประเมนิ ข้อ 1
ประกอบการ “มคี วามร่วมมอื ” “มคี วามรว่ มมอื ” “มีความรว่ มมือ”

- มรี ายการประเมนิ ข้อ 2 - มรี ายการประเมนิ
มีความร่วมมอื กบั สถาน ขอ้ 2 มีความรว่ มมอื กบั สถาน
ประกอบการอยา่ งเขม้ ขน้ ประกอบการอยา่ งเขม้ ขน้ (ครบ
(ไม่ครบทุกรายการ) ทุกรายการ) ประกอบดว้ ย

• ข้อ 1.1

• ขอ้ 1.2

• ข้อ 1.3

• ขอ้ 1.4

2. ครู - มีรายการประเมิน ข้อ 3.1 - มีรายการประเมิน ขอ้ 3.1 - มรี ายการประเมนิ ข้อ3.1

- มรี ายการประเมิน ข้อ 3.2 - มรี ายการประเมิน ขอ้ 3.2
มจี ำนวนอตั ราครูตอ่ นกั เรียน มจี ำนวนอัตราครตู อ่ นักเรยี น
นักศกึ ษาเกิน นักศึกษาเกนิ กว่าเกณฑ์กำหนด
กวา่ เกณฑก์ ำหนดหรือมากกวา่ หรอื มากกวา่
เช่น 20:1 เช่น 20:1
หรือ 19 :1 หรือ 19 :1
และมีรายการประเมิน ข้อ 2 และมรี ายการประเมิน ข้อ2
รายการที่ 1.2 การพัฒนาครู รายการที่ 1.2 การพัฒนาครู
หวั ขอ้ การฝึกประสบการณ์ หัวข้อการฝึกประสบการณ์
ทักษะวชิ าชพี ในสถาน ทกั ษะวชิ าชพี ในสถาน
ประกอบการ ประกอบการ

-มรี ายการประเมิน ข้อ 4

-มีรายการประเมิน ข้อ 5

รายการประเมิน Standard Expert 23
Excellent
3.โครงสรา้ งพน้ื ฐานและ - มีรายการประเมนิ ข้อ 6.1
สภาพแวดล้อมทางการศกึ ษา - มรี ายการประเมิน ข้อ 6.1 และ - มีรายการประเมิน ข้อ6.1 และมี
มผี ลการคำนวณความเพียงพอ ผลการคำนวณความเพยี งพอ
ขอครุภณั ฑ์ และอปุ กรณ์ ต่อ ของครุภณั ฑแ์ ละอปุ กรณ์ ต่อ
จำนวนนกั เรยี น นกั ศึกษา ท่ีเข้า จำนวนนกั เรียน นกั ศกึ ษา ท่เี ขา้
ใช้บริการต่อครง้ั ตามบรบิ ท ใชบ้ ริการต่อครง้ั ตามบรบิ ท
สาขาทจ่ี ดั การเรยี นการสอน สาขาท่จี ดั การเรยี นการสอน

- มีรายการประเมิน ขอ้ 6.2

- มรี ายการประเมิน ข้อ 6.3

4. การจัดการอาชีวศกึ ษาเพอ่ื - มรี ายการประเมิน ขอ้ 7.1 - มรี ายการประเมนิ ขอ้ 7.1 - มรี ายการประเมิน ขอ้ 7.2
ผลติ และพัฒนากำลงั คน -
5.ความรว่ มมอื กบั - มรี ายการประเมนิ ขอ้ 8 - มรี ายการประเมนิ ขอ้ 8
สถาบนั การศกึ ษา อดุ มศกึ ษา
ในประเทศหรอื ตา่ งประเทศ - มีรายการประเมิน ข้อ 9

6.การพัฒนาหลกั สูตร - - มรี ายการประเมนิ - มีรายการประเมนิ
ข้อ 10 (10.1) ขอ้ 10 (10.1)

- มรี ายการประเมนิ
ข้อ 10 (10.2)

7.การเสรมิ สรา้ งใหผ้ เู้ รียนและ - - มรี ายการประเมินขอ้ 11
ผูส้ ำเร็จการศึกษามสี มรรถนะ - - มรี ายการประเมนิ ขอ้ 13
ตามมาตรฐานอาชพี -
- - มรี ายการประเมนิ ข้อ 14
8.ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาครู - ภาวะการมีงานทำ
วชิ าชีพ น้อยกว่า รอ้ ยละ 80
9.ศูนยป์ ระเมนิ สมรรถนะบคุ คล
ตามมาตรฐานอาชีพ --
10. วสิ าหกจิ เพ่อื การเรียนรู้ใน
สถานศกึ ษา --

--

แบบประเมินคณุ ภาพตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศนู ย์ความเป็นเลิศ 24
ทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center)
แบบที่ 4

กลุม่ ท่ัวไป (Standard)

สถานศกึ ษา...............................................................................
สาขาวิชา........................................................................

ตัวช้วี ัด รายการดำเนินงาน เกณฑ์การให้ ระดบั คะแนน สรปุ

คะแนน 0 1 2 3 4 คะแนน

1.1 รปู แบบการจัด 1. มีการจดั การเรียนการสอนใน 0 – ไม่มีการดำเนินงาน

การเรียนการสอน ระบบ 1 - มีการดำเนนิ งาน 1

2. มีการใช้หลกั สูตรที่เปดิ สอนตาม รายการ

เกณฑ์ท่ตี ้นสังกัดกำหนด 2 - มีการดำเนนิ งาน 2

3. มกี ารเพ่มิ เติมคำอธบิ ายรายวชิ า รายการ

ในหลักสูตรให้มีความทนั สมัย 3 - มีการดำเนินงาน 3

4. มกี ารประเมินการใช้หลกั สตู ร รายการ

4 – มกี ารดำเนนิ งาน

ครบทกุ รายการ

1.2 ครวู ชิ าชพี 1. มวี ฒุ กิ ารศกึ ษาวิชาชพี ตรงตาม 0 - ไม่มีการดำเนินงาน

สาขาวิชาทส่ี อน 1 - มกี ารดำเนินงาน 1-

2. ได้รบั การพฒั นาตามเกณฑ์ท่ี 2 รายการ

ก.ค.ศ. กำหนด 2 - มีการดำเนินงาน 3

3. มกี ารสร้างชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ รายการ

ทางวชิ าชีพ (PLC) ในสาขาวิชา 3 - มีการดำเนินงาน 4

4. มกี ารจดั ทำแผนการสอน รายการ

5.มีการจัดทำวจิ ัยในชัน้ เรยี น 4 - มีการดำเนนิ งาน

ครบทุกรายการ

1.3 โครงสรา้ งพืน้ ฐาน 1. มหี ้องเรียน หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 0 – ไม่มกี ารดำเนินงาน

ครภุ ณั ฑ/์ อุปกรณ์ ครภุ ณั ฑ/์ อุปกรณ์ สื่อ ในการจัด 1 - มกี ารดำเนินงาน 1

และสอ่ื การสอน การเรียนการสอน รายการ

2. มหี ้องเรียน ห้องปฏบิ ตั ิการ 2 - มกี ารดำเนินงาน 2

สะอาด และเป็นระเบยี บ พรอ้ มใช้ รายการ

งาน 3 - มีการดำเนนิ งาน 3

3. มคี รุภัณฑ/์ อุปกรณ์ สือ่ ที่ รายการ

สามารถใชง้ านได้ 4 – มกี ารดำเนนิ งาน

4. มีการดูแล ซ่อมแซม/ปรบั ปรุง ครบทุกรายการ

ครภุ ณั ฑ/์ อุปกรณ์ สอ่ื ให้

สามารถ

ใชง้ านได้ตามปกติ

1.4 การผลิตและ 1. มกี ารพัฒนาผเู้ รียนให้มี 0 - ไม่มีการดำเนนิ งาน

พฒั นากำลังคน สมรรถนะตามที่หลักสตู ร 1 - มีการดำเนนิ งาน

กำหนด 1-2 รายการ

2. มกี ารสำรวจความตอ้ งการของ 2 - มกี ารดำเนินงาน 3

ชมุ ชนก่อนเปิดสอนตาม รายการ

หลักสูตร 3 - มีการดำเนนิ งาน 4

3. มกี ารจดั กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร รายการ

ใหผ้ เู้ รียนมคี ณุ ลกั ษณะตามท่ี 4 - มกี ารดำเนินงาน

ชุมชนตอ้ งการ ครบทกุ รายการ

25

ตวั ช้ีวดั รายการดำเนนิ งาน เกณฑ์การให้ ระดบั คะแนน สรุป

คะแนน 0 1 2 3 4 คะแนน

4. มกี ารประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี

5. มกี ารประเมนิ ความพงึ พอใจของ

ชมุ ชนต่อผู้เรียนและผสู้ ำเรจ็

การศกึ ษา

1.5 การรบั รองคณุ ภาพ 1. มีการดำเนินการตามมาตรฐาน 0 - ไม่มกี ารดำเนินงาน

การอาชวี ศกึ ษา 1 - มกี ารดำเนนิ งาน

2. มกี ารวางแผนการดำเนนิ งาน 1-2 รายการ

อย่างมคี ณุ ภาพ 2 - มกี ารดำเนินงาน

3. มกี ารดำเนนิ งานตามแผนท่ี 3-4 รายการ

กำหนด 3 - มกี ารดำเนนิ งาน 5

4. มกี ารกำกับตดิ ตามการ รายการ

ดำเนินงานทกุ ข้นั ตอน 4 - มีการดำเนนิ งาน

5. มกี ารรายงานผลการดำเนินงาน ครบทกุ รายการ

ตอ่ ผู้ทเี่ กยี่ วขอ้ ง

6. มกี ารจัดทำรายงานการประเมิน

ตนเอง ตามมาตรฐานการ

อาชีวศึกษา อยา่ งต่อเนอ่ื ง

รวมคะแนน

ค่าคะแนนเฉล่ยี

สรปุ ผลการประเมนิ  ดี  ปานกลาง  พอใช้
 ดมี าก

เกณฑก์ ารประเมนิ 3.51 - 4.00 หมายถึง มีผลการประเมินอยใู่ นระดับ ดีมาก
ค่าคะแนนเฉลย่ี 2.51 - 3.50 หมายถึง มผี ลการประเมินอย่ใู นระดบั ดี
คา่ คะแนนเฉลยี่ 1.51 - 2.50 หมายถึง มผี ลการประเมินอยใู่ นระดบั ปานกลาง
ค่าคะแนนเฉลย่ี 1.00 - 1.50 หมายถงึ มีผลการประเมนิ อยู่ในระดับ พอใช้
คา่ คะแนนเฉลีย่

(....................................) (....................................) (....................................) (....................................)

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

(.........................................)
ประธาน

แบบประเมนิ คุณภาพตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศ 26
ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center)
แบบที่ 4
กลุ่มเชี่ยวชาญเฉพาะ (Expert)

สถานศึกษา...............................................................................
สาขาวิชา........................................................................

ตวั ชวี้ ัด รายการดำเนนิ งาน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ระดับคะแนน สรุป

0 1 2 3 4 คะแนน

2.1 รูปแบบการจดั การ 1. มีการจดั การเรียนการสอนใน 0 - ไมม่ ีการดำเนินงาน

เรยี นการสอน ระบบ 1 - มกี ารดำเนนิ งาน 1-2

2. มีการจัดการเรยี นการสอนระบบ รายการ

ทวภิ าคี 2 - มีการดำเนินงาน 3-4

3. มีการใช้หลกั สูตรท่ีเปดิ สอนตาม รายการ

เกณฑ์ทต่ี น้ สังกัดกำหนด 3 - มกี ารดำเนนิ งาน 5

4. มีการเพิม่ เติมคำอธิบายรายวิชา รายการ

ในหลกั สตู รใหม้ ีความทนั สมัย 4 - มีการดำเนนิ งานครบ

5. มกี ารจัดทำแผนการฝึกอาชีพ ทกุ รายการ

รว่ มกบั สถานประกอบการ

6. มีการประเมนิ ผลหลักสตู ร

รายวิชา

2.2 ครูวชิ าชีพ 1. มีจำนวนครวู ิชาชีพเพยี งพอต่อ 0 - ไมม่ กี ารดำเนินงาน

การจัดการเรียนการสอนอยา่ งมี 1 - มกี ารดำเนินงาน 1-2

คณุ ภาพ รายการ

2. มวี ุฒิการศึกษาวชิ าชพี ตรงตาม 2 - มกี ารดำเนนิ งาน 3-4

สาขาวชิ าท่ีสอน รายการ

3. ไดร้ ับการพฒั นาตามเกณฑ์ท่ี 3 - มกี ารดำเนนิ งาน 5-6

ก.ค.ศ. กำหนด รายการ

4. ไดร้ ับการฝึกประสบการณ์ทกั ษะ 4 - มีการดำเนินงานครบ

วชิ าชีพในสถานประกอบการ ทุกรายการ

5. มกี ารสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้

ทางวชิ าชีพ (PLC) ในสาขาวชิ า

6. มีการจดั ทำแผนการสอน/

แผนการฝึกอาชีพ

7.มีการจัดทำวจิ ยั ในชัน้ เรยี น

2.3 โครงสร้างพื้นฐาน 1. มีห้องเรียน หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 0 - ไมม่ กี ารดำเนนิ งาน

ครุภณั ฑ์/อปุ กรณ์ ครภุ ณั ฑ/์ อปุ กรณ์ สอ่ื ในการ 1 - มกี ารดำเนินงาน 1-2

และสื่อการสอน จดั การเรยี นการสอน รายการ

2. มีหอ้ งเรยี น หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร 2 - มีการดำเนินงาน 3

สะอาด และเปน็ ระเบียบ รายการ

พรอ้ มใชง้ าน 3 - มีการดำเนนิ งาน 4

3. มีครภุ ณั ฑ์/อุปกรณ์ ส่อื ท่ี รายการ

สามารถใช้งานได้ 4 - มีการดำเนนิ งานครบ

4. มีครุภณั ฑ์/อปุ กรณ์ ส่ือ ท่ี ทกุ รายการ

เพยี งพอต่อการจัดการเรยี นการ

สอน

5. มีการดูแล ซอ่ มแซม/ปรับปรงุ

ครภุ ณั ฑ/์ อปุ กรณ์ สอ่ื ให้

สามารถใชง้ านไดต้ ามปกติ

27

ตัวชวี้ ัด รายการดำเนนิ งาน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ระดบั คะแนน สรุป

0 1 2 3 4 คะแนน

2.4 การผลิตและพฒั นา 1. มีการพฒั นาผู้เรียนใหม้ ี 0 - ไมม่ ีการดำเนนิ งาน

กำลงั คน สมรรถนะตามที่หลกั สตู รกำหนด 1 - มีการดำเนนิ งาน 1-2

2. มกี ารสำรวจความต้องการของ รายการ

ชุมชนกอ่ นเปิดสอนตาม 2 - มีการดำเนินงาน 3

หลักสตู ร รายการ

3. มกี ารจัดกิจกรรมเสรมิ หลักสูตร 3 - มีการดำเนนิ งาน 4

ใหผ้ ู้เรยี นมีคณุ ลักษณะตามที่ รายการ

ชมุ ชนตอ้ งการ 4 - มีการดำเนนิ งานครบ

4. มกี ารประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ ทกุ รายการ

5. มกี ารประเมนิ ความพงึ พอใจของ

ชมุ ชนต่อผเู้ รียนและผสู้ ำเรจ็

การศกึ ษา

2.5 การรบั รองคณุ ภาพ 1. มีการดำเนนิ การตามมาตรฐาน 0 - ไม่มีการดำเนินงาน

การอาชวี ศกึ ษา 1 - มกี ารดำเนินงาน 1-2

2. มีการวางแผนการดำเนินงาน รายการ

อยา่ งมคี ุณภาพ 2 - มกี ารดำเนนิ งาน 3-4

3. มีการดำเนินงานตามแผนที่ รายการ

กำหนด 3 - มีการดำเนินงาน 5

4. มีการกำกับตดิ ตามการ รายการ

ดำเนินงานทุกขัน้ ตอน 4 - มีการดำเนินงานครบ

5. มกี ารรายงานผลการดำเนินงาน ทกุ รายการ

ตอ่ ผูท้ ่เี กี่ยวขอ้ ง

6. มีการจัดทำรายงานการประเมนิ

ตนเอง ตามมาตรฐานการ

อาชีวศกึ ษา อยา่ งต่อเนอ่ื ง

2.6 ความรว่ มมือกบั 1. มบี นั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมือ 0 - ไม่มกี ารดำเนนิ งาน

สถาบันการศึกษา 2. มีแผนการพฒั นาครู 1 - มีการดำเนนิ งาน 1-2

ในประเทศ 3. มีแผนการพฒั นานกั เรียน รายการ

นกั ศกึ ษา 2 - มกี ารดำเนินงาน 3

4. มกี ารดำเนนิ งานตามข้อตกลง รายการ

ความร่วมมอื อยา่ งต่อเนื่อง 3 - มีการดำเนนิ งาน 4

5. มกี ารติดตามการดำเนนิ งาน รายการ

ตามขอ้ ตกลงความร่วมมอื 4 - มีการดำเนินงานครบ

ทกุ รายการ

2.7 พัฒนาหลักสตู ร 1. มกี ารพัฒนาหลกั สตู รรายวชิ า 0 – ไม่มกี ารดำเนนิ งาน

ร่วมกับสถาน ร่วมกบั สถานประกอบการ 1 – มกี ารดำเนินงาน 1

ประกอบการ 2. มีการจดั แผนการเรยี นรว่ มกบั รายการ

สถานประกอบการ 2 – มกี ารดำเนินงาน 2

3. มีการศึกษาความคาดหวังของ รายการ

สถานประกอบการตอ่ สมรรถนะ 3 – มีการดำเนินงาน 3

ผู้เรียนและผ้สู ำเร็จการศึกษา รายการ

4. มีการประเมนิ การใชห้ ลกั สูตร 4 – มีการดำเนินงาน

ครบทกุ รายการ

2.8 บริบทเชงิ พน้ื ที่ 1. มีสถานประกอบการจำนวนมาก 0 - ไมม่ กี ารดำเนนิ งาน

ที่เอ้อื ตอ่ การ ในพ้นื ท่ี 1 - มกี ารดำเนินงาน 1-3

จดั การอาชวี ศึกษา 2. มเี ขตอตุ สาหกรรม/นคิ ม รายการ

อุตสาหกรรมในพ้นื ท่ี 2 - มกี ารดำเนนิ งาน 4-5

3. มสี ถาบนั อุดมศึกษาในพืน้ ท่ี รายการ

28

ตวั ชี้วัด รายการดำเนนิ งาน เกณฑก์ ารให้คะแนน ระดับคะแนน สรุป
1234 คะแนน
4. มีศนู ย์การเรียนรู้ทางวิชาชพี ใน 3 - มกี ารดำเนินงาน 6-7 0
พ้นื ท่ี รายการ รวมคะแนน

5. มที ำเลที่ต้ังท่เี หมาะสม 4 - มกี ารดำเนนิ งานครบ
6. มกี ารคมมนาคมทสี่ ะดวก ทกุ รายการ
7. ชมุ ชนให้ความสำคญั กับการ

อาชีวะและเทคนิคศกึ ษา
8. ขนาดพื้นทภ่ี ายในสถานศกึ ษา

สามารถรองรับการขยายกำลัง
การผลติ และพฒั นากำลงั คนใน
อนาคต

คา่ คะแนนเฉลยี่

สรปุ ผลการประเมิน  ดี  ปานกลาง  พอใช้
 ดีมาก

เกณฑก์ ารประเมนิ 3.51 - 4.00 หมายถงึ มผี ลการประเมนิ อย่ใู นระดับ ดีมาก
คา่ คะแนนเฉลยี่ 2.51 - 3.50 หมายถึง มผี ลการประเมินอยู่ในระดบั ดี
ค่าคะแนนเฉลย่ี 1.51 - 2.50 หมายถึง มผี ลการประเมินอยู่ในระดับ ปานกลาง
ค่าคะแนนเฉล่ีย 1.00 - 1.50 หมายถึง มผี ลการประเมินอยู่ในระดบั พอใช้
ค่าคะแนนเฉลีย่

(....................................) (....................................) (....................................) (....................................)

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

(.........................................)
ประธาน

แบบประเมินคณุ ภาพตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใตศ้ ูนยค์ วามเป็นเลศิ 29
ทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center)
แบบที่ 4
กลุ่มความเปน็ เลศิ (Excellent Center)
สรปุ
สถานศกึ ษา............................................................................... คะแนน
สาขาวชิ า........................................................................

ตัวชว้ี ดั รายการดำเนินงาน เกณฑ์การใหค้ ะแนน ระดับคะแนน

3.1 รปู แบบการจัดการ 01234
เรียนการสอน
1. มีการจดั การเรยี นการสอนใน 0 - ไมม่ กี ารดำเนนิ งาน
3.2 ครูวชิ าชพี
ระบบ 1 - มีการดำเนินงาน 1-2

2. มกี ารจดั การเรยี นการสอน รายการ

ระบบทวิภาคีอยา่ งเขม้ ขน้ 2 - มกี ารดำเนนิ งาน 3-4

3. มีการใชห้ ลกั สตู รที่เปดิ สอน รายการ

ตามเกณฑ์ทีต่ ้นสงั กัดกำหนด 3 - มกี ารดำเนนิ งาน 5

4. มกี ารเพม่ิ เตมิ คำอธิบาย รายการ

รายวชิ าในหลกั สูตรใหม้ คี วาม 4 - มกี ารดำเนนิ งานครบ

ทันสมัย ทุกรายการ

5. มีการจดั ทำแผนการฝึกอาชพี

รว่ มกบั สถานประกอบการ

6. มีการประเมนิ ผลหลกั สูตร

รายวิชา

1. มีจำนวนครูวิชาชพี เพยี งพอตอ่ 0 - ไมม่ กี ารดำเนินงาน

การจดั การเรียนการสอนอยา่ ง 1 - มีการดำเนินงาน 1-3

มีคุณภาพ รายการ

2. มวี ุฒกิ ารศึกษาวิชาชพี ตรง 2 - มีการดำเนินงาน 4-6

ตามสาขาวิชาท่สี อน รายการ

3. ได้รับการพฒั นาตามเกณฑ์ที่ 3 - มีการดำเนนิ งาน 7-9

ก.ค.ศ. กำหนด รายการ

4. ไดร้ บั การฝึกประสบการณ์ 4 - มีการดำเนนิ งานครบ

ทักษะวชิ าชีพในสถาน ทกุ รายการ

ประกอบการ

5. มกี ารสรา้ งชมุ ชนแหง่ การ

เรียนรทู้ างวิชาชพี (PLC) ใน

สาขาวชิ า

6. มกี ารจัดทำแผนการสอน/

แผนการฝกึ อาชพี

7. มีการจดั ทำวิจัยในช้นั เรยี น

8. มคี วามสามารถในการผลิตส่ือ

ดจิ ิทัล (Digital Content)

9. มคี วามสามารถในการจดั การ

เรียนการสอนด้วยแพลตฟอรม์

ดิจทิ ัลเพือ่ การเรยี นรู้ (Digital

Learning Platform) อยา่ งมี

คุณภาพ

10.มใี บรับรองผลการประเมิน

สมรรถนะบุคคลตามมาตรฐาน

อาชพี จากสถาบนั คณุ วุฒิ

วิชาชีพ

30

ตวั ช้ีวดั รายการดำเนินงาน เกณฑก์ ารให้คะแนน ระดบั คะแนน สรุป

0 1 2 3 4 คะแนน

3.3 โครงสรา้ งพน้ื ฐาน 1. มีห้องเรียน หอ้ งปฏบิ ัติการ 0 - ไม่มกี ารดำเนินงาน

ครภุ ณั ฑ/์ อุปกรณ์ ครุภณั ฑ์/อุปกรณ์ สือ่ ในการ 1 - มกี ารดำเนนิ งาน 1-3

และสือ่ การสอน จัดการเรยี นการสอน รายการ

2. มหี ้องเรยี น ห้องปฏบิ ตั ิการ 2 - มกี ารดำเนินงาน 4-5

สะอาด และเปน็ ระเบยี บ รายการ

พร้อมใชง้ าน 3 - มกี ารดำเนนิ งาน 6-7

3. มีครภุ ณั ฑ/์ อปุ กรณ์ ส่อื ที่ รายการ

สามารถใช้งานได้ 4 - มีการดำเนินงานครบ

4. มคี รุภัณฑ์/อุปกรณ์ สอื่ ท่ีเพียงพอ ทุกรายการ

ตอ่ การจัดการเรยี นการสอน

5. มีการดูแล ซอ่ มแซม/ปรับปรงุ

ครุภัณฑ/์ อปุ กรณ์ ส่อื ให้

สามารถใช้งานไดต้ ามปกติ

6. มรี ะบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลท่ี

ทนั สมยั

7. เป็นแหล่งเรียนรู้ดา้ นดิจทิ ลั ทม่ี ี

คุณภาพ

8. มสี ง่ิ อำนวยความสะดวก

สาธารณูปโภคและความ

ปลอดภัยภายใน

3.4 การผลิตและพฒั นา 1. มีการผลิตและพัฒนากำลงั คน 0 - ไมม่ กี ารดำเนินงาน

กำลังคน ในสาขาวิชาท่ีตรงกับทศิ 1 - มีการดำเนนิ งาน 1-2

ทางการพัฒนาอตุ สาหกรรม รายการ

เปา้ หมายของประเทศ(S-Curve) 2 - มกี ารดำเนนิ งาน 3-4

2. มกี ารพัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ ี รายการ

สมรรถนะตามท่หี ลกั สตู รและ 3 - มีการดำเนนิ งาน 5

สถานประกอบการกำหนด รายการ

3. มกี ารสำรวจความต้องการของ 4 - มีการดำเนินงานครบ

สถานประกอบการกอ่ นเปิด ทกุ รายการ

สอนตามหลกั สูตร

4. มีการจดั กจิ กรรมเสริม

หลกั สูตรใหผ้ เู้ รยี นมี

คุณลักษณะตามทีส่ ถาน

ประกอบการต้องการ

5. มีการประเมินมาตรฐาน

วิชาชพี

6. มกี ารประเมนิ ความพึงพอใจ

ของสถานประกอบการต่อ

ผเู้ รยี นและผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษา

3.5 การรับรองคณุ ภาพ 1. มีการดำเนนิ การตาม 0 - ไม่มีการดำเนินงาน

มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา 1 - มกี ารดำเนินงาน 1-2

2. มีการวางแผนการดำเนินงาน รายการ

อยา่ งมีคุณภาพ 2 - มกี ารดำเนนิ งาน 3-4

3. มกี ารดำเนนิ งานตามแผนท่ี รายการ

กำหนด 3 - มกี ารดำเนินงาน 5

4. มกี ารกำกบั ติดตามการ รายการ

ดำเนนิ งานทกุ ขั้นตอน 4 - มกี ารดำเนินงานครบ

ทกุ รายการ

31

ตวั ช้วี ัด รายการดำเนินงาน เกณฑก์ ารให้คะแนน ระดบั คะแนน สรุป

0 1 2 3 4 คะแนน

5. มีการรายงานผลการ

ดำเนนิ งานตอ่ ผู้ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

6. มีการจดั ทำรายงานการ

ประเมนิ ตนเอง ตามมาตรฐาน

การอาชีวศกึ ษา อย่างต่อเน่อื ง

3.6 ความรว่ มมือกบั 1. มบี นั ทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมือ 0 - ไมม่ ีการดำเนนิ งาน

สถาบันอุดมศกึ ษาใน สถาบันอุดมศึกษาในประเทศ 1 - มกี ารดำเนินงาน 1-2

ประเทศหรือ 2. มีบนั ทกึ ข้อตกลงความรว่ มมือ รายการ

ตา่ งประเทศ สถาบนั อุดมศกึ ษาต่างประเทศ 2 - มกี ารดำเนนิ งาน 3-4

3. มีการพัฒนาหลกั สูตรร่วมกัน รายการ

4. มแี ผนการพฒั นาครู 3 - มกี ารดำเนนิ งาน 5-6

5. มแี ผนการพัฒนานกั เรยี น รายการ

นกั ศึกษา 4 - มกี ารดำเนินงานครบ

6. มกี ารดำเนินงานตามข้อตกลง ทกุ รายการ

ความร่วมมอื อย่างตอ่ เนอ่ื ง

7. มีการติดตามการดำเนนิ งาน

ตามข้อตกลงความรว่ มมอื

3.7 พฒั นาหลักสูตร 1. มีการพัฒนาหลกั สูตรรายวชิ า 0 - ไมม่ ีการดำเนินงาน

รว่ มกับสถาน ร่วมกบั สถานประกอบการ 1 - มีการดำเนนิ งาน 1-2

ประกอบการ 2. มีการพัฒนาหลกั สตู รให้ รายการ

สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานอาชีพ 2 - มกี ารดำเนนิ งาน 3-4

3. มีการจัดแผนการเรยี นร่วมกับ รายการ

สถานประกอบการ 3 - มีการดำเนนิ งาน 5-6

4. มกี ารศกึ ษาความคาดหวังของ รายการ

สถานประกอบการต่อ 4 - มกี ารดำเนินงานครบ

สมรรถนะผ้เู รียนและผู้สำเร็จ ทุกรายการ

การศึกษา

5. มีการเช่อื มโยงสมรรถนะ

อาชพี ในการทำงานสู่ระบบ

คุณวุฒิทางการศึกษา

6. มนี วัตกรรมการจดั การเรยี นรู้

ทห่ี ลากหลาย

7. มกี ารประเมินการใช้หลกั สูตร

3.8 บรบิ ทเชิงพืน้ ท่ี 1. มสี ถานประกอบการจำนวน 0 - ไม่มีการดำเนินงาน

ทเ่ี ออื้ ต่อการจัดการ มากในพ้ืนท่ี 1 - มีการดำเนินงาน 1-3

อาชีวศึกษา 2. มีเขตอุตสาหกรรม/นิคม รายการ

อตุ สาหกรรมในพื้นที่ 2 - มกี ารดำเนินงาน 4-5

3. มีสถาบันอดุ มศึกษาในพ้ืนที่ รายการ

4. มีศูนยก์ ารเรยี นรู้ทางวชิ าชพี 3 - มีการดำเนินงาน 6-7

และนวตั กรรมในพนื้ ที่ รายการ

5. มที ำเลท่ตี ง้ั ท่ีเหมาะสม 4 - มีการดำเนินงานครบ

6. มกี ารคมมนาคมทีส่ ะดวก ทุกรายการ

7. ชมุ ชนใหค้ วามสำคญั กับการ

อาชวี ะและเทคนคิ ศกึ ษา

8. ขนาดพ้ืนท่ภี ายในสถานศกึ ษา

สามารถรองรบั การขยายกำลงั

การผลิตและพัฒนากำลังคน

ในอนาคต

32

ตัวชว้ี ัด รายการดำเนินงาน เกณฑ์การใหค้ ะแนน ระดบั คะแนน สรปุ

0 1 2 3 4 คะแนน

3.9 เสริมสรา้ งสมรรถนะ 1. มีการศึกษาสมรรถนะท่ี 0 - ไมม่ ีการดำเนนิ งาน

ผ้เู รยี นและผู้สำเรจ็ ต้องการจากสถาน 1 - มีการดำเนินงาน 1-2

การศกึ ษา ประกอบการตอ่ ผู้เรียนและ รายการ

ผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษา 2 - มกี ารดำเนนิ งาน 3

2. มีการพัฒนาสมรรถนะทาง รายการ

วิชาการและวชิ าชพี ท่ีสถาน 3 - มกี ารดำเนินงาน 4

ประกอบการต้องการเพ่ิมเตมิ รายการ

ให้กับผ้เู รยี นกอ่ นสำเรจ็ 4 - มีการดำเนินงานครบ

การศกึ ษา ทุกรายการ

3. มีการจัดสอนเสริมทกั ษะทาง

ภาษาตา่ งประเทศและดิจทิ ลั

4. เสรมิ สรา้ งการมที กั ษะข้าม

สายงานใหก้ บั ผเู้ รยี น

5. นักเรียนนกั ศกึ ษาจบแลว้ มงี าน

ทำมากกวา่ รอ้ ยละ 80

รวมคะแนน

คา่ คะแนนเฉลย่ี

สรปุ ผลการประเมิน  ดี  ปานกลาง  พอใช้
 ดีมาก

เกณฑ์การประเมิน 3.51 - 4.00 หมายถึง มีผลการประเมนิ อยู่ในระดับ ดีมาก
คา่ คะแนนเฉล่ยี 2.51 - 3.50 หมายถงึ มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ดี
คา่ คะแนนเฉลย่ี 1.51 - 2.50 หมายถึง มผี ลการประเมนิ อยู่ในระดับ ปานกลาง
ค่าคะแนนเฉลย่ี 1.00 - 1.50 หมายถงึ มผี ลการประเมินอยใู่ นระดบั พอใช้
ค่าคะแนนเฉลี่ย

(....................................) (....................................) (....................................) (....................................)

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

(.........................................)
ประธาน

33

ตัวชี้วัด และเกณฑก์ ารประเมิน ตามแนวทางการจดั การสถานศึกษา ภายใต้ศนู ย์ความเปน็ เลศิ แบบท่ี 4.1
ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center)

1. กลมุ่ ท่ัวไป (Standard)
1. สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาต่าง ๆ ตามหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการ

การอาชวี ศกึ ษา ภายใต้มาตรฐานการอาชวี ศึกษา
2. สาขาวิชามคี รวู ิชาชพี ในการจัดการเรยี นการสอน
3. สถานศึกษามีโครงสร้างพื้นฐาน มีครุภัณฑ์และอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน ท่ีพร้อมต่อการจัด

การเรียนการสอนอยา่ งมคี ุณภาพ
4. สถานศึกษาจดั การอาชวี ศกึ ษาเพือ่ ผลติ และพัฒนากำลงั คนเพอ่ื ตอบความต้องการของชุมชน
5. สถานศกึ ษาต้องไดร้ บั รองคณุ ภาพสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาจากหน่วยงานต้นสังกัด

ตารางที่ 1 ตัวชี้วัด และเกณฑ์การประเมิน ตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศ

ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) กลุ่มทว่ั ไป (Standard)

กล่มุ ตัวชวี้ ัด รายการดำเนนิ งาน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

1. ท่วั ไป 1.1 รูปแบบการ 1. มกี ารจดั การเรยี นการสอนในระบบ 0 – ไมม่ ีการดำเนินงาน

(Standard) จัดการเรยี นการ 2. มกี ารใช้หลกั สตู รท่เี ปดิ สอนตาม 1 - มกี ารดำเนนิ งาน 1 รายการ

สอน เกณฑท์ ีต่ ้นสงั กัดกำหนด 2 - มีการดำเนินงาน 2 รายการ

3. มีการเพิ่มเติมคำอธบิ ายรายวชิ าใน 3 - มีการดำเนนิ งาน 3 รายการ

หลักสตู รใหม้ คี วามทนั สมัย 4 – มีการดำเนนิ งานครบทุก

4. มีการประเมนิ การใช้หลกั สตู ร รายการ

1.2 ครวู ชิ าชพี 1. มวี ฒุ ิการศึกษาวชิ าชพี ตรงตาม 0 - ไมม่ กี ารดำเนนิ งาน

สาขาวชิ าทส่ี อน 1 - มีการดำเนนิ งาน 1-2 รายการ

2. ได้รบั การพฒั นาตามเกณฑท์ ี่ 2 - มกี ารดำเนินงาน 3 รายการ

ก.ค.ศ. กำหนด 3 - มีการดำเนนิ งาน 4 รายการ

3. มกี ารสรา้ งชุมชนแห่งการเรยี นรู้ 4 - มีการดำเนินงานครบทกุ

ทางวิชาชีพ (PLC) ในสาขาวิชา รายการ

4. มีการจัดทำแผนการสอน

5.มกี ารจัดทำวิจยั ในชน้ั เรียน

1.3 โครงสร้างพ้ืนฐาน 1. มีห้องเรยี น หอ้ งปฏิบตั ิการ 0 – ไม่มกี ารดำเนินงาน

ครุภณั ฑ์/อปุ กรณ์ ครุภณั ฑ์/อุปกรณ์ สื่อ ในการจัด 1 - มกี ารดำเนินงาน 1 รายการ

และส่ือการสอน การเรยี นการสอน 2 - มกี ารดำเนินงาน 2 รายการ

2. มหี อ้ งเรยี น หอ้ งปฏิบัตกิ าร สะอาด 3 - มีการดำเนินงาน 3 รายการ

และเปน็ ระเบยี บ พร้อมใช้งาน 4 – มกี ารดำเนนิ งานครบทกุ

3. มคี รภุ ณั ฑ/์ อุปกรณ์ ส่ือ ทส่ี ามารถ รายการ

ใช้งานได้

4. มกี ารดูแล ซ่อมแซม/ปรับปรุง

ครภุ ณั ฑ/์ อุปกรณ์ สอื่ ให้สามารถ

ใชง้ านไดต้ ามปกติ

34

กลุม่ ตัวชี้วัด รายการดำเนินงาน เกณฑ์การให้คะแนน

1.4 การผลติ และ 1. มกี ารพัฒนาผ้เู รยี นให้มสี มรรถนะ 0 - ไมม่ ีการดำเนินงาน

พฒั นากำลงั คน ตามท่หี ลกั สูตรกำหนด 1 - มีการดำเนนิ งาน 1-2 รายการ

2. มีการสำรวจความต้องการของ 2 - มีการดำเนินงาน 3 รายการ

ชุมชนกอ่ นเปิดสอนตามหลักสูตร 3 - มกี ารดำเนนิ งาน 4 รายการ

3. มีการจัดกิจกรรมเสรมิ หลักสตู รให้ 4 - มกี ารดำเนินงานครบทกุ

ผเู้ รยี นมคี ณุ ลกั ษณะตามทชี่ มุ ชน รายการ

ตอ้ งการ

4. มีการประเมินมาตรฐานวิชาชพี

5. มกี ารประเมินความพึงพอใจของ

ชุมชนตอ่ ผเู้ รียนและผ้สู ำเรจ็

การศึกษา

1.5 การรบั รองคณุ ภาพ 1. มีการดำเนนิ การตามมาตรฐานการ 0 - ไม่มีการดำเนนิ งาน

อาชวี ศึกษา 1 - มีการดำเนนิ งาน 1-2 รายการ

2. มกี ารวางแผนการดำเนนิ งานอยา่ ง 2 - มกี ารดำเนนิ งาน 3-4 รายการ

มคี ณุ ภาพ 3 - มกี ารดำเนินงาน 5 รายการ

3. มกี ารดำเนนิ งานตามแผนทีก่ ำหนด 4 - มกี ารดำเนนิ งานครบทุก

4. มกี ารกำกับตดิ ตามการดำเนนิ งาน รายการ

ทกุ ขน้ั ตอน

5. มีการรายงานผลการดำเนินงานตอ่

ผทู้ ่ีเกี่ยวข้อง

6. มกี ารจดั ทำรายงานการประเมนิ

ตนเอง ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา

อย่างตอ่ เนือ่ ง

เกณฑ์การประเมนิ 3.51 - 4.00 หมายถึง มผี ลการประเมินอยู่ในระดบั ดมี าก
ค่าคะแนนเฉลี่ย 2.51 - 3.50 หมายถึง มผี ลการประเมินอยู่ในระดับ ดี
ค่าคะแนนเฉลี่ย 1.51 - 2.50 หมายถึง มีผลการประเมนิ อย่ใู นระดบั ปานกลาง
ค่าคะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.50 หมายถงึ มีผลการประเมินอยใู่ นระดับ พอใช้
ค่าคะแนนเฉล่ยี

35

2. กลุ่มเชี่ยวชาญเฉพาะ (Expert)
1. สถานศึกษามีความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

ในสาขาวชิ าทม่ี ีความเช่ยี วชาญเฉพาะ
2. ครูในสาขาวิชาที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะมีจำนวนที่เพียงพอต่อการจัดการอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพ

และไดร้ บั การฝกึ ประสบการณท์ กั ษะวิชาชพี ในสถานประกอบการ
3. สถานศึกษาต้องมีโครงสร้างพื้นฐานและสภาพแวดล้อมทางการศึกษาที่มีคุณภาพ มีครุภัณฑ์

และอุปกรณ์ที่เพียงพอตอ่ การจัดการเรียนการสอน ในสาขาวชิ าทม่ี ีความเชยี่ วชาญเฉพาะอย่างมคี ุณภาพ
4. สถานศึกษาจัดการอาชีวศกึ ษาเพอ่ื ผลติ และพัฒนากำลังคนเพือ่ ตอบความต้องการของชมุ ชน
5. สถานศกึ ษาตอ้ งไดร้ ับรองคุณภาพสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาจากต้นสงั กดั
6. สถานศึกษามีความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในประเทศ ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการ

และวิชาชีพของครูและผเู้ รยี น
7. สถานศึกษาต้องพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการอย่างต่อเนื่อง ในสาขาวิชาที่มี

ความเชี่ยวชาญเฉพาะ
8. สถานศึกษามีบรบิ ททางการศกึ ษาและบริบทเชงิ พืน้ ที่ ที่เอื้อต่อการจัดการอาชีวศึกษาในสาขาวิชา

ทีม่ คี วามเชี่ยวชาญเฉพาะใหม้ ีคณุ ภาพ

ตารางที่ 2 ตัวชี้วัด และเกณฑ์การประเมิน ตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศ

ทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) กลุ่มเชยี่ วชาญเฉพาะ (Expert)

กลุ่ม ตวั ชี้วดั รายการดำเนินงาน เกณฑก์ ารให้คะแนน

2. เชย่ี วชาญ 2.1 รปู แบบการ 1. มกี ารจัดการเรยี นการสอนในระบบ 0 - ไมม่ กี ารดำเนินงาน

เฉพาะ จัดการเรียนการ 2. มกี ารจดั การเรยี นการสอนระบบทวิภาคี 1 - มีการดำเนนิ งาน 1-2 รายการ

สอน 3. มกี ารใช้หลักสตู รทเ่ี ปดิ สอนตาม 2 - มีการดำเนินงาน 3-4 รายการ

เกณฑท์ ่ตี ้นสังกดั กำหนด 3 - มีการดำเนินงาน 5 รายการ

4. มีการเพ่มิ เตมิ คำอธิบายรายวชิ าใน 4 - มกี ารดำเนนิ งานครบทกุ

หลักสตู รใหม้ ีความทันสมยั รายการ

5. มีการจัดทำแผนการฝึกอาชีพ

ร่วมกับสถานประกอบการ

6. มกี ารประเมนิ ผลหลกั สตู รรายวชิ า

2.2 ครวู ิชาชีพ 1. มจี ำนวนครูวิชาชีพเพยี งพอต่อการ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

จัดการเรยี นการสอนอย่างมีคณุ ภาพ 0 - ไมม่ ีการดำเนินงาน

2. มีวฒุ กิ ารศกึ ษาวิชาชพี ตรงตาม 1 - มีการดำเนินงาน 1-2 รายการ

สาขาวิชาทสี่ อน 2 - มกี ารดำเนินงาน 3-4 รายการ

3. ได้รบั การพฒั นาตามเกณฑท์ ี่ 3 - มีการดำเนนิ งาน 5-6 รายการ

ก.ค.ศ. กำหนด 4 - มกี ารดำเนินงานครบทกุ

4. ไดร้ บั การฝกึ ประสบการณท์ ักษะ รายการ

วิชาชีพในสถานประกอบการ

5. มีการสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรียนรู้

ทางวชิ าชพี (PLC) ในสาขาวชิ า

6. มกี ารจัดทำแผนการสอน/

แผนการฝึกอาชพี

7.มีการจดั ทำวิจยั ในชั้นเรยี น

36

กลุ่ม ตัวชีว้ ดั รายการดำเนินงาน เกณฑก์ ารให้คะแนน

2.3 โครงสร้างพืน้ ฐาน 1. มีหอ้ งเรียน หอ้ งปฏิบัติการ 0 - ไมม่ กี ารดำเนนิ งาน

ครุภณั ฑ์/อปุ กรณ์ ครภุ ณั ฑ/์ อปุ กรณ์ ส่อื ในการจดั 1 - มีการดำเนินงาน 1-2 รายการ

และสื่อการสอน การเรยี นการสอน 2 - มีการดำเนินงาน 3 รายการ

2. มหี ้องเรยี น ห้องปฏบิ ัติการ สะอาด 3 - มีการดำเนนิ งาน 4 รายการ

และเป็นระเบยี บ พรอ้ มใช้งาน 4 - มกี ารดำเนินงานครบทุก

3. มีครุภณั ฑ/์ อุปกรณ์ ส่ือ ทส่ี ามารถ รายการ

ใช้งานได้

4. มีครุภณั ฑ/์ อปุ กรณ์ สอ่ื ทเ่ี พยี งพอ

ต่อการจดั การเรียนการสอน

5. มกี ารดแู ล ซ่อมแซม/ปรบั ปรุง

ครภุ ณั ฑ/์ อปุ กรณ์ ส่ือ ให้สามารถ

ใชง้ านได้ตามปกติ

2.4 การผลติ และ 1. มีการพัฒนาผูเ้ รียนใหม้ สี มรรถนะ 0 - ไมม่ กี ารดำเนนิ งาน

พัฒนากำลงั คน ตามท่หี ลักสูตรกำหนด 1 - มกี ารดำเนินงาน 1-2 รายการ

2. มีการสำรวจความตอ้ งการของ 2 - มีการดำเนินงาน 3 รายการ

ชมุ ชนก่อนเปิดสอนตามหลักสูตร 3 - มีการดำเนินงาน 4 รายการ

3. มกี ารจดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รให้ 4 - มกี ารดำเนินงานครบทุก

ผูเ้ รยี นมีคณุ ลกั ษณะตามที่ชมุ ชน รายการ

ตอ้ งการ

4. มกี ารประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี

5. มกี ารประเมนิ ความพึงพอใจของ

ชุมชนต่อผเู้ รียนและผู้สำเรจ็

การศึกษา

2.5 การรับรองคณุ ภาพ 1. มีการดำเนินการตามมาตรฐานการ 0 - ไม่มกี ารดำเนินงาน

อาชวี ศกึ ษา 1 - มกี ารดำเนนิ งาน 1-2 รายการ

2. มกี ารวางแผนการดำเนินงานอยา่ ง 2 - มีการดำเนินงาน 3-4 รายการ

มีคณุ ภาพ 3 - มกี ารดำเนินงาน 5 รายการ

3. มีการดำเนนิ งานตามแผนที่กำหนด 4 - มกี ารดำเนินงานครบทกุ

4. มกี ารกำกับตดิ ตามการดำเนนิ งาน รายการ

ทุกขน้ั ตอน

5. มกี ารรายงานผลการดำเนินงานตอ่

ผู้ที่เกี่ยวขอ้ ง

6. มีการจัดทำรายงานการประเมนิ

ตนเอง ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา

อยา่ งตอ่ เนอื่ ง

2.6 ความรว่ มมือกับ 1. มบี นั ทึกข้อตกลงความรว่ มมอื 0 - ไมม่ กี ารดำเนินงาน

สถาบนั การศกึ ษา 2. มแี ผนการพัฒนาครู 1 - มีการดำเนนิ งาน 1-2 รายการ

ในประเทศ 3. มแี ผนการพฒั นานักเรียนนักศึกษา 2 - มีการดำเนินงาน 3 รายการ

4. มีการดำเนนิ งานตามขอ้ ตกลง 3 - มกี ารดำเนนิ งาน 4 รายการ

ความร่วมมืออยา่ งต่อเนือ่ ง 4 - มีการดำเนินงานครบทกุ

5. มกี ารติดตามการดำเนินงาน รายการ

ตามขอ้ ตกลงความร่วมมือ

37

กลุ่ม ตัวช้วี ดั รายการดำเนินงาน เกณฑ์การให้คะแนน

2.7 พฒั นาหลกั สูตร 1. มีการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา 0 – ไม่มกี ารดำเนินงาน

รว่ มกบั สถาน รว่ มกับสถานประกอบการ 1 – มีการดำเนินงาน 1 รายการ

ประกอบการ 2. มกี ารจัดแผนการเรียนรว่ มกับ 2 – มกี ารดำเนนิ งาน 2 รายการ

สถานประกอบการ 3 – มีการดำเนนิ งาน 3 รายการ

3. มกี ารศกึ ษาความคาดหวังของ 4 – มกี ารดำเนนิ งานครบทุก

สถานประกอบการต่อสมรรถนะ รายการ

ผู้เรยี นและผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษา

4. มกี ารประเมินการใชห้ ลกั สตู ร

2.8 บรบิ ทเชิงพื้นที่ 1. มีสถานประกอบการจำนวนมาก 0 - ไมม่ กี ารดำเนินงาน

ท่เี ออ้ื ตอ่ การ ในพ้นื ที่ 1 - มกี ารดำเนินงาน 1-3 รายการ

จดั การอาชีวศกึ ษา 2. มเี ขตอุตสาหกรรม/นคิ ม 2 - มกี ารดำเนนิ งาน 4-5 รายการ

อุตสาหกรรมในพ้นื ท่ี 3 - มกี ารดำเนินงาน 6-7 รายการ

3. มสี ถาบันอดุ มศกึ ษาในพน้ื ท่ี 4 - มกี ารดำเนินงานครบทกุ

4. มศี นู ยก์ ารเรียนรทู้ างวชิ าชพี ในพ้ืนท่ี รายการ

5. มีทำเลทต่ี งั้ ท่ีเหมาะสม

6. มกี ารคมมนาคมที่สะดวก

7. ชมุ ชนใหค้ วามสำคญั กับการอาชีวะ

และเทคนคิ ศกึ ษา

8. ขนาดพ้นื ที่ภายในสถานศกึ ษา

สามารถรองรับการขยายกำลัง

การผลิตและพฒั นากำลังคนใน

อนาคต

เกณฑก์ ารประเมิน 3.51 - 4.00 หมายถึง มผี ลการประเมินอยู่ในระดับ ดมี าก
ค่าคะแนนเฉลยี่ 2.51 - 3.50 หมายถงึ มีผลการประเมนิ อยู่ในระดับ ดี
คา่ คะแนนเฉล่ยี 1.51 - 2.50 หมายถงึ มผี ลการประเมินอยใู่ นระดับ ปานกลาง
ค่าคะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.50 หมายถึง มผี ลการประเมนิ อยู่ในระดบั พอใช้
ค่าคะแนนเฉลย่ี

38

3. กลมุ่ ความเปน็ เลศิ (Excellent Center)
1. สถานศึกษามีความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

อย่างเข้มข้นในสาขาวิชาทีม่ คี วามเป็นเลิศ
2. ครูในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศมีจำนวนที่เพียงพอต่อการจัดการอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพ

และได้รับการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพในสถานประกอบการ ตลอดจนมีความสามารถในการผลิตส่ือ
ดิจิทัล (Digital Content) และจัดการเรียนการสอนด้วยแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ (Digital Learning
Platform) อย่างมีคุณภาพ รวมทงั้ มใี บรับรองผลการประเมินสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพจากสถาบัน
คุณวฒุ วิ ิชาชพี ตรงตามระดบั ท่ีสำเร็จการศึกษา

3. สถานศึกษาต้องมีโครงสรา้ งพนื้ ฐานและสภาพแวดล้อมทางการศึกษาให้เป็นแหลง่ เรียนรู้ด้านดิจิทัล
ที่มีคุณภาพ มีครุภัณฑ์และอุปกรณ์ที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน จัดหาแพลตฟอร์มดิจิทัล
เพือ่ การเรียนรู้ (Digital Learning Platform) ในสาขาวิชาท่ีมีความเป็นเลศิ อยา่ งมีคุณภาพ

4. สถานศึกษาจัดการอาชีวศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคน ในสาขาวิชาที่ตรงกับทิศทางการ
พัฒนาอตุ สาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (S-Curve)

5. สถานศกึ ษาต้องได้รับรองคุณภาพสถานศึกษาอาชวี ศึกษาจากตน้ สังกัด
6. สถานศกึ ษามีความรว่ มมอื กับสถาบนั การศึกษาอาชวี ศึกษา/อุดมศึกษาในประเทศหรือต่างประเทศ
ในการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ทางวิชาการและวิชาชีพของครแู ละผู้เรยี น
7. สถานศึกษาต้องพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพร่วมกับสถานประกอบการ
อย่างต่อเนื่อง สามารถเชื่อมโยงสมรรถนะอาชีพในการทำงานสู่ระบบคุณวุฒิทางการศึกษา และมีนวัตกรรม
การจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ในสาขาวิชาท่มี ีความเปน็ เลศิ
8. สถานศึกษามีบรบิ ททางการศกึ ษาและบริบทเชิงพืน้ ท่ี ที่เอื้อต่อการจัดการอาชีวศึกษาในสาขาวิชา
ทม่ี คี วามเปน็ เลิศ ใหม้ คี ุณภาพ
9. สถานศึกษาเสริมสร้างให้ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษามีสมรรถนะและคุณลักษณะตามความ
ต้องการของสถานประกอบการ และจบแล้วตอ้ งมีงานทำ

ตารางที่ 3 ตัวชี้วัด และเกณฑ์การประเมิน ตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศ

ทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) กลุม่ ความเป็นเลิศ (Excellent Center)

กลมุ่ ตวั ช้ีวดั รายการดำเนินงาน เกณฑก์ ารให้คะแนน

3. ความเปน็ เลศิ 3.1 รูปแบบการ 1. มกี ารจดั การเรยี นการสอนในระบบ 0 - ไมม่ กี ารดำเนินงาน

จัดการเรยี นการ 2. มีการจัดการเรยี นการสอนระบบ 1 - มีการดำเนนิ งาน 1-2 รายการ

สอน ทวิภาคอี ยา่ งเข้นข้น 2 - มกี ารดำเนินงาน 3-4 รายการ

3. มกี ารใชห้ ลกั สตู รทเี่ ปดิ สอนตาม 3 - มีการดำเนนิ งาน 5 รายการ

เกณฑท์ ่ตี น้ สงั กัดกำหนด 4 - มีการดำเนนิ งานครบทุก

4. มกี ารเพม่ิ เติมคำอธิบายรายวชิ าใน รายการ

หลกั สตู รใหม้ คี วามทันสมัย

5. มกี ารจัดทำแผนการฝึกอาชพี

รว่ มกบั สถานประกอบการ

6. มกี ารประเมนิ ผลหลักสตู รรายวชิ า

39

กลุ่ม ตัวชีว้ ัด รายการดำเนินงาน เกณฑ์การให้คะแนน

3.2 ครูวชิ าชพี 1. มีจำนวนครวู ิชาชพี เพยี งพอตอ่ การ 0 - ไมม่ ีการดำเนนิ งาน

จัดการเรยี นการสอนอยา่ งมีคณุ ภาพ 1 - มกี ารดำเนนิ งาน 1-3 รายการ

2. มีวฒุ กิ ารศกึ ษาวิชาชีพ ตรงตาม 2 - มีการดำเนินงาน 4-6 รายการ

สาขาวิชาทสี่ อน 3 - มกี ารดำเนนิ งาน 7-9 รายการ

3. ไดร้ ับการพัฒนาตามเกณฑท์ ่ี 4 - มกี ารดำเนนิ งานครบทุก

ก.ค.ศ. กำหนด รายการ

4. ไดร้ ับการฝึกประสบการณท์ กั ษะ

วิชาชพี ในสถานประกอบการ

5. มกี ารสรา้ งชุมชนแห่งการเรยี นรู้

ทางวชิ าชพี (PLC) ในสาขาวิชา

6. มกี ารจัดทำแผนการสอน/

แผนการฝกึ อาชพี

7. มีการจดั ทำวิจยั ในช้นั เรยี น

8. มคี วามสามารถในการผลติ สอื่

ดิจิทัล (Digital Content)

9. มคี วามสามารถในการจดั การเรยี น

การสอนด้วยแพลตฟอรม์ ดิจทิ ลั เพอื่

การเรยี นรู้ (Digital Learning

Platform) อยา่ งมคี ุณภาพ

10.มีใบรับรองผลการประเมนิ

สมรรถนะบุคคลตามมาตรฐาน

อาชพี จากสถาบนั คุณวฒุ ิวชิ าชีพ

3.3 โครงสรา้ งพ้นื ฐาน 1. มีหอ้ งเรียน หอ้ งปฏิบตั ิการ 0 - ไม่มกี ารดำเนนิ งาน

ครภุ ณั ฑ/์ อปุ กรณ์ ครภุ ณั ฑ/์ อุปกรณ์ สอื่ ในการจดั 1 - มกี ารดำเนินงาน 1-3 รายการ

และสอ่ื การสอน การเรยี นการสอน 2 - มกี ารดำเนินงาน 4-5 รายการ

2. มีห้องเรยี น หอ้ งปฏบิ ัติการ สะอาด 3 - มกี ารดำเนินงาน 6-7 รายการ

และเป็นระเบียบ พรอ้ มใช้งาน 4 - มีการดำเนินงานครบทกุ

3. มคี รุภณั ฑ/์ อปุ กรณ์ สือ่ ท่ีสามารถ รายการ

ใชง้ านได้

4. มีครภุ ณั ฑ/์ อปุ กรณ์ สอ่ื ท่เี พยี งพอ

ต่อการจดั การเรียนการสอน

5. มกี ารดูแล ซ่อมแซม/ปรับปรุง

ครภุ ณั ฑ์/อุปกรณ์ สือ่ ให้สามารถ

ใช้งานได้ตามปกติ

6. มรี ะบบเทคโนโลยีดิจทิ ลั ทท่ี นั สมยั

7. เป็นแหล่งเรยี นรู้ด้านดจิ ทิ ลั ทม่ี ี

คุณภาพ

8. มสี ง่ิ อำนวยความสะดวก

สาธารณูปโภคและความปลอดภยั

ภายใน

40

กลมุ่ ตัวชีว้ ดั รายการดำเนินงาน เกณฑก์ ารให้คะแนน

3.4 การผลิตและ 1. มีการผลิตและพฒั นากำลงั คนใน 0 - ไม่มีการดำเนินงาน

พัฒนากำลังคน สาขาวชิ าท่ีตรงกบั ทิศทางการ 1 - มีการดำเนนิ งาน 1-2 รายการ

พัฒนาอตุ สาหกรรมเป้าหมายของ 2 - มกี ารดำเนนิ งาน 3-4 รายการ

ประเทศ (S-Curve) 3 - มกี ารดำเนินงาน 5 รายการ

2. มีการพัฒนาผเู้ รียนใหม้ สี มรรถนะ 4 - มีการดำเนินงานครบทกุ

ตามทห่ี ลกั สูตรและสถานประกอบการ รายการ

กำหนด

3. มกี ารสำรวจความตอ้ งการของ

สถานประกอบการกอ่ นเปิดสอน

ตามหลกั สตู ร

4. มกี ารจัดกิจกรรมเสริมหลกั สตู รให้

ผู้เรยี นมคี ณุ ลกั ษณะตามทีส่ ถาน

ประกอบการต้องการ

5. มีการประเมินมาตรฐานวิชาชพี

6. มีการประเมนิ ความพึงพอใจของ

สถานประกอบการตอ่ ผ้เู รยี นและ

ผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษา

3.5 การรบั รองคณุ ภาพ 1. มีการดำเนินการตามมาตรฐานการ 0 - ไม่มกี ารดำเนนิ งาน

อาชีวศึกษา 1 - มกี ารดำเนินงาน 1-2 รายการ

2. มีการวางแผนการดำเนนิ งานอย่าง 2 - มกี ารดำเนนิ งาน 3-4 รายการ

มีคณุ ภาพ 3 - มีการดำเนินงาน 5 รายการ

3. มีการดำเนนิ งานตามแผนทีก่ ำหนด 4 - มีการดำเนินงานครบทกุ

4. มกี ารกำกบั ตดิ ตามการดำเนนิ งาน รายการ

ทุกข้ันตอน

5. มกี ารรายงานผลการดำเนินงานต่อ

ผู้ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

6. มีการจดั ทำรายงานการประเมนิ

ตนเอง ตามมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา

อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

3.6 ความร่วมมือกบั 1. มีบันทกึ ขอ้ ตกลงความร่วมมือ 0 - ไม่มีการดำเนินงาน

สถาบนั อุดมศึกษา สถาบนั อุดมศกึ ษาในประเทศ 1 - มกี ารดำเนินงาน 1-2 รายการ

ในประเทศหรอื 2. มีบนั ทึกข้อตกลงความรว่ มมือ 2 - มกี ารดำเนนิ งาน 3-4 รายการ

ต่างประเทศ สถาบนั อดุ มศึกษาต่างประเทศ 3 - มีการดำเนินงาน 5-6 รายการ

3. มกี ารพฒั นาหลักสตู รร่วมกัน 4 - มกี ารดำเนินงานครบทุก

4. มีแผนการพัฒนาครู รายการ

5. มีแผนการพฒั นานกั เรียนนกั ศึกษา

6. มีการดำเนินงานตามข้อตกลง

ความรว่ มมืออยา่ งตอ่ เน่ือง

7. มกี ารติดตามการดำเนนิ งาน

ตามข้อตกลงความร่วมมือ

41

กลมุ่ ตวั ชว้ี ดั รายการดำเนินงาน เกณฑก์ ารให้คะแนน

3.7 พฒั นาหลกั สูตร 1. มกี ารพฒั นาหลักสูตรรายวชิ า 0 - ไม่มีการดำเนินงาน

ร่วมกบั สถาน รว่ มกับสถานประกอบการ 1 - มีการดำเนนิ งาน 1-2 รายการ

ประกอบการ 2. มีการพฒั นาหลักสูตรใหส้ อดคลอ้ ง 2 - มกี ารดำเนินงาน 3-4 รายการ

กบั มาตรฐานอาชพี 3 - มีการดำเนินงาน 5-6 รายการ

3. มีการจดั แผนการเรยี นรว่ มกับ 4 - มกี ารดำเนนิ งานครบทกุ

สถานประกอบการ รายการ

4. มกี ารศึกษาความคาดหวังของ

สถานประกอบการตอ่ สมรรถนะ

ผเู้ รยี นและผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษา

5. มกี ารเช่ือมโยงสมรรถนะอาชีพในการ

ทำงานสรู่ ะบบคณุ วุฒิทางการศึกษา

6. มีนวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้

ท่หี ลากหลาย

7. มีการประเมนิ การใชห้ ลกั สตู ร

3.8 บรบิ ทเชงิ พื้นท่ี 1. มสี ถานประกอบการจำนวนมากในพนื้ ที่ 0 - ไม่มีการดำเนนิ งาน

ท่เี อ้ือตอ่ การ 2. มีเขตอตุ สาหกรรม/นคิ ม 1 - มกี ารดำเนินงาน 1-3 รายการ

จัดการอาชีวศึกษา อตุ สาหกรรมในพนื้ ท่ี 2 - มีการดำเนินงาน 4-5 รายการ

3. มีสถาบันอุดมศึกษาในพ้นื ที่ 3 - มีการดำเนินงาน 6-7 รายการ

4. มีศนู ยก์ ารเรยี นรูท้ างวชิ าชีพและ 4 - มกี ารดำเนนิ งานครบทุก

นวตั กรรมในพื้นที่ รายการ

5. มีทำเลท่ีต้ังท่เี หมาะสม

6. มกี ารคมมนาคมทีส่ ะดวก

7. ชุมชนให้ความสำคญั กบั การอาชีวะ

และเทคนิคศกึ ษา

8. ขนาดพืน้ ท่ีภายในสถานศึกษา

สามารถรองรบั การขยายกำลัง

การผลติ และพัฒนากำลงั คนใน

อนาคต

3.9 เสริมสร้าง 1. มกี ารศกึ ษาสมรรถนะท่ีต้องการ 0 - ไมม่ กี ารดำเนนิ งาน

สมรรถนะผเู้ รยี น จากสถานประกอบการต่อผู้เรียน 1 - มกี ารดำเนนิ งาน 1-2 รายการ

และผสู้ ำเร็จ และผสู้ ำเรจ็ การศึกษา 2 - มีการดำเนนิ งาน 3 รายการ

การศกึ ษา 2. มีการพฒั นาสมรรถนะทางวชิ าการ 3 - มกี ารดำเนนิ งาน 4 รายการ

และวชิ าชีพทีส่ ถานประกอบการ 4 - มกี ารดำเนนิ งานครบทุก

ต้องการเพิม่ เติมใหก้ ับผเู้ รียนก่อน รายการ

สำเรจ็ การศกึ ษา

3. มีการจัดสอนเสรมิ ทกั ษะทาง

ภาษาต่างประเทศและดจิ ทิ ลั

4. เสรมิ สร้างการมีทักษะข้ามสายงาน

ใหก้ บั ผู้เรยี น

5. นักเรียนนักศึกษาจบแลว้ มีงานทำ

มากกว่ารอ้ ยละ 80

42

เกณฑ์การประเมนิ 3.51 - 4.00 หมายถึง มผี ลการประเมินอยู่ในระดบั ดีมาก
คา่ คะแนนเฉล่ีย 2.51 - 3.50 หมายถึง มผี ลการประเมินอยู่ในระดบั ดี
คา่ คะแนนเฉลีย่ 1.51 - 2.50 หมายถงึ มีผลการประเมนิ อยใู่ นระดบั ปานกลาง
คา่ คะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.50 หมายถึง มผี ลการประเมินอย่ใู นระดับ พอใช้
ค่าคะแนนเฉลย่ี

43

แบบท่ี 5

แบบรายงานขอ้ มลู การจดั การอาชวี ศกึ ษา
ตามแนวทางการจดั การสถานศึกษา ภายใตศ้ ูนย์ความเป็นเลศิ ทางการอาชีวศกึ ษา

(Excellent Center)
--------------------------------------------------

ขอ้ มลู ทว่ั ไปของสถานศึกษา

ชอ่ื สถานศึกษา ...................................................................................................................................................

สถาบันการอาชีวศกึ ษา (ถา้ ม)ี ................................................................................................. ...........................

ประเภทสถานศึกษาอาชวี ศึกษา  รฐั  เอกชน

สาขาวชิ าทเี่ ปดิ สอน
สาขาวิชา/สาขางานท่จี ัดการเรยี นการสอน

ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.)
สาขาวชิ า.................................................

1 สาขางาน...................................................................................................................... ......................
2 สาขางาน................................................................................................. ...........................................
3 สาขางาน.................................................................................................................... ........................
ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชน้ั สงู (ปวส.)
สาขาวชิ า.................................................
1 สาขางาน.................................................................................................................... ........................
2 สาขางาน............................................................................................................................................
3 สาขางาน.................................................................................................................... ........................
ระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ัติการ (ทล.บ.)
สาขาวชิ า.................................................

ความสอดคล้องกับสาขาวชิ าอนื่ ตาม Value Chain ท่เี ปิดสอนในสถานศึกษา

(Value Chain หมายถึง หว่ งโซค่ ณุ ค่าในสาขาวชิ าท่สี ามารถสร้างมลู คา่ เพมิ่ ให้กบั อุตสาหกรรม ธรุ กจิ บรกิ ารของประเทศ)

1............................................................................................................................ .......................................
2............................................................................................................................ .......................................

3................................................................................. ..................................................................................

ขอ้ มลู ทว่ั ไปของสาขาวิชา

จำนวนนกั เรยี นนกั ศึกษาทั้งสนิ้ ............................... คน ประกอบดว้ ย

ระบบปกติ

ปวช. ........................ คน ปวส. .......................... คน

ระบบทวภิ าคี

ปวช. ........................ คน ปวส. .......................... คน ป.ตรี ................................ คน

โครงการทวิศึกษา ........................ คน

โครงการห้องเรยี นพิเศษ (ตามมติ ครม.) (โปรดระบุ).................................................................................

ปวช. ........................ คน ปวส. .......................... คน

44

ข้อมลู อาคารสถานท่ี/หอ้ งเรยี น/หอ้ งปฏบิ ตั ิการ
1. ..................................................................................................... ปีที่ได้รบั จัดสรร ..............................
2. ..................................................................................................... ปีที่ได้รบั จัดสรร ..............................
3. ..................................................................................................... ปีที่ได้รบั จัดสรร ..............................
4. ..................................................................................................... ปีที่ได้รบั จัดสรร ..............................
5. ..................................................................................................... ปีที่ได้รบั จัดสรร ..............................

ขอ้ มูลครภุ ัณฑ์
1. ..................................................................................................... ปีทไี่ ดร้ ับจดั สรร ......................... .....
2. ..................................................................................................... ปีที่ได้รบั จัดสรร ..............................
3. ..................................................................................................... ปที ไ่ี ดร้ ับจดั สรร ..............................
4. ..................................................................................................... ปีที่ได้รบั จัดสรร ..............................
5. ..................................................................................................... ปีที่ได้รบั จัดสรร ..............................

45

ขอ้ มูลการจดั การอาชวี ศกึ ษา

1. ความร่วมมือกับสถานประกอบการ

(ความร่วมมอื หมายถงึ สถานศึกษาไดล้ งนามความร่วมมือ (MOU) กบั สถานประกอบการเพื่อจดั การเรียนการสอนอาชวี ศึกษา)

 ไม่มคี วามร่วมมอื

 มคี วามรว่ มมือ (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ข้อ) จำนวน ................... แหง่

 ในพ้ืนทบ่ี ริการ

 นอกพืน้ ทบ่ี รกิ าร/นอกจงั หวดั

 ต่างประเทศ

2. ความร่วมมอื กบั สถานประกอบการในการจดั การศกึ ษาระบบทวิภาคี
 ไม่มีความรว่ มมอื
 มคี วามร่วมมอื กับสถานประกอบการ

อย่างเขม้ ขน้ (โปรดระบุ)

1. ชอ่ื สถานประกอบการ ........................................................................................................... ..........

ประเภทกจิ การ........................................................................................................ ........................
จำนวนนกั เรียนนกั ศกึ ษาในระบบทวภิ าคจี ำนวน ........................ คน

1.1 การพัฒนาหลกั สตู ร
 ไมม่ ี
 มี จำนวน ........ คร้ัง/ปี

ระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.)

ช่อื หลกั สูตรรายวชิ า...................................................................................................
ชอ่ื หลักสตู รรายวชิ า...................................................................................................

ชอ่ื หลักสูตรรายวชิ า...................................................................................................

ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั้ สูง (ปวส.)
ชือ่ หลกั สตู รรายวิชา...................................................................................................

ชอ่ื หลกั สตู รรายวิชา...................................................................................................

ชอ่ื หลกั สูตรรายวชิ า...................................................................................................

1.2 การพฒั นาครู
 ไม่มี
 มี จำนวน ........ ครงั้ /ปี (โปรดโปรดระบ)ุ
 ฝกึ อบรม

- ชอ่ื หลกั สูตรฝกึ อบรม................................................................... ...........................

จำนวน ...................... ชว่ั โมง จำนวนครูที่เขา้ รบั การอบรม ........................... คน

- ชอ่ื หลกั สูตรฝึกอบรม..............................................................................................

จำนวน ...................... ชั่วโมง จำนวนครทู ี่เขา้ รบั การอบรม ........................... คน

- ช่ือหลกั สตู รฝกึ อบรม..............................................................................................

จำนวน ...................... ช่วั โมง จำนวนครทู ี่เข้ารบั การอบรม ........................... คน
 ฝึกประสบการณท์ ักษะวชิ าชีพในสถานประกอบการ จำนวน ...... คน จำนวน ...... ชว่ั โมง

46

1.3 การพัฒนานักเรียนนกั ศึกษา
 ไมม่ ี
 มี จำนวน ........ ครัง้ /ปี (โปรดโปรดระบ)ุ
 ฝึกอบรม
- ชอื่ หลักสตู รฝึกอบรม..............................................................................................
จำนวน....... ชว่ั โมง จำนวนนกั เรียนนกั ศึกษาท่เี ข้ารับการอบรม .................... คน
- ช่ือหลักสูตรฝึกอบรม..............................................................................................
จำนวน....... ชว่ั โมง จำนวนนกั เรยี นนกั ศึกษาทเ่ี ขา้ รบั การอบรม .................... คน
- ชือ่ หลักสูตรฝกึ อบรม..............................................................................................
จำนวน....... ชว่ั โมง จำนวนนกั เรยี นนักศึกษาที่เข้ารบั การอบรม .................... คน
 ฝกึ อาชพี จำนวน ................. คน จำนวน ........... ช่วั โมง

1.4 การสนบั สนนุ ทรัพยากรเพอ่ื การศกึ ษา (โปรดระบุ)
- .................................................................................. งบประมาณ ............................. บาท
- .................................................................................. งบประมาณ ............................. บาท
- .................................................................................. งบประมาณ ............................. บาท

2. ชอ่ื สถานประกอบการ ........................................................................................................... .........
ประเภทกจิ การ................................................................................................... ............................
จำนวนนักเรียนนกั ศกึ ษาในระบบทวภิ าคจี ำนวน ........................ คน

2.1 การพัฒนาหลักสูตร
 ไมม่ ี
 มี จำนวน ........ ครงั้ /ปี

2.2 การพัฒนาครู
 ไม่มี
 มี จำนวน ........ คร้ัง/ปี (โปรดโปรดระบุ)
 ฝกึ อบรม
- ชื่อหลกั สตู รฝกึ อบรม..............................................................................................
จำนวน ..................... ชัว่ โมง จำนวนครูท่ีเข้ารับการอบรม ........................... คน
- ชอ่ื หลกั สตู รฝึกอบรม..............................................................................................
จำนวน ..................... ชว่ั โมง จำนวนครูท่เี ข้ารับการอบรม ........................... คน
- ช่อื หลักสตู รฝึกอบรม..............................................................................................
จำนวน ..................... ชวั่ โมง จำนวนครทู ่ีเขา้ รับการอบรม ........................... คน
 ฝกึ ประสบการณท์ ักษะวิชาชีพในสถานประกอบการ จำนวน ...... คน จำนวน ...... ชั่วโมง

47

2.3 การพฒั นานกั เรยี นนกั ศกึ ษา
 ไมม่ ี
 มี จำนวน ........ ครั้ง/ปี (โปรดโปรดระบ)ุ
 ฝึกอบรม

- ชอ่ื หลกั สตู รฝกึ อบรม.............................................................................................
จำนวน ........... ชวั่ โมง จำนวนนกั เรียนนกั ศึกษาท่เี ข้ารับการอบรม .............. คน

- ชอื่ หลักสตู รฝึกอบรม.............................................................................................

จำนวน ........... ชวั่ โมง จำนวนนกั เรยี นนักศึกษาทเ่ี ข้ารบั การอบรม .............. คน
- ช่ือหลักสูตรฝึกอบรม.............................................................................................

จำนวน ........... ช่วั โมง จำนวนนกั เรยี นนกั ศึกษาที่เข้ารบั การอบรม .............. คน
 ฝึกอาชีพ จำนวน ................. คน จำนวน ........... ช่ัวโมง

2.4 การสนบั สนุนทรพั ยากรเพือ่ การศึกษา (โปรดระบ)ุ

- ..................................................................................... งบประมาณ .......................... บาท
- ..................................................................................... งบประมาณ .......................... บาท

- ..................................................................................... งบประมาณ .......................... บาท

(สถานศกึ ษาสามารถเพมิ่ เติมสถานประกอบการตามข้อมลู ดังกลา่ วข้างต้น)

3. อตั ราสว่ นครูตอ่ นักเรยี นนกั ศกึ ษา

(ครู หมายถงึ ขา้ ราชการครู พนักงานราชการ(ครู) ครพู เิ ศษสอน)

3.1 ข้อมลู ครู

ครู .............................. คน

พนกั งานราชการครู .............................. คน

ครพู ิเศษสอน .............................. คน

รวมส้นิ .............................. คน

3.2 อตั ราสว่ น

ครู จำนวน ............................ คน นกั เรียนนกั ศึกษา จำนวน....................... คน

อตั ราสว่ น ............ : ..............

4. ครูมีความสามารถในการผลิตสื่อดจิ ิทัล (Digital Content) และจดั การเรยี นการสอนด้วยแพลตฟอร์ม
ดิจิทัล เพ่ือการเรียนรู้ (Digital Learning Platform) อยา่ งมคี ณุ ภาพ

ชอื่ – สกุล รายวชิ า ประเภทของส่อื
1.
1.
2. 2.
3.
1.
2.
3.


Click to View FlipBook Version