บันทกึ ข้อความ
ส่วนราชการ ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ บา้ นหว้ ยน้าเย็น เทศบาลตา้ บลบ้านแซว อ้าเภอเชยี งแสน จงั หวัดเชยี งราย
ท่ี ชร.58804.6/ วันที่ ตลุ าคม 2562
เร่อื ง รายงานสรุปผลการอบรมพฒั นาตนเอง (ว23/2561)หลักสูตรออนไลน์ เรือ่ งการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา
เรียน ผู้อา้ นวยการกองการศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ด้วยข้าพเจา้ นางสาวมนปริยารัตน์ เจมิ เฉลิม ต้าแหน่ง ครู วิทยฐานะครูช้านาญการ ศนู ย์พฒั นา
เด็กเล็กบ้านห้วยน้าเยน็ ได้เข้ารว่ มอบรมหลักสูตรออนไลน์ เรื่องการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ประจ้าปี 2562
หลักสูตร “การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา : การพัฒนาการเรียนรู้รูปแบบE-Learning เพ่ือพัฒนาสมรรถนะ
ครผู ้สู อนในสถานศกึ ษา” ปีการศึกษา 2562 ซ่ึงเป็นหลกั สูตรออนไลน์จัดอบรมโดย ชมรมนกั วจิ ยั ทางหลกั สูตรและ
การสอนแหง่ ประเทศไทย ระหว่างเดือนตลุ าคม 2562 ท่ีผา่ นมา
บัดนีการอบรมออนไลน์ หลักสูตร “การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา: การพัฒนาการเรียนรู้
รูปแบบ E-Learning เพ่ือพัฒนาสมรรถนะครู ปีการศึกษา 2562 ซึ่งเป็นหลักสูตรออนไลน์ ดังกล่าวได้เสร็จสิน
เรียบร้อยแลว้ ขา้ พเจา้ จึงขอรายงานผลการเข้ารับการอบรม ( ดงั เอกสารทแ่ี นบมาพร้อมกันนี )
จงึ เรียนมาเพอ่ื โปรดทราบและพิจารณาด้าเนินการต่อไป
(ลงช่ือ)
( นางสาวมนปรยิ ารตั น์ เจิมเฉลมิ )
ครู ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบา้ นหว้ ยน้าเยน็
ความคิดเห็นของผ้อู า้ นวยการกองการศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
(ลงช่อื )
( นางกชนนั ท์ ทรายทอง)
นักวชิ าการศึกษาช้านาญการ รักษาการ ผอ.กองการศกึ ษา
คานา
ตามท่ี ข้าพเจ้านางสาวมนปริยารัตน์ เจิมเฉลิม ตา้ แหน่งครู วทิ ยฐานะครูช้านาญการ ศูนยพ์ ัฒนา
เด็กเล็กบ้านห้วยน้าเยน็ ได้เข้ารับการอบรมออนไลน์ หลักสตู ร “การพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา: การพัฒนาการ
เรียนร้รู ูปแบบ E-Learning เพื่อพัฒนาสมรรถนะครู ปีการศึกษา 2562 ซึ่งเป็นหลกั สูตรออนไลน์ ซึง่ โครงการจัด
อบรมโดย ชมรมนักวิจัยทางหลักสูตรและการสอนแห่งประเทศไทย โดยคุณครูท่ีอบรม ผ่านหลักสูตร 80
เปอร์เซ็นต์ขึนไปจะได้รับ ประกาศนียบัตร และได้รับชวั่ โมงในการอบรม จ้านวน 6 ชั่วโมง ซึ่งหลักสูตรดังกล่าวมี
วัตถุประสงค์ คอื
1. เพอื่ ใหค้ รแู ละผสู้ นใจมคี วามรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั การพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา
2.เพ่ือใหค้ รูและผู้สนใจสามารถออกแบบวิสัยทัศน์โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษาและค้าอธิบาย
รายวชิ าได้
ดังนั้น ข้าพเจ้า จึงได้ดาเนินการรวบรวมข้อมูล และจัดทารายงานสรุปผลการเข้ารับการอบรม
ตามโครงการดังกล่าว เพ่ือเป็นข้อมูล หลักฐานการเข้ารับการพัฒนาตนเอง ตลอดจนเพื่อใช้ประกอบการเก็บ
ร่องรอยเอกสารการเข้ารับการพัฒนาตนเองเพื่อขอเล่ือนวิทยฐานะและประกอบการพิจารณาประเมินผลการ
ปฏบิ ตั งิ านตามสมรรถนะ ต่อไป
ใคร่ขอขอบพระคุณ นายกเทศมนตรีเทศบาลต้าบลบ้านแซว และ รักษาการผู้อ้านวยการกอง
การศกึ ษา ทีส่ นบั สนุนและสง่ เสรมิ ให้ขา้ พเจ้าได้รบั การพฒั นาตนเอง มา ณ โอกาสนี
มนปรยิ ารัตน์ เจิมเฉลมิ
ผู้รายงาน
ตุลาคม 2562
สารบัญ
หน้า
บันทึกขอ้ ความรายงานการเข้ารับการอบรม ก
คานา ข
สารบัญ ค
ส่วนที่ 1 แบบสรปุ ผลการเขา้ รว่ มการอบรม 1-50
- จดุ ประสงค์ของการอบรมการพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา
- รปู แบบการอบรม
- กา้ หนดการฝกึ อบรม
- หน่วยงานผู้รับผดิ ชอบ/ใหค้ วามรู้
- เนือหาและหัวข้อในหอ้ งเรยี นออนไลน์ มดี งั นี
- ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับจากการเข้าร่วมโครงการ
- แนวทางในการน้าความรู้ ทกั ษะท่ีได้รบั จากการการเข้าร่วมอบรมไปปรับใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนแ์ ก่
หน่วยงาน
ส่วนท่ี 2 ภาคผนวก
- หนังสือคูม่ อื โดยหลักสูตรสถานศกึ ษา (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มนตรี วงษส์ ะพาน ภาควิชาหลักสตู รและการสอน
คณะศกึ ษาศาสตรม์ หาวิทยาลัยมหาสารคาม)
- Power point ประกอบคา้ บรรยายบทท่ี 1
- Power point ประกอบคา้ บรรยายบทที่ 2
- Power point ประกอบค้าบรรยายบทที่ 3
- วฒุ บิ ตั รอบรม
สรปุ ผลการเข้ารบั การอบรมออนไลน์
เรื่องการพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา ประจาปี 2562
1. การจัดอบรม ออนไลน์ดงั กล่าวมีวัตถุประสงคเ์ พื่อ ใหผ้ ู้เข้ารว่ มอบรมเขา้ ใจเก่ยี วกบั
1. เพ่ือใหค้ รแู ละผสู้ นใจมีความรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกับการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา
2.เพื่อใหค้ รแู ละผูส้ นใจสามารถออกแบบวิสัยทัศน์โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษาและค้าอธบิ ายรายวิชาได้
2. รปู แบบการอบรม
จดั อบรมโดย ชมรมนักวิจัยทางหลักสูตรและการสอนแห่งประเทศไทย โดยคณุ ครูท่ีอบรม ผ่านหลักสูตร
80 เปอรเ์ ซน็ ตข์ ึนไปจะได้รับ ประกาศนยี บัตร และได้รับชั่วโมงในการอบรม จ้านวน 6 ชว่ั โมง โดยการอบรม การ
พัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา นัน สามารถใช้ในการอ้างอิง ในตัวชีวัด ที่ 1.1 การสร้างหรือพัฒนาหลักสูตร และ
ตัวชีวัดท่ี 3.1 การพัฒนาตนเอง ซึ่งเปน็ หลักเกณฑ์ ในการขอมี /ขอเลื่อนวิทยฐานะ ตามเกณฑ์ ว 23 และใช้เป็น
หลักฐานประกอบตวั ชวี ดั ในหลักเกณฑ์การเล่อื นเงินเดอื นของครูได้
ขน้ั ตอนการเขา้ รับการอบรม
แนวทางการเรียนรู้ตามหลักสูตร ใชเ้ วลาการอบรม 6 ชั่วโมง ดงั นี
1. ดาวนโ์ หลดเอกสารประกอบการอบรมต่อไปนี
2. บทเรยี นที่ 1 ใชเ้ วลาในการเรียนรู้ จ้านวน 1 ชวั่ โมง 30 นาที ดงั นี
2.1 ศกึ ษาเอกสารประกอบการอบรม เรือ่ ง การออกแบบวิสัยทัศนห์ ลกั สูตรสถานศกึ ษา
2.2 รบั ชมวดี ที ศั น์ การบรรยายประกอบกับ Powerpoint (อยา่ ลมื กดติดตามวิดีโอในYoutube)
2.3 ฝึกฝนการวิเคราะห์วสิ ัยทศั น์ตามใบกจิ กรรมทา้ ยบทเรียน
3. บทเรียนที่ 2 ใชเ้ วลาในการเรียนรู้ จา้ นวน 1 ชว่ั โมง 30 นาที ดงั นี
3.1 ศึกษาเอกสารประกอบการอบรม เร่อื ง วสิ ยั ทัศน์การศกึ ษาแบบ 4.0
3.2 รับชมวดี ที ศั น์ การบรรยายประกอบกบั Powerpoint (อย่าลืมกดตดิ ตามวิดีโอในYoutube)
3.3 ฝกึ ฝนการกระจายวิสัยทศั น์ลงสูร่ ายวิชาตามใบกิจกรรมทา้ ยบทเรียน
4. บทเรียนที่ 3 ใช้เวลาในการเรียนรู้ จา้ นวน 1 ชวั่ โมง 30 นาที ดังนี
4.1 รบั ชมวดี ีทศั น์ การบรรยายประกอบกับ Powerpoint (อยา่ ลืมกดตดิ ตามวิดีโอในYoutube)
4.2 ฝกึ ฝนการเขียนค้าอธบิ ายรายวชิ า
5. ท้าแบบทดสอบหลงั เรยี น ระยะเวลาในการทดสอบ จา้ นวน 1 ชวั่ โมง 30 นาที
6. การประเมินผลการเรยี น ชมรมจะด้าเนินการตรวจข้อสอบ ถา้ ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 80 ทางชมรมจะสง่ ใบ
เกียรตบิ ัตรให้ทาง E-mail (ผูไ้ มม่ ีรายช่ือแปลวา่ คะแนนไมผ่ ่านเกณฑ์ ใหท้ า้ แบบทดสอบใหม่จนกวา่ จะผ่าน)
3. กาหนดการฝึกอบรม / เนอ้ื หาหลกั สตู รนีป้ ระกอบด้วย
บทเรยี นที่ 1 การออกแบบวสิ ัยทศั น์ หลักสตู รสถานศึกษา
บทเรยี นท่ี 2 การเชอื่ มโยงวสิ ัยทัศน์ ไปส่กู ารเรยี นการสอน
บทเรยี นที่ 3 การออกแบบค้าอธิบายรายวชิ า
เมื่อเรียนเนือหาเสร็จแล้ว คุณครูต้องท้าแบบทดสอบ ท้ายบทเรียนซึ่งแบ่งเป็น 2 ตอน โดยมีแบบ เขียน
ตอบจ้านวน 5 ขอ้ และแบบเลอื กตอบจ้านวน 5 ข้อ เม่อื ประเมนิ ผลไดร้ ับคะแนนไมต่ า้่ กว่ารอ้ ยละ 80
4. หนว่ ยงานผรู้ บั ผดิ ชอบ ใหค้ วามรู้ :
ชมรมนกั วจิ ัยทางหลกั สูตรและการสอนแห่งประเทศไทย
5. เนือ้ หาและหัวข้อในหอ้ งเรยี นออนไลน์ มีดังน้ี
หลักสูตรสถานศึกษา เป็นหลักสูตรท่ีมีหุ้นส่วนการทางานร่วมกันของบุคคลภายในสถานศึกษา
คณะกรรมการสถานศึกษาและชุมชนท่ีมีการวางแผนและออกแบบหลักสูตร ที่ครอบคลุมภาระงานการจัด
การศึกษาขันพืนฐานทุกด้านของสถานศึกษา การก้าหนดคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้เรียนจงึ เป็นเป้าหมาย
ของคุณภาพการศกึ ษา อันเป็นแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับภูมิสังคม คือ สงั คม วัฒนธรรม
และส่งิ แวดลอ้ มของชุมชน ซ่ึงเป็น มวลประสบการณท์ ีจ่ ะเกิดขึนกับผู้เรยี นตามศักยภาพ ของแต่ละบคุ คล
คุณลักษณะอันพึงประสงค์จะเป็นหลักยึดในการออกแบบหลักสูตร คุณลักษณะอันพึงประสงค์หมายถึง
การแสดงลักษณะเฉพาะที่เด่นของผู้เรียนเมื่อส้าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร เป็นลักษณะที่จะต้องบ่มเพาะผู้เรียน
เชน่ การคิด การใฝ่รู้ การตรงตอ่ เวลา ความมวี ินัย จติ สาธารณะ โดยเฉพาะคุณลกั ษณะด้านความซอื่ สตั ย์สุจริต
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์เหลา่ นจี ะถูกบ่มเพาะและหลอมรวมเปน็ บุคลกิ ภาพของผเู้ รียนแต่ละบุคคลผา่ น
กระบวนการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศกึ ษา
ความหมายและความสาคัญของหลกั สตู รสถานศกึ ษา
หลักสูตรสถานศึกษา เป็นแผนหรือแนวทางหรือข้อก้าหนดของการจัดการศึกษา ท่ีจะพัฒนาให้ผู้เรียนมี
ความรู้ ความสามารถ โดยสง่ เสริมให้แต่ละบุคคลพฒั นาไปสู่ศกั ยภาพสงู สดุ ของตน รวมถงึ ลา้ ดบั ขนั ของมวล
ประสบการณ์ทกี่ ่อใหเ้ กิดการเรียนรสู้ ะสมซ่งึ จะช่วยให้ผเู้ รียนน้าความรไู้ ปสู่การปฏบิ ัติได้ ประสบความส้าเร็จในการ
เรยี นรู้ด้วยตนเอง รู้จกั ตนเอง มีชีวติ อยู่ในโรงเรยี น ชมุ ชน สังคม และโลกอยา่ งมีความสุข
หลักสูตรสถานศึกษามีความส้าคัญ ต่อการช่วยพัฒนาผู้เรียนในทุก ๆ ด้านสามารถชีแนะให้ผู้บริหา ร
สถานศึกษา ครู อาจารย์ ตลอดจนผู้เก่ียวข้องกับการจดั การศกึ ษาได้พยายามจดั มวลประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนได้
พัฒนาตนเองในดา้ นความรู้ ทักษะ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์บรรลุตามจุดหมายของการ
จัดการศึกษา
ลกั ษณะของหลักสตู รสถานศกึ ษา
หลักสูตรสถานศกึ ษาประกอบด้วย
1) วสิ ยั ทศั น์
2) พันธกิจ
3) คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
4) จุดหมาย
5) โครงสรา้ ง
6) คาอธิบายรายวิชา
7) หนว่ ยการเรียนรู้
8) กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน
9) ระเบยี บการวัดและประเมินผล
10) คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรสถานศึกษา
หลกั สตู รมอี งค์ประกอบอะไรบ้าง
1. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร (objective) เพื่อสร้างแนวทางในการจัดการศึกษาว่าหลักสูตรนันๆ มุ่งให้
ผู้เรยี นเปน็ ไปในลักษณะใดบ้าง เช่น ผเู้ รยี นสามารถอา่ นออกเขยี นได้ หลังจากจบการศึกษาระดบั นันๆ เปน็ ต้น
2. เนอื หา (content) เปน็ เนอื หาสาระที่ก้าหนดไว้ โดยจะต้องครอบคลมุ ถึงทัง ดา้ นความรู้ ทศั นคติ และ
พฤตกิ รรมตา่ งๆ ดว้ ย เพอื่ ให้บรรลตุ ามจุดมุ่งหมาย ของการศึกษาทว่ี างไว้
3. การน้าหลักสูตรไปใช้ (Curriculum implementation) กิจกรรมการ จัดการเรียนการสอนซึ่งครูผ้สู อน
จะมีบทบาทมากท่ีสุดส้าหรับองค์ประกอบนี โดยถือว่าการสอนเป็นส่ิงท่ีส้าคัญท่ีสุดในการน้าเนือหาในหลักสูตร
นนั ๆไปใช้
4. การประเมินผล (evaluation) เป็นสิ่งท่ีชีให้เห็นว่าหลักสูตรนันๆ บรรลุจุด มุ่งหมายหรือไม่ แก้ไข
ปรบั ปรงุ และพฒั นาหลกั สตู รต่อไป
การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษามคี วามจาเป็นอยา่ งยิ่งที่จะตอ้ งได้รบั การประเมนิ และปรับปรุงให้มีคุณภาพมากยง่ิ ขึน
ตลอดเวลา ทงั นเี พื่อให้การจดั การศึกษาของแต่ละสถานศกึ ษามีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลสงู สดุ
การประเมินหลกั สตู รสถานศึกษามเี หตุผลทส่ี าคัญดังนี้
1. เพอ่ื รักษาและปรบั ปรุงคุณภาพทางวิชาการ
2. เพ่ือวางแผนปรับปรุงหรือจัดท้าหลกั สูตรใหม่
3. เพอ่ื จัดหาและจดั สรรงบประมาณ
4. เพอื่ ยืนยันต่อประชาชนและองค์กรภายนอกว่าสถานศกึ ษามกี ารควบคมุ ดแู ล
และตดิ ตามผลการใช้หลกั สูตรอยา่ งใกล้ชิด
กระบวนการประเมนิ หลักสูตรที่มีประสิทธิภาพสถานศึกษาจาเป็นต้องด้าเนนิ การประเมนิ หลักสตู รในทุก
มิตหิ รอื ประเมนิ อย่างครบวงจร ซึง่ มีมติ ิของการประเมินดังนี
1. ประเมินกระบวนการการพฒั นาหลกั สตู ร เชน่
- ความสอดคลอ้ งกับหลกั สูตรแกนกลาง
- ความครบถว้ นตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้
- การวิเคราะหค์ วามตอ้ งการของผ้เู รียน ชุมชน และประเทศชาติ
2. ประเมินเนือหาสาระของหลกั สตู ร เช่น
- ความเหมาะสมกบั วสิ ัยทศั น์ เปา้ หมาย
- ความทนั สมยั เป็นประโยชน์และจาเป็นต่อผู้เรยี น
- ความความสอดคลอ้ งกบั ธรรมชาติของผู้เรียน
3. ประเมนิ กระบวนการใชห้ ลักสูตร เช่น
- ระบบการบรหิ ารหลักสตู ร
- บริการสนบั สนุนทางด้านวิชาการแกผ่ ้สู อน
- ระบบการจัดการเรียนรู้
- ระบบการบรหิ ารงานกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
4. การประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี น เชน่
- คณุ ภาพตามที่สถานศกึ ษากา้ หนดไว้
- คุณภาพตามท่ีกา้ หนดไว้ในหลกั สตู รการศกึ ษาขันพืนฐาน
- คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ
การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาถือว่าเป็นภาระหน้าท่ีรับผิดชอบของสถานศึกษาทุกแห่ง ที่จะต้อง
ด้าเนินการให้เป็นระบบและมีความต่อเน่ือง ด้วยกระบวนการประเมินที่มีประสิทธิภาพ มีความเหมาะสมกับ
วัฒนธรรมองค์กรในแต่ละสถานศึกษา ซ่ึงผลการประเมินหลักสูตรจะท้าให้สถานศึกษามีข้อมูลและสารสนเทศ
ประกอบการตัดสินใจทังผู้บริหารสถานศึกษา และผู้สอน ตลอดจนคณะกรรมการสถานศึกษา ที่จะด้าเนินการ
พัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ แกผ่ ู้เรยี น
สรุป
หลักสูตรสถานศึกษาเป็นหัวใจส้าคัญส้าหรับการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ การพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาตอ้ งใชค้ วามร่วมมือ รว่ มใจของบุคคล ท่ีเก่ียวข้องทกุ ฝ่าย ทังผู้บริหาร ครู
ผูป้ กครอง ชุมชน ตลอดจนตัวผ้เู รียน ส่วนการใช้หลักสูตรสถานศึกษากจ็ ะตอ้ งมรี ะบบการควบคุมคุณภาพในด้าน
การจัดการเรยี นรู้และกระบวนการวดั และประเมนิ ผลผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ ไปตามทห่ี ลักสูตรสถานศกึ ษาก้าหนดไว้ สดุ ท้าย
คอื การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างตอ่ เน่ืองเป็นระบบครบวงจรและนาผลการประเมินมา
ปรับปรุง และพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาให้มีคุณภาพมากย่ิงขนึ
พัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา
แนวคิดในการพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา
มนษุ ย์สว่ นใหญ่จะปฏิบตั ิงานและกระทา้ การใด ๆ ตามความรู้ ความเช่อื และแนวคิดของตนเอง
ดังนัน การท่ผี ู้บริหารโรงเรยี น คณะครู และบุคลากรท่ีเกีย่ วข้อง จะกระทา้ การและปฏิบัติงานเก่ียวกบั การพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษาให้ประสบความส้าเร็จมากน้อยเพียงใด จึงขึนอยู่กับความรู้และแนวคิดท่ีมีเหตุผลและความ
ถูกต้อง อนั จะเป็นแนวทาง ขวัญและกา้ ลังใจให้ผูป้ ฏิบตั ิงานเกดิ ความเชอ่ื มนั่ และมุ่งม่นั ในการปฏิบัติภารกิจดังกลา่ ว
ความสาคัญของหลักสูตรสถานศกึ ษา
ในอดีตสถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุจุดหมายตามหลักสูตร
กลางท่ีกระทรวงศึกษาธิการไดก้ ้าหนดไว้เท่านนั ปัจจบุ ันแนวความคิดดังกล่าวเปลย่ี นไป มกี ารกระจายอา้ นาจและ
มอบหมายให้สถานศึกษามีอ้านาจตัดสินใจในกิจกรรมต่างๆ มากขึน จึงมีผู้น้าแนวความคิดนีบรรจุไว้ใน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เพ่ือให้บังเกิดผลในการปฏิบัติ ดังขอ้ ความในวรรคสอง มาตรา 27
ที่ว่า ให้สถานศึกษาขันพืนฐานมีหน้าท่ีจัดท้าสาระของหลักสูตรตามวัตถุประสงค์ในวรรคหนึ่ง ในส่วนท่ีเกี่ยวกับ
สภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพ่ือเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว
ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ (สา้ นกั งานปฏิรปู การศึกษา ม.ป.ป.: 15)
จากข้อความตามวรรคนีแสดงว่า สถานศึกษาทจี่ ัดการศกึ ษาขนั พืนฐาน จะตอ้ งจัดท้าสาระในรายละเอียด
ตามกรอบของหลักสตู รแกนกลางและจดั ท้าหลักสูตรอน่ื บางส่วนเพิ่มเติม เพ่ือสนองความต้องการของผู้เรียนและ
ความต้องการของท้องถิน่ นันๆ ดงั นนั บทบาทของสถานศึกษาโดยเฉพาะผู้บริหารและคณะครูจะต้องรับผดิ ชอบงาน
ทางดา้ นการจัดทา้ รายละเอยี ดของหลกั สูตรในทุกเนอื หาสาระเพิม่ เตมิ
ทังนีเพ่ือให้หลักสูตรตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนและท้องถ่ินให้มากท่ีสุด ประกอบกับสถานศึกษามี
บคุ ลากรทม่ี ีความพร้อมทจ่ี ะกา้ หนด รายละเอยี ดสาระของหลักสูตรเพ่มิ เตมิ ได้เอง
ในการพัฒนาหลักสูตรระดับสถานศึกษานัน นอกจากเป็นบทบาทของบุคลากรของสถานศึกษาโดยตรง
แล้ว สถานศึกษาอาจเชิญนักวิชาการจากมหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานต่าง ๆ มาช่วยจัดท้าหลักสูตร
ใหแ้ ก่สถานศึกษาได้ มาช (Marsh, 1997: 8) ไดก้ ล่าววา่ ผ้ทู จ่ี ะจัดทา้ หลกั สูตรให้แก่โรงเรยี น
มาจากหลายแหล่ง จากบุคลากรในโรงเรียน ครู ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ผู้เชี่ยวชาญจาก
สถาบันอดุ มศึกษา กลุ่มบคุ คลจากอตุ สาหกรรมและชุมชน เจ้าหนา้ ท่ขี องรฐั บาลจนถงึ นกั การเมือง
การท่ีบุคคลของสถานศึกษามีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร โดยเฉพาะผู้บริหารและครูผู้สอน จะช่วยให้
ผู้เก่ียวข้องดังกล่าวเข้าถึงและเข้าใจความส้าคัญ ทิศทางของหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุ
วัตถปุ ระสงค์ได้อย่างแท้จรงิ เพราะได้มีการอภิปราย การตรวจสอบ และการหาข้อยุติอยา่ งรอบคอบ เปน็ ที่แน่ชัด
ว่าการจัดการเรียนการสอนของครูที่ด้าเนินตามหลักสูตรท่ีตนมีส่วนร่วมสร้างขึนมาเอง จะท้าให้การจัดการสอน
สนองความต้องการของผู้เรียนและบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้มากกว่าการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรที่มีผู้
กา้ หนดมาใหเ้ รยี บร้อยแล้ว
นักวิชาการด้านการพัฒนาหลักสูตรต่างเหน็ พ้องต้องกันว่า การกระจายอ้านาจการตัดสินใจเกี่ยวกับการ
พัฒนาหลักสตู รเปน็ เรื่องจ้าเป็นและมีความสา้ คญั จึงบญั ญัติศัพท์ท่ีเกี่ยวกบั แนวคิดในการสนบั สนุนใหส้ ถานศึกษา
จัดท้าหลักสูตรเองไว้มากมาย เช่น การพัฒนาหลักสูตรที่ยึดโรงเรียนเป็นฐาน (School-based curriculum
development) การพัฒนาหลักสูตรที่ยึดโรงเรียนเป็นหลัก (School-focused curriculum development)
พร้อมทังมีความพยายามที่จะมอบอ้านาจการตัดสินใจและการบริหารจัดการให้แก่ครูใหญ่หรือผู้บริหารโรงเรียน
โดยบัญญัติศัพท์เรียกแนวความคิดนีว่า การบริหารจัดการท่ียึดแหล่งปฏิบัติการเป็นฐาน (Site-based
Management) หรอื การบริหารจดั การท่ยี ดึ โรงเรยี นเป็นฐาน (School-based Management) เป็นตน้
สเตอร์แมน (Sturman, 1989) ได้สรุปถึงประโยชน์หรือขอ้ ดขี องการกระจายอ้านาจทงั การบริหารจดั การและการ
พัฒนาหลกั สูตรไปสสู่ ถานศึกษาไวด้ งั นี
1. มีความสามารถท่ีจะตัดสินใจให้สอดคลอ้ งกบั เงื่อนไขของท้องถนิ่ ไดด้ ขี ึน
2. มีศักยภาพทจ่ี ะสร้างความกระตอื รือร้นระหว่างผมู้ ีส่วนรว่ มในการตัดสินใจ
3. มีศักยภาพที่จะส่งเสริมความเข้าใจเกยี่ วกับประชาธิปไตยได้ดีขนึ โดยชักจูงการดึงให้บุคลากรเข้าร่วม
กิจกรรมการตัดสินใจมากขนึ
4. มีศกั ยภาพในการส่งเสรมิ ใหเ้ กิดโครงสร้างการทา้ งานท่ีมลี กั ษณะเป็นนวัตกรรมมากขนึ
5. มปี ระสิทธิภาพในการจดั การศกึ ษามากขึน หลีกเลีย่ งหรือลดการใชโ้ ครงสรา้ งการทา้ งานแบบเดมิ ลง
6. มศี กั ยภาพในการนา้ ทรัพยากรของรฐั มาใช้ เพือ่ ให้เกดิ การตอบสนองความต้องการที่เหมาะสมมากขนึ
7. ลดความขดั แย้งของกลมุ่ ผลประโยชนต์ ่าง ๆ
8. เปิดโอกาสใหก้ ลุ่มบุคคลทีด่ อ้ ยโอกาสเขา้ มามีสว่ นรว่ ม
9. สง่ เสริมการตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบตั งิ านอย่างเป็นวตั ถุวสิ ยั
ประโยชน์อีกประการหนึ่งท่ีเห็นไดช้ ัดเจนจากการท่ีสถานศึกษาได้จัดท้าหลักสูตรขึนใช้เอง ก็คือสามารถ
สนองความต้องการ ความถนัด และความสามารถของผู้เรียนได้อย่างแท้จริง แม้หลักสูตรกลางจะก้าหนดเป็น
หลักการไว้ว่า “เป็นการศึกษาที่มุ่งให้ผู้เรียนค้นพบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเอง”
(กระทรวงศึกษาธิการ 2533: 1) แต่กม็ ักจะไมค่ ่อยบรรลเุ จตนารมณ์ท่วี างไว้แม้ในอดีตและปัจจุบนั ทังนีเพราะโดย
ขอ้ เทจ็ จริง สภาพโรงเรียนและธรรมชาติของผู้เรียนในแตล่ ะทอ้ งถิ่นมีความแตกต่างและความหลากหลายค่อนขา้ ง
สูง เนือหาสาระและรายวิชาต่าง ๆ ที่ก้าหนดจากส่วนกลางไม่สามารถสนองความต้องการเฉพาะดังกล่าวของ
โรงเรียนได้ การสง่ เสรมิ ใหโ้ รงเรยี นก้าหนดรายละเอียดของ หรอื หลักสตู รแกนกลางหลกั สูตรในบางรายวชิ าเพิม่ เติม
ให้สอดคล้องกับท้องถ่ินและความต้องการของผู้เรียน จึงเป็นทางออกที่จะแก้ปัญหาความจ้ากัดของความ
หลากหลายของหลักสตู รได้
วิธกี ารพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา
โดยหลักการทัว่ ไป ขันตอนในการพฒั นาหลักสตู รในระดับชาติหรอื ระดบั สถานศึกษา จะมuวิธีด้าเนินการ
ในลักษณะเดียวกัน กล่าวคือ เร่ิมด้วยการก้าหนดจดุ หมายของหลักสูตร การก้าหนดเนือหาสาระ การน้าหลักสูตร
ไปใช้ การประเมินหลักสตู ร และการปรับปรงุ เปล่ยี นแปลงหลักสูตร อย่างไรกต็ าม แต่ละขนั ตอนอาจมีการกระจาย
กิจกรรมให้ละเอียดและครอบคลุมมากขึนได้ เพื่อให้เหมาะสมกับธรรมชาติของหลักสูตรแต่ละระดับหรือแต่ละ
ประเภท
ทาบา (Taba, 1962) นักพัฒนาหลักสูตรชาวอเมริกัน ให้ความเห็นสนับสนุนให้โรงเรียนเป็นผู้จัดท้า
หลักสูตรเอง โดยยึดหลักการด้าเนินการจากระดับล่างหรือระดับรากหญ้า ทาบามีความเช่ือว่าครูใน โรงเรียนซึ่ง
เปน็ ผสู้ อนโดยตรงควรจะเป็นผู้จดั ท้าหลกั สตู รเองมากกวา่ ส่วนกลางหรอื เจ้าหนา้ ทีร่ ะดบั สงู เป็นผูจ้ ัดทา้ และจัดสง่ มา
ให้ และกล่าวว่าครูควรจะเริ่มกระบวนการพัฒนาหลักสูตรจากการสร้างหน่วยการเรียนการสอนในเนือหาเฉพาะ
สา้ หรบั เดก็ ในโรงเรียนก่อน ความเห็นดังกล่าวสอดคล้องกบั นโยบายปฏริ ปู การศกึ ษาในครังนี
ทาบา (Taba, 1962) ได้ก้าหนดกระบวนการพัฒนาหลักสูตรในระดับโรงเรียนออกเป็น 5 ขันตอน ซึ่ง
สามารถปรับใช้ไดก้ บั บรบิ ทของประเทศไทย ดงั นี
1. การผลิตหน่วยการเรียนการสอนหรือหลักสูตรเฉพาะรายวิชา การด้าเนินการจะเป็นไปในลักษณะน้า
รอ่ งกระบวนการจัดทา้ หลักสูตรในลักษณะหน่วยการเรียนหรอื หลักสูตรเฉพาะรายวิชา มี 4 กิจกรรมดา้ เนินการ 8
ประการ ดังนี
1.1 การวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียน ในขันนีคณะกรรมการหลักสูตรของโรงเรียนจะส้ารวจความ
ต้องการของผู้เรียนเพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดท้าหลักสูตร โดยพิจารณาจากช่องว่าง จุดบกพร่องและความ
หลากหลายแห่งภมู หิ ลังของผเู้ รียน
1.2 การก้าหนดจุดหมาย ภายหลงั จากได้วิเคราะห์ความต้องการของนักเรียนแล้ว ผูว้ างแผนหลักสูตรจะ
ช่วยกันก้าหนดจดุ หมายท่ีต้องการ
1.3 การเลือกเนือหา เนอื หาสาระหรือหัวข้อเนือหาที่จะน้ามาศึกษาได้มาโดยตรงจากจดุ หมาย คณะผู้ท้า
หลักสูตรไม่เพียงแต่จะต้องพิจารณาจุดหมายในการเลือกเนือหาเท่านัน แต่จะต้องพิจารณาความสอดคล้องและ
ความส้าคญั ของเนอื หาที่เลอื กด้วย
1.4 การจัดเนอื หา เมื่อไดเ้ นอื หาสาระแล้ว งานขนั ตอ่ ไปคือ การจัดล้าดบั เนือหา ซึ่งอาจจัดตามล้าดับจาก
เนือหาท่ีง่ายไปสู่เนือหาท่ียาก หรืออาจจัดตามลักษณะหรือธรรมชาติของเนือหาสาระท่ีต้องการให้ผู้เรียนเรียนรู้
การจัดเนือหาท่ีเหมาะสมควรจะสอดรับกับวุฒิภาวะของผู้เรียน ความพร้อมของผู้เรียนและระดับผลสัมฤทธ์ิของ
ผู้เรยี น
1.5 การเลือกประสบการณ์การเรียนรู้ ผู้พัฒนาหลักสูตรจะต้องเลือกวิธีการหรือยุทธวิธีท่ีผเู้ รียนสามารถ
น้าไปใช้กับเนอื หาได้ นกั เรียนจะท้าความเข้าใจเนือหาผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ทน่ี ักวางแผนหลักสูตรและครูเป็นผู้
เลอื ก
1.6 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูเป็นผู้ตัดสินวิธีการที่จะจัดและก้าหนดกิจกรรมการเรียนรู้ และการ
จัดล้าดับขนั ตอนของการใช้กิจกรรม ในขนั นคี รจู ะปรบั ยุทธวธิ ใี หเ้ หมาะกับนักเรยี นเฉพาะกลุ่มทคี่ รูรับผดิ ชอบ
1.7 การกา้ หนดสิ่งทจี่ ะต้องประเมินและวิธีการในการประเมนิ ครผู ้สู อนในฐานะผู้มีสว่ นรว่ มในการพัฒนา
หลักสูตรจะต้องประเมินและตรวจสอบให้ได้ว่าหลักสูตรดังกล่าวบรรลุจุดหมายหรือไม่ ครูผู้สอนจะต้องเลือก
เทคนิควิธีอย่างหลากหลายเพื่อใช้ให้เหมาะสมกับการวัดผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียน และให้สามารถบอกได้ว่าจุดหมาย
ของหลักสตู รได้รับการตอบสนองหรอื ไม่
1.8 การตรวจสอบความสมดลุ และล้าดบั ขันตอน ผู้จัดท้าหลักสูตรจะตอ้ งม่งุ เน้นท่ีการจัดท้าหลักสตู รหรือ
หน่วยการเรียนการสอนให้คงเส้นคงวาและสอดคล้องภายในตัวหลักสูตรเอง การด้าเนินการในลักษณะนีกเ็ พื่อให้
ผเู้ รยี นเกดิ ประสบการณ์การเรยี นรทู้ เ่ี หมาะสมและเกิดความสมดลุ ในเนือหาและประเภทของการเรยี นรู้
2. การน้าหลักสูตรหรือหน่วยการเรียนไปทดลองใช้ เม่ือคณะผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้จัดท้าหลักสูตรและ
เอกสารประกอบหลักสูตรในรูปของสอื่ หรือบทเรียนต่าง ๆ เรยี บร้อยแล้ว คณะครกู ็จะน้าเอกสารหลักสูตรเหลา่ นัน
ไปทดลองสอนในชนั เรยี นที่รับผิดชอบ มีการสงั เกต วิเคราะห์และเก็บรวบรวมผลการใช้หลักสูตรและการจดั กิจการ
รมในชนั เรยี น เพือ่ เป็นข้อมูลสา้ หรับการปรับปรุงหลกั สูตรให้สมบรู ณ์ขนึ ในโอกาสต่อไป
3. การปรับปรุงเนือหาในหลักสูตรใหส้ อดคล้องกนั ในขันตอนนีจะต้องปรับหน่วยการเรยี นหรือหลกั สูตรให้
สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของผูเ้ รยี นอย่างแท้จริง โดยพิจารณาความสอดคล้องระหว่างความสามารถของผเู้ รยี น
กบั ทรัพยากรท่โี รงเรยี นมีอยแู่ ละกับพฤติกรรมการสอนของครู มีการรวบรวมขอ้ จา้ กดั ต่าง ๆ ที่ได้จากการทดลองไว้
ในคูม่ อื ครู เพอื่ จะใช้เปน็ ข้อสังเกตและแนวทางท่จี ะช่วยใหค้ รไู ดจ้ ดั กจิ กรรม การสอนอยา่ งรอบคอบ
4. การพัฒนากรอบงาน ภายหลังจากจัดท้าบทเรียนหรือหลักสูตรรายวิชาต่าง ๆ จา้ นวนหน่ึงแล้ว ผู้พัฒนา
หลักสูตรจะต้องตรวจสอบหลักสูตรและสื่อในแต่ละหน่วยหรือแต่ละรายวิชา ในประเด็นของความเหมาะสมและ
ความเพียงพอของขอบข่ายเนือหา และความเหมาะสมของการจัดล้าดับเนือหา ครูหรือผู้เชี่ยวชาญทางด้านการ
พัฒนาหลักสูตรจะต้องรับผิดชอบจัดท้าหลักการและเหตุผลของหลักสูตรโดยด้าเนินการผ่านกระบวนการการ
พัฒนากรอบงาน
5. การน้าหลักสูตรไปใช้และเผยแพร่ เพื่อให้ครูท่ีเก่ียวข้องน้าหลักสูตรไปใช้จริงในระดับห้องเรียนอย่าง
ได้ผล จา้ เป็นที่ผู้บรหิ ารจะต้องจัดฝึกอบรมครปู ระจา้ การอยา่ งเหมาะสม
กระบวนการพัฒนาหลกั สูตรทัง 5 ขันตอนที่กล่าวมามีลักษณะท่ีเป็นเชงิ วิชาการอยู่มาก ดังนันเม่ือมีการ
จัดท้าหลักสูตรในสถานการณจ์ ริงผู้รับผิดชอบสามารถปรบั ปรงุ กิจกรรมและขนั ตอนให้เหมาะสมกบั ธรรมชาติของ
เนือหาวิชา สภาพท้องถิ่นและเงื่อนไขอื่น ๆ ได้ อย่างไรก็ตามในเวลาปฏิบัติงาน เม่ือมีปัญหาเกิดขึนก็สามารถ
ปรึกษาหารือกบั ผู้รู้และผู้เชี่ยวชาญในดา้ นนไี ด้
ความได้เปรียบของการสร้างหลักสูตรโดยคณะบุคคลในสถานศึกษาก็คือ สามารถตรวจสอบผลงานและ
ปรับปรุงแก้ไขให้ถกู ต้องเหมาะสมไดต้ ลอดเวลา เพราะมีนักเรียนซ่ึงพร้อมที่จะให้ความร่วมมือในการทดลองใช้ใน
ทกุ ขันตอนและตลอดเวลา
การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนใหส้ อดคลอ้ งกับหลักสูตร
หลักสูตรของสถานศึกษาจะประสบความส้าเร็จได้ดีเพียงใดขึนอย่กู ับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่
สอดคล้องและสอดรับกับจุดหมายของหลักสูตร เมื่อพิจารณาธรรมชาติของหลักสูตรโดยทั่วไปแล้ว หลักสูตรของ
แต่ละรายวิชาจะมจี ดุ เนน้ ในด้านหนง่ึ ด้านใดดังตอ่ ไปนี
ด้านที่หน่ึง เป็นหลักสูตรที่เน้นทางด้านวิชาการหรือพุทธิพิสัย (cognitive domain) ในลักษณะการ
ส่งเสรมิ ความรู้ ความคดิ และสติปัญญา
ด้านท่ีสอง เป็นหลักสูตรท่ีเน้นการเสริมสร้างทักษะทางกาย ซึ่งเน้นกลไกของร่างกายในการกระท้า
กจิ กรรมหรือทกั ษะพิสัย (psychomotor domain) เช่น วิชาประเภทการงาน การอาชพี การพลศึกษา นาฎศิลป์
และดนตรี เปน็ ตน้
ดา้ นที่สาม เป็นหลักสูตรท่ีเน้นการปลูกฝงั ทัศนคติ ค่านิยม จริยธรรมและความประพฤตขิ องผู้เรียน หรือ
จิตพิสยั (affective domain)
เนื่องจากวิธีการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆ มีลักษณะการให้ความรู้ ความเข้าใจ และการฝึก
ทักษะตา่ ง ๆ ไว้จา้ นวนมากและหลากหลายอยู่แลว้ จึงจะไมอ่ ธบิ ายซ้า เพราะการสอนในสองดา้ นแรกเป็นการสอน
ทเ่ี นน้ ทางดา้ นพุทธิพสิ ัยและดา้ นปฏิบัติหรอื ทักษะพิสัย ทคี่ ุ้นเคยกันดอี ยู่แลว้ เป็นการเรียนการสอนทตี่ รงไปตรงมา
ตรวจสอบหรือประเมินผลได้ชัดเจนว่าประสบความส้าเร็จหรือล้มเหลว อีกนัยหนึ่งก็คือสามารถบอกได้ว่าผู้เรียน
สามารถเรียนรู้และบรรลุจุดหมายที่วางไว้หรือไม่ จึงเป็นเรอ่ื งของการมุ่งผลสมั ฤทธิ์แห่งการเรยี นรู้ของผ้เู รยี น การ
วัดและประเมินผลกส็ ามารถวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนไดโ้ ดยตรง
สว่ นการเรยี นร้ทู างด้านจิตพิสยั เป็นการเรียนรู้ทม่ี ีความซับซอ้ นกว่า เพราะเป้าหมายของการเรียนด้านนี
ต้องมุ่งถึงขันสามารถน้าไปปฏิบัติด้วย ไม่ใช่เพียงการรู้และการเข้าใจในเร่ืองจริยธรรมหรือความดีเท่านัน แต่ท่ี
จา้ เป็นตอ้ งเน้นการเรยี นรู้ทางด้านจริยธรรมเป็นกรณพี ิเศษ เพราะรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2540 ได้ตระหนักถึงจริยธรรมและคุณธรรมของเยาวชนว่ามีความสา้ คัญอยา่ งย่ิง จึงก้าหนดไว้ในมาตรา 81 ว่า รัฐ
ต้องจัดการศกึ ษาอบรมและสนับสนุนให้เอกชนจัดการศกึ ษาอบรมให้เกิดความรูค้ ู่คุณธรรม (อกั ษราพิพัฒน์ 2543:
21) ส่วนพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ย้าเรื่องนีเช่นเดียวกัน ในมาตรา 24 (4) ว่า “จัดการ
เรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูด้ ้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทังปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดี
งามและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ไวใ้ นทุกวชิ า” (ส้านกั งานปฏริ ูปการศกึ ษา ม.ป.ป. : 13)
ตามข้อเท็จจริง การศึกษาของประเทศไทยทุกระดับได้เน้นการปลูกฝังค่านิยม จริยธรรม และคุณธรรม
ของผู้เรียนตลอดมา แตก่ ารด้าเนนิ การสอนในเร่อื งดังกลา่ วยังไม่ประสบความสา้ เร็จตามทค่ี าดหวงั ไวม้ ากนกั เพราะ
นักเรียนสว่ นใหญม่ ีความรทู้ างจริยธรรมเปน็ อยา่ งดี แต่พฤติกรรมท่ีแสดงออกยงั มไิ ด้สอดคลอ้ งกบั ความร้ทู ี่มี ดงั นัน
ถ้าจะสอนให้นักเรียนประพฤติและปฏิบัติตามหลักจริยธรรมอย่างแท้จริง จ้าเปน็ จะต้องจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนทีแ่ ตกต่างไปจากการเรยี นรทู้ างวชิ าการในหอ้ งเรียน
โคลเบอร์ก (Kohlberg, 1970 : 120 ) ไดก้ ้าหนดวิธีการสอนจริยธรรมทไ่ี ด้ผลกบั นกั เรยี น 2 วิธี ดังนี
วิธีแรก เป็นการสอนระดับห้องเรียน ยึดการอภิปรายปัญหาจริยธรรมเพ่ือมุ่งเน้นการหาเหตุผลท่ีดีในการ
ประพฤติตนให้เป็นคนดีตามหลักจริยธรรม โดยยกกรณีปัญหาจริยธรรมมาเป็นสื่อในการอภิปราย การสอนตาม
วิธีการนี ครตู ้องมีความสามารถในการดูแล กระตุ้นและตะล่อมทิศทางในการหาเหตุผลท่ีเหมาะสมของผู้เรียนมา
ประกอบการอภิปราย
วิธีที่สอง เป็นการสอนจริยธรรมจากสถานการณ์หรือสิ่งแวดล้อมที่เป็นจริง เป็นหลักสูตรแฝง (Hidden
curriculum) ซ่งึ ดูเหมือนว่าโคลเบอร์กจะให้ความสา้ คญั แก่การสอนจริยธรรมตามแนวหลักสูตรแฝงเช่นนมี ากกว่า
เช่นเดียวกับพอสเนอร์ (Posner, 1992 :11) ซึ่งให้ความส้าคัญของหลักสูตรแฝงโดยกล่าวว่า หลักสูตรแฝงเป็น
หลักสูตรที่บุคลากรในโรงเรียนอาจไม่ได้รับรู้อย่างเป็นทางการ แต่มีอิทธิพลโดยตรงต่อนักเรียนอย่างลุ่มลึกและ
ยาวนานมากกวา่ หลักสูตรท่เี ป็นทางการของโรงเรยี น
นักพัฒนาหลักสูตรหลายคนเชื่อว่า หลักสูตรที่เป็นทางการไม่สามารถสอนจริยธรรมและค่านิยมให้แก่
นักเรียนได้ดีเท่าหลักสูตรแฝง และเรียกชื่อหลักสูตรประเภทนีหลายช่ือ เช่น Implicit curriculum (Goodlad,
1984)และ Unstudied curriculum (Saylor & Alexander, 1974) ซึ่งมีความหมายเดียวกันกับ หลักสูตรแฝง
หรือ Hidden curriculum
ในท้านองเดียวกัน นักสังคมวิทยาได้บัญญัติค้าว่า “socialization” หรือการขัดเกลาทางสังคมน้ามาใช้
อธิบายการเรียนรู้จริยธรรม ค่านิยมและพฤติกรรมต่าง ๆ ของคนที่ใกล้ชิดกับเด็ก ว่าเป็นการเรียนรู้จากตัวแบบ
หรอื แบบอยา่ งของผู้ใหญ่ เด็กจะแยกไม่ออกวา่ พฤติกรรมใดดีหรือพฤตกิ รรมใดไมด่ ี ถ้าผ้ใู หญต่ ้องการใหเ้ ด็กเปน็ คน
ดี ผใู้ หญห่ รอื สงั คมจะตอ้ งเสนอตัวแบบหรือตัวอยา่ งพฤตกิ รรมที่ดงี ามให้เดก็ ไดเ้ ลียนแบบ
การสอนจริยธรรมท่ีไม่ได้ผลมักเกิดจากความขัดแย้งระหว่างสิ่งท่ีผู้ใหญ่สอนให้เด็กปฏิบัติกับสิ่งท่ีผู้ใหญ่
ปฏิบัติ เป็นที่ประจักษ์ชัดว่าเด็กมักจะประพฤติและปฏิบัติตนตามที่ผู้ใหญ่หรือสังคมปฏิบัติกัน มากกว่าที่ครูสอน
หรือทีผ่ ใู้ หญป่ รารถนาจะให้เด็กนา้ ไปประพฤตแิ ละปฏิบตั ิ ซงึ่ ต้องยอมรับว่าสงั คมไทยมี
พฤติกรรมแบบอย่างของผู้ใหญ่และสังคมท่ีไม่พึงปรารถนาให้เห็นเป็นจ้านวนมาก แบบอย่างเหล่านีเป็น
อุปสรรคต่อการสอนจริยธรรมและคุณธรรมในครอบครัว และในโรงเรียน ถ้าจะให้การสอนจริยธรรมในโรงเรียน
ประสบความส้าเร็จอยา่ งแท้จริง ผบู้ ริหารและครทู ุกคนในโรงเรียนตอ้ งเขา้ ใจอทิ ธิพลของหลักสูตรแฝง และต้องร่วม
ใจกันสร้างบรรยากาศในโรงเรียนให้เอือต่อการเรียนรู้จริยธรรมของนักเรียน กล่าวคือ ผู้บริหารจะต้องริเร่ิมและ
ประชุมหารอื กับครแู ละบุคลากรทุกประเภทในโรงเรยี น เพื่อรว่ มสร้างแบบอย่างที่ดที างจริยธรรมใหแ้ ก่นกั เรยี น นั่น
คือ ถา้ จะสอนใหน้ ักเรยี นเปน็ คนดี มีจริยธรรม ผ้บู ริหาร ครู และบุคลากรในโรงเรยี นทุกคนตอ้ งประพฤติตนให้เป็น
ผู้มีจริยธรรมก่อน มีการสร้างกฎเกณฑ์ มาตรฐานและระเบียบแบบแผนหรือวัฒนธรรมของโรงเรียนที่เอือและ
สง่ เสรมิ การเรยี นร้แู ละการปฏบิ ัตติ นเชิงจรยิ ธรรมของผเู้ รียนใหถ้ ูกต้อง
นอกจากนี โรงเรยี นจะต้องสง่ เสริมการท้ากจิ กรรมพิเศษของนักเรียน เช่น โดยการจัดชุมนุม สโมสร และกิจกรรม
พเิ ศษท่ีเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนได้ทา้ งานและอยู่รว่ มกันกับผู้อ่ืน มีความเคารพต่อกัน มีความเขา้ ใจและเออื อาทรต่อ
กัน มีความรับผิดชอบซ่ือสัตย์ต่อกัน และคุณสมบัติอ่ืนๆ ที่ส่งเสริมความมี จริยธรรม แม้ในปัจจุบันนีสถานศึกษา
ทั่วไปได้จัดกิจกรรมดังกล่าวอยู่แล้ว แต่ยังขาดคุณภาพและทิศทางของการจัดกิจกรรม ในโอกาสต่อไปนีเมื่อ
สถานศึกษาไดร้ ับมอบอา้ นาจให้ด้าเนินกิจกรรมการศกึ ษาเองทังหมด ตามหลกั การบริหารจัดการที่ใช้โรงเรียนเป็น
ฐาน ผู้บริหารและครูอาจารย์ในโรงเรียนจะต้องมุ่งม่ันและร่วมมือกันวางแผน ก้าหนดทิศทางและจัดกิจกรรมที่
สง่ เสริมจรยิ ธรรมของผู้เรยี นตามแนวคดิ และแนวทางทไ่ี ด้กล่าวมาแล้ว
ทก่ี ล่าวมาทังหมดนี เป็นแนวความคิดและแนวปฏิบัตทิ ั่วไปอย่างกว้างๆ เก่ียวกับการพัฒนาหลักสตู รโดย
สถานศกึ ษาเป็นผู้รบั ผิดชอบ เนือหาสาระในล้าดับต่อไปจะกล่าวถงึ แงม่ ุมและรายละเอียดของการพัฒนาหลักสูตร
สถานศกึ ษาทน่ี ้าไปปฏิบัตจิ ริงต่อไป
กระบวนการการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา
แม้ว่าการพัฒนาหลกั สูตรทใ่ี ช้โรงเรียนเป็นฐาน หรือหลักสูตรสถานศึกษา ตามนัยแห่งหลักสูตรการศกึ ษา
ขนั พืนฐาน พุทธศักราช 2544 มุ่งหวังจะให้สถานศึกษาดา้ เนินการจัดท้ารายละเอียดของเนือหาสาระในหลักสูตร
ขันพืนฐานเพ่ิมเติม แต่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ก็ยังเน้นความส้าคัญของเนือหาสาระ
ประเภท สภาพปัญหาในชุมชน สังคม ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นและคุณลักษณะที่พึงประสงค์เพ่ือการเปน็ สมาชิกทด่ี ีของ
ครอบครัว ชุมชน และสังคม ดังนันนอกจากภารกิจหลักของสถานศึกษาที่จะจัดท้ารายละเอียดของหลักสูตรขัน
พืนฐานตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ก้าหนดกรอบแล้ว สถานศึกษายังต้องพิจารณาและจัดท้าสาระการเรียนรู้
เพ่มิ เติม นอกเหนอื จากหลักสตู รการศึกษาขันพนื ฐานดังกล่าว เพ่ือให้สอดคลอ้ งและสนองความต้องการของผู้เรยี น
ที่ดา้ รงชวี ิตอยู่ในหมู่บ้าน ตา้ บล ท้องถิ่น หรอื ชุมชนทีม่ คี วามแตกตา่ งกัน
เพ่ือให้สถานศึกษาประสบความส้าเร็จในการพัฒนาหลักสูตรและจัดท้าเนือหาสาระของหลักสูตรทังสอง
ประเภทดงั กลา่ วข้างตน้ จึงขอเสนอรายละเอียด มิติ และมุมมองทม่ี ีตอ่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา ดังนี
จุดหมายของหลักสูตรสถานศกึ ษา
สถานศึกษาเป็นแหล่งของการแสวงหาความรู้ สถานศึกษาจึงต้องมีหลกั สูตรของตนเอง กล่าวคอื หลกั สตู ร
สถานศึกษาประกอบด้วยการเรียนรู้ทังมวลและประสบการณ์อื่นๆ ท่ีสถานศึกษาแต่ละแห่งวางแผนเพ่ือพัฒนา
ผู้เรยี น โดยจะต้องจดั ท้าสาระการเรยี นรทู้ ังรายวชิ าท่ีเปน็ พืนฐานและรายวชิ าทต่ี ้องเรยี นเพ่ิมเติมเปน็ รายปีหรือราย
ภาค จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนทุกภาคเรียนและก้าหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์จากมาตรฐานการศึกษาขัน
พนื ฐาน
สถานศึกษาจะต้องท้างานร่วมกับครอบครัวและชุมชน ท้องถิ่น วัด หน่วยงานและสถานศึกษาทังภาครัฐ
และเอกชนในทอ้ งถิน่ เพ่ือใหเ้ กดิ ผลตามจดุ มุ่งหมายที่ส้าคัญของหลกั สตู ร 2 ประการ ดังนี
1. หลักสูตรสถานศึกษาควรพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความสนุกและความเพลิดเพลินในการเรียนรู้
เปรียบเสมือนเป็นวิธีการสร้างก้าลังใจและเร้าใจให้เกิดความก้าวหน้าแก่ผู้เรียนให้ได้มากท่ีสุด ให้ผู้เรียนทุกคนมี
ความรู้สูงสุดตามศักยภาพของแต่ละคน โดยควรสร้างความเข้มแข็ง ความสนใจและประสบการณ์ให้ผู้เรียน และ
พฒั นาความม่ันใจให้เรียนและท้างานอย่างเป็นอิสระและร่วมใจกัน ควรให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ส้าคัญ ๆ ใน
การอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น ได้ข้อมูลสารสนเทศและใช้เทคโนโลยีสื่อสาร ส่งเสริมจิตใจท่ีอยากรู้อยากเห็น
และมีกระบวนการคิดอยา่ งมีเหตผุ ล
2. หลกั สูตรสถานศกึ ษาควรสง่ เสรมิ การพัฒนาดา้ นจติ วญิ ญาณ จริยธรรม สังคมและวฒั นธรรม โดยเฉพาะ
พัฒนาหลักการในการจ้าแนกระหว่างถูกและผิด ความเข้าใจและศรัทธาในความเชื่อของตน ความเช่ือและ
วฒั นธรรมทแี่ ตกต่างกันวา่ สงิ่ เหล่านีมีอิทธพิ ลต่อตวั บคุ คลและสังคม หลกั สูตรสถานศึกษาต้องพัฒนาหลักคุณธรรม
และความอิสระของผูเ้ รียน และชว่ ยพัฒนาใหเ้ ป็นพลเมืองที่มคี วามรับผิดชอบ สามารถพัฒนาสงั คมใหเ้ ป็นธรรม มี
ความเสมอภาค ควรพัฒนาความตระหนัก เข้าใจ และยอมรับสภาพแวดล้อมท่ีตนด้ารงชีวิตอยู่ ยึดม่ันในขอ้ ตกลง
รว่ มกันต่อการพัฒนาท่ยี ั่งยืนทังในระดับส่วนตน ระดับท้องถิ่น ระดับชาตแิ ละระดับโลก หลกั สูตรสถานศึกษาควร
สร้างให้ผู้เรียนมีความพรอ้ มในการเปน็ ผู้บริโภคทต่ี ดั สินใจแบบมขี ้อมลู เป็นอสิ ระและเข้าใจในความรบั ผิดชอบของ
ตน
จุดหมายของหลักสูตรสถานศึกษาทังสองประการข้างต้นนี เป็นเพียงกรอบหรือแนวทางท่ีจะให้
สถานศึกษาได้นา้ ไปพิจารณา และก้าหนดเป็นรายละเอยี ดจุดหมายในแต่ละสถานศึกษาที่ตังอย่ใู นท้องที่ หมู่บ้าน
ตา้ บล และชมุ ชน ท่มี ีสภาพภมู ศิ าสตร์ วัฒนธรรม และคา่ นิยมทแี่ ตกต่างกนั
การสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาจะต้องสนองตอบการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและสิ่งแวดล้อม
เพ่ือสนองตอบการเปล่ียนแปลงดังกลา่ ว ผสู้ อนต้องปรับปรุงกระบวนการสอนและประเมินกระบวนการสอนของตน
ให้สนองตอบความต้องการของผู้เรียนที่เปล่ียนแปลงไปด้วยผลกระทบของการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม
และวัฒนธรรม การศึกษาจะเจริญก้าวหน้ายิ่งขึน ถ้ามีการปรับปรุงหลักสูตรตลอดเวลา สถานศึกษาจึงควร
ด้าเนนิ การในการจัดทา้ หลกั สูตร ดงั นี
1. กาหนดวสิ ยั ทศั น์
สถานศึกษาจ้าเป็นต้องก้าหนดวิสัยทัศน์เพื่อมองอนาคตว่า โลกและสังคมรอบ ๆ จะเปล่ียนแปลงไป
อย่างไร สถานศึกษาจะต้องปรับตัว ปรับหลักสูตรอย่างไร จึงจะพัฒนาผู้เรียนให้เหมาะสมกบั ยุคสมัย สถานศึกษา
ต้องมีวิสัยทัศน์ในการสร้างหลักสูตรสถานศึกษา หมายความว่า ผู้บริหารและบุคลากรของสถานศึกษาสามารถ
มองเห็นและคาดการณ์ได้ว่า จะเกิดอะไรขึนในอนาคตท่ีจะมีผลต่อความต้องการของผู้เรียนและชุมชน อันจะ
น้าไปสู่การปรับปรุงเปลยี่ นแปลงหลกั สตู ร การศึกษาค้นคว้า และการติดตามความเปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดลอ้ มใน
ด้านตา่ ง ๆ ของสถานศกึ ษาจะท้าให้สถานศึกษาเกิดวสิ ัยทัศน์ขึนได้
นอกจากนีการก้าหนดวิสัยทัศน์ของสถานศึกษาจ้าเป็นจะต้องอาศัยประสบการณ์และความร่วมมือของ
ชมุ ชน บิดามารดา ผปู้ กครอง ครูผู้สอน ผู้เรียน ภาคธุรกิจ ภาครัฐในชุมชน ร่วมกันกับคณะกรรมการสถานศึกษา
ในการแสดงความประสงค์หรือวิสัยทัศน์ที่ปรารถนาให้สถานศึกษาเป็นสถาบันพัฒนาผู้เรียนที่มีพันธกิจหรือ
ภาระหน้าท่ี ร่วมกันในการกา้ หนดงานหลักที่ส้าคัญของสถานศึกษา พร้อมด้วยเป้าหมาย มาตรฐาน แผนกลยุทธ์
แผนปฏิบตั กิ ารและการติดตามผล ตลอดจนจัดท้ารายงานแจง้ สาธารณชน และสง่ ผลย้อนกลบั ใหส้ ถานศกึ ษาเพ่ือ
ปฏิบตั งิ านทเ่ี หมาะสมและได้มาตรฐานสอดคล้องกบั หลกั สูตรการศึกษาขันพนื ฐานของชาติ
2. การจัดทาหลักสูตรสถานศกึ ษา
จากวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้ที่สถานศึกษาได้ก้าหนดไว้ สถานศึกษาจะต้องจัดท้า
สาระการเรียนรู้ จากช่วงชันให้เปน็ รายปีหรือรายภาค พร้อมก้าหนดผลการเรียนรู้ท่คี าดหวังไว้ให้ชัดเจน เพ่อื ใหค้ รู
ทุกคนน้าไปออกแบบการเรียนการสอน การบูรณาการโครงการร่วม เวลาเรียน การมอบหมาย/โครงงาน แฟ้ม
ผลงานหรือการบ้าน โดยวางแผนรว่ มกันทงั สถานศึกษา หลักสูตรดังกลา่ วจะเป็นหลักสูตรสถานศกึ ษาท่ีครอบคลุม
ภาระงานการจดั การศึกษาทกุ ด้านของสถานศกึ ษา
3. การกาหนดสาระการเรียนรู้ และผลการเรียนรูท้ ค่ี าดหวังรายปีหรอื รายภาค
สถานศึกษาวิเคราะหม์ าตรฐานการเรียนรู้ช่วงชันของกลุ่มสาระต่าง ๆ จากหลกั สูตรการศึกษาขันพืนฐาน
และก้าหนดสาระการเรียนร้แู ละผลการเรียนรู้เปน็ รายปีหรอื รายภาคให้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรูท้ ่ีกา้ หนด
ไว้ตามเป้าหมายและวิสัยทัศน์ของสถานศึกษาด้วย พิจารณาก้าหนดวิธีการจัดการเรียนการสอน การวัดและ
ประเมินผล พร้อมทังพิจารณาใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ในท้องถ่ิน และสามารถก้าหนดในลักษณะ
ผสมผสานบูรณาการ จดั เปน็ ชดุ การเรียนแบบยดึ หัวขอ้ เรอ่ื ง หรอื จัดเปน็ โครงงานได้
4. การออกแบบการเรยี นการสอน
จากสาระการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายปีหรือรายภาค สถานศึกษาต้องมอบหมายให้
ครูผูส้ อนทกุ คนออกแบบการเรยี นการสอน โดยคาดหวังว่าผูเ้ รียนสามารถท้าอะไรได้ในแต่ละช่วงชัน เชน่ ชว่ งชนั ท่ี
1 ซึ่งมีชันประถมศึกษาปีที่ 1-3 นัน ผู้เรียนจะเรียนรู้สาระของแต่ละเร่ืองท่ีก้าหนดได้ในระดับใด ยกตัวอย่างวิชา
คณติ ศาสตร์ ท่ีมีสาระท่ี 1 : จา้ นวนและการด้าเนินการ และมีมาตรฐาน ค 1.1 : เขา้ ใจถึงความหลากหลายของการ
แสดงจ้านวนและการใช้จ้านวนในชีวิตจริง ผู้เรียนในช่วงชันนีจะสามารถท้าอะไรได้ เช่น ในช่วงชันที่ 1 ชัน
ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-3 ก้าหนดมาตรฐานการเรยี นรู้ชว่ งชนั ไว้ข้อหน่ึงว่า มคี วามคดิ รวบยอดและความรู้สึกเชงิ จา้ นวน
เกีย่ วกับจ้านวนนับและศนู ย์ และผ้เู รียนในช่วงชนั นจี ะมคี วามสามารถอย่างไร เช่น ผเู้ รียนในชันประถมศึกษาปที ี่ 1
สามารถนับได้ 1 ถึง 100 และมากกว่า เปน็ ตน้ การออกแบบ
การเรียนรู้จะต้องให้ผู้เรียนพัฒนาได้ทังด้านความรู้ ความคิด ทักษะ และเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์และ
สงั คม
5. การกาหนดเวลาเรียนและจานวนหนว่ ยกติ
การจดั การศึกษาภาคบังคบั 9 ปี สถานศึกษาตอ้ งตระหนักถึงความจ้าเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งจดั การศึกษาขันพืนฐาน
ให้ผ้เู รยี นไดเ้ รียนรู้ในทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้ โดยเน้นใหผ้ ู้เรียนมที ักษะในด้านการอ่าน การเขียน การคดิ เลข การ
คิดวิเคราะห์ และการใช้คอมพิวเตอร์ ด้วยวิธีการสอนท่ียึดหัวข้อเรื่องจากกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์หรือ
สงั คมศึกษาเป็นหลกั ตามความเหมาะสมของทอ้ งถิน่ บูรณาการการเรียนรูด้ ้วยกลุ่มสาระต่างๆ เข้ากับหัวข้อเรื่องที่
เรยี นอยา่ งสมดุล ควรก้าหนดจ้านวนเวลาเรยี นส้าหรบั สาระการเรียนรู้รายปี ดงั นี
ชันประถมศึกษาปีท่ี 1-3 และชันประถมศึกษาปีท่ี 4-6 ควรก้าหนดจ้านวนเวลาส้าหรับการเรียนตามสาระการ
เรียนรู้รายปีให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความจา้ เปน็ ในการสอนเพอื่ เน้นทักษะพนื ฐาน เช่น การอ่าน การเขียน
การคิดเลข และการคิดวิเคราะห์ โดยเฉพาะชันประถมศึกษาปีที่ 1-3 ซ่ึงจะต้องจัดให้ผู้เรียนเรียนอย่างสนุก
เพลิดเพลิน ในแต่ละคาบเวลาไม่ควรใช้เวลานานเกินช่วงความสนใจของผู้เรียน นอกจากนี ผู้สอนอาจจะจัด
กิจกรรมเสรมิ เช่น การฝึกให้เขยี นหนงั สอื เป็นเล่ม เป็นตน้
การเรียนการสอนควรจัดกิจกรรมไปตามความสนใจของผู้เรียน ในช่วงชันที่ 1 ผู้สอนควรเข้าใจจิตวิทยา
การสอนเดก็ เล็กอย่างลกึ ซึง สามารถบรู ณาการกลุ่มสาระการเรียนรูต้ ่าง ๆ ใหผ้ สมกลมกลืน ตอบสนองความอยาก
รอู้ ยากเห็นของเด็กโดยเฉพาะ แต่ต้องมุ่งเน้นทกั ษะพืนฐานดังกล่าวด้วย ส้าหรับช่วงชันที่ 2 ผู้เรียนซึ่งได้ผ่านการ
เรยี นการเล่นเป็นกลุ่มมาแล้ว ในช่วงชนั นจี ึงมุ่งเน้นใหผ้ ู้เรียนเริม่ ท้างานเปน็ ทมี การสอนตามหัวขอ้ เร่อื งจึงเป็นเรอื่ ง
ส้าคัญ หัวข้อเรื่องขนาดใหญ่สามารถจัดท้าเป็นหัวข้อย่อย ท้าให้ผู้เรียนรับผิดชอบไปศึกษาค้นคว้าตามหัวข้อย่อย
เหล่านี เป็นการสร้างความรู้ของตนเองและใช้กระบวนการวิจัยควบคู่กับการเรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542 แล้วน้าผลงานมาเสนอในชันเรียน ท้าให้ผู้เรียนทุกคนได้เรียนรู้ผลงานของกันและกันในรูป
แฟม้ สะสมผลงาน
การเรียนในชนั มัธยมศึกษาปที ่ี 1-3 ซ่ึงเป็นช่วงสุดทา้ ยของการศึกษาภาคบังคับ เป็นการเรียนที่มุ่งพัฒนา
ความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน นอกจากสถานศึกษาจะทบทวนการเรียนร้ใู นกลุ่มสาระต่าง ๆ
ทีไ่ ด้เรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนร้ชู ว่ งชันทก่ี ้าหนดไวแ้ ล้ว จะตอ้ งจัดการเรยี นแบบบูรณาการเป็นโครงงานมากขึน
เป็นการเร่มิ ทา้ ใหผ้ ู้เรียนได้เข้าใจการศึกษาสู่โลกของการทา้ งานตามความต้องการของท้องถ่ินและสงั คมนวัตกรรม
ด้านการสอนและประสบการณ์ในการท้างานด้านตา่ ง ๆ แมแ้ ตก่ ารเรียนภาษาก็สามารถเปน็ ชอ่ งทางสู่โลกของการ
ท้างานได้ ตอ้ งชแี จงให้ผเู้ รียนได้ทราบว่าสังคมในอนาคตจะอยู่บน
พนื ฐานของความรู้ สถานศึกษาจึงตอ้ งจัดบรรยากาศให้มีสภาพแห่งการเรยี นรู้ทส่ี มบูรณ์ เป็นตัวอยา่ งแก่
สังคม และควรจัดรายวิชาหรือโครงงานทส่ี นองความถนดั ความสนใจของผูเ้ รียนเพิ่มขนึ ด้วย
การเรียนชันมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 ซ่ึงเป็นช่วงสุดท้ายของการศึกษาขันพืนฐาน สถานศึกษาต้องจัดการเรียนรู้เพ่ือ
เตรียมตัวให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึนหรือการประกอบอาชีพ ดังนันสถานศึกษาควร
จัดการเรียนการสอนเพือ่ มงุ่ สง่ เสริมความถนดั และความสนใจของผู้เรียนในลกั ษณะรายวิชาหรอื โครงงาน
แนวทางการจัดทาหลักสูตรสถานศกึ ษา
เพ่ือให้การจัดท้าหลักสูตรสถานศึกษาด้าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตามที่คาดหวัง
กระทรวงศกึ ษาธิการจึงกา้ หนดแนวทางการดา้ เนินงานดงั นี
1. การจดั ท้าสาระของหลกั สูตร มีขนั ตอนดังนี
1.1 กา้ หนดผลการเรียนรู้ท่คี าดหวังรายปีหรือรายภาค โดยวิเคราะห์จากมาตรฐานการเรียนรชู้ ่วงชันท่ี
ก้าหนดไว้ในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ และจดั เป็นผลการเรียนรู้ การก้าหนดการเรียนรู้ท่คี าดหวังรายปีหรือราย
ภาคควรระบุถึงความรู้ ความสามารถของผู้เรียนซึ่งจะเกิดขึนหลังจากการเรียนรู้ในแต่ละปีหรือแต่ละภาคนัน ๆ
การก้าหนดผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังรายปีหรือรายภาคของสาระการเรียนรู้ของรายวิชาท่ีมีความเข้ม (Honors
Course) ให้สถานศกึ ษาก้าหนดได้ตามความเหมาะสม สอดคลอ้ งกับการจดั รายวชิ า
1.2 ก้าหนดสาระการเรยี นรู้รายปีหรือรายภาค โดยวเิ คราะหจ์ ากผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั รายปหี รอื ราย
ภาคท่ีก้าหนดไว้ใน 1.1 ให้สอดคล้องกับสาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชัน
รวมทังสอดคลอ้ งกับสภาพและความตอ้ งการของท้องถิ่นและของชุมชน
1.3 กา้ หนดเวลาและหรือจ้านวนหน่วยกิตสา้ หรบั สาระการเรียนรู้รายภาค ทังสาระการเรียนรู้ พืนฐาน
และสาระการเรยี นรู้ทส่ี ถานศกึ ษากา้ หนดเพิม่ เตมิ ขึน ดังนี
- ชันประถมศึกษาปีท่ี 1-3 ชันประถมศึกษาปีท่ี 4-6 และชันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 ก้าหนดสาระการเรียนรู้
เปน็ รายปแี ละก้าหนดจ้านวนเวลาเรียนให้เหมาะสมและ สอดคลอ้ งกับมาตรฐานและสาระการเรยี นรู้
- ชันมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 ก้าหนดสาระการเรียนรู้เป็นรายภาคและก้าหนดจ้านวนหน่วยกิตให้เหมาะสม
สอดคล้องกบั มาตรฐานและสาระการเรียนรู้
การก้าหนดจ้านวนหน่วยกิตของสาระการเรียนรู้รายภาคส้าหรับชันมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ใช้เกณฑ์การ
พจิ ารณาทใี่ ช้เวลาจัดการเรยี นรู้ 40 ช่ัวโมงตอ่ ภาคเรียนมีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกติ
สาระการเรียนรู้ทสี่ ถานศึกษาจัดท้าเพิ่มขึนเป็นวิชาเฉพาะของสายอาชีพหรือโปรแกรมเฉพาะทางอ่ืน ๆ ใช้เกณฑ์
การพิจารณาคือ สาระการเรียนรู้ท่ีใช้เวลาจัดการเรียนรู้ระหว่าง 40-60 ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีค่าเท่ากับ 1 หน่วย
กติ ทังนสี ถานศกึ ษาสามารถก้าหนดได้ตามความเหมาะสม และใช้หลกั เกณฑเ์ ดียวกนั
1.4 จดั ท้าค้าอธิบายรายวิชา ท้าได้โดยน้าผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั รายปีหรอื รายภาค สาระการเรียนรู้ราย
ปีหรือรายภาค รวมทังเวลาและจ้านวนหน่วยกิตที่ก้าหนดตามข้อ 1.1 – 1.3 น้ามาเขียนเป็นค้าอธิบายรายวิชา
ประกอบดว้ ยช่ือรายวิชา จา้ นวนเวลาหรือจ้านวนหนว่ ยกิต มาตรฐานการเรยี นรู้ และสาระการเรยี นรขู้ องรายวิชา
นัน ๆ แนวทางในการก้าหนดชอ่ื รายวิชาคือ ชือ่ รายวิชาของสาระการเรยี นรู้ให้ใชต้ ามชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ ส่วน
ช่ือที่สถานศึกษาจัดท้าเพิ่มเติม สามารถก้าหนดได้ตามความเหมาะสม ทังนีต้องส่ือความหมายได้ชัดเจนและ
สอดคล้องกับสาระการเรยี นรทู้ ีก่ า้ หนดไวใ้ นรายวิชานนั
1.5 จัดท้าหน่วยการเรียนรู้ โดยน้าสาระการเรียนรู้รายปีหรือรายภาคที่ก้าหนดไว้บูรณาการจัดท้าเป็น
หน่วยการเรียนรู้หน่วยย่อย ๆ เพือ่ สะดวกในการจัดการเรียนรูแ้ ละผู้เรียนได้เรียนรู้ในลักษณะองค์รวม หน่วยการ
เรียนรูแ้ ต่ละหน่วยประกอบด้วย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ และจ้านวนเวลาส้าหรับการจัดการเรียนรู้
เมื่อเรียนครบทุกหน่วยย่อยแล้ว ผู้เรียนสามารถบรรลุตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปีหรือรายภาคของทุก
รายวชิ า ในการจัดท้าหน่วยการเรียนรู้ อาจบรู ณาการทังภายในสาระการเรียนรู้กลุ่มเดียวกัน เช่น บูรณาการสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์กับเคมี ชีววิทยาและฟิสิกส์ เป็นต้น และระหว่างสาระการเรียนรู้ เช่น อาจจะบูรณาการ
ระหว่างสาระการเรยี นรู้ของวิทยาศาสตรก์ ับสงั คมและคณิตศาสตร์ เป็นตน้ หรือบูรณาการเฉพาะเรอื่ งตามลักษณะ
สาระการเรียนรู้ หรือบูรณาการให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้เรียน โดยพิจารณาจากมาตรฐานการเรียนรู้ที่
เก่ียวเนื่องสัมพันธ์กัน การจัดการเรียนรู้ส้าหรับหน่วยการเรียนรู้ในแต่ละช่วงชัน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้โดยการปฏิบตั ิโครงงานอย่างนอ้ ย 1 โครงงาน
2. การจดั กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ และความแตกต่าง
ระหวา่ งบุคคลของผเู้ รียน โดยคา้ นึงถงึ ส่งิ ต่อไปนี
2.1 จัดกจิ กรรมต่างๆ เพอื่ เกือกูลสง่ เสริมการเรยี นรตู้ ามกล่มุ สาระการเรยี นรู้ เช่น การบูรณาการ โครงงาน
องค์ความรจู้ ากกลมุ่ สาระการเรียนรู้ เปน็ ตน้
2.2 จัดกจิ กรรมตามความสนใจ ความถนัดตามธรรมชาติ ความสามารถ และความตอ้ งการของผู้เรียนและ
ชุมชน เชน่ ชมรมทางวิชาการต่าง ๆ เป็นต้น
2.3 จดั กจิ กรรมเพอ่ื ปลูกฝังและสร้างจติ ส้านึกในการท้าประโยชนต์ ่อสังคม เชน่ กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี
เปน็ ตน้
2.4 จัดกจิ กรรมประเภทบรกิ ารด้านตา่ ง ๆ ฝึกการทา้ งานท่เี ป็นประโยชนต์ ่อตนเองและส่วนรวม
2.5 ประเมนิ ผลการปฏิบัตกิ จิ กรรมอยา่ งเป็นระบบ โดยให้ถอื ว่าเป็นเกณฑป์ ระเมินผลการผา่ นช่วงชนั เรยี น
3. การกาหนดคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
สถานศึกษาต้องร่วมกับชุมชนก้าหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน
ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยม คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่สี ถานศกึ ษาจะก้าหนดเป็นคณุ ลักษณะอัน
พงึ ประสงคน์ ัน สามารถก้าหนดขึนได้ตามความต้องการ โดยให้สอดคลอ้ งกับสภาพปญั หาและความจ้าเป็นทจี่ ะตอ้ ง
ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมดังกล่าวให้แก่ผเู้ รียนเพ่ิมจากที่ก้าหนดไวใ้ นกล่มุ สาระการเรียนรู้ตา่ ง ๆ ใน
แต่ละภาคเรียนหรอื ปกี ารศึกษา ครผู สู้ อนต้องวัดและประเมินผลรวมด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผูเ้ รยี นโดย
ประเมินเชิงวินิจฉัยเพ่ือปรับปรุงพัฒนาและส่งต่อ ทังนีควรประสานสัมพันธ์กับผู้เรียน ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง
ร่วมกันประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นรายปีหรือรายภาค สถานศึกษาต้องจัดให้มีการวัดและประเมิน
ผลรวมด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนในแต่ละช่วงชนั เพื่อให้ทราบความก้าวหน้าและพัฒนาการของ
ผู้เรียน และน้าไปก้าหนดแผนกลยุทธ์ในการปรับปรุงพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนให้เป็นไปตามเป้าหมาย แนว
ทางการวัดและประเมนิ ผลด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ให้เป็นไปตามทสี่ ถานศกึ ษากา้ หนด
4. การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรยี นรู้
การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขันพืนฐาน มีรูปแบบและวิธีการท่ีหลากหลายเพื่อให้สอดคล้อง
กับความถนัด ความสนใจ และความต้องการของผู้เรียน โดยให้ผ้สู อนน้ากระบวนการวจิ ัยมาผสมผสานหรือบรู ณา
การใช้ในการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน และเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สามารถใช้
กระบวนการวิจัยเปน็ ส่วนหนึง่ ของกระบวนการเรยี นรู้ มีขันตอนการปฏบิ ตั เิ ร่ิมตังแต่การ
วิเคราะห์ปัญหา การวางแผนแก้ปัญหาหรอื พัฒนาการแก้ปญั หาหรอื พัฒนา การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การสรุปผลการ
แก้ปญั หาหรอื พฒั นา การรายงานผลการเรียนรู้และการนา้ ผลการวจิ ยั ไปประยุกต์ใช้
การบรหิ ารจดั การหลักสูตรสถานศึกษา
การบริหารจัดการเปน็ หวั ใจส้าคัญของการพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา หลกั สูตรของสถานศึกษามีคุณภาพ
และประสทิ ธภิ าพหรือไม่ก็ขนึ อย่กู ับปัจจัยการบรหิ ารจัดการหลกั สตู รอยา่ งเป็นระบบนั่นเอง
ซงึ่ ประกอบดว้ ย งาน/ภารกจิ ท่ีสถานศึกษาจะต้องดา้ เนนิ การ 7 ภารกิจ คอื
1. การเตรยี มความพรอ้ มของสถานศึกษา
ภารกิจที่ผู้บริหารและครูผู้สอนตลอดจนบุคลากรท่ีเก่ียวข้องจะต้องด้าเนินการเพื่อเตรียมความพร้อมของ
สถานศกึ ษา มีดังนี
1.1 สรา้ งความตระหนักใหแ้ กบ่ คุ ลากรของสถานศกึ ษา ประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผู้บรหิ าร
ครูผู้สอน ผู้ปกครอง ชุมชน และนักเรียน เพ่ือให้เห็นความส้าคัญหรือความจ้าเป็นท่ีต้องร่วมมือกันบริหารจัดการ
หลกั สตู รของสถานศกึ ษา
1.2 ด้าเนินการแต่งตังคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการของสถานศึกษาตามระเบียบ
กระทรวงศึกษาธิการ วา่ ด้วยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวชิ าการของสถานศึกษาขนั พนื ฐาน พ.ศ. 2544
1.3 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน/องค์กรในชุมชนทุกฝ่ายได้รับทราบ
และให้ความร่วมมือในการบริหารจัดการหลักสตู รของสถานศกึ ษา
1.4 จัดทา้ ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาให้เป็นระบบ
1.5 จดั ท้าแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาหรอื ธรรมนญู สถานศึกษา
1.6 พฒั นาบุคลากรของสถานศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถน้าความรู้ไปใช้จัดท้าสาระของ
หลกั สูตรสถานศึกษา
2. การจัดทาสาระของหลกั สตู รสถานศึกษา
คณะกรรมการบริหารหลักสตู รและงานวิชาการสถานศึกษาและคณะอนุกรรมการระดับกลมุ่ วชิ า จะตอ้ งดา้ เนินการ
จัดท้าสาระของหลักสตู รสถานศึกษาดังต่อไปนี (กรมวชิ าการ 2543 : 19)
2.1 ศึกษาองค์ประกอบของหลักสตู รว่า กา้ หนดสาระทีเ่ ปน็ แกนกลางและสาระของท้องถน่ิ ไวอ้ ยา่ งไร และ
มคี วามสอดคลอ้ งสมั พนั ธแ์ ละสมดลุ อยา่ งไร
2.2 วิเคราะห์ขอบข่ายเนือหาหรือสาระการเรียนรู้ที่ก้าหนดไว้ ทังองค์ประกอบด้านความรู้ทักษะ/
กระบวนการ คุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยม
2.3 ศึกษาสภาพปญั หาของชมุ ชนและสงั คม ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ความตอ้ งการของชุมชนและสงั คม
2.4 ปรับปรงุ สาระการเรยี นรู้เพิม่ เติมในสว่ นที่ต้องจดั ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของ
ชมุ ชน
2.5 ตรวจสอบความสอดคล้องของสาระการเรียนรเู้ พม่ิ เติมกับมาตรฐานการเรยี นรู้กลุ่มวชิ า และมาตรฐาน
หลกั สูตรการศึกษาขนั พืนฐาน
2.6 วางแผนการจัดการเรียนการสอนตามขอบข่ายสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ สัดส่วน เวลา
และหน่วยกิตตามท่ีหลักสตู รแกนกลางกา้ หนด
2.7 พัฒนาแนวการจดั การเรียนการสอนเพ่อื น้าไปสูก่ ารจัดการเรียนรู้ในหอ้ งเรียน
นอกจากนีครูควรด้าเนินการเพ่ือให้การจัดท้าหลักสูตรของสถานศึกษาสมบูรณ์อีก 2 ประการ น่ันคือ ก้าหนดสื่อ
การเรยี นรูแ้ ละการวดั และประเมนิ ผล
3. การวางแผนบรหิ ารจดั การหลกั สตู ร
การวางแผนบรหิ ารจดั การหลกั สูตรหรือวางแผนด้าเนนิ การใช้หลักสูตร มีภารกิจทตี่ อ้ งดา้ เนินการ 3 สว่ น คือ
3.1 การบริหารการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น กิจกรรมท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญ การใช้สื่อและแหล่งการ
เรยี นร้อู ย่างหลากหลาย การสอนซอ่ มเสรมิ การประเมินผลตามสภาพจริง เป็นต้น
3.2 การบรหิ ารการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เช่น การวางแผนให้ครูทุกคนสามารถแนะแนวผเู้ รียนได้ทัง
ด้านการศกึ ษา อาชีพและปัญหาอ่นื ๆ เปน็ ตน้
3.3 การส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เช่น การสร้าง
เครอื ข่ายการเรยี นรูใ้ นและนอกสถานศกึ ษา การส่งเสรมิ ใหค้ รูทา้ วจิ ยั ในชนั เรียน เปน็ ต้น
4. การปฏิบัตกิ ารบริหารจัดการหลกั สตู ร
การด้าเนินการบริหารจัดการหลักสูตรให้เป็นไปตามภารกิจที่สอง หรือการจัดท้าสาระของหลักสูตรสถานศึกษา
และการวางแผนบริหารจดั การหลกั สูตร ซึง่ สถานศกึ ษาไดก้ า้ หนดไว้
5. การนเิ ทศ กากับ ตดิ ตามและประเมินผล
การนเิ ทศ กา้ กบั ติดตามและประเมินผลแยกออกเป็น 2 ส่วน คอื
5.1 การนเิ ทศ ก้ากับ ติดตามและประเมินผลการบรหิ ารหลกั สูตรและงานวชิ าการภายในสถานศกึ ษา
5.2 การนิเทศ ก้ากับ ติดตามและประเมินผลการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการจากภายนอก
สถานศึกษา
6. การสรุปผลการดาเนินงานบริหารจัดการหลกั สตู รสถานศกึ ษา
สถานศึกษาจะต้องรวบรวมข้อมลู ผลการด้าเนินงานบริหารจัดการหลกั สตู รของสถานศกึ ษา สรุปและเขียน
รายงานผลการด้าเนินงานเสนอต่อผู้ท่ีเก่ียวข้อง และน้าผลการรายงานเผยแพร่ให้ชุมชนหรือ สาธารณชนได้
รบั ทราบ
7. การปรับปรุงและพฒั นากระบวนการบริหารจัดการหลกั สตู รสถานศึกษา
ผลการด้าเนินงานบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ปญั หา/อุปสรรคในการดา้ เนินงานและขอ้ มูลจากการตดิ ตาม
ประเมินผลการใช้หลักสูตรทังหมด จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการบริหารจัดการ
หลกั สตู รสถานศึกษาในปีตอ่ ๆ ไป
หลกั สูตรสถานศึกษายุค 4.0
ความเป็นมาและแนวคดิ การศกึ ษาแบบ 4.0
ในอดตี จะพบว่าประเทศไทยมีพฒั นาการทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องโดยเรม่ิ ต้นจาก Thailand 1.0 ที่เน้น
เกษตรกรรมแบบดังเดิมมาสู่ Thailand 2.0 ท่ีเนน้ อุตสาหกรรมเบาและพฒั นาสู่ Thailand 3.0 ทเี่ น้นอตุ สาหกรรม
ท่มี คี วามซับซ้อนมากขึนปัจจุบนั Thailand 3.0 เกดิ ขึนในชว่ งเวลาท่ีกระแสโลกาภิวตั นเ์ ปิดกวา้ งมกี ารหลง่ั ไหลของ
ทุนและเทคโนโลยีจากต่างประเทศเข้ามาลงทุนในประเทศท้าให้อุตสาหกรรมไทยมีความซับซ้อนมากขึนมีการ
บริโภคนิยมอย่างน่าใจหายท้าให้ติดอยู่ในกับดักประเทศรายได้ปานกลางภายใต้ Thailand 3.0 ประเทศไทยต้อง
เผชิญกับ “กับดักความเหลื่อมล้า” (Inequality Trap) กล่าวคือช่องว่างของรายได้และโอกาสของคนจนและคน
รวยถ่างออกมากขึนนอกเหนือจากกับดักประเทศรายได้ปานกลางและกับดักความเหลื่อมล้าอีกหนึ่งกับดักท่ี
ประเทศไทยเผชิญคือ “กับดักความไมส่ มดุล” (Imbalance Trap) โดยในหลายทศวรรษทผ่ี ่านมาประเทศไทยเน้น
ความม่งั ค่งั ทางเศรษฐกจิ แต่ละเลยการรักษ์สิ่งแวดล้อมการสร้างสังคมท่ีอยู่ดมี สี ุขและการยกระดับศกั ยภาพและภูมิ
ปัญญามนุษยจ์ นส่งผลกระทบเชิงลบในมิติตา่ งๆมากมายทัง 3 กับดกั ใน Thailand 3.0 จึงเป็นสาเหตุหลักท่ีท้าให้
ประเทศไทยไม่สามารถสร้างความม่ังคง่ั มั่งคงในแนวทางที่ยั่งยืนได้มากกว่านีนค่ี ือเหตผุ ลส้าคญั ของการปรบั เปลยี่ น
โมเดลทางเศรษฐกิจจาก Thailand 3.0 ไปสู่ Thailand 4.0 (สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม. 2559
:8-9)
ในโลกของการแข่งขนั เพอื่ สรา้ งความมั่งคั่งใหก้ บั ประเทศนนั จ้าเป็นจะตอ้ งยกเครือ่ ง
กลไกขับเคลอื่ นเศรษฐกิจเสียใหม่เนน้ การใช้องค์ความรู้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีนวัตกรรมและความคดิ สร้างสรรค์
แทนการเน้นทรพั ยากรพืนฐานที่นับวันจะหมดลงเรื่อยๆเปน็ การเติมเต็ม“ความได้เปรียบในเชิงเปรยี บเทยี บ” ท่ีมี
อยู่ด้วย “ความได้เปรียบในการแข่งขัน” เพ่ือ “สร้างมูลค่า” แทนที่จะเป็นแค่ “เพ่ิมมูลค่า” ผลลัพธ์ท่ีได้จากการ
ขับเคลื่อนกลไกเศรษฐกิจชุดใหม่จึงเป็นไปในลักษณะ “ท้าน้อยได้มาก” ไม่ใช่ในลักษณะ “ท้ามากได้น้อย”
แบบเดิมอกี ตอ่ ไปสงิ่ ท่ีคนไทยคาดว่าจะได้รับจาก Thailand 4.0 คอื
1. อยู่ในสังคมไทย 4.0 ที่เป็นสังคมท่ีมีความหวัง (Hope) เป็นสังคมที่เป่ียมสุข(Happiness) และเป็น
สังคมที่มีความสมานฉันท์ (Harmony) เป็นสังคมท่ีมีความพอเพียงโดยมีคนชนชันกลางเป็นคนส่วนใหญ่ของ
ประเทศเกิดความเท่าเทียมในสงั คมความเหลื่อมล้าอยู่ในระดับตา่้ มีส่ิงแวดลอ้ มและสุขภาพท่ีดี
2. เป็นคนไทย 4.0 ที่ได้รับโอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพดีและได้รับสวัสดิการทางสังคมที่เหมาะสม
ตลอดทุกช่วงชีวติ เป็นคนทันโลกทันเทคโนโลยีสามารถอยู่บนเวทีโลกไดอ้ ย่างภาคภูมิใจและสามารถมสี ่วนรว่ มกับ
นานาชาติเพอ่ื ทา้ ให้โลกดีขนึ นา่ อยขู่ ึน
3. เป็นเกษตรกร 4.0 ท่ีหลุดพ้นจากกับดักความยากจนโดยผันตัวเองจากเกษตรกรผู้ผลิตมาเป็น
ผ้ปู ระกอบการทางการเกษตรสมัยใหม่ (Smart Farmers) มีการบริหารจัดการทดี่ ีมีตน้ ทนุ การผลิตตา่้ สามารถเพ่ิม
มลู ค่าสินคา้ ทางการเกษตรจากการแปรรูป
4. เป็น SME 4.0 ที่สามารถสร้างหรือใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างมูลค่าใน
สนิ ค้าและบริการมีความสามารถทางการคา้ ขายสามารถเข้าถงึ ตลาดในประเทศตลาดอาเซยี นและตลาดโลกทาให้มี
รายได้สูงขนึ มีชีวติ ความเป็นอยูด่ ขี ึนและมอี นาคตทส่ี ดใส
5. เกดิ จังหวัด 4.0 ที่มีการกระจายความเจรญิ ท่ัวประเทศเศรษฐกิจขยายตัวสามารถทางานในถ่ินฐานบา้ น
เกิดได้โดยไม่จ้าเป็นต้องเข้ามาทางานในกรุงเทพฯหรือเมืองใหญ่เนื่องจากมีลู่ทางโอกาสและงานที่ดีกระจายอยู่ใน
ทุกจงั หวัดท่ัวประเทศ
สงั คมไทยในปัจจบุ ันก้าวเข้าสู่โลกยุคดิจทิ ัลอย่างเต็มตัว ทังภาคเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ทา้ ใหเ้ กิดการ
เปลยี่ นแปลงอย่างรวดเร็ว มกี ารแขง่ ขนั สูง การเขา้ ถึงแหลง่ ปรมิ าณข้อมลู มหาศาลบนโลกออนไลน์มากขึน ส่งผลต่อ
พฤตกิ รรม ความคดิ และทัศนคตขิ องเยาวชน นักเรียน นักศึกษา เปลี่ยนไป รวมทงั การประกาศนโยบายไทยแลนด์
4.0 ตังเป้าหมายให้ไทยก้าวพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง สู่ประเทศรายได้สูง โดยใช้นวัตกรรมเสริมคุณค่าทาง
เศรษฐกิจและสังคม รวมทงั พฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ทมี่ ีคุณภาพ เพ่ือขับเคล่ือนประเทศการพัฒนาระบบการศกึ ษา
ไทยเพื่อก้าวสู่ยุค 4.0 ไดอ้ ย่างยั่งยืนนนั ต้องมกี ารเชอื่ มโยงและผสมผสานกันในหลายมิติ ทังด้านนโยบายการศึกษา
จากภาครฐั ด้านความรว่ มมือและสนับสนนุ จากสถาบันการศึกษาทังรัฐและเอกชน ด้านการพัฒนาบุคลากรครู ซึ่ง
จะเป็นกลจักรหลกั แห่งการพัฒนาเยาวชนรนุ่ ใหม่ให้ทันต่อยคุ สมัยและสอดคล้องตลาดแรงงาน อันจะน้าไปสู่การ
พัฒนาประเทศ ผลิตบุคลากรได้อย่างมีคุณภาพ ตอบโจทย์การเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคตการศึกษาจึงเป็น
เคร่ืองมือส้าคญั ในการยกระดับคุณภาพทรัพยากรมนุษย์ เพ่ือพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมไทยสู่เวทีเศรษฐกิจระดับ
นานาชาติ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยมี หานคร. 2560, ออนไลน์)
ปัจจุบันองค์ความรู้ในศาสตร์ต่างๆมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์ความรู้ทางด้าน
เทคโนโลยีทีล่ า้ หน้าท้าให้ความรทู้ ีเ่ ป็นปจั จุบันเกดิ ขึนยากตามไปด้วยการเรยี นรู้จึงมิได้เป็นเพียงการถ่ายถอดความรู้
จากผู้สอนสู่ผู้เรียนหรือที่เรียกว่าการเรียนการสอนในระบบ Education 1.0 อย่างเช่นในอดีตท่ีผ่านมาทังนีในวง
การศึกษาได้มีการพัฒนาระบบการเรียนการสอนด้วยการน้าเทคโนโลยีมาใช้เปน็ เครื่องมือในการจดั การเรียนการ
สอนหรือทเี่ รียกว่า Education 2.0 แต่ก็ยังไม่สามารถน้าไปสู่การพฒั นาผ้เู รยี นที่พึงประสงค์ได้ดีเทา่ ที่ควรปัจจุบัน
ได้มกี ารปรับการเรยี นการสอนในมหาวทิ ยาลัยชันน้าหลายแห่งเข้าสู่ระบบ Education 3.0 ด้วยการสง่ เสริมใหน้ ิสิต
นักศึกษาแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากส่ือการสอนทุกรปู แบบทังส่ือสิ่งพิมพ์และสื่อดจิ ิทัลผสมกบั การท้างานเป็น
กลุ่มและปรับการสอนให้มีรูปแบบ Interactive learning รวมทังการน้าสื่อสงั คมออนไลน์ (Social Media) เข้ามา
เป็นเครื่องมือช่วยในการพัฒนาการเรียนการสอนมากยิ่งขึนความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการเปลี่ยนผ่านของ
ความรู้เปน็ ไปอย่างรวดเร็วและไมม่ ีทส่ี ินสดุ ผู้สอนจงึ ต้องพฒั นาตนเองเพอ่ื ก้าวผ่านเข้าส่โู ลกแห่งการเรียนรแู้ บบใหม่
การปรบั กระบวนการเรยี น
การสอนให้สอดคลอ้ งกบั พฤติกรรมของผเู้ รียนท่ีเปลี่ยนแปลงไปและการประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสมัยใหมม่ า
เป็นเคร่ืองมอื กระตุ้นการเรียนรู้ของผูเ้ รียนนับเป็นความท้าทายส้าหรบั ผสู้ อนเป็นอยา่ งยิ่งสังคมแหง่ การเรียนรู้แบบ
ใหม่ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมิใช่เพียงแค่ได้รับความรู้แต่ต้องเป็นผู้ท่ีสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่จึงเป็นจุดเปลี่ยนส้าคัญที่
ผู้สอนจะตอ้ งพฒั นาศักยภาพเพ่ือก้าวผ่านจากการเรียนการสอนระบบ
Education 3.0 เข้าสู่ระบบการเรียนการสอนแบบใหม่หรือท่ีเรียกว่า Education 4.0 (ณัฐพร เห็นเจริญเลิศ,
ทศั นียว์ รรณ์ ศรปี ระดิษฐ์,ปิยพร นุรารักษ์, 2557 : 4)
บณั ฑิตเอืออาภรณ์(2557 : 4) คณบดคี ณะวิศวกรรมศาสตร์จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั กล่าวว่า ผูส้ อนในยุค
ปจั จบุ ันนีตอ้ งปรบั ตัวใหท้ นั ความความกา้ วหน้าของเทคโนโลยพี ร้อมกบั ปรับรูปแบบการสอนให้ทันลูกศิษย์ยคุ ใหม่ที่
ใช้เทคโนโลยีได้อย่างคล่องแคล่วโดยไม่ต้องสอนเด็กรุ่นใหม่จะเรียนรู้การใช้งานเทคโนโลยีได้อย่างรวดเร็วและ
หลากหลายเน่ืองจากเขาเกิดมาพรอ้ มกบั สิ่งเหล่านีอยู่แล้วและการทา้ ห้องเรยี นทันสมัยทมี่ งุ่ เนน้ การปฏิสัมพันธข์ อง
ผู้เรียนมีการเรียนการสอนที่มุ่งการคิดเชิงออกแบบซ่ึงคือแนวทางออกแบบท่ีมุ่งความต้องการของผู้ใช้เป็นส้าคัญ
และการผลติ นวัตกรรมที่ตอบสนองความต้องการของสงั คมสว่ นใหญ่
ยืน ภู่วรวรรณ (2557 : 6-8) ผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กล่าวถึงเร่ืองความท้าทายณขอบ
แดนใหม่แห่งการเรียนรู้ : การศึกษาระบบ 4.0 (Challenges of New Frontier in Learning : Education 4.0)
การศึกษาในอนาคตจะต้องปรับเปล่ียนชีวิตจะอยู่กับเครื่องจักรที่ฉลาดมากขึนเทคโนโลยีจะปรับเปล่ียนวิถีชีวิต
วธิ ีการท้างานข้อมูลท้าให้คนเรามีการมองเห็นและรู้ได้มากขึนการแสวงหาความรู้ท้าได้เร็วมากขึนและโครงสร้าง
องค์กรจะเปล่ียนไปจากเดิม ผู้เรียนวันนีอีกกว่าสิบปีจึงเข้าสู่ตลาดแรงงานจึงต้องเตรียมคนเพ่ืออนาคตต้องตอบ
โจทย์การเปล่ียนแปลงที่รวดเร็วการศึกษาต้องปรับตัวเองโดยเร็วการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลโมเดลการเรียนรู้ไปสู่กา ร
ค้นหาใช้ขุมความรู้ดิจิทัลความรู้บนคลาวด์เป็นหัวใจการศึกษายุคใหม่เม่ืออยากรู้อะไรก็สืบค้นผ่านเครือข่ายการ
เรียนการสอนในวันนีต้องเน้นทักษะมากกว่าเนือหาการเปล่ียนแปลงท่ีครูต้องพัฒนาครูให้มีความรู้มีพืนฐานแน่น
พร้อมเรียนรู้สิ่งใหม่การจัดระบบความรู้จัดการความรู้มีความสามารถสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนและมีความรู้จริง
พร้อมท่ีจะถ่ายทอดการยอมรับสองด้านทังทางการปฏิบัติรับการป้อนกลับช่วยการพัฒนาการของผู้เรียนและ
บรรยากาศการเรียนรู้เป็นผู้ก้ากับการเรียนรู้ทังของตนเองและนักศึกษาเปลี่ยนแปลงกระบวนการเรียนการสอน
สร้างทกั ษะท่ีจ้าเปน็ โดยเรียนด้วยการลงมือท้า Active Learning : PBL (Project Base Learning) ครเู ปลย่ี นจาก
ครูสอนเป็นพ่ีเลียงครูฝึก (Coach) หรือผู้จัดการผู้สนับสนุน Learning Facilitator การน้าเสนอเป็นรายงานและ
นา้ เสนอด้วยวาจาหรืออาจเสนอเปน็ ละครครูชวนผู้เรยี นท้า AAR/Reflection ว่าไดเ้ รียนรู้อะไรอยากเรียนอะไรต่อ
เพ่ืออะไรชวนคิดด้านคุณค่าจริยธรรมการเรียนแบบบูรณาการสหวิชาการเชื่อมโยงความรู้กับจินตนาการแปลงสู่
รูปธรรมช่วยผู้เรียนให้มีทักษะที่ต้องการในยุคใหม่ (21st century skills) ซึ่งได้แก่การท้างานร่วมกัน
(collaboration) ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) การแก้ปัญหา (Problem-solving) และการส่ือสารท่ีดี
(Effective communication) การจัดการศึกษาตอ้ งสรา้ งความพอใจใหผ้ ้เู รยี นท้าทา้ ยสูก่ ารสรา้ ง
กระบวนการเรยี นรู้ให้ผูเ้ รยี นอยากเรียนและสนกุ อย่างเกม
(Gamification for Education) ยุคใหมต่ ้องจัดการศึกษาให้สนุกอยา่ งเกม
ความท้าทา้ ยสู่กรอบความคดิ ใหม่ (New Paradigm) ตอ้ งคา้ นงึ ถงึ เร่ืองตอ่ ไปนี
1) การศกึ ษาท่จี ัดขนึ เฉพาะบุคคล (individual person)
2) ต้องน้าจุดเดน่ ความเก่งของแตล่ ะคนออกมา (bring the best in one’s talents)
3) ต้องเกี่ยวขอ้ งกับสง่ิ แวดล้อมทางดิจทิ ัลทีเ่ ปล่ยี นแปลงเร็ว (information climates)
4) ความรู้จะไมม่ ปี ระโยชนอ์ ะไรถ้าเอามาใชไ้ ม่เปน็ (knowledge is useless without application)
5) ต้องเขา้ กันได้กบั ระบบเดิม (at least partially compatible with the old system)
6) ต้องต้นทุนต่้า (cost effective)
7) ต้องเชอ่ื มโยงกบั การพฒั นาความเจริญของมนษุ ย์เชน่ เรอื่ งการเมอื งเศรษฐศาสตร์ศาสนาสาธารณสขุ
การเปล่ียนกรอบความคดิ
1) ทกั ษะ (skill) มีความสา้ คัญมากกวา่ เนือหา (content)
2) กระบวนการเรียนรู้มีความสา้ คญั มากกว่าหลักสูตรความรมู้ ีมากกวา่ หลกั สูตรไมค่ วรมีกรอบความคดิ
3) บรู ณาการความรกู้ บั ชีวติ และการใชป้ ระโยชน์มคี วามส้าคญั กว่าใบปรญิ ญา
4) คิดไดเ้ องสรา้ งสรรคว์ เิ คราะหส์ ังเคราะห์ได้มีความสา้ คญั มากกว่าการท่องจา้
5) เทคโนโลยชี ่วยการเรยี นรู้และพฒั นามีความสา้ คัญกว่าการเรยี นในหอ้ ง
ทิศทางทักษะต้องมากกว่า 3Rs คือการอ่าน-R การเขียน–wRite และการคิดเลข–aRithematics ยังต้อง
มองหาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ได้แก่ทักษะการเป็นผู้นาผู้ตามที่ดี (Leadership) ทักษะความรู้ความเข้าใจใช้
ดิจิทัล (Digital literacy) ทักษะการสื่อสาร (Communication) ทักษะการรู้จักตัวตนและอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน
(Emotional intelligence) ทักษะการเป็นผู้ริเริ่มก่อการ (Entrepreneurship) ทักษะความเป็นนานาชาติ
(Global citizen) ทักษะการแก้ปัญหา (Problem solving) ทกั ษะการท้างานเป็นทีม (Teamwork)
อภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ (2559) อ้างถึงใน วรรณดี สุทธิวรากร. 2559,48-50) กล่าวว่า อนาคตการศึกษาไทย
ในบริบทไทยแลนด์ 4.0 ครตู ้องปรบั บทบาทตัวเองเพือ่ สร้างผ้เู รยี นให้มีทักษะท่ีจา้ เป็นในการสร้างความก้าวหนา้ ใน
ยุค 4.0 โดยน้าความสามารถทางเทคโนโลยีมาใช้ผสานกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มและ
มูลค่าเชิงสร้างสรรค์การศึกษาท่ีเน้นการท่องจ้า นอกจากจะไม่สอดคล้องกับแนวทางนีแล้วยังเป็นอุปสรรคต่อ
ความกา้ วหน้าของการสร้างอนาคตใหม่ ดงั นันการเรียนรตู้ ้องเปลย่ี นจากทอ่ งจา้ สกู่ ารบรหิ ารความร้ใู หไ้ ดเ้ พราะการ
เรียนรใู้ นอดตี ครเู ป็นเจา้ ของความรู้แตโ่ ลกในปัจจุบันคน้ หา
ความรู้ผ่านเทคโนโลยีได้อย่างไม่มีข้อจ้ากัดบทบาทการเป็นผู้ให้ความรู้จึงไ ม่สอดคล้องกับยุคสมัยระบบ
การศกึ ษาจึงต้องเนน้ ไปท่ีวิธกี ารในการค้นควา้ หาความรู้วิธกี ารการกล่ันกรองข้อมูลทีไ่ ด้มาวธิ ีคดิ วิธีการประยกุ ต์ใช้
ขอ้ มลู
(Rumpagaporn, M.W., 2015)
ธรี ะเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ (2559 :ออนไลน์) กล่าวว่า “การศึกษาในยุค Thailand 4.0” เป็นมากกว่า
การเตรียมความพรอ้ มของคนหรือให้ความรกู้ บั คนเทา่ นันแต่เปน็ การเตรียมมนุษย์ให้เป็นมนุษย์ กล่าวคือ นอกจาก
ให้ความรแู้ ลว้ ต้องท้าใหเ้ ป็นคนท่ีรกั ทีจ่ ะเรยี น มีคณุ ธรรม และสามารถอยู่รว่ มกับผู้อ่ืนได้ด้วย นั่นกค็ ือการสร้างคน
ใหม้ ีทกั ษะในศตวรรษที่ 21 โดยเนน้ ทักษะในการคิดวเิ คราะห์
กา้ จร ตติยกวี (2559 : ออนไลน์) อดตี ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กลา่ ววา่ การศึกษาไทยในยุค 4.0 ต้องจัด
การศึกษาทงั ระบบตังแต่ประถม มัธยม อาชวี ศกึ ษา ไปจนถงึ อดุ มศึกษา โดยงานวจิ ัยตา่ ง ๆ ของอดุ มศึกษาตอ้ งเอา
มาใช้ได้จริง เพราะอุดมศึกษาเป็นส่วนสา้ คัญในการชีน้าสังคม การที่ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่การศึกษาไทยในยุค
4.0 ได้อยา่ งยัง่ ยนื ไดน้ ันจะตอ้ งมกี ารเชือ่ มโยงใหห้ ลากหลายมติ ิ ใหส้ อดคล้องต่อการพฒั นาประเทศ เพือ่ มงุ่ สรา้ งคน
ให้มีคุณภาพตอบโจทย์ทิศทางการเปล่ียนแปลงของโลกในอนาคตการท่มี ีครูทเ่ี ก่ง คือ สามารถสร้างนักเรียนที่เก่ง
ไม่ได้เป็นครูที่มีความรู้เพียงอย่างเดียว เพราะครูเป็นรากฐานส้าคัญของการปฏิรูปการศึกษา ท่ีจะต้องแสวงหา
ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และส่งเสรมิ นวตั กรรม
เฉลิมพร พงศ์ธรี ะวรรณ (2559 : ออนไลน์) ครรู างวลั สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหาจักรีคนแรกของประเทศไทย กล่าว
วา่ การเรียนรู้ของครูยุคการศึกษาแบบ 4.0 ต้องปรับกระบวนการสอนให้เข้ากับการเปล่ียนผ่านทางเศรษฐกิจ ซึ่ง
ปัจจบุ นั โลกเข้าสูย่ ุคปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรมครงั ท่ี 4 ที่เน้นการใชท้ ักษะการคิดสร้างสรรคแ์ ละเทคโนโลยรี ะดับสงู ในการ
พัฒนานวัตกรรมองค์ความรู้เพ่ือเพิ่มมูลค่าให้สินค้าและบริการ ฉะนันการเรียนรู้และการเรียนการสอนต้องปรับ
กระบวนทัศนใ์ หมท่ ี่เน้นการสอนคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาได้ เพือ่ ให้ผู้เรียนสามารถสรา้ งองคค์ วามรู้และนวตั กรรมใหม่
ให้สอดรับกับเศรษฐกิจ 4.0 ฉะนันทักษะที่ครูเคยใช้สอนในอดีตจึงต้องมีการปรับให้ผู้เรียนมีทักษะท่ีสอดรับกับ
ความต้องการแรงงานในภาคเศรษฐกิจดว้ ย”
ภานวีย์ โภไคยอุดม (2560, ออนไลน์) รองอธิการบดี ฝ่ายนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
มหานคร หรือ MUT กล่าวว่า ปัจจุบัน นักเรียน นักศึกษา ซ่ึงเป็นเป้าหมายหลักของการพัฒนาและเติบโตของ
ประเทศไทยในยุค 4.0 นี มีแนวคิด พฤติกรรม และรูปแบบการใช้ชีวิตที่เปล่ียนแปลงไปจากเมื่อก่อนมาก การ
พฒั นาด้านการศึกษา จึงจา้ เป็นต้องปรับเปลี่ยนทังในส่วนของรูปแบบการเรียนการสอน และเนือหาหลกั สูตรให้มี
ความน่าสนใจ กระตุ้นให้เกิดความอยาก ใคร่รู้ มากกว่าการสอนแบบเดิม รวมทังต้องสร้างบรรยากาศ
สภาพแวดล้อมให้เหมาะสมเอือต่อการพัฒนาองค์ความรู้ด้วย โดยแนวทางส้าคัญคือ การพัฒนาการเรียนรู้แบบ
Active Learning นี อันดับแรกสดุ ผู้สอน จะต้องกระตือรอื ร้นก่อน เพราะเป็นผู้ถ่ายทอด ปรบั และเปล่ียนเนือหา
รายวิชาให้เหมาะสมกับรูปแบบกจิ กรรม เพ่ือกระตุน้ ความสนใจและความคิดสรา้ งสรรค์จากผเู้ รยี น
ซาตู ซยุ ก์การ-ี เคลฟเวน (Mrs. Satu Suikkari Kleven) (2560, ออนไลน์) เอกอัครราชทตู สาธารณรฐั
ฟนิ แลนด์ประจาประเทศไทยกล่าววา่ ฟนิ แลนด์ เปน็ หน่งึ ในประเทศทีไ่ ดร้ ับการขนานนามวา่ มีระบบการศึกษาที่ดี
ที่สุดในโลก กว่าร้อยละ 40 จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีหรือสูงกว่า และได้รับการจัดอันดับเป็นประเทศท่ีมี
ผู้อ่านหนังสือมากท่ีสุดในโลกประจ้าปี พ.ศ. 2559 หัวใจส้าคัญของการพัฒนาระบบการศึกษาของฟินแลนด์ให้
ประสบความส้าเร็จ นั่นคือ ภาครัฐและเอกชนจ้าเป็นต้องให้ความส้าคัญของการศึกษา ทุกคนต้องได้สิทธิเข้ารับ
การศึกษาอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมกัน เน้นสร้างการเรียนรู้มากกว่าการทอ่ งจ้า รวมทังต้องให้ความส้าคัญต่อ
สถาบันการศึกษาและบุคลากร ครู เพราะฟินแลนด์เช่ือว่า หากครูมีความรู้สูง จะช่วยในการพัฒนารูปแบบการ
เรียนการสอนได้เป็นอย่างดี สามารถกระตุ้นให้นักเรียนหรือนักศึกษาเกิดความใคร่รู้ สอบถาม สนใจการเรียนรู้
มากกว่าการให้ข้อมูลความรู้จากครูแต่เพียงฝ่ายเดียว และรูปแบบการเรียนรู้ท่ีเปลี่ยนแปลงไปท่ัวโลก นั่นคือ
รปู แบบหอ้ งเรียนไมจ่ า้ เป็นต้องอยใู่ นกรอบส่ีเหล่ียม อาจปรับรปู แบบเป็นลกั ษณะต่างๆ หรอื นอกห้องเรยี นกไ็ ด้ เพื่อ
กระตุ้นให้เกิดปฏิสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมทังควรมีพืนที่ส่วนกลางขนาดใหญ่ และมีสิ่งอ้านวย
ความสะดวกตอบสนองความต้องการใช้งานท่ีหลากหลาย อาทิ ศนู ยส์ ุขภาพ ศนู ยพ์ ยาบาล ศูนย์เยาวชน ส่ิงส้าคัญ
ที่สุด ควรเน้นพืนท่ีสร้างสรรค์ด้วยการจัดแสง ดนตรี น้าเทคโนโลยี นวัตกรรมประหยัดพลังงานหรืออื่นๆ เข้ามา
ปรับใช้ภายในอาคารสถาบันศึกษา เพ่ือสร้างแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ให้เกิดขึนในกลุ่มนักเรียน
นักศึกษา
ชัยธร สิมาภรณ์วนิชย์ (2560, ออนไลน์) ผู้จัดการฝ่ายสารสนเทศวิเคราะห์ สานักงานนวัตกรรม
แห่งชาติ กลา่ วว่า ปัจจบุ ัน นวตั กรรมเข้ามามีบทบาทส้าคญั ในการเปล่ียนแปลงโลก เพราะหลายสถานการณห์ รือ
ปัญหา สามารถแก้ไขได้ด้วยนวัตกรรม ดังนัน การพัฒนาระบบการศึกษา จะต้องเอือต่อการสร้างนวัตกร โดยมี
ระบบเทคโนโลยที ี่ชว่ ยสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ทังอปุ กรณ์ ศูนย์วิจัยและพัฒนา บุคลากรครูท่ีพร้อมถา่ ยทอดความรู้ กจ็ ะ
ท้าใหส้ ามารถผลติ บุคลากรท่ีตอบโจทยค์ วามต้องการของตลาดนวตั กรรมอย่างแท้จริง นน่ั คือ มีทงั ความรู้ ความคิด
สรา้ งสรรค์ กอ่ ใหเ้ กดิ คณุ คา่ ทางด้านเศรษฐกิจ รายได้ หรอื เปน็ ประโยชนต์ ่อสงั คมประเทศชาติได้ต่อไป
ถวัลย์ วงษ์สวรรค์ (2560, ออนไลน์) กรรมการผู้จัดการ บริษัท ดีไซน์ ออน เทเลวิชั่น จากัด กล่าวว่า
ครู คือ หัวใจส้าคัญท่ีสุดท่ีจะต้องทุ่มเทและให้ใจต่อการสอน ปรับวิธีการให้ความรู้ใหม่เป็นการแลกเปล่ียนความ
คิดเห็นซ่ึงกันและกันระหว่างครูและนักเรียน นักศึกษา โดยกระตุ้นให้เกิดการทดลองท้าจริง และการเรียนรู้ไม่
จ้าเป็นต้องอยู่ภายในห้องเรียน บางครังการพานักเรียน นักศึกษา ออกไปเรียนรู้โลกแห่งความเป็นจริง นอก
ห้องเรียน จะชว่ ยใหเ้ กิดความเขา้ ใจและแรงบนั ดาลใจต่อการเรียนรูไ้ ดเ้ พ่ิมมากขนึ
ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2559 : ออนไลน์) กล่าวว่า การจัดการศกึ ษาไทย 4.0 เกิดขึนจริงประสบความส้าเร็จ
ได้ ต้องเริ่มจากผบู้ ริหาร ทกุ ภาคส่วนในระบบการศกึ ษา ไม่ว่าจะเปน็ กระทรวงศึกษาธิการ
โรงเรียน สถาบันอุดมศึกษา โดยแนวโน้มของการจัดการศึกษาของไทยในแต่ละยุค มีความแตกต่างกัน
สามารถสรปุ ได้ ดังนี
การศึกษาไทย 1.0 เป็นยุคการศึกษาเพ่ือสร้างนักปกครอง เป็นการศึกษาส้าหรับชนชันสูงในสังคมโดยมี
การจัดการศึกษาอยา่ งไม่เป็นทางการให้กับบุตรหลานชนชันปกครอง มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เป็นนักปกครองในรุ่น
ต่อไป การศึกษาในยุคนีไม่เป็นท่ีแพร่หลาย มีการจัดการศึกษาเฉพาะกลุ่มเท่านัน รูปแบบการจัดการศึกษาเป็น
แบบบอกความรจู้ ากผูส้ อน ถ้าผู้สอนไมม่ อี ะไรจะสอนแล้ว ถือวา่ สา้ เร็จการศกึ ษา
การศึกษาไทย 2.0 เปน็ ยุคแห่งการจัดการศึกษาท่ีเปิดกว้างขึน เหตจุ ากการจัดการศึกษาในยุค1.0 นนั ไมส่ ามารถ
ผลิตก้าลังคนไดท้ ันตอ่ ความต้องการในการบริหารราชการบา้ นเมืองท้าให้ชนชันปกครองต้องแก้ปัญหาดว้ ยการจัด
ให้มีการศึกษาส้าหรับลูกหลานขุนนางชันสูง เพ่ือผลิตก้าลังคนป้อนเข้าสู่ระบบราชการ ท่ีนับวันจะขยายขอบเขต
งานเพ่ิมมากขึน ตามความเจริญและการขยายตัวการจัดการศึกษาเริ่มมีระบบโรงเรียน แต่ยังเป็นการเรียนแบบ
บอกความรจู้ ากผู้สอนอยเู่ ชน่ เดิม
การศึกษาไทย 3.0 ในยุคนีเป็นยุคที่ประเทศไทยก้าวเข้าสู่การเป็นประเทศก้าลังพัฒนาที่พึ่งพา
อตุ สาหกรรมเบาในการขับเคลอื่ นเศรษฐกิจของประเทศ เป็นเหตุให้การศึกษายุคนี เป็นการจัดการศึกษาเพือ่ ผลิต
กา้ ลังคนปอ้ นเข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรม เกิดการท้าซ้าบัณฑิตอยา่ งมโหฬาร เป็นเหตุให้เกิดความตกต้่าของบัณฑิต
ในทุกระดับ ทุกสถาบันการผลิต โดยรูปแบบการจัดการเรียนรู้นันเป็นแบบทางการเหมือนสายพานการผลิตใน
โรงงานอุตสาหกรรม
การศึกษาไทย 4.0 เป็นการศึกษาเพื่อการสร้างนวัตกรรม เป็นการศึกษาเพ่ือปวงชน เป็นการศึกษาเพื่อ
สังคม ที่คนท่ีได้รับการศึกษานันต้องหันมาช่วยเหลือสังคมอย่างจริงจัง และกว้างขวางโดยท่ีไม่ใช่การศึกษาเพื่อ
วัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่งดังเช่นที่ผ่านมา และการจัดการศึกษาต้องบูรณาการทังศาสตร์ศิลป์ชีวิต และ
เทคโนโลยีเข้าด้วยกันอย่างกลมกลืน เพ่ือสร้างคนที่สังคมต้องการได้ในทุกมิติ และมีรูปแบบการจัดการศึกษาที่
หลากหลาย สอดคล้องและตอบสนองต่อความตอ้ งการของผู้เรียน โดยครูอาจจะไมม่ ีความจ้าเป็นอีกต่อไป หรือถ้า
จา้ เป็นต้องมกี ต็ ้องเปล่ียนแปลงบทบาทไปอยา่ งมาก
นอกจากนี ไพฑูรย์ สนิ ลารัตน์ (2560 : ออนไลน์) กล่าวถึงการศกึ ษา 4.0 เปน็ การพฒั นาการของการศกึ ษา
ทไี่ ม่ใช่เพียงแคเ่ ขา้ ใจ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ ตคี วามได้ แต่เปน็ การศึกษาท่ีแท้จริง ต้องท้าใหผ้ เู้ รยี นสร้างผลผลติ หรือ
นวัตกรรมใหม่ออกมาได้ ซ่ึงจะเป็นส่ิงท่ีติดตัวนักเรียน นกั ศึกษาไปตลอดชีวิต สอดคล้องกับความเช่ือที่ว่า ค่าของ
คนอยู่ที่ผลของงาน และจะช่วยแก้ปัญหาบริโภคนิยมที่เกาะกินสังคมไทยมาอย่างยาวนาน การศึกษา 4.0 เป็น
การศกึ ษายคุ ใหม่ เน้นสร้างนักผลิต สอนใหเ้ ด็กมผี ลผลิต มผี ลิตภณั ฑ์ทเ่ี ปน็ นวัตกรรม ผู้สอนต้องเปล่ยี นวธิ คี ิด ไม่ใช่
เรยี นเพ่ือสอบเอาคะแนนสูง ท้าให้นักเรียนถูกจา้ กัดอยู่ในกรอบ ไมส่ ามารถคดิ นอกกรอบได้ ครตู อ้ งใหเ้ สรีภาพเด็ก
เลือกเรียนตามความถนัด โดยส่งเสริม เติมเต็มตามศักยภาพของเด็ก ซึ่งเป็นการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคมาก
รวมถงึ ตอ้ งเปน็ เปา้ หมายการศึกษาของชาติ สร้างเด็กสรา้ งนวตั กรรม เลิกการบรรยาย แต่ให้เดก็ ไดล้ งมือทา้ เดก็ ทุก
คนตอ้ งมีผลงานและเหน็ ความส้าเร็จอยู่ทีผ่ ลงาน การเรียนการสอนทุกวิชาต้องเป็นแบบเดียวกัน มีการดา้ เนินการ
ต่อเนือ่ ง
และทุกคนต้องร่วมมือกันท้าครู ต้องปรับเปลี่ยน กระบวนการจัดการเรียนการสอน เพ่ือสร้างทรัพยากร
บคุ คลท่มี ที กั ษะสอดคลอ้ งกบั การก้าวสูย่ คุ 4.0 สร้างผลผลิตนวตั กรรม
Arthur M.Harkins (เฉลิมชัย มนูเสวต, 2559 : 40-44 อ้างถึงใน Harkins. A.M.2008)ได้กล่าวถึง หลักการและ
แนวปฏิบัติของกลุ่มทฤษฎี ก้าวกระโดด หรือ Leapfrog เก่ียวกับการศึกษา 4.0 เพ่ือพัฒนากระบวนทัศน์ทาง
การศึกษาที่ส้าคัญ 3 ด้าน กระบวนทัศน์ท่ีส้าคัญคือ การศึกษา 3.0 ท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้ผลิตความรู้ไม่ใช่
บรโิ ภคความรู้ การศกึ ษา 3.0 พฒั นามาจากการศึกษา 2.0 ท่ีเนน้ ผเู้ รียนผ่านอนิ เตอรเ์ น็ต และการศึกษา 1.0 ทีเ่ น้น
การท่องจ้า จนถึงการศึกษา 4.0 ซ่ึงเป็นการจัดการศึกษาท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดนวัตกรรมใหม่ๆ เพ่ือสร้างองค์
ความรู้อย่างต่อเนื่องและยั่งยนื
การจัดยคุ ของการศึกษาในกลมุ่ Leapfrog คอื ฟินแลนด์ 3.0-4.0 ท่เี ข้าสูย่ คุ โทรศัพท์ไรส้ าย ท้าใหป้ ระเทศ
ประหยัดการลงทุนดา้ นระบบสายทองท่ีมีราคาแพง เริ่มโดย John Moravee และพัฒนามาถึงการศึกษา 4.0 โดย
Arthur M.Harkinsแห่ง University of Minnesota ซ่งึ ได้ตังขอ้ สังเกต ว่าการศึกษาใน แตล่ ะยุคมปี ฎสิ ัมพันธซ์ ่งึ กัน
และกนั แตก่ ม็ คี วามแตกตา่ งกันอย่างชัดเจน
จะเห็นไดว้ ่า การศึกษา 3.0 และการศกึ ษา 4.0 เปน็ การกอ่ ตัวขนึ ใหมซ่ ึ่งมีฐานความคดิ มาจาก ความสามารถในการ
เข้าถึงข้อมูลข่าวสารของการศึกษา 2.0 และการช่างจดช่างจ้าของการศึกษายุค 1.0 ทังท่ีเป็นการศึกษาของโลก
ส่วนใหญ่ยังอยใู่ นยุคการศึกษา 1.0 และมบี างสว่ นเท่านนั ทเี่ คล่ือนตัวอย่างเปน็ ทางการเขา้ สู่ยคุ การศกึ ษา 2.0 ทังๆ
ที่ในความเป็นจริงผู้เรียนพยายามก้าวกระโดดออกจากการศึกษา 1.0 ไปแล้ว น่ันคือ การเรียนรู้นอกห้องเรียน
จดุ มุ่งหมายส้าคัญของบทความนอี ยทู่ ่ีการศึกษา 3.0 และ 4.0 ซงึ่ เป็นหวั ใจส้าคญั ของการศกึ ษาแบบ “กบกระโดด”
หรือ leapfrog
Zhao Yong (2012) เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาแบบ 4.0 ว่า การศึกษาต้องให้อิสระในการเรียนแก่
เด็กอยา่ งกวา้ งขวาง ให้เดก็ ลงมือท้าจนได้ผลงานและใช้โลกเป็นหอ้ งเรยี น นอกจากนี ยังเสนอต่อไปวา่
1. เน้นท่ีสร้างจิตวิญญาณ และทักษะในการเป็นผู้ประกอบการ ให้ความส้าคัญกับผลผลิตหรือบริการท่ี
นกั เรยี นสรา้ งขนึ
2. สามารถสอนให้นักเรยี นควบคมุ โครงงานเอง รู้จกั วางแผนงานและกลยุทธก์ ารตลาด
3. ครมู บี ทบาทในฐานะผูร้ ว่ มลงทนุ สนบั สนุนและแนะแนว
4. เช่อื มโยงกับชุมชนเพ่อื ส่งผลผลิตเข้าชมุ ชน
5. จัดสิง่ แวดล้อมในโรงเรียนให้เน้นผลผลิต
6. สอนใหน้ า้ ความร้มู าจากท่ตี ่างๆ
7. สอนใหผ้ ูเ้ รยี นรูจ้ ักวิเคราะห์เก่ียวกบั โครงการแล้วใชท้ ักษะในการแกป้ ัญหา
จากการศึกษาความเป็นมาและแนวคิดการศึกษาแบบ 4.0 สรุปได้วา่ การพัฒนาระบบการศกึ ษาไทยเพื่อ
กา้ วส่ยู ุค 4.0 ได้อย่างยั่งยืนนัน จะต้องมีการเชื่อมโยงและผสมผสานกนั ในหลายมิติ ทังด้านนโยบายการศกึ ษาจาก
ภาครฐั ด้านความร่วมมอื และสนับสนุนจากสถาบันการศกึ ษาทงั รัฐและเอกชน ดา้ น
การพัฒนาบุคลากร ครู ซ่ึงจะเป็นกลจักรหลักแห่งการพัฒนาเยาวชนรุ่นใหม่ให้ทันต่อยุคสมัยและสอดคล้อง
ตลาดแรงงาน อันจะนา้ ไปสู่การพฒั นาประเทศ ผลิตบุคลากรได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ ตอบโจทย์การเปลี่ยนแปลงของโลก
ในอนาคตการจัดการศึกษาต้องเริ่มตังแต่ระดับกอ่ นประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาและอุดมศึกษา และ
ต้องมีการเชอื่ มโยงกันทกุ ภาคส่วนอย่างเป็นระบบตอ่ เนื่องกนั ไปเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นคนไทยยุคใหม่ สามารถ
สร้างและผลิตนวัตกรรมใหม่ๆ ก้าวข้ามรายได้ระดับปานกลางสู่ระดับสูง มีความม่ันคง มั่งค่ังและยั่งยืนจึง
จ้าเป็นต้องปรับเปลี่ยนทังในส่วนของรูปแบบการเรียนการสอน และเนือหาหลกั สูตรให้มีความน่าสนใจ กระตนุ้ ให้
เกิดความอยากใครร่ ู้ มากกว่าการสอนแบบเดมิ รวมทังต้องสรา้ งบรรยากาศ สภาพแวดล้อมให้เหมาะสมเอือตอ่ การ
พฒั นาองคค์ วามรู้ดว้ ย โดยแนวทางส้าคญั คอื การพัฒนาการเรยี นรแู้ บบ
Active Learning การศกึ ษาแบบ 4.00 จงึ เปน็ การศึกษา เชงิ สรา้ งสรรค์และผลติ ภาพ เพอื่ การสรา้ งนวัตกรรม การ
ท้าให้ผู้เรียนสร้างผลผลิตหรือนวัตกรรมใหม่ออกมาได้ครูต้องเปล่ียนบทบาทจากผู้สอน มาเป็นผู้ส่งเสริมความรู้
อ้านวยความสะดวกในการเรียนสอนให้น้าความรู้มาจากท่ีต่างๆสอนให้ผู้เรียนรู้จักวิเคราะห์แล้วใช้ทักษะในการ
แก้ปญั หา
ความหมายของการศึกษาแบบ 4.0
บณั ฑิต เออื อาภรณ์ (2557 : 4) กลา่ วว่า การศึกษาระบบ 4.0 หมายถึง การปรับรูปแบบการสอนให้ทันลูก
ศิษย์ยุคใหม่ทใี่ ช้เทคโนโลยีในการเรยี นรไู้ ด้อย่างรวดเร็วและหลากหลายและการท้าหอ้ งเรียนทันสมัยที่มุ่งเน้นการ
ปฏิสัมพนั ธ์ของผู้เรียนมีการเรียนการสอนที่มุ่งการคิดเชิงออกแบบซ่ึงคือแนวทางออกแบบที่มงุ่ ความต้องการของ
ผใู้ ชเ้ ป็นส้าคัญและการผลติ นวัตกรรมท่ตี อบสนองความตอ้ งการของสังคมสว่ นใหญ่
ไพฑรู ย์ สินลารัตน์ (2559 : 155-158) กลา่ วว่า การศึกษา 4.0 เปน็ การศกึ ษาเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพทเี่ น้นให้
ผู้เรียนสามารถสร้างผลงานหรือนวัตกรรมได้ มกี ารบูรณาการทังศาสตร์ ศิลปช์ ีวิต และเทคโนโลยเี ข้าด้วยกันอย่าง
กลมกลืนมีรูปแบบการจัดการศึกษาที่หลากหลาย สอดคลอ้ งและตอบสนองต่อความตอ้ งการของผเู้ รียนสอนโดยใช้
เทคนคิ มาก
ยืน ภู่วรวรรณ (2557 : 6-8) กล่าวว่า การศึกษาระบบ 4.0 หมายถึง การเรียนรู้ในยุคดิจิทัลความรู้บน
คลาวด์เป็นหัวใจการศึกษายุคใหม่การเรียนการสอนต้องเน้นทักษะมากกวา่ เนือหาเรยี นด้วยการลงมือท้า Active
Learning : PBL (Project Base Learning) การเรียนแบบบูรณาการสหวิชาการเชื่อมโยงความรู้กับจินตนาการ
แปลงสู่รูปธรรมส่งเสริมด้านคุณค่าจริยธรรมการจัดการศึกษาต้องสร้างความพอใจให้ผู้เรียนท้าท้ายสู่การสร้าง
กระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนอยากเรียนและสนุกอย่างเกม (Gamification for Education) ยุคใหม่ต้องจัด
การศกึ ษาให้สนุกอย่างเกม
เฉลิมพร พงศ์ธีระวรรณ (2559 : ออนไลน์) กล่าวว่า การเรียนรู้และการเรียนการสอนต้องปรับกระบวน
ทัศน์ใหม่ท่ีเน้นการสอนคดิ วิเคราะห์แก้ปัญหาได้ เพือ่ ให้ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ใหส้ อด
รบั กบั เศรษฐกิจ 4.0
สรปุ ได้วา่ การศึกษาแบบ 4.0 หมายถงึ การจัดกระบวนการพฒั นาผเู้ รียนให้เปน็ ไปตามแนวคิดการพฒั นา
เศรษฐกิจแบบ 4.0 ซ่ึงเป็นเศรษฐกิจที่เน้นความคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์และการคิดผลิตภาพ มีจิตส้านึกต่อ
สงั คมส่วนรวม โดยการจัดการเรียนแบบบูรณาการทังศาสตร์ ศิลป์ ชีวิตและเทคโนโลยีเข้าด้วยกันอย่างกลมกลืน
เชื่อมโยงความรู้ในเร่ืองทีเ่ รียนกับการแก้ปัญหาในชวี ิตประจ้าวันและตอบสนองต่อความสนใจ ความต้องการของ
ผู้เรยี น เน้นให้ผู้เรียนลงมอื ทา้ และทา้ งานเป็นทมี
รปู แบบการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคดิ การศกึ ษาแบบ 4.0
การจัดการเรียนรู้แบบ 4.0 เพอ่ื สง่ เสรมิ ผู้เรยี นให้คดิ วเิ คราะห์ คิดสรา้ งสรรค์ คิดผลิตภาพ มีสา้ นึกตอ่ สังคม
ด้วยการบูรณาการทังศาสตร์ ศิลป์ ชีวิต เทคโนโลยีเข้าด้วยกัน มุ่งสร้างนวัตกรรม ด้วยการเปิดใจท้าความเข้าใจ
ปัญหาโดยผู้สอนเร่ิมต้นด้วยการชีแจงจุดมุ่งหมายของการเรียนแล้วน้าเร่ืองด้วยปัญหาต่างๆ (Problem-based
Learning)(ไพฑูรย์ สินลารัตน์. 2559 : 62 ; 2559 :138)ตังโจทย์ปัญหาท่ีถูกต้องกล้าคิด กล้าลองหลายๆแนวคิด
(อังคีร์ ศรีภคากร. 2559 : 131)การเรียนการสอนเน้นทักษะมากกว่าเนือหาเรียนด้วยการลงมือท้า Active
Learning : PBL (Project Base Learning) (ยืน ภู่วรวรรณ. 2557 : 6-8) ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเพ่ือ
เสริมสร้างการท้างานให้ลา้ หนา้ ผ่านมาสู่วิธีการการออกแบบพัฒนา ส้าหรับต้นแบบสินค้าหรือความรู้ สู่การสร้าง
ความรู้และการสร้างนวัตกรรมในยุค 4.0 (Arthur M.Harkin. 2008 อ้างใน เฉลิมชัย มนูเสวต, 2559 : 45-48)
ผู้วจิ ยั น้าเสนอรูปแบบการการจดั การเรียนรู้ทส่ี อดคลอ้ งกับแนวคดิ การจัดการเรียนรแู้ บบ 4.0 ดงั นี
ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2559 :57-64) กล่าวถึง วิธีการเรียนการสอนในแบบการศึกษาเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ
หลกั สตู ร CCPR Modelในยุคการศกึ ษาไทยแบบ4.0 เป็นจัดการศึกษาเชงิ สร้างสรรค์และผลิตภาพ จ้าเป็นต้องเน้น
ที่ความคิดสร้างสรรค์ (Creative) แล้วแปรความคดิ สรา้ งสรรค์เปน็ ผลผลิตออกมา(Product) แต่การท่จี ะมีความคิด
สรา้ งสรรคไ์ ดต้ อ้ งคดิ วเิ คราะห์ (Critical) ก่อน และเม่อื มผี ลผลิตแลว้ ผูเ้ รียนตอ้ งรบั ผิดชอบตามมากขึนการศึกษาเชิง
สร้างสรรค์และผลิตภาพจงึ ประกอบไปด้วยแนวคิด คิดวิเคราะห์ (Critical)คิดสร้างสรรค์ (Creative) คิดผลิตภาพ
(Productive) และคิดรับผิดชอบ(Responsible) หรือ CCPR Model ซ่ึงลักษณะ 4 อย่างนีมีความส้าคัญในการ
ช่วยแก้ปญั หาบริโภคนิยมได้เปน็ อยา่ งดี
วิธีการเรียนการสอนในแบบการศึกษาเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ หลักสตู ร CCPR Modelวิธกี ารเรียนนี
จะใชผ้ ลการสอนเป็นหลกั ประกัน เพราะในอนาคตสงั คมไทยจะมีปฏิกริ ิยาในเชงิ ของการเรียกร้องผลการศกึ ษามาก
ขึน จงึ จา้ เป็นต้องมีแนวคิดทีส่ ามารถนา้ ไปสูก่ ารปฏบิ ัตไิ ด้ 4 ประการ
1. การจัดการเรยี นรแุ้ บบ Criticality –Based โดยเน้นการคิดวเิ คราะหว์ ิจารณเ์ ป็นหลกั หลกั คดิ นีเกดิ จาก
ความเปน็ สงั คมผู้บริโภค เดก็ ไทยและคนไทยจึงซือกินใช้อย่างไม่ไตรต่ รอง คนไทยเราจา้ เปน็ ต้องสอนใหเ้ ด็กของเรา
รูจ้ กั วิเคราะห์ เลอื กและมน่ั ใจในตนเองว่าเราจะซอื จะกินจะใชน้ ัน มีเหตุมีผลสมควรแลว้ หรอื ไม่ เป็นต้น
2. การจดั การเรียนรู้แบบ Creative-Based เนน้ การสนับสนนุ ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนคิดอะไรใหม่ มมี ุมมองใหม่
ให้ทางเลือกที่เพ่ิมขึนกับกจิ กรรมต่างๆ ให้ฝึกการทา้ งานใหม่เพม่ิ เติมจนแน่ใจในทักษะการคิดใหม่ไดเ้ กิดขึนในตัว
ผเู้ รียน
3. การจัดการเรียนรู้แบบ Productivity-Based เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีเป้าหมายให้ผู้เรียนได้
สร้างผลงาน ผลผลิตขึนมาจากแนวคิดที่ได้ริเร่ิมไว้แล้ว แสวงหาวิธีการต่างๆ เพ่ือให้ได้ผลงาน แล้วประเมิน
ตรวจสอบจนแนใ่ จวา่ คณุ ภาพส่งิ ทีค่ ิดเทา่ นนั
4. การจัดการเรียนรู้แบบ Responsibility-Based ข้อนีคือเรื่องของความรับผิดชอบก็คือ เร่ืองของ
คุณธรรม จริยธรรมรวมถึงความเสียสละต่อสังคมนนั่ เอง ซึ่งคนไทยต้องเนน้ มากทงั ดา้ นการสอน การฝึก การใหท้ ้า
ตามและการทา้ ตามแบบอยา่ งจนตดิ เปน็ นิสยั ดังแสดงในภาพประกอบ
ภาพประกอบ วิธกี ารเรยี นการสอนใน แบบ CCPR Model
ทมี่ า ไพฑรู ย์ สนิ ลารตั น์ (2559 : 62)
วิธีการเรียนการสอนใน แบบ CCPR Model จะเป็นการใช้ ผลการสอนเป็นหลักประกัน โรงเรียน ครู
จะต้องจดั การเรียนร้แู บบใหเ้ ด็กคิดวเิ คราะห์เป็นหลัก เน้นวิเคราะห์ปัญหารายบุคคล แลกเปล่ียนความคิดเห็น ให้
เดก็ ทบทวนตัวเอง เป็นตวั ของตัวเอง อกี ทังตอ้ งสนับสนุนให้ผูเ้ รียนคดิ อะไรใหม่ ให้ฝกึ การท้างานใหม่ๆ เพ่ิมเตมิ จน
แน่ใจในทักษะการคิดใหม่ได้เกิดขึนในตัวผู้เรียน มองใหม่ เสนอใหม่ ให้ทางเลือก เพ่ิม ลดต่อยอด เสริม ลองแล้ว
ลองอีก วางเป้าหมายที่ผลงาน แสวงหาวิธีการต่างๆ ให้ได้งาน ทดสอบ ประเมินคุณภาพปรับเปล่ียนและช่วย
สอดสอ่ ง รวมถงึ ต้องดา้ เนินการในทกุ ระดบั น้าตวั เองสู่
Productive-Based Instruction
-วางเปา้ หมายท่ผี ลงาน
-แสวงหาวิธีการต่างๆให้ได้งาน
-ทดสอบ/ประเมนิ คุณภาพ
-ปรบั เปลยี่ น/สอดส่อง
Criticality-Based Instruction
-วเิ คราะห์ปญั หารายบคุ คล
-แลกเปล่ยี นความคิดเห็น
-ทบทวนตวั เอง/ประเมิน
-เป็นตวั ของตัวเอง
Creativity-Based Instruction
-มองใหม/่ เสนอใหม่/คดิ ใหม่
-ให้ทางเลือก/เพิม่ /ลด
-ต่อยอด/เสรมิ /เพ่ิม
-ลองแล้ว/ลองอกี /ให้แน่ใจ
Responsibility-Based Instruction
-ปลกู ในระบบ
-นา้ ตวั เองส่สู าธารณะ/สังคม
-ด/ู ทดสอบ/รูปแบบตัวอย่าง
30
สาธารณะ สังคม ผา่ นการทดสอบ รปู แบบตวั อยา่ ง
“การจัดการศึกษาเพื่อผลผลิต ครูต้องสอนน้อย แต่ให้เด็กเรียนรู้มาก ผ่านการจดั การเรียนการสอนแบบไม่สอน ก็
เรียนได้จรงิ โดยครูตอ้ งเช่อื มน่ั ว่าผู้เรียนสามารถแสวงหาและสรา้ งองคค์ วามรู้ได้ดว้ ยตนเอง ผู้สอนมบี ทบาทในการ
วางแผนการจัดการเรียน ออกแบบกิจกรรมการเรียน กระตุ้นส่งเสริมจูงใจผู้เรียนและเตรียมค้าถามที่ท้าทายให้
ผู้เรียนได้ค้นหาค้าตอบ มีประเด็นค้าถามจากประสบการณ์ในชันเรียน การน้าเสนอผลการเรียนมาอภิปราย
แลกเปลี่ยนในชันเรยี น ซ่ึงผู้สอนจะมีบทบาทใหม่ คือ เป็นผู้วจิ ารณ์เพ่ิมขึนด้วย ท้าให้เกดิ ผลงานที่เปน็ องคค์ วามรู้
จากกระบวนการเรียนรู้ทส่ี ร้างสรรค์
ผนู้ ้าในแนวทางของการศึกษาเชิงสรา้ งสรรค์และผลิตภาพ หรอื CCPR นัน ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก คอื
1. ด้านคณุ ลกั ษณะ ผู้น้าในแนวนจี ะต้องมีความสามารถ 4 ประการหลักเชน่ กัน คือ คิดวิเคราะห์ (Critical
Mind)คดิ สร้างสรรค์ (Creative Mind) คดิ ผลิตภาพ(Productive Mind) และคิดรับผดิ ชอบ(Responsible Mind)
2. กระบวนการ ประกอบด้วย การก้าหนดเป้าหมายอย่างวเิ คราะห์ (Critical Aiming) การกา้ หนดทิศทาง
ขององค์กรอย่างสร้างสรรค์ (Setting Creativity) การเน้นให้มีผลงานท่ีเกิดขึน (Produce Emphasizing)และ
รับผิดชอบตอ่ ตนเองและสังคม (Maintaining Responsibility)
3. ผลผลิต จะดูท่ี 1) วิเคราะห์สภาพแวดล้อมได้อย่างแจ่มชัด (Situational analysis) 2) เสนอแนวคิด
และวิธีการใหม่ๆ (Innovative ideas) 3) มีผลการสะท้อนความคิดสร้างสรรค์ (New product/works) 4) มี
ผลงานสะท้อนความรับผิดชอบทม่ี ีตอ่ สังคม (Social Responsibility)
3.2 การจัดกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบใชป้ ญั หาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เป็นรูปแบบที่เกิดขึนจากแนวคิดตามทฤษฎีการเรียนรู้แบบ
สร้างสรรค์นิยม (Constructivism) เพ่ือให้ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่จากการใช้ปัญหาที่เกิดขึนเป็นเครื่องมือในการ
ชว่ ยให้ผู้เรยี นเกิดความรตู้ ามเป้าหมาย (สา้ นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2550 : 7-8)
ลักษณะสาคัญของการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
1. ต้องมีสถานการณ์ท่ีเป็นปัญหาและเร่ิมต้นจากการจัดการกระบวนการเรียนรู้ด้วยการใช้ปัญหาเป็น
ตวั กระตนุ้ ให้เกดิ กระบวนการเรยี นรู้
2. ปัญหาท่นี ้ามาใช้ในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ควรเป็นปัญหาทเ่ี กดิ ขนึ พบเห็นได้ในชีวิตจริงของผ้เู รียน
หรือมโี อกาสที่จะเกิดขนึ จรงิ ๆ
3. ผู้เรียนเรียนรู้โดยการน้าตนเอง (self-Directed Learning) ค้นหาและแสวงหาความรู้ ค้าตอบด้วย
ตนเอง ดังนันผเู้ รียนจึงต้องวางแผนการเรียนด้วยตนเอง บริหารเวลาเอง คัดเลือกวิธีการเรียนรู้และประสบการณ์
เรยี นรู้ รวมทงั ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ดว้ ยตวั เอง
4. ผู้เรยี นเรียนรู้เป็นกลุ่มย่อย เพ่อื ประโยชน์ในการค้นหาความรู้ ข้อมลู ร่วมกัน เป็นการพัฒนาทักษะการ
แก้ปัญหาดว้ ยเหตุและผล ฝึกให้ผเู้ รยี นมีทกั ษะในการรบั ส่งขอ้ มลู เรียนรู้เกี่ยวกบั ความแตกต่างระหว่างบุคคล และ
ฝึกการจดั ระบบตนเองเพ่ือพัฒนาความสามารถในการท้างานร่วมกนั เปน็ ทีม ความรู้ค้าตอบท่ีไดม้ คี วามหลากหลาย
องค์ความรู้จะผ่านการวิเคราะห์โดยผู้เรียน มีการสังเคราะห์และตัดสินใจร่วมกัน การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา
เปน็ ฐานนนี อกจากจัดการเรยี นเป็นกลุ่มแลว้ ยังสามารถจัดผ้เู รียนเรียนร้รู ายบุคคลได้ แต่อาจทา้ ใหผ้ เู้ รียนขาดทกั ษะ
ในการท้างานรว่ มกนั กับผู้อนื่
5. การเรียนรู้มีลักษณะการบูรณาการความรู้และบูรณาการทักษะกระบวนการต่างๆเพ่ือให้ผู้เรียนได้รับ
ความร้แู ละคา้ ตอบที่กระจา่ งชัด
6. ความรู้ที่เกดิ ขึนจากการเรยี นรู้จะได้มาภายหลังจากผ่านกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปญั หาเป็นฐานแล้ว
เทา่ นนั
7. การประเมนิ ผลเป็นการประเมนิ จากสภาพจรงิ โดยพิจารณาจากการปฏิบัติงานตามความก้าวหนา้ ของ
ผเู้ รยี น
ข้ันตอนการจัดการเรยี นร้โู ดยใช้ปัญหาเปน็ ฐาน ประกอบดว้ ย 6 ขั้นตอน ดังนี
1. ขันก้าหนดปัญหา
2. ขันท้าความเข้าใจปัญหา
3. ขนั ด้าเนินการศึกษาคน้ ควา้
4. ขันสงั เคราะหค์ วามรู้
5. ขันสรุปและประเมนิ คา่ ของค้าตอบ
6. ขันน้าเสนอและประเมนิ ผลงาน
3.3 การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเปน็ ฐาน (Project Base Learning : PBL)
การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน หมายถึง การจัดการเรียนรู้ท่ีมีครูเป็นผู้กระตุ้นเพื่อน้าความ
สนใจท่ีเกิดจากตวั นักเรียนมาใช้ในการท้ากิจกรรมค้นควา้ หาความรู้ดว้ ยตัวนักเรยี นเอง นา้ ไปส่กู ารเพ่ิมความรู้ทีไ่ ด้
จากการลงมือปฏิบัติ การฟังและการสังเกตจากเชี่ยวชาญ โดยนักเรียนมีการเรียนรู้ผ่านกระบวนการท้างานเป็น
กลุ่ม ที่จะน้ามาสู่การสรุปความรู้ใหม่ มกี ารเขียนกระบวนการจัดท้าโครงงานและได้ผลการจัดกิจกรรมเป็นผลงาน
แบบรูปธรรม (ดุษฎี โยเหลา และคณะ, 2557: 19-20) การเรียนรู้แบบโครงงานนัน สอดคล้องกับแนวคิด John
Dewey เร่ือง learning by doing ซ่ึงได้กล่าวว่าการศึกษาเป็นกระบวนการในการด้ารงชีพและไม่ใช่การ
เตรียมพร้อมส้าหรบั การใชช้ วี ิตในอนาคต(Dewey John, 1897: 79 cite in Douladeli Efstratia, 2014) เน้นการ
จัดการเรียนรู้ท่ีให้นักเรียนได้รบั ประสบการณ์ชวี ิตขณะท่ีเรียน เพ่ือใหน้ ักเรียนได้พัฒนาทักษะต่างๆ ซึ่งสอดคล้อง
กบั หลักพัฒนาการคิดของ Bloom ทัง 6 ขัน คือความรคู้ วามจ้า (Remembering) ความเขา้ ใจ (understanding)
การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมินค่า (Evaluating) และ การคิดสร้างสรรค์
(Creating) ซึ่งการจดั การเรียนรูแ้ บบใชโ้ ครงงานเป็นฐาน นันจึงเป็นเป็นอีกรูปแบบหน่ึง ทีถ่ ือไดว้ ่าเป็น การจดั การ
เรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญ เนื่องจากผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติเพื่อฝึกทักษะต่างๆด้วยตนเองทุกขันตอน โดยมีครู
เป็นผูจ้ ัดประสบการณก์ ารเรียนรู้
ลกั ษณะสาคัญของการจดั การเรยี นรูโ้ ดยใช้โครงงานเป็นฐาน
McDonell (2007) ไดก้ ลา่ ววา่ การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นรปู แบบหนึง่ ของ
Child- centered Approach ท่เี ปิดโอกาสให้นักเรียนได้ทา้ งานตามระดบั ทกั ษะที่ตนเองมีอยู่ เปน็ เร่ืองท่ีสนใจและ
ร้สู ึกสบายใจที่จะท้า นักเรียนได้รับสิทธิในการเลอื กว่าจะตังค้าถามอะไร และต้องการผลผลิตอะไรจากการท้างาน
ชนิ นี โดยครูท้าหน้าท่ีเป็นผู้สนับสนุนอุปกรณ์และจัดประสบการณ์ให้แก่นักเรียน สนับสนุนการแก้ไขปัญหา และ
สร้างแรงจงู ใจให้แกน่ ักเรยี น โดยลกั ษณะของการเรียนรแู้ บบโครงงาน มีดังนี
1. นกั เรยี นก้าหนดการเรยี นรู้ของตนเอง
2.เชือ่ มโยงกับชวี ติ จรงิ ส่ิงแวดล้อมจรงิ
3.มีฐานจากการวิจัย หรอื องคค์ วามร้ทู ่เี คยมี
4.ใช้แหล่งขอ้ มูล หลายแหล่ง
5. ฝงั ตรึงดว้ ยความรูแ้ ละทกั ษะบางอย่าง (embedded with knowledge and skills)
6. ใช้เวลามากพอในการสร้างผลงาน มผี ลผลติ
ในการจัดการเรียนรู้แต่ละครัง ครูจะต้องเป็นผู้ที่มีความพร้อมและมีความแม่นย้าในเนือหาเพื่อให้การ
จดั การเรียนรู้เป็นไปอยา่ งราบรืน่ และสามารถอ้านวยความสะดวกใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ไดข้ ณะกิจกรรม ซ่ึงการ
จดั กิจกรรมการเรียนรู้ดังกล่าว มีแนวทางในการจัดการเรียนรู้ 2 รูปแบบ คือ การจดั กิจกรรมตามความสนใจของ
ผเู้ รียน และการจดั กจิ กรรมตามสาระการเรียนรู้
ข้นั ตอนการจดั การเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้แบบใชโ้ ครงงานเป็นฐานนัน มีกระบวนการและขันตอนแตกต่างกนั ไปตามแต่ละทฤษฎี
ซ่ึงในคู่มือการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานฉบับนี ขอน้าเสนอแนวคิดท่ีถูกพิจารณาแล้วเหมาะสมกับ
บริบทของเมืองไทย คือ ขันการจดั การเรียนรู้ ตาม โมเดล จักรยานแห่งการเรียนรู้แบบ PBL ของ วิจารณ์ พาณิช
(2555:71-75) ซ่ึงแนวคิดนี มีความเชื่อว่า หากต้องการให้การเรียนรู้มีพลังและฝังในตัวผู้เรียนได้ ต้องเป็นการ
เรยี นรู้ทเ่ี รียนโดยการลงมอื ทา้ เปน็ โครงการ (Project) ร่วมมอื กันท้าเป็นทีม และท้ากบั ปัญหาที่มีอยูใ่ นชีวิตจริง ซึ่ง
ส่วนของ วงลอ้ แตล่ ะชิน ได้แก่ Define, Plan, Do, Review และ Presentation
1. Define คือ ขันตอนการทา้ ให้สมาชิกของทีมงาน รว่ มทังครูด้วยมคี วามชดั เจนร่วมกันว่า ค้าถาม ปญั หา
ประเด็น ความทา้ ทายของโครงการคืออะไร และเพ่อื ให้เกดิ การเรยี นรอู้ ะไร
2. Plan คอื การวางแผนการทา้ งานในโครงการ ครูกต็ อ้ งวางแผน ก้าหนดทางหนีทไี ล่ในการท้าหน้าทีโ่ ค้ช
รวมทังเตรยี มเคร่ืองอา้ นวยความสะดวกในการทา้ โครงการของนกั เรียน และท่ีสา้ คัญ
เตรียมค้าถามไว้ถามทมี งานเพ่ือกระตุ้นให้คดิ ถึงประเด็นส้าคัญบางประเด็นทีน่ ักเรียนมองข้าม โดยถอื หลักว่า ครู
ต้องไม่เข้าไปช่วยเหลือจนทมี งานขาดโอกาสคิดเองแก้ปัญหาเอง นักเรียนที่เป็นทีมงานก็ต้องวางแผนงานของตน
แบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบ การประชุมพบปะระหว่างทีมงาน การแลกเปล่ียนข้อค้นพบแลกเปล่ียนค้าถาม
แลกเปล่ียนวิธีการ ยิง่ ทา้ ความเข้าใจรว่ มกนั ไวช้ ดั เจนเพยี งใด งานในขนั Do ก็จะสะดวกเลอ่ื นไหลดเี พียงนัน
3. Do คือ การลงมือท้า มักจะพบปัญหาทไ่ี ม่คาดคิดเสมอ นักเรียนจึงจะได้เรียนรู้ทักษะในการแก้ปัญหา
การประสานงาน การท้างานร่วมกันเป็นทีม การจัดการความขัดแย้ง ทักษะในการท้างานภายใต้ทรัพยากรจ้ากัด
ทักษะในการค้นหาความรู้เพ่ิมเติมทักษะในการท้างานในสภาพที่ทีมงานมีความแตกต่างหลากหลาย ทักษะการ
ท้างานในสภาพกดดัน ทักษะในการบนั ทึกผลงาน ทักษะในการวิเคราะหผ์ ล และแลกเปลย่ี นข้อวิเคราะหก์ ับเพ่อื น
ร่วมทีม เป็นต้นในขันตอน Do นี ครูเพ่ือศิษย์จะได้มีโอกาสสังเกตท้าความรู้จักและเข้าใจศิษย์เป็นรายคน และ
เรียนรหู้ รอื ฝึกทา้ หนา้ ท่เี ป็น วิทยากรและโคช้ ด้วย
4. Review คือ การทท่ี ีมนักเรยี นจะทบทวนการเรียนรู้ ที่ไม่ใชแ่ ค่ทบทวนว่า โครงการได้ผลตามความมุ่ง
หมายหรือไม่ แต่จะต้องเนน้ ทบทวนว่างานหรือกจิ กรรม หรือพฤตกิ รรมแตล่ ะขนั ตอนไดใ้ ห้บทเรยี นอะไรบ้าง เอา
ทังขันตอนท่ีเป็นความส้าเร็จและความล้มเหลวมาท้าความเข้าใจ และก้าหนดวิธีท้างานใหม่ที่ถูกต้องเหมาะสม
รวมทังเอาเหตุการณ์ระทึกใจ หรือเหตุการณ์ท่ีภาคภูมิใจ ประทับใจ มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน ขันตอนนีเป็นการ
เรยี นรู้แบบทบทวนไตรต่ รอง (reflection) หรอื ในภาษา KM เรยี กว่า AAR (After Action Review)
5. Presentation คือ การน้าเสนอโครงการต่อชันเรียน เป็นขันตอนที่ให้การเรียนรู้ทักษะอีกชุดหนึ่ง
ต่อเน่ืองกับขันตอน Review เป็นขันตอนท่ีท้าให้เกิดการทบทวนขันตอนของงานและการเรียนรู้ที่เกิดขึนอย่าง
เข้มข้น แล้วเอามาน้าเสนอในรูปแบบท่ีเร้าใจ ให้อารมณ์และให้ความรู้ (ปัญญา) ทีมงานของนักเรียนอาจสร้าง
นวัตกรรมในการน้าเสนอก็ได้ โดยอาจเขียนเป็นรายงาน และนา้ เสนอเป็นการรายงานหน้าชัน มี เพาเวอร์พอยท์
(PowerPoint) ประกอบ หรอื จัดท้าวดี ิทศั นน์ า้ เสนอ หรอื นา้ เสนอเปน็ ละคร เป็นต้น
3.4 การจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการสเต็มศึกษา (STEM Education)
สะเต็มศึกษาเป็นการเรียนรู้แบบบูรณาการ ท่ีใช้ความรู้และทักษะในด้านต่างๆ ผ่านการท้ากิจกรรม
(activity based) หรือการท้าโครงงาน (project based) ท่ีเหมาะสมกับวัยและระดับชันของผู้เรียน การเรียนรู้
แบบสะเต็มศึกษาดังกลา่ วนี จะชว่ ยให้ผู้เรยี นได้พัฒนาทกั ษะการคดิ ทักษะการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทักษะการ
แก้ปญั หา และทักษะการส่ือสาร ซึ่งทักษะดงั กลา่ วนีเป็นทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 นอกจากนีผเู้ รียนยงั ได้
ความรู้แบบองค์รวมทีส่ ามารถน้าไปเช่อื มโยงหรอื ประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจา้ วันได้ (ศูนยส์ ะเต็มศกึ ษา. 2557 : 19)
ข้ันตอนการสอนแบบ STEM Education
ศูนย์สะเตม็ ศึกษา. (2557 : 12-15) ไดก้ ล่าวถึงลักษณะที่ชัดเจนขอ้ หนึง่ ของการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็ม
ศกึ ษา คือการผนวกกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมเข้ากบั การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
ของผู้เรียน กล่าวคือ ในขณะท่ีผู้เรียนท้ากิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และฝึกทักษะด้านวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ผู้เรียนต้องมีโอกาสน้าความรู้มาออกแบบวิธีการหรือกระบวนการเพื่อแก้ปัญหา
เพ่ือใหไ้ ดเ้ ทคโนโลยีซ่ึงเปน็ ผลผลิตจากกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมของสภาวจิ ัยแห่งประเทศสหรฐั อเมริกา
(The National Research Council: NRC. 2012) กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมประกอบด้วย องคป์ ระกอบ
6 ขันตอนได้แก่
1. ระบุปัญหา (Problem Identification) ขันตอนนีเริ่มต้นจากการท่ีผู้แก้ปัญหาตระหนักถึงส่ิงที่เป็น
ปญั หาในชวี ิตประจ้าวันและจ้าเป็นต้องหาวธิ ีการหรือสร้างสง่ิ ประดษิ ฐ์ (Innovation) เพ่อื แก้ไขปัญหาดังกล่าว ใน
การแก้ปญั หาในชีวิตจริงบางครังค้าถามหรือปัญหาท่ีเราระบุอาจประกอบด้วยปัญหาย่อย ในขันตอนของการระบุ
ปญั หาผู้แกป้ ัญหาตอ้ งพิจารณาปัญหาหรือกิจกรรมยอ่ ยที่ตอ้ งเกิดขึนเพ่ือประกอบเปน็ วิธีการในการแก้ปัญหาใหญ่
ด้วย
2. รวบรวมข้อมูลและแนวคิดทีเ่ กีย่ วข้องกับปัญหา (Related Information Search) หลังจากผู้แกป้ ัญหา
ท้าความเข้าใจปัญหาและสามารถระบุปัญหาย่อย ขันตอนต่อไปคือการรวบรวมข้อมูลและแนวคิดท่ีเกี่ยวข้องกับ
การแก้ปัญหาดงั กล่าว ในการค้นหาแนวคิดทเ่ี กี่ยวขอ้ งผู้แก้ปัญหาอาจมกี ารดา้ เนินการ ดังนี (1) การรวบรวมขอ้ มูล
คือการสบื คน้ วา่ เคยมีใครหาวิธีแก้ปัญหาดังกลา่ วนแี ลว้ หรือไม่ และหากมีเขาแก้ปัญหาอยา่ งไร และมีข้อเสนอแนะ
ใดบ้าง (2) การค้นหาแนวคิด คือการค้นหาแนวคิดหรือความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ หรือเทคโนโลยีที่
เกีย่ วข้องและสามารถประยกุ ตใ์ นการแก้ปญั หาได้ ในขันตอนนี ผู้แกป้ ญั หาควรพิจารณาแนวคิดหรอื ความรู้ทังหมด
ท่ีสามารถใช้แก้ปัญหาและจดบันทึกแนวคิดไว้เป็นทางเลือก และหลังจากการรวบรวมแนวคิดเหล่านันแล้วจึง
ประเมินแนวคิดเหล่านัน โดยพิจารณาถึงความเป็นไปได้ ความคุ้มทุน ข้อดีและจุดอ่อน และความเหมาะสมกับ
เงื่อนไขและขอบเขตของปัญหา แลว้ จึงเลอื กแนวคดิ หรือวิธกี ารที่เหมาะสมที่สดุ
3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา (Solution Design) หลังจากเลือกแนวคิดท่ีเหมาะสมในการแก้ปัญหาแล้ว
ขันตอนต่อไป คอื การน้าความรู้ท่ีได้รวบรวมมาประยุกต์เพ่อื ออกแบบวิธกี าร ก้าหนดองค์ประกอบของวิธีการหรือ
ผลผลิต ทังนี ผู้แก้ปัญหาต้องอ้างอิงถึงความรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่รวบรวมได้ ประเมิน
ตดั สินใจเลอื กและใช้ความรทู้ ไี่ ดม้ าในการสรา้ งภาพรา่ งหรอื กา้ หนดเค้าโครงของวิธีการแก้ปัญหา
4. วางแผนและด้าเนินการแก้ปัญหา (Planning and Development) หลังจากท่ีได้ออกแบบวิธีการและ
ก้าหนดเคา้ โครงของวิธกี ารแกป้ ัญหาแล้ว ขนั ตอนต่อไปคือการพฒั นาต้นแบบ (Prototype) ของส่ิงที่ได้ออกแบบไว้
ในขันตอนนีผู้แก้ปัญหาต้องก้าหนดขันตอนย่อยในการท้างานรวมทังก้าหนดเป้าหมายและระยะเวลาในการ
ดา้ เนนิ การแต่ละขันตอนย่อยให้ชดั เจน
5. ทดสอบ ประเมินผลและปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชินงาน (Testing, Evaluation and
Design Improvement) เป็นขันตอนทดสอบและประเมินการใช้งานต้นแบบเพื่อแก้ปัญหา ผลท่ีได้จากการ
ทดสอบและประเมินอาจถูกน้ามาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาผลลัพธ์ให้มีประสิทธิภาพในการแก้ปัญหามากขึน
การทดสอบและประเมนิ ผลสามารถเกดิ ขึนไดห้ ลายครงั ในกระบวนการแกป้ ัญหา
6. นา้ เสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชินงาน (Presentation) หลังจากการพัฒนา ปรับปรุง
ทดสอบและประเมินวิธีการแก้ปัญหาหรือผลลัพธ์จนมีประสิทธิภาพตามที่ต้องการแล้วผู้แก้ปัญหาต้องน้าเสนอ
ผลลัพธต์ อ่ สาธารณชน โดยต้องออกแบบวิธกี ารนา้ เสนอข้อมลู ท่ีเข้าใจงา่ ยและน่าสนใจ
ความสามารถของครใู นการจดั การเรียนรแู้ บบ 4.0
ครู 4.0 คอื ครูในศตวรรษท่ี 21 ทีต่ ้องท้าให้นกั เรียนกลายเปน็ นักเรียน 4.0 ดว้ ยการเพมิ่ กจิ กรรมการเรยี นรู้
ท่ีจะท้าให้นักเรียนได้รับทักษะที่จ้าเป็นส้าหรับศตวรรษที่ 21 คือ ทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การคิด
สร้างสรรค์ การสร้างนวัตกรรม การเรียนและการท้างานร่วมกันเป็นทีม การมีภาวะผู้นา้ การส่ือสาร การใช้ข้อมูล
และสารสนเทศ การติดตอ่ ส่ือสารทางไกล การใชค้ อมพิวเตอร์และปัญญาประดษิ ฐ์ การคิดค้านวณ การสร้างอาชีพ
และการเรียนร้ดู ้วยตนเอง หรือทพี่ วกเราเรยี กกนั ว่า "7Cs" และนอกจากนัน ต้องจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ บี่ รู ณาการ
การพัฒนาทักษะทางสงั คม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คารวธรรม การสรา้ งเสริมสขุ ภาพอนามัย การเปน็ พลเมืองท่ีดขี อง
ประเทศและของโลก การจดั การเกย่ี วกบั เศรษฐกิจของตนเองและครอบครวั การเปน็ ผู้ประกอบการใหม่ การรกั ษา
ผลประโยชน์ของส่วนรวม การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การป้องกันภาวะโลกร้อน การยดึ มั่นในขนบธรรมเนยี ม
ประเพณี และจรรยาบรรณวิชาชีพเข้าไปในทุกวชิ าที่สอนดว้ ย
ครู 4.0 จึงเนน้ ท่ีการสรา้ งชมุ ชนแห่งความสงสยั กระตือรอื รน้ อยากเรียนอยากรู้ และอยากไดค้ ้าตอบขึนในชนั เรียน
ท้าให้บรรยากาศในห้องเรียนทุกห้องเป็นห้องเรียนแห่งความสงสัย อยากเรียนอยากรู้ อยากหาค้าตอบ
"Community of Inquiry" และนักเรียนกจ็ ะลงมือค้นหาคา้ ตอบทีต่ นสงสยั และอยากรู้เป็นกลุ่ม ค้นหาคา้ ตอบผ่าน
กระบวนการเรียนการสอนท่ีเรียกว่าการเรียนรู้โดยยึดปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning = PBL) คือ
เร่มิ ตน้ จากความสงสยั อยากเรียนอยากรู้แล้วก็จะพัฒนาเป็นปญั หาทตี่ ้องการคา้ ตอบ (Problem) และจากปัญหาท่ี
ต้องการค้าตอบก็จะพัฒนาไปสู่การค้นหาค้าตอบ ลงมือค้นหาค้าตอบ โดยใช้สมรรถนะความเป็นนักเรียน 3.0
นกั เรยี น 2.0 นกั เรียน 1.0 เทคโนโลยีโรบอต และปญั ญาประดิษฐเ์ ปน็ ตัวช่วยการเรียนการสอนของครู 4.0 จงึ เป็น
การเรียนการสอนที่เน้นการคิดสร้างสรรค์Creative Learning ที่จะน้าไปสู่การผลิตนวัตกรรม (Innovation)
ผู้บริหารโรงเรียนท่ีส่งเสริมและสนับสนุนใหค้ รู 4.0 จัดการเรียนการสอนได้สา้ เร็จก็จะกลายเป็นผู้บริหารโรงเรียน
4.0 และโรงเรยี นที่สอนและบริหารโดยครูและผู้บรหิ าร 4.0 กจ็ ะกลายเปน็ โรงเรียน 4.0
ไพฑรู ย์ สินลารตั น์ (2559, 110-111) กล่าวถงึ ลักษณะใหม่ของครไู วด้ ังนี
1. มีวิสัยทัศน์ กระบวนทัศน์ใหม่ๆ ครูต้องมองเห็นและเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของโลกและสังคมไทยที่
กระทบและเชื่อมโยงซ่งึ กนั และกนั
2. มีความคดิ วจิ ารณญาณ (Critical Thinking) ครตู ้องมองเห็นปัญหาท่มี าและผลของสงั คมและการศึกษา
ที่ซบั ซ้อนในโลกยคุ ใหม่อย่างมีแนวทางแก้ไขและทางเลอื กใหม่ๆใหก้ ับชมุ ชน
3. มีความคิดสรา้ งสรรค์พร้อมทจี่ ะปรับปรงุ พฒั นางานของตนเองสร้างผลงาน (Products) อยู่ตลอดเวลา
และอยา่ งมีนวตั กรรมเพื่อผลักดนั การเปลีย่ นแปลงที่ดีงามมาส่สู ังคมและการศึกษาได้
4. รูจ้ ักและเข้าใจเด็ก ธรรมชาติของเด็กในวงกว้าง ครูต้องรู้จักเด็กทห่ี ลากหลายทังด้านเศรษฐกิจ สังคม
และความเช่ือเพ่อื ท่ีจะจัดสภาพแวดล้อมส้าหรับผู้เรียนเปน็ กลุ่มและเป็นรายบุคคล เพอื่ ก่อให้เกิดการเรียนรู้ในตัว
ผเู้ รียนให้ได้
5. มีเทคนิคการสอนใหม่ๆตามแนวทางของ พ.ร.บ. ครูต้องมีเทคนิคใหม่ๆ โดยเฉพาะในเรื่องของการ
พัฒนาทักษะการคิด การจดั การ การแกป้ ญั หา การประยุกตใ์ ช้ การเรียนจากสภาพจรงิ และการแสวงหาความรู้อยู่
เสมอ
6. มที ักษะใหม่ๆ ในการสร้างพฒั นาสาระของการศึกษา มีความจ้าเป็นท่ีครูต้องสร้างหลักสูตรท้องถ่ินให้
สอดคลอ้ งกบั ความจ้าเป็นของแต่ละพืนทรี่ วมถงึ การสรรหาพัฒนาและร่วมมือกบั ชุมชนในการเสรมิ สร้างภูมิปัญญา
ไทย
7. มีความร้คู วามสามารถพนื ฐานในการบริหารจัดการ
8. มคี วามสามารถในการวิจยั คน้ ควา้ สร้างความรูใ้ หม่
9. เขา้ ใจ ใชแ้ ละตามใหท้ ันกบั เทคโนโลยี
10. มคี ุณธรรม จริยธรรม ยดึ มน่ั ในจรรยาบรรณ และเสยี สละเพื่อส่วนรวม
พิมพ์พนั ธ์ เดชะคุปต์ และคณะ (2557 : 12) ได้กล่าวถึงครไู ทยในศตวรรษที่ 21 มลี กั ษณะดงั นี
1. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม (Ethics character)
2. ผู้มีสรรถนะดา้ นคอมพวิ เตอร์ (Electronic Competency)
3. มสี รรถนะดา้ นการพฒั นาหลักสูตร รายวชิ า (Curriculum Competency)
4. มสี มรรถนะดา้ นการจัดการเรียนการสอน (Instruction Competency)
5. มีสมรรถนะด้านการประเมินผลการเรียนรู้สู่การท้าวิจัยปฏิบัติการในชันเรียน (Assessment
Competency)
6. มีสมรรถนะด้านการจัดชันเรียนเพ่ือสร้างบรรยากาศเชิงบวก (Classroom Management
Competency)
จากการศกึ ษาลกั ษณะคน และลักษณะของครูในแบบการศกึ ษาแบบ 4.0 ของนกั การศกึ ษา สรุปได้ว่า ครู
ไทยยคุ การศึกษาแบบ 4.0 มลี กั ษณะส้าคัญดงั ต่อไปนี
1. มคี วามสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ ้วยวิธีสอน รูปแบบและเทคนิคทห่ี ลากหลาย ที่จะท้าให้นักเรียน
ได้รับทกั ษะท่ีจ้าเป็นสา้ หรับศตวรรษท่ี 21ได้แก่ทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ การสร้าง
นวัตกรรม การเรียนและการทา้ งานร่วมกันเป็นทีม การมีภาวะผู้น้า การสื่อสาร การใชข้ ้อมูลและสารสนเทศ การ
ตดิ ตอ่ ส่ือสารทางไกล การใชค้ อมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ การคิดค้านวณ การสร้างอาชีพและการเรียนรูด้ ้วย
ตนเอง
2. เป็นของคนที่มีความคิดเชิงผลิตภาพดังนี ช่างสังเกต คิดต่อเนื่อง มองเห็นทางแนวปฏบิ ัติและปรับปรุง
ได้เสมอ มองเช่ือมโยงกับผลผลิต คิดและท้าด้วยพร้อมกันไป มุ่งท้าให้เสร็จคิดให้ตลอด พร้อมรับการทดสอบ การ
ประเมินและการตา้ หนิ
3. มีความรู้ ความเข้าใจเทคโนโลยีใหม่ๆ สามารถแนะน้าให้ผู้เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีต่างๆในการสืบค้น
ข้อมูลอยา่ งถูกวธิ ี
4. มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ คิดสรา้ งสรรค์ สามารถคิดอะไรใหม่ๆ สรา้ ง
งานใหม่ๆ คดิ วธิ ีการสอนใหม่ๆ สรา้ งนวัตกรรมเพ่ือเป็นพืนฐานในการฝึกทักษะการคิดและทกั ษะการเรียนรู้ให้แก่
ผเู้ รยี น และสามารถวเิ คราะหผ์ ู้เรียนรายบคุ คล
5. มีวิสัยทัศน์ สามารถปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกบั เปลี่ยนแปลงในสถานการณ์โลก
และสงั คม
6. มีคุณธรรม จริยธรรม การเป็นพลเมืองท่ดี ีของประเทศและของโลก
7. มคี วามสามารถในการวดั และประเมินผลผู้เรียนได้ตามหลกั การของการวัดและประเมินผล
กระบวนการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคดิ การศกึ ษาแบบ 4.0
ยนื ภ่วู รวรรณ (2557 : 6-8) กลา่ วถึงกระบวนการจดั การเรียนรู้แบบ 4.0 ดังนี
1. การเรียนการสอนต้องเนน้ ทักษะมากกวา่ เนอื หา
2. เปล่ียนแปลงกระบวนการเรียนการสอนสร้างทักษะที่จ้าเป็นโดยเรียนด้วยการลงมือท้า Active
Learning : PBL (Project Base Learning)
3. ครูเปล่ียนจากครูสอนเป็นพี่เลียงครูฝึก (Coach) หรือผู้จัดการผู้สนับสนุน Learning Facilitator การ
นา้ เสนอเปน็ รายงานและนา้ เสนอด้วยวาจาหรอื อาจเสนอเป็นละคร
4. ครูชวนผู้เรียนท้า AAR/Reflection ว่าได้เรียนรู้อะไรอยากเรียนอะไรต่อเพ่ืออะไรชวนคิดด้านคุณค่า
จริยธรรม
5. การเรียนแบบบูรณาการสหวิชาการเช่ือมโยงความรู้กับจินตนาการแปลงสู่รูปธรรมช่วยผู้เรียนให้มี
ทักษะทีต่ อ้ งการในยคุ ใหม่ (21st century skills) ซึ่งไดแ้ กก่ ารท้างานร่วมกัน (collaboration)
ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ (Creativity) ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า (Problem-solving) แ ล ะ ก า ร สื่ อ ส า ร ที่ ดี (Effective
communication)
6. การจัดการศึกษาต้องสร้างความพอใจให้ผู้เรียนท้าท้ายสู่การสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนอยาก
เรียนและสนกุ อยา่ งเกม (Gamification for Education) ยคุ ใหมต่ อ้ งจดั การศึกษาให้สนกุ อย่างเกม
สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (2559 :18-24) ได้กล่าวถึง การปรับเปล่ียนกระบวนการ
เรยี นร้ขู องคนไทยในยุค 4.0 ดงั นี
1. การปรับเปล่ียนเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างแรงบันดาลใจมีความมุ่งม่ันเพ่ือให้มีชีวิตอยู่อย่างมีพลังและมี
ความหมาย (Purposeful Learning)
1.1 ปรับเปลี่ยนจากการเรียนแบบเฉ่ือยชา (Passive Learning) เป็นการเรียนด้วยความกระตือรือร้น
(Active Learning)
1.2 ปรบั เปลย่ี นจากการเรียนตามภาคบังคบั (Duty-Driven) เปน็ การเรียนทเ่ี กิดจากความอยากรู้อยากท้า
และอยากเป็น (Passion-Driven)
1.3 ปรับเปลี่ยนจากการเรียนตามมาตรฐาน (Standardized) เป็นการเรียนเพ่ือตอบโจทย์เฉพาะบุคคล
(Personalized)
2. การปรับเปล่ยี นเรยี นรู้เพ่อื บม่ เพาะความคิดสรา้ งสรรค์และความสามารถในการรงั สรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ
(Generative Learning)
2.1 ปรับเปลี่ยนจากการเรียนรู้ในห้องเรียนในโรงเรียนและในระบบเป็นการเรียนรู้นอกห้องเรียนนอก
โรงเรียนและนอกระบบ
2.2 ปรับเปลี่ยนจากการเรยี นจากข้อเทจ็ จรงิ (Fact-Based) เป็นการเรยี นท่ีเร่ิมจากการใชค้ วามคิด (Idea-
Based)
2.3 ปรับเปลีย่ นจากการคิดในกรอบ (In the Box) เปน็ การคิดนอกกรอบ (Out of the Box)
2.4 ปรับเปล่ียนจากการเรียนแบบถ่ายทอด (Transmitting) เป็นการเรยี นแบบชีแนะ (Mentoring)
3. การปรบั เปล่ียนเรยี นรเู้ พื่อปลูกฝงั จิตสาธารณะยดึ ประโยชนส์ ่วนรวมเปน็ ทตี่ ัง (Mindful Learning)
3.1 ปรับเปล่ียนจากการเน้นผลประโยชน์ร่วม (Common Interest) เป็นการเน้นสร้างคุณค่าร่วม
(Sharing Value)
3.2 ปรับเปล่ียนจากการมุ่งเน้นความคิดสร้างสรรค์ในรายบุคคล (Individual Creating) เป็นการมุ่งเน้น
การระดมความคดิ สรา้ งสรรค์แบบกลุ่ม (Common Creating)
3.3 ปรับเปลี่ยนจากการใหร้ างวัลจากการแขง่ ขัน (Competing Incentive) เป็นการให้รางวัลจากการทา
งานร่วมกัน (Sharing Incentive)
4. การปรับเปลี่ยนเรียนรูเ้ พือ่ มงุ่ การทา้ งานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ (Result-Based Learning)
4.1 ปรบั เปลี่ยนจากการเรยี นโดยเน้นทฤษฎีเป็นการเรียนทเ่ี น้นการวเิ คราะหแ์ ละแก้ไขปัญหา
4.2 ปรับเปลี่ยนจากการเรียนแบบฟงั บรรยายเป็นการทา้ โครงงานและแกป้ ัญหาโจทยใ์ นรปู แบบต่างๆ
4.3 ปรับเปล่ียนจากการวัดความส้าเร็จจากระบบการนับหน่วยกิตเป็นการวัดความส้าเร็จจากการบรรลุ
ผลสัมฤทธิ์
4.4 ปรับเปลย่ี นจากการเรียนเพื่อวฒุ กิ ารศึกษาเปน็ การเรียนเพื่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ในศตวรรรษท่ี 21 และการตระเตรียมคนไทย 4.0 สู่โลกที่หน่ึง
ผา่ น 4 กระบวนการเรียนรู้ดงั กล่าวจะเปน็ หัวใจส้าคญั ในการเปลี่ยนผา่ นสังคมไทยไปสู่ “สงั คมไทย 4.0” ดงั ปรากฏ
ในภาพประกอบ
ภาพประกอบ การเตรียมคนไทย 4.0 เพื่อกา้ วสู่โลกท่หี น่งึ
ทม่ี า สถาบนั ส่งเสริมการจดั การความรู้เพ่อื สังคม. 2559 :18
กระบวนการเรียนรู้ ท่ีจะเตรียมคนไทย 4.0 เพ่ือเปล่ียนผ่านไปสู่สังคมไทย 4.0 คือ สังคมท่ีมีความหวัง
(Hope) สังคมที่เป่ียมสุข (Happiness) และสังคมท่ีมีความสมานฉันท์ (Harmony) ในที่สุดประกอบด้วย 4
กระบวนการเรียนรู้ ดังปรากฏในภาพประกอบ
พลวตั โลกในศตวรรษที่ 21
เปลยี่ นแปลงวฒั นธรรม
การดา้ รงอยู่
เปลย่ี นแปลงวฒั นธรรม
การเรียนรู้
เปลี่ยนแปลงวฒั นธรรม
การท้างาน
เปลย่ี นแปลงวฒั นธรรม
การดา้ เนนิ ชีวิต
เรยี นรู้
อยา่ งมีเปา้ หมาย (Purposeful Learning
เรยี นรู้
อยา่ งสรา้ งสรรค์ (Generative Learning
เรียนรู้
เพอ่ื นา้ ไปปฏบิ ัติ (Result-Based Learning
เรยี นรู้
เพือ่ สว่ นรวม (Mindful Learning
ภาพประกอบ กระบวนการเรียนรู้ เตรียมคนไทย 4.0 สสู่ ังคมไทย 4.0
ทมี่ า สถาบันสง่ เสรมิ การจัดการความร้เู พอื่ สงั คม. 2559 :19
เกรียงศกั ด์ิ เจริญวงศ์ศักด์ิ (2559 :22) เสนอแนวทางการจัดการศกึ ษาไทยในยคุ ประเทศไทย 4.0 ดังนี
1. มหาวิทยาลัยแห่งชาติไทย (NUT) ต้องเป็นมหาวิทยาลัยแม่พันธุ์ผลิตก้าลังคนและงานวจิ ัยที่มีคุณภาพ
ระดับสูงเป็นศูนย์รวมความเป็นเลิศของศาสตร์สาขาวิชาต่างๆร่วมกับมหาวิทยาลัยเดิมท่ีมีอยู่และบูรณาการ
ประสานจุดแกรง่ ของแต่ละมหาวทิ ยาลยั เป็นมหาวิทยาลยั แห่งใหม่
2. มุ่งสอนและวัดสมรรถนะผู้เรยี นบนฐานสมรรถนะด้านความรู้ด้านทกั ษะและด้านลกั ษณะชีวิต
3. จัดการศึกษาบนฐานศักยภาพและความถนัดของผู้เรียนช่วยให้ผู้เรียนค้นพบความถนัดและศักยภาพ
ของตนเองท้าใหส้ นกุ มีความสขุ และทา้ ไดด้ ี
4. พฒั นาหลักสูตรการคิด 10 มิติ (คดิ วิพากษ์ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ บรู ณาการมโนทศั น์ เปรยี บเทียบ กล
ยุทธ์ ประยกุ ต์ อนาคต สรา้ งสรรค์) สรา้ งนักคดิ สนับสนุนการคดิ นวตั กรรมทุกระดับของสังคมสอนวิธีคิด
5. ระดับปริญญาตรีโทเอกท้าวิจัย 3I ใช้เป็นกรอบการวิจัยของผู้เรียนเปล่ียนผ่านสมรรถนะผู้เรียนสู่การ
เป็นผผู้ ลิตความรู้และสร้างนวัตกรรมลดการพ่ึงพาเทคโนโลยแี ละพัฒนานวตั กรรมท่ีเหมาะกบั โจทย์ความต้องการ
ของประเทศ
6. พฒั นาสถานศกึ ษาทุกระดับสสู่ ถาบัน 2 และ 3 ภาษาเตรยี มผู้เรียนให้เรยี นรวู้ ิทยาการและเชื่อมต่อองค์
ความรูท้ ่ัวโลกเปน็ ประโยชน์ต่อการปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ งกนั
เรยี นร้อู ย่างมีเปา้ หมาย (Purposeful Learning
เรยี นรอู้ ยา่ งสร้างสรรค์ (Generative Learning
เรยี นรเู้ พื่อนา้ ไปปฏบิ ตั ิ (Result-Based
เรยี นรู้เพือ่ สว่ นรวม (Mindful Learning
คนไทย 4.0
ปัญญาทเี่ ฉยี บแหลม (Head) ทักษะท่ีเหน็ ผล (Hand) สุขภาพที่แขง็ แรง (Health) จติ ใจทีง่ ดงาม (Heart)
สังคมไทย 4.0
สงั คมท่มี คี วามหวงั
(Society with Hope)
สังคมทีเ่ ปี่ยมสขุ
(Society with happiness)
7. สร้างผู้ประกอบการโดยผู้เรียนสร้างกิจการใหม่ด้วยตนเองเป็นเปล่ียนผ่านสมรรถนะผู้เรียนสู่การเป็น
เจ้าของกิจการ
8. สร้างความร่วมมือหลากหลายลักษณะระหว่างสถาบันการศึกษากับภาครัฐภาคเอกชนและภาค
ประชาชนเปน็ ชอ่ งทางการสรา้ งคณาจารยแ์ ละนักวิจัยรนุ่ ใหมเ่ พม่ิ จ้านวนนวัตกรรมภายในประเทศมีส่วนร่วมพัฒนา
ประเทศชาติและชมุ ชนท้องถิ่น
9. เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการสิทธิบัตรทางปัญญาใหม้ มี าตรฐานเปน็ ที่ยอมรับระดบั สากลส่งเสริม
การเชือ่ มต่อการวจิ ัยกับภาคเอกชนและภาคอตุ สาหกรรมกระตุน้ การคดิ นวตั กรรมภายในมหาวทิ ยาลยั
10. ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมในสถานศึกษาทุกแห่งพัฒนารูปแบบให้เหมาะกับผู้เรียนแต่ละ
ระดับจัดประกวดแข่งขันคิดนวัตกรรมทังระดับครูผู้สอนและผเู้ รียนส่งเสริมวิทยาลัยชุมชนเชื่อมต่อนวัตกรรมและ
เทคโนโลยสี ชู่ ุมชนทอ้ งถิ่น
Arthur M.Harkin. (2008 อ้างใน เฉลิมชัย มนูเสวต, 2559 : 45-48) ได้กล่าวถึง หลักการจัดการศึกษา 4.0 ตาม
แนวคดิ ของกลมุ่ ทฤษฎี ก้าวกระโดด หรอื leapfrog ไว้ดงั นี
1. ใช้ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีเพื่อเสริมสรา้ งการท้างานใหล้ ้าหน้า รวมไปถงึ การเปลยี่ นการทอ่ งจา้ ใน
ยุค 1.0 ผ่านมาสู่วิธีการการออกแบบพัฒนา ส้าหรับต้นแบบสินค้าหรือความรู้ สู่การสร้างความรู้ในยุค 3.0 และสู่
การสรา้ งนวตั กรรมในยุค 4.0
2. ระดับอนุบาลถงึ มธั ยมศึกษา เนน้ การสรา้ งความรแู้ บบการศึกษา 3.0 และนวัตกรรมแบบการศึกษา 4.0
พัฒนานักเรียนท่ีคุ้นเคยกับการเรียนแบบยุค 1.0 ให้สามารถเรียกค้นคืนข้อมูลความรู้ได้ ส่วนนักเรียน 2.0 ให้
สามารถหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตได้
3. ผู้น้าและผู้ตาม แสดงความสามารถในการขับเคล่ือนการสร้างความรู้ใหม่ในการศึกษา 3.0 และสร้าง
นวตั กรรมในศตวรรษที่ 21 ในการศกึ ษา 4.0
4. เพ่ิมศักยภาพของพนักงานให้เป็นพนักงานท่สี ร้างความรู้แบบการศึกษาแบบ 3.0 และสร้างนวัตกรรม
แบบ 4.0
5. ช่องทางการศึกษา 3.0 ของการกระจายความรู้ ไดแ้ ก่ การระบุสร้าง และใช้รปู แบบใหม่เพ่ือการแบ่งปัน
ความรู้ที่โรงเรียนสรา้ งขนึ และการประยุกต์ใชค้ วามรู้ในโครงงานเชิงนวัตกรราม 4.0
6. โลกาภิวัฒน์และความเป็นสากล ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาความสามารถในการอยู่ในวัฒนธรรมที่เป็น
นานาชาติ และสร้างความเป็นพลเมอื งที่มีความรับผิดชอบตอ่ สงั คมให้เกดิ ขึนในนกั เรียน พนกั งาน และหน่วยงานท่ี
น้าการศึกษา 3.0 และ 4.0 ไปใช้
7. สภาพแวดลอ้ มการวิจัยและการเรยี นรู้อย่างสร้างสรรคเ์ ชิงนวัตกรรม 3.0 ช่วยส่งเสริมให้เกดิ การสร้าง
และแบ่งปนั ความร้ใู หม่ และใช้การประยุกต์เชงิ นวัตกรรม 4.0 ร่วมดว้ ย
8. การทา้ งานเชงิ รุกและการตอบสนอง คาดการณ์และสร้างอนาคตในรูปแบบ 3.0 และ 4.0 แทนทจี่ ะท้า
เพยี งแค่ตอบสนองตอ่ สถานการณ์ปจั จุบนั
แนวคิดแนวปฏิบัติของกลุ่มทฤษฎีก้าวกระโดด ซึ่งช่วยให้เกิดทักษะส้าหรับการศึกษา 3.0-4.0 แก่เด็กอนุบาลถึง
มัธยมศึกษา เป็นการประยุกต์ด้านศิลปะสาสตร์กับทักษะการคิดขันสูงจากหลากหลายสาขาเข้าด้วยกัน มีแนว
ปฏิบัติ ดงั นี
1. คดิ อยา่ งเป็นระบบ คอื รบั ร้แู บบแผนความคิดและสร้างความคิดที่เปน็ ทางเลอื กใหมๆ่
2. คดิ อย่างมจี ินตภาพ คือ ฝกึ คดิ สมมติเหตกุ ารณ์ “จะเกิดอะไรขนึ ถา้ ...” ฝกึ คดิ ในใจโดยใช้จนิ ตนาการ
3. มองหาการเปล่ียนแปลง ความท้าทาย และความไม่รู้ คือ พัฒนามุมมอง ความรู้ และทางเลือกเพ่ือ
จัดการกบั ส่ิงท่ียุ่งยากและมีความไมแ่ น่นอน
4. สร้างและจัดการกับอดีต ปัจจุบัน และอนาคต คือ สร้างและจัดการกับเวลาเสมือนจริง พัฒนา
ความหมายทย่ี ดื หยุ่นของเวลาสว่ นตวั และเวลาทางสงั คม เชื่อมโยงอดตี กบั อนาคตด้วยปัจจบุ ัน
5. พัฒนาและตอบสนองต่อเป้าหมายและความท้าทาย คือ ตังเป้าหมายและวัตถุประสงค์คาดการณ์ถึง
อุปสรรคท่จี ะขดั ขวงความสา้ เรจ็ หาวธิ กี ารแก้ไขปัญหาอปุ สรรคนนั ๆ
6. เขา้ ใจและใช้ข้อมูลท่มี ีอยู่อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ คือ เขา้ ถงึ และใชข้ อ้ มลู เพ่อื แสวงหาโอกาสและแก้ปญั หา
7. สร้างและใช้ความรู้ท่ีประยุกต์แล้ว คือ รู้จักถ่ายโอนข้อมูลเพื่อเป็นความรู้ท่ีเป็นประโยชน์ของตนเอง
สร้างคณุ ลกั ษณะส่วนตัวเพอื่ เพิ่มความแตกต่างทางสตปิ ญั ญาเสริมสรา้ งทางเลือกเพ่อื การตดั สนิ ใจ
8. สร้างและใช้ความรู้ที่ตรงตามบริบท กระบวนการ และวัฒนธรรม คือ รับรู้ ออกแบบและสร้างบริบท
จริง และบริบทเสมือนจริงที่เหมาะสมกับเหตุการณ์ต่างๆ รวบรวมและใช้มุมมองหลายๆด้านต่อเรื่องใดเร่ืองหน่ึง
เสรมิ สร้างทางเลือกเพอื่ การตดั สินใจ
9. ใช้ระบบ ICT ที่มีอยู่ในปัจจุบัน คือ รู้ลึกเรื่องเทคโนโลยีซงึ่ ท้าให้เกิดการเรียนรแู้ ละเกิดสภาพเศรษฐกิจ
สมยั ใหม่ เปน็ ทีห่ นง่ึ ในการประยกุ ตใ์ ช้และใชฮ้ ารด์ แวร์ ซอฟแวร์ และเนต็ เวริ ค์ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
10. แสวงหาความรู้และประเมินความรู้เกี่ยวกับแนวโน้มโลก คือ สร้างมุมมองภาพรวมในอนาคต (big picture)
เก่ียวกับโลกโดยใช้ทรัพยากรที่แตกต่างหลากหลาย เปน็ พลเมืองและนักคดิ ระดับโลก ใช้ภาพรวมในอนาคตเพื่อให้
เกดิ ความเขา้ ใจปัญหาระดบั ทอ้ งถ่นิ โอกาส เปา้ หมาย และวิธีการ
สรุปว่า กระบวนการจัดการเรียนรู้ ยุค 4.0 กระบวนการเรียนรู้ ที่จะเตรียมคนไทย 4.0 เพ่ือเปล่ียนผ่านไปสู่
สังคมไทย 4.0 คือสังคมที่มีความหวัง (Hope) สังคมท่ีเปี่ยมสุข (Happiness) และสังคมท่ีมีความสมานฉันท์
(Harmony) ในท่ีสุดประกอบด้วย 4 กระบวนการเรียนรู้ เรียนรู้อย่างมีเป้าหมาย (Purposeful Learning เรียนรู้
อย่างสร้างสรรค์ (Generative Learning เรียนรู้เพ่ือน้าไปปฏิบัติ (Result-Based เรียนรู้เพ่ือส่วนรวม (Mindful
Learning) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ควรส่งเสริมการสร้างชุมชนแห่งความสงสัย เกิดขึนในชันเรียน ใช้สื่อและ
เทคโนโลยีเพ่ือสรา้ งความกระตือรือร้น อยากเรยี นอยากรู้
และอยากได้คา้ ตอบขนึ ในชนั เรียน และนกั เรียนก็จะลงมือค้นหาคา้ ตอบท่อี ยากร้เู ป็นกลุ่ม ผ่านกระบวนการเรียนรู้
โดยการปฏิบัติ ผู้เรียนเรียนรู้เป็นกลมุ่ ย่อย เพอ่ื ประโยชน์ในการค้นหาความรู้ ข้อมูลรว่ มกัน เป็นการพัฒนาทักษะ
การแก้ปัญหาด้วยเหตุและผล ฝึกให้ผู้เรียนมีทักษะในการรับส่งข้อมูลเรียนรเู้ กี่ยวกับความแตกต่างระหว่างบุคคล
และฝึกการจัดระบบตนเองเพื่อพัฒนาความสามารถในการท้างานร่วมกนั เป็นทีม ความรู้จะผ่านการวิเคราะห์โดย
ผู้เรียน มีการสังเคราะห์และตัดสินใจร่วมกันและสุดท้ายคือการสรุปและประเมินค่าของค้าตอบ เผยแพร่ผลงาน
แลกเปลีย่ นเรยี นร้ผู ลงานซึ่งกนั และกัน โดยการปฏบิ ตั ิการสอนของครไู ด้สอดคลอ้ งกบั แนวทางการศึกษาแบบ
4.0 ควรด้าเนนิ การดังนี
1) การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ ควรกระตุ้นความสนใจ ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดท่ี
น้าไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือการเพ่ิมมูลค่าให้กับส่ิงต่างๆ ก้าหนดสื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ และวิธีการ
ประเมินผู้เรยี นอย่างเป็นระบบ
2) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ควรมีการจัดการชันเรียนที่ดี มีเทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีท้าให้
นักเรียนบรรลุตามจุดประสงค์ที่ตังไว้และก้าหนดสถานการณ์ที่ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนเกิดกระบวนการคิดท่ีน้าไปสู่การ
สรา้ งสรรค์นวตั กรรมหรอื การเพิ่มมูลค่าให้กับสง่ิ ต่างๆ
3) การประเมินผลการเรยี นรู้ ควรวเิ คราะห์จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ทกั ษะ และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ท่ี
ก้าหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ แล้วออกแบบเครื่องมือและวิธีการเก็บข้อมูลเพื่อตัดสินผลการเรียนตาม
จดุ ประสงค์ของรายวชิ าและทกั ษะพืนฐานการเรียนรู้แบบ 4.0 ของนักเรยี น
ทกั ษะพ้ืนฐานของนักเรียนในการเรยี นรแู้ บบ 4.0
การศึกษา 4.0 ให้ความส้าคัญกับการพฒั นาทักษะของนักเรียนใหม้ ีความพร้อมในการเสริมนวตั กรรมเพื่อ
การสร้างมูลค่าให้กับทรัพยากรในท้องถิ่น ซึ่งจะส่งผลให้ชุมชนมีความมั่นคง มั่งคั่ง และย่ังยืนได้ โดยทักษะของ
นกั เรยี นทจี่ ้าเป็นสา้ หรบั การเรยี นรยู้ ุคการศึกษา 4.0 มีหลักการและแนวคดิ ดงั นี
คนไทย 4.0 หรือคนไทยที่มีศักยภาพและความพร้อมในระดับสูงแลว้ ต้องเน้นให้มคี วามแข็งแกร่งในการสร้างความ
เจริญเติบโตเพื่อเป็นกลุ่มแนวหน้าในการสร้างความเจริญเติบโตให้กับประเทศและ“รู้จักปัน” หันมาร่วมสร้าง
รายได้ให้กบั กล่มุ คนไทยคนอ่ืนๆให้เข้มแขง็ เตบิ โตไปด้วยกันคนไทยกลุ่มนมี ีความพรอ้ มพืนฐานทีด่ ีในระดับหนึง่ แล้ว
หากแต่ต้องปลดล็อคเรอื่ งการใช้ประโยชน์จากเร่อื งวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีนวัตกรรมหรืองานวิจยั พัฒนาและสร้าง
ความพร้อมในการแสวงหาโอกาสจากภายนอกประเทศเพ่ือเป็นกลมุ่ ผู้นาช่วยขับเคลื่อนประเทศให้หลุดพ้นกับดัก
ประเทศรายไดป้ านกลาง (สถาบันสง่ เสรมิ การจดั การความร้เู พ่ือสงั คม. 2559 : 25-27)
สมพร โกมารทตั (2558) กลา่ วถึงคุณลักษณะของผู้เรยี นในเชิงสรา้ งผลิตภาพในรูปของวตั ถุประสงค์ว่าคนในแบบ
4.0 จะมีลกั ษณะ ดงั นี
1. พดู และคดิ ตาม จดคา้ บรรยายได้ ท่องจา้ ได้
2. ใหค้ า้ จา้ กัดความได้ อธิบายได้ บรรยายได้
3. ลงมือทา้ เปรียบเทียบได้ สืบสวนได้ จ้าแนกความแตกต่างได้ อธิบายได้
4. ประมวลความรูไ้ ด้ สรุปสง่ิ ทเี่ รยี นร้แู ละต่อยอดความรูน้ ันๆได้ ตกผลกึ ความร้นู นั ๆ
5. ประเมนิ ความรนู้ นั ได้ ตดั สนิ ได้ กา้ หนดคณุ คา่ ของความร้นู นั ได้และสรา้ งสรรค์ผลติ ผล
ไกรยส ภทั ราวาท (2559 : ออนไลน์) ผ้เู ชี่ยวชาญด้านนโยบายเศรษฐศาสตร์การศึกษา สสค. กลา่ วว่า การ
เปล่ียนแปลงทีจ่ ะเกดิ ขนึ จากการปฏิวัติอุตสาหกรรมครงั ท่ี 4 ในตลาดแรงงาน คอื การแข่งขันทสี่ ูงขึน ซึง่ จะไม่ใชแ่ ต่
การแข่งขันระหว่างคนด้วยกันเองอีกต่อไป แต่จะเป็นการแข่งกันระหว่างคนกับเทคโนโลยีด้วย ท้าให้คนมีความ
เสี่ยงในการตกงานมากขึน เพราะมีการใช้เทคโนโลยีและเคร่ืองจกั รเขา้ มาแทนทีแ่ รงงานมนษุ ย์ โดยเฉพาะแรงงาน
ที่ใช้ทักษะการท้าซ้าเป็นประจ้า (Routine Skill) จะถูกแทนที่ด้วยเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย เช่น หุ่นยนต์
คอมพิวเตอรท์ ่ีมปี ัญญาประดิษฐ์ เคร่ืองพมิ พ์ 3 มติ ิ และระบบอุตสาหกรรมท่ีเช่ือมโยงกับอนิ เตอร์เนต็ ทงั หมด เป็น
ต้น ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกว่ามนุษย์ และมีต้นทุนต่อหน่วยที่ถูกกว่า ในรายงานเวทีเศรษฐกิจโลก หรือ World
Economic Forum ทักษะที่นายจ้างยุคเศรษฐกิจ 4.0และตลาดแรงงานโลกต้องการอย่างในปี 2020 มีถึง 10
ทักษะ ดังนี 1. ทักษะการแกไ้ ขปัญหาที่ทับซอ้ น 2. การคิดวิเคราะห์ 3. ความคิดสร้างสรรค์ 4. การจัด การบุคคล
5. การท้างานรว่ มกัน 6. ความฉลาดทางอารมณ์ 7. รู้จักประเมินและการตัดสนิ ใจ 8. มีใจรักบริการ 9. การเจรจา
ต่อรอง 10. ความยืดหยุ่นทางความคิดสอดคล้องกับผลส้ารวจความต้องการแรงงานของนายจ้างและองค์กรเกิด
ใหม่ในปี 2557 ขององค์การเพ่ือความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) พบว่า นายจ้างขององค์กรใน
ศตวรรษท่ี 21 คาดหวังให้พนักงานในองค์กรมีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking) และความคิด
สร้างสรรค์ (Creativity) มากทสี่ ุด ดงั นันแรงงานท่ีจะยงั คงปลอดภยั และมีความก้าวหนา้ ในการประกอบอาชพี คือ
แรงงานท่ีมีทักษะท่ีหลากหลายทงั ทางปัญญา และทางการสอื่ สาร เช่น ทักษะความคิดสร้างสรรค์ และทักษะการ
คิดวิเคราะห์ เป็นต้น ส่วนแรงงานที่ยังพ่ึงพาทักษะซา้ ๆ ในการประกอบอาชีพอยู่ในปัจจุบันจะเป็นกลุ่มที่มีความ
เสยี่ งสงู มากทจ่ี ะตกงานในอนาคต
ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2559 : 155-158) กล่าวว่า การศึกษายุค 4.0 ต้องท้าให้ผู้เรียนมีทักษะพืนฐานในการสร้าง
ผลผลิตหรือนวัตกรรมใหม่ออกมาได้ เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือท้าและเห็นความส้าเร็จอยู่ท่ีผลงานเพ่ือสร้างให้เด็กมี
คุณลักษณะ 4 ประการ คือ
1. Critical คิดวิเคราะหว์ ิจารณ์ มองสงั คมให้รอบดา้ น รู้ที่มาที่ไป เข้าใจเหตุและผล วิเคราะห์ มองสังคม
ให้รอบดา้ น ร้ทู มี่ าท่ไี ป เข้าใจเหตแุ ละผล
2. Creative คิดสร้างสรรค์ เด็กต้องคดิ ตอ่ ยอดจากทมี่ ีอยู่ ประยุกตแ์ ละใชป้ ระโยชน์มองประเดน็ ใหม่ๆ
3. Productive คิดผลิตภาพ คา้ นึงถึงผลผลิต มีวิธกี ารและคุณภาพ คา่ ของผลงาน
4. Responsible จิตส้านึกทางสังคม มีความรับผิดชอบ นึกถึงสังคม ประเทศชาติ และมีคุณธรรม
จริยธรรม ความดีงาม
สรุปว่า ทักษะพืนฐานการเรียนรู้แบบ 4.0 ของนักเรียน หมายถึง ความรู้และความสามารถในการปฏิบัติ
ของนักเรียนท่ีน้าไปสู่การแก้ปัญหาในชีวิตประจ้าวันและสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือเพ่ิมมูลค่าให้กับสิ่งต่างๆ
ประกอบด้วย การคดิ วเิ คราะห์วิจารณ์ การคดิ สร้างสรรค์ การคิดผลิตภาพ และจติ สา้ นึกทางสังคม
การประเมินทักษะพืน้ ฐานการเรียนรแู้ บบ 4.0
จากความหมายและองคป์ ระกอบของทักษะพืนฐานการเรยี นรแู้ บบ 4.0 ของนกั เรียน ทีป่ ระกอบดว้ ย การ
คิดวเิ คราะหว์ จิ ารณ์ การคิดสร้างสรรค์ การคิดผลิตภาพ และจิตส้านึกทางสงั คม มหี ลักการและแนวคิดท่ีเปน็ กรอบ
บ่งชีในการประเมินทกั ษะแต่ละด้าน ดังนี
1. ทักษะการคดิ วเิ คราะห์วจิ ารณ์ (Critical Skill)
ชยั อนันต์ สมุทวณิช (2542 : 1071) การวเิ คราะห์ หมายถึง การแสวงหาข้อเท็จจริงด้วยการระบุ จา้ แนก
แยกแยะ ข้อมูลในสถานการณท์ ่ีเปน็ แหล่งคิดวเิ คราะห์ ทงั นเี ป็นขอ้ เทจ็ จริงกับความคิดเห็น หรอื จดุ เด่น จดุ ดอ้ ย ใน
สถานการณเ์ ป็นการจดั ข้อมูลให้ระบบเพื่อใช้เป็นพนื ฐานในการคิดระดับอ่นื ๆ
ราชบัณฑิตสถาน (2546 : 1071) วิเคราะห์ หมายถงึ ใคร่ครวญ แยกออกเป็นส่วนๆ เพ่อื ศกึ ษาให้ทอ่ งแท้
สุวิทย์ มูลค้า (2547 : 9) การวิเคราะห์ หมายถึง การจ้าแนก แยกแยะ องค์ประกอบของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ออกเป็นส่วนๆ เพ่ือค้นหาว่ามีองค์ประกอบย่อยๆอะไรบ้าง ท้าจากอะไร ประกอบขึนได้อย่างไร และมีความ
เชือ่ มโยงสมั พันธ์กนั อยา่ งไร
วรี ะ สดุ สังข์ (2550 : 26-28) ไดก้ ลา่ วถึง กระบวนการฝึกสมองให้มกี ารคิดวเิ คราะห์ ไวด้ งั นี
1) การก้าหนดสิ่งท่ตี ้องการวเิ คราะห์ ซ่ึงเป็นการก้าหนดวัตถุ สงิ่ ของ เรือ่ งราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ขนึ มา
เพ่ือเป็นต้นเร่ืองท่ีจะใชว้ ิเคราะห์ เชน่ พืช สตั ว์ สงิ่ ของ บทความ เรื่องราว เหตุการณ์หรือสถานการณ์จากข่าว ของ
จรงิ หรอื สอ่ื เทคโนโลยตี ่างๆ เป็นต้น
2) การก้าหนดปัญหาหรือวัตถุประสงค์ ซ่ึงเป็นการก้าหนดประเด็นสงสัยจากปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการ
วิเคราะห์ อาจก้าหนดเป็นค้าถามหรือก้าหนดวัตถุประสงค์การวิเคราะห์เพื่อค้นหาความจริง สาเหตุหรือ
ความสา้ คญั เขน่ ภาพนี บทความนตี อ้ งการส่ือหรือบอกอะไรทส่ี ้าคญั ท่ีสดุ
3) การก้าหนดหลกั การหรอื กฎเกณฑ์ เพ่อื เปน็ การใชแ้ ยกส่วนประกอบของส่ิงท่กี ้าหนดให้ เชน่ เกณฑ์ใน
การจ้าแนกสง่ิ ท่ีมีความเหมือนกันหรอื แตกต่างกนั หลักเกณฑ์การหาลักษณะความสัมพนั ธ์ที่มีความคล้ายคลึงกัน
หรือขดั แยง้ กนั
4) ก้าหนดส่ิงท่ีพิจารณาแยกแยะ ซึ่งเป็นการก้าหนดการพินิจ พิเคราะห์ แยกแยะและกระจายสิ่งท่ี
กา้ หนดให้ออกเป็นส่วนยอ่ ย โดยอาจใช้เทคนคิ ค้าถาม 5W 1H ประกอบดว้ ย What (อะไร) Where (ทไ่ี หน) When
(เมื่อใด) Why (ท้าไม) Who (ใคร) และ How (อยา่ งไร)
5) การสรุปค้าตอบ เป็นการรวบรวมประเด็นที่ส้าคัญเพ่ือหาข้อสรุป เป็นค้าตอบหรือปัญหาของส่ิงที่
ก้าหนดให้
นอกจากนีสุวิทย์ มูลค้า (วีระ สุดสังข์. 2550 : 29-30 ; อ้างอิงจาก สุวิทย์ มูลค้า . 2547 : 14) ได้แบ่ง
คุณสมบัติทีเ่ ออื ตอ่ การเกดิ การวิเคราะห์ไว้ 4 ประการดังนี
1) ความรู้ความเขา้ ใจในเรื่องทจี่ ะวเิ คราะห์ ซึ่งผ้คู ิดต้องมีความรู้ความเข้าใจพนื ฐานในเรือ่ งนนั ๆ เพราะจะ
ชว่ ยก้าหนดขอบเขตการวิเคราะห์ จ้าแนก แจกแจงองคป์ ระกอบ จัดหมวดหมู่ และลา้ ดับความส้าคัญหรือสาเหตุ
ของเรือ่ งราวเหตุการณไ์ ดช้ ัดเจน
2) ช่างสังเกต ช่างสงสัย ช่างไต่ถาม คนท่ีช่างสังเกตย่อมสามารถมองเห็นหรือค้นหาความผิดปกติของ
สิ่งของหรือเหตุการณ์ท่ดี ูแล้วเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึน มองเห็นแงม่ ุมที่แตกตา่ งไปจากคนอืน่ คนชา่ งสงสัย เมอ่ื เห็น
ความผิดปกติแล้วจะไม่ละเลยแต่จะหยุดคิดพิจารณา คนช่างไต่ถาม ชอบตังค้าถามเก่ียวกับสิ่งท่ีเกิดขึนอยู่เสมอ
เพอ่ื น้าไปสู่การค้นหาความจรงิ เร่ืองนัน
3) ความสามารถในการตีความ การตีความเกิดจากการรับรู้ข้อมูลเข้ามาทางประสาทสัมผัส สมองจะท้า
การตีความข้อมูล โดยวิเคราะห์เทียบเคียงกับความทรงจ้าหรือความรู้เดิมท่ีเก่ียวกับเร่ืองนัน เกณฑ์ที่ใช้เป็น
มาตรฐานในการตัดสนิ จะแตกตา่ งกนั ไปตามความรู้ ประสบการณ์และค่านิยมของแต่ละบุคคล
4) ความสามารถในการหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล การวิเคราะห์จะเกิดขึนเพ่ือพบส่งิ ท่ีมีความคลุมเครือ
เกิดข้อสงสยั ตามมาด้วยค้าถาม ตอ้ งคน้ หาค้าตอบหรอื ความนา่ จะเปน็ ว่ามีความเปน็ มาอยา่ งไร ซง่ึ สมองจะพยายาม
คิดเพอื่ หาข้อสรุปความเข้าใจอย่างสมเหตุสมผล
ดังนนั ผ้วู ิจยั สรุปได้ว่าการเกิดกระบวนการคดิ เกิดขึนได้จากการฝึกตนใหเ้ ปน็ คนช่างสงั เกต ช่างสงสยั ชา่ ง
ถาม ฝึกเป็นผู้วางแผนให้เปน็ ระบบ ขันตอน ซึ่งจะท้าใหก้ ระบวนการคิดวิเคราะห์ราบรื่น การพัฒนาการเรียนการ
สอนตอ้ งมุง่ สง่ เสริม กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรยี นเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์
2. ทกั ษะการคดิ สร้างสรรค์ (Creative Skill)
อารี พันธ์มณี (2545 : 4-5) กล่าวว่า การคิดสร้างสรรค์เป็นลักษณะความคิดแปลกใหม่ ซึ่งอาจเกิดจาก
การคิดปรับปรุงเปล่ยี นแปลงตากความคิดเดิมให้เป็นความคิดทีแ่ ปลกใหม่และแตกต่างจากความคดิ เดิมและเป้นค
วามคดิ ทีเ่ ป็นประโยชน์ และงานสรา้ งสรรค์ตอ้ งอาศัยความอุตสาหะ บากบ่ัน ขยนั หมั่นเพียร ท้างานหนัก ซึ่งความ
เกียจครา้ นเฉือ่ ยชาจะเปน็ อุปสรรคสา้ คัญของการสร้างสรรค์
วิชญา ผิวค้า (2557 : 31) กล่าวว่า การคิดสร้างสรรค์ประกอบด้วยกระบวนการสองลักษณะ คือการคิด
สรา้ งสรรค์แบบความคิดต่อยอดและการคิดใหม่อย่างสรา้ งสรรค์ ซ่ึงการสร้างสรรค์ทังสองยงั คงนา้ พาผลิตผลใหมใ่ ห้
เกิดขนึ
นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์ (2559 : 2) กลา่ ววา่ การคิดสร้างสรรค์ เป็นความคิดเชงิ บวกทมี่ ีความเกีย่ วขอ้ งกับ
การแก้ปัญหา การคิดหลายแง่มุม คิดนอกกรอบอย่างไม่เคยคิดมาก่อน โดยมีการเช่ือมโยงความคิดหรือ
ความสมั พันธ์ระหว่างความคิดตังแตส่ องสงิ่ เข้าดว้ ยกนั เพื่อนา้ ไปใชแ้ กป้ ัญหาหรือสรา้ งส่งิ ใหม่ท่ีอาจเปน็ สิ่งประดิษฐ์
ทฤษฎี หลกั การ อันเป็นส่ิงทม่ี ีคณุ ค่านา้ ไปใช้ประโยชน์ได้
นกั รบ หมแี สน (2559 : 120) กล่าววา่ การคดิ สรา้ งสรรคเ์ ป็นสง่ิ แปลกใหม่หรือการคดิ ในเชิงบวก เป็นการ
คดิ นอกกรอบ ซ่งึ จะกอ่ ให้เกดิ ผลผลติ ใหม่เพ่อื เป็นสิ่งที่มีคุณค่าที่ดี มคี วามสร้างสรรค์สามารถน้าไปใช้ประโยชนไ์ ด้
ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2559 :104-105) กล่าวว่า ทักษะการคิดสร้างสรรค์มีความจ้าเป็นส้าหรับการสร้าง
นวตั กรรมเปน็ อยา่ งมาก เป็นทักษะส้าคัญของคนท่ีจะอยู่ในสังคมและคนท่ีจะใช้ชวี ติ ต่อไปในอนาคตอย่างมากด้วย
การพัฒนาทกั ษะการสร้างสรรคจ์ ึงไม่ใชเ่ พียงแค่เพ่อื ประโยชนข์ องการศึกษา 4.0 เทา่ นัน แต่การคดิ สรา้ งสรรคเ์ ป็น
ประโยชน์ต่อการใช้ชีวิตของบุคคลทังหลาย ด้วยการเปิดโอกาสให้เด็กได้มีการคิดสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ จึงมี
ความส้าคัญและมีคุณค่ามากที่สุด ความคิดสร้างสรรค์เกิดขึนได้จากการฝึกบ่อยๆ ถ้าฝึกท้าบ่อยๆก็จะมีความ
สมบูรณ์ ผู้สอนและผเู้ รียนจึงจา้ เป็นต้องฝึกบ่อยๆ โดยการหาวิธีการให้ผ้เู รยี นมโี อกาสได้ฝึกคดิ ตลอดเวลา
นักรบ หมีแสน (2559 : 120) กล่าวว่า การคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งส้าคัญและเป็นตัวแปรหน่ึงที่ช่วย
ขับเคล่ือนต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลให้ประสบความส้าเร็จได้เป็นอย่างดี รวมถึงการพัฒนาในระกับ
ส่วนรวม เช่นหน่วยงานท่ีตนท้าและก้าวไปถึงระดับประเทศชาติ ตลอดจนการสร้างสรรค์ให้เป็นประโยชน์ต่อ
ชาวโลกมวลมนษุ ยชาติได้ตอ่ ไปดว้ ย
วิทยากร เชยี งกูล (2554 : 134-137) ได้กล่าวถงึ การเกดิ การสร้างสรรคไ์ ว้ดังนี
1) การรกั งานท่ีทา้ การทา้ งานอย่างอทุ ิศตัว เอาใจใส่ต่อเรื่องหน่ึงเรื่องใดอย่างใกล้ชดิ และการท้างานหนัก
เสมอ จะท้าใหไ้ ด้ค้นพบสิ่งท่ีน่าประหลาดใจ นักคิดสร้างสรรค์ท่ีแท้จริงมักจะท้างานเพื่องานและถา้ ได้ค้นพบสิ่งท่ี
ส้าคัญสา้ หรบั ส่วนรวมหรอื กลายเปน็ คนท่มี ชี ่ือเสียง น่นั คอื รางวลั ส้าหรบั การทา้ งาน
2) เป็นคนเก่งในทางใดทางหนึ่ง (Master) ก่อนท่ีจะเป็นนักสร้างสรรค์ (Creator) คนท่ีจะสามารถ
สร้างสรรค์การเปลี่ยนแปลงท่ีแท้จริงได้ต้องเป็นคนที่รอบรู้และมีทักษะในสาขานันมาก่อน และหลังจากท่ีเก่งใน
สาขานันแล้วเท่านนั จึงจะสามารถเปลี่ยนแปลงหรอื แหกกฎเพื่อสร้างสง่ิ ใหม่ได้
3) การจะทา้ อะไรใหม่ได้นันกอ่ นอนื่ ต้องฝึกฝนการท้าส่ิงเกา่ ๆให้ไดด้ เี สียกอ่ น
4) ความอยากรู้อยากเหน็ และแรงผลกั ดนั ทที่ า้ ใหอ้ ยากทา้ (Drive)
5) การสนใจติดตามการหยั่งรู้ (Intuition) อย่างให้ความส้าคัญ ซึ่งขณะท่ีผู้อื่นอาจมองเห็นความยุ่งเหยิง
แต่คนท่สี รา้ งสรรคจ์ ะมองเห็นระเบียบแบบแผนและสามารถสร้างเช่ือมโยงความรูส้ าขาตา่ งๆได้
6) สภาพแวดล้อมท่ีสวยงามหรอื ให้แรงบันดาลใจมีส่วนช่วยใหค้ นคิดสรา้ งสรรค์ได้ดกี ว่าการจัดฝกึ อบรมใน
เร่ืองสรา้ งสรรค์
7) การอบรมเลยี งดูของครอบครวั ที่ให้คุณค่ากับพยายามทางปญั ญามโี อกาสสร้างเด็กให้พัฒนาเปน็ ผใู้ หญ่
ทีส่ ร้างสรรค์ไดม้ ากกวา่ ครอบครวั ท่ีมีการเลยี งดทู ใี่ หแ้ ต่ความสบายทางวตั ถุ
วิชญา ผิวค้า (2557 : 36) กล่าวไว้ว่าทิศทางการขับเคลือ่ นให้บุคคลเกิดการสรา้ งสรรค์ในส่ิงต่างๆ สรปุ ได้
ดังนี
1) พลังในตัวบุคคลเป็นสิ่งส้าคัญ ความรู้สึกช่ืนชม ซาบซึง ภาคภูมิใจ เช่ือมั่น ศรัทธาในตนเองและ
ภาคภูมิใจในงานหรือการกระท้าของตนเองเป็นส่ิงจ้าเป็นในการคิดสร้างสรรค์ที่ดี เพราะความคิดใหม่ๆ แปลกๆ
แตกตา่ งจากความคดิ เดมิ ๆ
2) จะต้องเริ่มต้นจากการที่บุคคลกล้าคิด กล้าริเริ่ม เป็นผู้บุกเบิก และเสี่ยงต่อการได้รับการยอมรับต่อ
ความส้าเร็จและความล้มเหลวที่เกิดขึน และไม่ว่าอะไรจะเกิดขึนก็ต้องเรียนรู้ท่ีจะยอมรับว่านี่คือหนทางแห่ง
ความสา้ เร็จและต้องอาศัยความพยายามยืนหยัดและผลักดันจนกว่าจะคน้ พบและนั่นก็คือการสร้างแนวทางใหม่ท่ี
เกิดขึน
3) การสรา้ งแรงบันดาลใจให้กับตนเองและยึดม่ันในอดุ มการณ์ของการเปล่ียนแปลงการเรยี นการสอนให้
สวนกระแสและเมือ่ ผูส้ อนมีแรงบันดาลใจแล้วตอ้ งรว่ มมือในการสรา้ งพลงั แห่งการขบั เคลอื่ นนนั
4) การริเรม่ิ แล้วลงมอื ทา้ อยา่ งไมเ่ พกิ เฉยเปน็ สง่ิ สา้ คญั สา้ หรบั การสร้างสรรค์อยา่ งยิ่ง
5) การอาศัยความพยายามฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆ ด้วยการคิดสรา้ งสรรค์หาทางเลือกในการขับเคลื่อน การ
สร้างพลงั แห่งความร่วมมอื ด้วยการสรา้ งชุมชนแห่งการเรียนรูใ้ หเ้ กดิ ขนึ ได้
สรปุ ว่า การคิดสร้างสรรค์ หมายถึง ลักษณะความคิดทแ่ี ปลกใหม่ การคิดหลายแงม่ ุม คิดนอกกรอบ ประกอบด้วย
กระบวนการสองลักษณะ คือการคิดสร้างสรรค์แบบต่อยอดความคิดและการคิดใหม่อย่างสร้างสรรค์ ซ่ึงท้าให้
เกิดผลผลิตใหมท่ ่ีมีคุณค่าท่ดี ี น้าไปใช้ประโยชน์ได้ ดังนันการเกิดการสร้างสรรค์ เกิดจากการส่งเสริมให้บุคคลเกิด
แรงบันดาลใจท่ีดี มคี วามตระหนักถึงตนเอง รักในงานท่ีท้า กลา้ คิด กลา้ ริเริ่ม เปน็ ผู้บกุ เบิก และเสี่ยงตอ่ การได้รับ
การยอมรับต่อความส้าเร็จและความล้มเหลวท่ีเกิดขึน ตลอดทังการสนับสนุนทางด้านครอบครัวการเลียงดูที่เน้น
ทกั ษะทางปญั ญา และสง่ิ แวดล้อมทด่ี ีจะชว่ ยให้บุคคลเกิดการสร้างสรรค์ทดี่ ียง่ิ ขนึ