The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อมรรัตน์ ตันธะดา, 2021-03-11 11:39:52

รูปเล่ม

รูปเล่ม

คานา

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของ รหัสวิชา 30203-2002 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในงานเลขานุการ
ได้รับมอบหมายจากครูปรียา ปันธิยะ ให้ดาเนินการศึกษาค้นคว้า เกี่ยวกับเร่ือง การทาธุรกิจดิจิทัลบนส่ือ
สงั คมออนไลน์ ท่ีเขา้ มามบี ทบาทในชวี ิตประจาวนั ซงึ่ เนอ้ื หารายงานเลม่ น้ี ความหมายของการประชุมสมั มนา
ความสาคัญของการประชุมสัมมนา, ประโยชน์ของการสัมมนา,วัตถุประสงค์ของการสัมมนา, รูปแบบการจัด
สัมมนาโดยใช้เทคนิคอ่ืน ๆ, ลักษณะการสัมมนาท่ีดี, รูปแบบการใช้เทคโนโลยีงานฝึกอบรม, การวางแผนเลือก
เทคโนโลยีมาใช้ในงานฝึกอบรม, การเตรียมตัวของผู้เข้ารับการฝึกอบรม, แนวทางการพัฒนาเทคโนโลยี
สารสนเทศ, การใช้เทคโนโลยีเพ่อื การอบรม

ซึ่งจากการทีผ่ ูจ้ ัดทาไดศ้ กึ ษา ค้นคว้าข้อมูลดังกล่าวเพอ่ื เป็นแนวทางในการศึกษาเพิ่มเติม ผจู้ ัดทาหวัง
เปน็ อยา่ งยิง่ ว่า คงเปน็ ประโยชน์ต่อผทู้ ่สี นใจ

อมรรัตน์ ตันธะดา
สาขาวิชาการเลขานุการ

สารบัญ หนา้

คานา ข
สารบญั ค
แหลง่ อ้างองิ 1
ความหมายของการประชุมสัมมนา 2
ความสาคัญของการประชุมสัมมนา
ประโยชนข์ องการสมั มนา 2-3
วัตถปุ ระสงค์ของการสัมมนา 3
รูปแบบการจัดสัมมนาโดยใชเ้ ทคนิคอื่น ๆ
ลักษณะการสมั มนาทีด่ ี 4-6
รูปแบบการใช้เทคโนโลยีงานฝึกอบรม 6
การวางแผนเลอื กเทคโนโลยมี าใช้ในงานฝกึ อบรม 7
การเตรยี มตวั ของผูเ้ ขา้ รบั การฝึกอบรม
แนวทางการพฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศ 8-9
การใช้เทคโนโลยเี พ่ือการอบรม 9
10
10

หน่วยท่ี 4
การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการจดั ประชุมสัมมนา

บทนา

การฝกึ อบรมเปน็ การเพ่มิ พนู สมรรถภาพและประสิทธภิ าพทางด้านความรู้ ทกั ษะและทศั นคติให้แก่ผู้
เข้ารับการฝึกอบรม ให้สามารถนาส่ิงที่ได้รับการฝึกอบรมไปใช้กับการปฏิบัติงานจริง ๆ ซึ่งจะประสบ
ความสาเร็จได้อย่างไร ส่วนหน่ึงขึ้นอยู่กับเน้ือหาสาระในหลักสูตรความรู้ ความสามารถของวิทยากร รวมไปถึง
สื่อการสอนที่นามาใช้ในการฝึกอบรมส่ือการสอนคือการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอยู่ในปัจจุบันนามาใช้ให้
เหมาะสมกบั การฝึกอบรมแตล่ ะครัง้

ความหมายของการประชุมสมั มนา

การสัมมนา คือ สถานการณ์การประชุมกลุ่มบุคคลที่มีพื้น ความรู้ความสามารถความสนใจ
ประสบการณ์ในงานสาขาวิชาชีพเดียวกัน มีเง่ือนไขจุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์เดียวกัน เพื่อการศึกษา
ค้นคว้าเร่ืองใดเรื่องหน่ึงร่วมกัน สารวจ เรียนรู้ แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน วิเคราะห์ปัญหาและหา
แนวทางแก้ไขปัญหาที่ประสบอยู่อย่างเป็นระบบ โดยคานึงถึงบทบาทของการมีส่วนร่วมจากทุกส่วนตาม
หลักการประชาธปิ ไตยภายใตเ้ วลาทเี่ หมาะสม

รูปท่ี 1 ความหมายของการประชมุ สัมมนา

ความสาคญั ของการประชมุ สมั มนา

1. เป็นการติดต่อส่ือสารท่ีรวดเร็ว เมื่อบุคลากรได้มาพบปะพูดคุยแบบเผชิญหน้า ประชุมโต้ตอบกัน
ในทันทีทนั ใดทาความเข้าใจกันได้ในเวลาอันสน้ั ไมต่ ้องเสียเวลาในการสอ่ื สารมาก

2. เป็นการระดมความคิดเห็นแลกเปล่ียนประสบการณ์ หาข้อสรุปหรือแนวทางในการ ตัดสินใจให้
บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ทต่ี งั้ ไวเ้ ปน็ อยา่ งดี

3. เป็นส่ือกลางในการพบปะแลกเปลี่ยนข่าวสาร ความรู้ ฯลฯ ซ่ึงผู้เกี่ยวข้องจะมีโอกาส ช้ีแจงข้อ
ซักถามข้อสงสัยได้ ก่อให้เกิดความรู้สึกร่วมแรงร่วมใจ มีความรู้สึกเป็นส่วนหน่ึงของ หน่วยงานน้ัน ๆ ทาให้เกิด
การเรียนรู้ถึงวิธีการปรับตนเองให้เข้ากับผู้อ่ืนและทราบข่าวสารเรื่องราว ความเคลื่อนไหวในกิจการต่าง ๆ ใน
สังคมท่เี ก่ยี วขอ้ ง

4. เป็นเทคนิคของการให้ได้มาซ่ึงความรู้ แนวคิดและประสบการณ์เพ่ือเป็นแนวทางของ การหา
ขอ้ สรุปและนาไปใช้แกไ้ ขหรือพฒั นาใหม้ ีประสิทธิภาพยง่ิ ขึน้

5. เปน็ เครื่องมือสาคัญในการปฏบิ ัติหน้าท่ี เออ้ื อานวยในการปฏบิ ัติงานและการ ถ่ายทอดความรหู้ รือ
ข่าวสารต่าง ๆ เช่น การประชมุ ชแี้ จงเก่ยี วกับนโยบายต่าง ๆ ของหน่วยงาน หรือ การประชมุ ทางวชิ าการ

รูปที่ 2 ความสาคัญของการประชมุ สมั มนา

ประโยชน์ของการสมั มนา

1. ผูจ้ ดั สัมมนาหรือผู้เรยี นสามารถจดั สมั มนาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
2. ผู้เข้าร่วมสัมมนา ได้รับความรู้ แนวคิดจากการสัมมนา สามารถนาไปปรับใช้ในการทางานและ
ชวี ิตสว่ นตวั ได้
3. ผลจากการท่ีผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รับความรู้และความสามารถมากขึ้นจากการ สัมมนา ช่วยทาให้
ระบบและวิธีการทางานมีประสทิ ธภิ าพสูงขน้ึ
4. การจัดสัมมนาจะช่วยแบ่งเบาภาระการปฏิบัติงานของผู้บังคับบัญชา เพราะผู้ได้ บังคับบัญชา
ได้รับการสัมมนาทาให้เข้าใจถึงวิธีการปฏิบัติงานตลอดจนปัญหาต่าง ๆ และวิธีการ แก้ไขปรับปรุงและพัฒนา
งานใหไ้ ด้ผลดี

5. เป็นการพัฒนาผู้ปฏิบัติงานให้พร้อมอยู่เสมอ ที่จะก้าวไปรับตาแหน่งที่สูงกว่าเดิม หรืองานท่ี
จาเปน็ ต้องอาศัยความรู้ทางด้านเทคโนโลยีใหม่ ๆ ซึง่ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านจะไมร่ ู้สกึ ล าบากใน การปรบั ตัว เพราะได้รับ
ความรู้ใหม่ ๆ ตลอดเวลา

6. เปน็ การสง่ เสริมความกา้ วหนา้ ของผู้ปฏบิ ัตงิ าน เพราะโดยปกติแล้วการพิจารณา เลอื่ นตาแหนง่ ผู้
ทีไ่ ดร้ บั การสัมมนายอ่ มมีโอกาสไดร้ บั การพจิ ารณาก่อน

7. เกิดความคดิ รเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ เปน็ ผลใหเ้ กดิ แรงบนั ดาลใจม่งุ กระท ากิจกรรมอันดี งามให้สังคม
8. สามารถสร้างความเข้าใจอันดีงามต่อเพ่ือนร่วมงาน มีมนุษย์สัมพันธ์ เกิดความ ร่วมมือร่วมใจใน
การทางาน สามารทางานเป็นทมี ได้
9. เกิดความกระตือรือร้น กล้าคิด กล้าทากล้าตัดสินใจ มีความรับผิดชอบ รู้จัก ยอมรับความคิดเหน็
ของผู้อืน่ ร้จู ักใชด้ ลุ ยพนิ จิ วิเคราะห์ปัญหา สามารถแกป้ ัญหาในการท างาน และเกดิ ภาวะผนู้ า

รูปที่ 3 ประโยชนข์ องการสมั มนา

วัตถุประสงคข์ องการสัมมนา

1. เพอ่ื การศึกษาและเรียนรู้ประเด็นตา่ ง ๆ ของปัญหาเพื่อนาไปสู่การแก้ปญั หา
2. เพอ่ื ค้นคว้าหาคาตอบ ข้อเสนอแนะหรือหาข้อยุตทิ ่จี ะใช้แกป้ ัญหาร่วมกัน
3. เพ่อื นาผลของการสัมมนาเปน็ เคร่อื งมอื ในการตัดสนิ ใจหรือกาหนดนโยบาย
4. เพอ่ื การพฒั นาและการปฏิบตั งิ านใหบ้ รรลตุ ามเป้าประสงค์

รปู ท่ี 4 วตั ถุประสงค์ของการสัมมนา

รูปแบบการจดั สัมมนาโดยใช้เทคนคิ อน่ื ๆ

1. การบรรยาย (Lecture of Speech) เป็นวิธีการที่เก่าแก่แต่ยังคงเป็นท่ีนิยมใช้กัน อยู่มาก
เพราะว่าจัดได้รวดเร็ว ใช้ผู้ทรงคุณวุฒิเพียงรายเดียวต่อผู้ฟังจานวนมาก แต่ก็เป็นเทคนิค ที่น่าเบ่ือท่ีสุดสาหรับ
ผู้ฟังหรือผู้ท่ีเข้าอบรม เพราะเป็นการพูดในทิศทางเดียวผฟู้ ังไม่มีโอกาสได้ร่วม ในการบรรยาย ซ่ึงจุดอ่อนท่ีจริง
ไม่ได้อยู่ที่วิธีการ แต่จะอยู่ท่ีตัวผู้บรรยาย ซ่ึงจะต้องรู้จริงในเรื่อง น้ัน ๆ จึงจะสามารถถ่ายทอดออกมาได้เร้าใจ
และสรา้ งความสนใจแกผ่ ฟู้ งั

รูปที่ 5 การบรรยาย
2. การอบรมระยะส้นั (Short Courses) เป็นการฝึกอบรม หรอื การเรียนบางวิชาอย่าง เร่งรดั ภายใน
ระยะเวลาอันสั้น อาจะเป็นตั้งแต่ 1 วันถึง 2 สัปดาห์การเรียนเป็นแบบง่ายๆ และ เข้มข้นน้อย การเรียนระยะ
สั้นมักจะเป็นการเรียนรู้เพิ่มเติม ในวิชาเฉพาะสาขาของคนบางกลุ่ม ซ่ึงทางานในสาขาน้ัน ๆ เป็นประจาตัว
อยา่ งของ short courses เชน่ เรอ่ื งการธนาคารของนายธนาคาร

รูปท่ี 6 การอบรมระยะสน้ั

3. การปฐมนิเทศ (Orientation Training) เป็นการให้ความรู้แก่สมาชิกใหม่ เกี่ยวกับ เรื่องราวของ
หน่วยงาน เพ่ือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน อาจจะเป็นนโยบาย วัตถุประสงค์ สภาพแวดล้อม หรือระเบียบ
ข้อบงั คับของหนว่ ยงาน ลักษณะการจดั กค็ ลา้ ยกับการสัมมนาอบรม

รปู ท่ี 7 การปฐมนเิ ทศ
4. การสาธิต (Demonstration) เป็นการแสดงหรือการน าของจริงมาแสดงวิธีการให้ได้ เห็นการ
ปฏิบัติจริงเหมาะกับงานกลุ่มเล็ก ๆ นิยมใช้กับหัวขอ้ วิชาที่มีการปฏิบตั ิเชน่ การอบรม เกี่ยวกับการใช้เครอื่ งมอื
หรืออปุ กรณ์ตา่ ง ๆ

รูปที่ 8 การสาธิต
5. สถานการณ์จาลอง (Simulation) เป็นการจาลองสถานการณ์ในชีวิตจริง โดยจัด สถานการณ์ขึ้น
แล้วกาหนดบทบาทของสมาชิกให้ท าตามบทท่ไี ดร้ ับมอบหมาย โดยสมาชิกทงั้ กลุ่ม ตอ้ งรว่ มกันเลน่ หรืออาจจะ
แบง่ เปน็ กลุ่มเลก็ หลายๆ กลุ่ม หลงั จากนน้ั ก็มกี ารอภิปรายสถานการณ์ และเหตกุ ารณเ์ พ่ือนาผลไปใชป้ ระโยชน์
ข้อดีของการประชุมแบบนี้ คือ เป็นการให้สมาชิกได้ แสดงออกและร่วมกิจกรรมกันช่วยให้สมาชิกได้รู้จักคิด
อย่างมีเหตุผลและมีจุดมุ่งหมาย ข้อเสียคือ ต้องมีการเตรียมตัว ทาให้เสียเวลาและประเมินผลสมาชกิ แต่ละคน
ไมไ่ ด้

รปู ที่ 9 สถานการณจ์ าลอง

6. การแบ่งกลุ่มเล็ก (Knee Group) เป็นการอภิปรายกลุ่มย่อย ตั้งแต่ 3 - 5 คน ในเร่ือง ใด ๆ ท่ี
กาหนดให้หรือเรื่องที่สนใจร่วมกัน เพ่ือสรุปผล แนวทางการแก้ปัญหา แสวงหาข้อยุติภายใต้ การนขาอง
ประธานกลุ่ม มเี ลขาเปน็ ผบู้ นั ทึก และสรปุ ข้อเสนอแนะ

รูปที่ 10 การแบ่งกลุ่มเล็ก

ลกั ษณะการสมั มนาท่ีดี

1. ผเู้ ขา้ รว่ มสัมมนาทราบวัตถุประสงคข์ องการสัมมนา
2. จัดให้มกี ิจกรรมในการแก้ปัญหาร่วมกัน
3. จัดให้มกี ิจกรรมในการเรียนรู้ร่วมกนั
4. จัดใหม้ เี วทแี ลกเปลีย่ นเรียนรู้ ความคดิ เหน็ และข้อเทจ็ จรงิ ร่วมกนั
5. ผเู้ ขา้ รว่ มสมั มนามที ัศนคติที่ดีตอ่ ปัญหา ข้อเท็จจริง ผู้เข้ารว่ มสมั มนา และตนเอง
6. ผู้เข้ารว่ มสัมมนาตอ้ งใช้ความคดิ ร่วมกนั ในการแกป้ ญั หา
7. มผี นู้ าทดี่ ี
8. ผู้เข้ารว่ มสมั มนาเป็นผู้ฟงั ที่ดี
9. ผเู้ ขา้ ร่วมสัมมนาเป็นผู้พดู ทีด่ ี
10. ผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกคนเป็นผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ในการดาเนินการประชุมสมั มนา เพื่อให้งาน
สมั มนาบรรลเุ ป้าหมาย

รูปท่ี 11 ลักษณะการสมั มนาทดี่ ี

รูปแบบการใชเ้ ทคโนโลยีงานฝึกอบรม

1. การใช้ Computer ช่วยสอน โดยนาเอาเทคโนโลยรี วมกับการออกแบบโปรแกรมการสอนมาช่วย
สอน เรียกว่า CAI จะอยู่ในลักษณะของสื่อผสมท่ีเรียกว่า Multi Mediaเป็นการนาเสนอได้ท้ังภาพ ข้อความ
เสียง ภาพเคล่ือนไหว เป็นโปรแกรมท่ีเหมาะกับการศึกษาด้วยตนเอง ผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับบทเรียนได้
ตลอด และผู้เรียนได้เรยี นรู้บทเรียนอย่างถูกตอ้ งเขา้ ใจเนื้อหาของบทเรียนนน้ั ๆ

2. การใช้ Web Base Training ช่วยสอน เป็นการจัดการเรียนที่มีสภาพการเรียนท่ีต่างไปจากรูป
แบบเดิม เป็นการอาศัยใช้ Internet ความเร็วสูง นาเอาสื่อการเรียนการสอนท่ีเป็นเทคโนโลยีมาช่วยการสอน
เกิดการเรียนรู้หรือการสืบค้นข้อมูล การเช่ือมโยงเครือข่าย การเรียนแบบนี้จะเรียกว่าการฝึกอบรมผ่าน Web
Base Training การสอนผ่านสื่อทาง Electronic e-learning

3. Electronic Book เปน็ การเก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ด้วย CD Rom ในรปู แผ่น สามารถเก็บข้อมูล
ตัวอกั ษรไดม้ ากถงึ 600 ลา้ นตัวอักษร สามารถเก็บข้อมลู เอกสารไดม้ ากกว่าหนงั สือ 1 เลม่

4. VDO Teleconferent เป็นการประชุมทางไกลจอภาพ จะใช้ในการประชุมต่างประเทศ ประชุม
ระหว่างสาขา สานักงานใหญ่ในสมัยก่อน แต่ปัจจุบันนี้จะใช้ในการเรียนการสอน ทาให้ผู้เรียนและผู้ สอน
สามารถติดต่อกนั ได้เห็นสีหน้าของผสู้ อน เหน็ การเคลือ่ นไหว

5. VDO On Demand เป็นการสื่อสารกับพนักงานท่อี ยูต่ า่ งจังหวดั ต่างประเทศ เมือ่ ใดทเ่ี ราต้องการ
จะสือ่ สารกบั พนกั งาน ระบบจะสง่ VDO. มาตามเครอื ข่าย มาใหเ้ ราดูใชใ้ นการฝกึ อบรมได้

การจะเลือกใช้ส่ือเทคโนโลยีแบบไหน ก็ข้ึนอยู่กับรูปแบบ ขึ้นอยู่กับเน้ือหาสาระที่จะต้องการส่ือสาร
กับใคร ส่อื สารท่ีไหน สถานที่เปน็ อยา่ งไร สภาพแวดลอ้ มเป็นอยา่ งไร

รปู ท่ี 12 รูปแบบการใช้เทคโนโลยงี านฝกึ อบรม

การวางแผนเลอื กเทคโนโลยมี าใช้ในงานฝกึ อบรม

1. การวิเคราะห์ จาเป็นกับความต้องการในการเลือกใช้สื่อในการฝึกอบรม ต้องวิเคราะห์ว่าปัญหา
ของการใช้ส่ือปัจจุบันคืออะไร แล้วการใช้ส่ือใหม่มาแทนคืออะไร วิเคราะห์ผู้เรียนคือใคร ผู้เรียนมีความรู้
พ้ืนฐานเรอื่ งอะไรบา้ ง เพอ่ื ให้มีความเหมาะสม

รปู ท่ี 13 การวิเคราะห์
2. การออกแบบ จะตอ้ งดวู ่ามขี ั้นตอนการผลิตอะไรบา้ ง ตอ้ งมีการเตรยี มระบบ ตา่ ง ๆ มขี ั้นตอนการ
ทางานหาข้อมลู รวมถงึ เรอื่ งของงบประมาณด้วย

รปู ท่ี 14 การออกแบบ
3. การพัฒนา เราต้องวางแผนจะใช้อะไรในการที่จะพัฒนาให้เกิดส่ือข้ึนมาการจัดทาตารางข้อมูล
การเตรียมขอ้ มลู การนาเขา้ การ Test ระบบตา่ ง ๆ

รปู ที่ 15 การพัฒนา

4. การนาไปใช้ ก่อนที่จะมีการฝึกอบรม ต้องมีการทดลองใช้สื่อในสภาพห้องเรียนที่เป็นจริง มีอะไร
ขัดข้องหรือไม่ เม่ือเวลานาไปใช้จริงจะได้ไม่เกิดปัญหาข้ึนในการเรียนการสอน จนทาให้ประสิทธิภาพการเรียน
ลดลง

รปู ที่ 16 การนาไปใช้
5. การประเมินผล หลังจากท่ีนาเอาสื่อของเทคโนโลยีแต่ละประเภทไปใช้กับผู้เข้ารับการอบรม ก็

จะต้องมีการประเมินผลว่า เขาพึงพอใจในการเรียนรู้มากข้ึนหรือไม่ รูปแบบการเรียนต้องมีการปรับปรุงอะไร
หรอื ไม่ ถ้าพบว่าต้องมกี ารปรบั ปรุง เรากจ็ ะต้องกลับไปสขู่ ้ันตอนที่ 1 เพ่อื ดวู า่ มปี ญั หาอะไร กจ็ ะดาเนินการตาม
ขั้นตอนแต่ละขั้นตอนใหม่ เพียงแต่ว่าเนื้อหาและรายละเอียดของการวางแผนจะไม่เหมือนกับการทาครั้งแรก
เพยี งแต่ปรบั เปลย่ี นขนั้ ตอนตา่ ง ๆ ใหมใ่ หเ้ หมาะสมกับสภาพเทคโนโลยีทม่ี อี ยแู่ ละท่ตี อ้ งการใช้

รูปท่ี 17 การประเมนิ ผล

การเตรียมตัวของผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม

1. ส่วนของผู้จัดการเรียนการสอน คือ ต้องมีข้ันตอนการใช้งานของเทคโนโลยีที่เราได้ออกแบบการ
ฝึกอบรมไว้

2. ส่วนของบุคคล ต้องมีการสอน การเตรียมให้ผู้เข้าเรียนใช้เทคโนโลยีให้เป็นก่อน เพ่ือให้เกิด
ประสิทธิภาพในการโต้ตอบ ในการเรียน อุปกรณ์ท่ีใช้เป็นสิ่งจาเป็น เพราะถ้าเป็นอุปกรณ์ที่ยากแก่การเข้าใจ
หรือยากแก่การใช้ จะทาให้เป็นอุปสรรคกับการเรียนรู้ ควรจะเตรียมตัวผู้เรยี นใหร้ ู้สกึ สนุกกับการใช้เทคโนโลยี
ท่เี รากาลังจะใช้ในการเรียนรู้

แนวทางการพฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศ

1. ต้องเปรียบเทียบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอยู่ก่อนกับเทคโนโลยีใหม่ ว่าจะช่วยเพ่ิมความสามารถ
ในการเรยี นรู้ของพนักงานได้ม้ยั แล้วนาเทคโนโลยใี หมไ่ ปเตมิ เต็มในส่วนไหนไดบ้ ้าง

2. ขอ้ มูลต่าง ๆ ทเ่ี ราได้มาจากการจัดการพัฒนาพนักงาน จะเป็นการช่วยผู้บริหารในการตดั สนิ ใจใน
การลงทุนเพื่อพัฒนาพนักงาน คือจะเป็นค่าใช้จ่ายในการลงทุนขององค์กร ถ้าเราเข้าใจและนาไปพัฒนา ก็จะ
เหน็ คณุ ค่าของประโยชน์ที่จะนามาใช้ สามารถบอกให้องคก์ รทราบในเรอ่ื งการพัฒนาพนกั งานได้อย่างไร

3. การวางแผนทจี่ ะสร้างและพฒั นาระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ เราตอ้ งคานงึ ถึงวัตถปุ ระสงค์
ในการเรียน งบประมาณ ระยะเวลา และเพ่ือประโยชน์สูงสุดของการพัฒนาพนักงาน สามารถท่ีจะทาให้
เทคโนโลยีแตล่ ะประเภทสามารถนาไปปรบั ใชไ้ ดเ้ หมาะสมกับองค์กร

รปู ท่ี 18 แนวทางการพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศ

การใชเ้ ทคโนโลยเี พอ่ื การอบรม

ถ้าจะนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการฝึกอบรม เช่น การสอนทางไกล e-learning เป็นการสอน
ทางไกลที่ใช้ส่ืออีเล็กทรอนิกส์ผ่าน www. ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน ใช้เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสาร ทาให้
ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้มากมายท่ีอยู่ในโลกนจ้ี ะอย่ทู ี่ไหนก็สามารถเรียนได้ ผู้เรยี นสามารถเขา้ ถึงส่ือ
การสอนได้ตามสะดวก โดยผู้เรียนเองเป็นผู้ควบคุมการเรียน อาจารย์จะมีบทบาทในการสอนเปลี่ยนไป
อาจารย์ วิทยากรก็มีหน้าที่เป็นผู้เตรียมบทเรียนไว้ให้ ให้คาแนะนา ให้คาปรึกษา อานวยความสะดวก โดยที่
ผเู้ รยี นตอ้ งมคี วามพรอ้ มทจ่ี ะเรียน มวี นิ ัยในการเรยี น จะเรียนท่ไี หนก็ได้ เรยี นโดยทีไ่ ม่จาเป็นตอ้ งเรียนพร้อมกัน
ผ้เู รยี นสะดวกเมอื่ ไรกล็ งทะเบียนเขา้ ไปในระบบ แล้วกส็ ามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง

รูปที่ 19 การใชเ้ ทคโนโลยเี พ่ือการอบรม

แหล่งอา้ งองิ

elearning.psru.ac.th ความหมายของประชุมสัมมนา [ระบบออนไลน์] แหลง่ ทม่ี า
http://elearning.psru.ac.th/courses/185/Lesson1.pdf?fbclid=IwAR10K1NvbXgJSMFsBhr

6UKBHm05yqlcMP64Q-EWQ3h_cvRGB6RJKFmgQM-I (28 มกราคม 2564)
stou.ac.th รูปแบบการใชเ้ ทคโนโลยงี านฝึกอบรม [ระบบออนไลน์] แหลง่ ท่มี า

https://www.stou.ac.th/study/sumrit/3-60/page4-3-60.html (28 มกราคม 2564)
stou.ac.th การใช้เทคโนโลยีเพ่ือการอบรม [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา

https://www.stou.ac.th/study/sumrit/3-60/page2-3-60.html (28 มกราคม 2564)

หน่วยท่ี 5
การใชเ้ ทคโนโลยีในการเตรยี มการเดนิ ทาง

การใชเ้ ทคโนโลยใี นการเตรยี มการเดนิ ทาง

เสนอ

ครปู รยี า ปนั ธยิ ะ

จดั ทาโดย

นางสาวอมรรัตน์ ตนั ธะดา
เลขท่ี 16 สบล. 63.1

สาขาวิชาการเลขานุการ
รายงานนเ้ี ปน็ ส่วนหนง่ึ ของ รหัสวชิ า 30203-2002

วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในงานเลขานกุ าร
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563
วิทยาลยั อาชวี ศึกษาลาปาง

คานา

รายงานเล่มนีเ้ ป็นสว่ นหนึ่งของ รหัสวชิ า 30203-2002 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในงานเลขานุการ
ไดร้ บั มอบหมายจากครปู รยี า ปนั ธิยะ ให้ดาเนนิ การศึกษาค้นควา้ เกีย่ วกับเร่ือง การทาธุรกิจดิจิทลั บนส่ือ
สังคมออนไลน์ ที่เข้ามามีบทบาทในชีวติ ประจาวนั ซง่ึ เน้อื หารายงานเลม่ น้ปี ระกอบด้วย ความสาคญั ของการ
เตรยี มการเดนิ ทาง, หลักการเตรยี มการเดินทางให้นายจ้าง, การปฏบิ ตั ิงานระหว่างนายจ้างไม่อยู่,
การปฏิบตั งิ านเม่ือนายจ้างกลับมาจากการเดินทาง, 8 เทคโนโลยี ที่ตอ้ งจดั ทาในการเตรยี มตวั ให้กับนายจา้ งใน
การเดนิ ทาง

ซงึ่ จากการทีผ่ ้จู ดั ทาได้ศึกษา คน้ ควา้ ข้อมูลดังกลา่ วเพือ่ เป็นแนวทางในการศกึ ษาเพิ่มเติม ผูจ้ ดั ทาหวัง
เป็นอยา่ งย่ิงวา่ คงเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้ทีส่ นใจ

อมรรตั น์ ตันธะดา
สาขาวิชาการเลขานกุ าร

สารบัญ หนา้

คานา ข
สารบัญ ค
แหล่งอ้างองิ
ความสาคญั ของการเตรียมการเดนิ ทาง 1-4
หลกั การเตรียมการเดนิ ทางให้นายจา้ ง 4
การปฏบิ ตั งิ านระหวา่ งนายจ้างไม่อยู่ 5
การปฏิบตั ิงานเม่ือนายจา้ งกลับมาจากการเดนิ ทาง 6
8 เทคโนโลยี ทต่ี ้องจัดทาในการเตรยี มตวั ใหก้ บั นายจ้างในการเดนิ ทาง 7

หนว่ ยที่ 5
การใชเ้ ทคโนโลยีในการเตรียมการเดนิ ทาง

บทนา

ปัจจุบันเทคโนโลยีผสมกลมกลืนกับชีวิตประจาวันของผู้บริโภคอย่างต่อเนื่อง เน่ืองด้วยการพัฒนา
ต่าง ๆ เช่น การเพิ่มขึ้นของ Smart Phone และ Tablet ท่ีเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้เทคโนโลยีจึงมีบทบาทใน
อนาคตอย่างมากในการยกระดับประสบการณ์ด้านการท่องเท่ียวของนักเดนิ ทาง เน่อื งดว้ ยบรกิ ารบอกตาแหน่ง
สถานท่ี (Location-based services) เพิ่มขึ้นเร่ือย ๆ โดยผู้จัดหาสินค้าและบริการการท่องเท่ียวและจุดหมาย
ปลายทางต่าง ๆ มีความสามารถในการติดตาม, โต้ตอบกับนักท่องเท่ียวได้ดีกว่า ทาให้สามารถได้รับข้อมูลท่ี
ชัดเจนและแม่นยากว่า ซึ่งเป็นการทาให้ความพอใจของลูกค้าเพ่ิมมากข้ึน ธุรกิจที่สนใจในเทคโนโลยีและ
สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มท่ีจะมีข้อดีเหนือกว่าคู่แข่งด้วยการเข้าถึงและการขยายความสัมพันธ์ท่ีดีและ
ยง่ั ยนื กบั ลูกค้า

แม้ว่าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีการใช้กันอย่างกว้างขวางในภาคการท่องเที่ยว แต่อย่างไรก็
ตาม ก็ยังไม่ครอบคลุมในทุกภาคส่วน ยกตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมการบินท่ีใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมา
ตั้งแต่ ต้นในการบริหารจัดการและทาให้การปฏิบัติการต่าง ๆ ง่ายขึ้น แต่ในอุตสาหกรรมโรงแรมที่พักต่าง ๆ
รวมทั้งผู้ ประกอบธุรกิจท่องเท่ียวขนาดเล็กกลับสนใจระบบนี้น้อยกว่าและเร่ิมจะหันมาสนใจไม่นานนักแต่จะ
เห็นได้ชัด ว่ามีการเปลี่ยนแปลงเฉพาะภาคการท่องเที่ยวเท่านั้น รวมทั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศยังคงเป็น
กาลงั ขับเคล่ือนสาคญั ในการเปล่ยี นแปลงดงั กล่าวด้วย

ความสาคญั ของการเตรียมการเดินทาง

1. เก็บบัตรต่าง ๆ ให้ปลอดภัย ดังนั้นให้เก็บใบเสร็จรับเงินให้หมดเม่ือคุณเดินทาง ตรวจสอบบัญชี
ออนไลน์ (หรือทางโทรศพั ท)์ เป็นระยะเพอื่ ดวู ่ารายการจ่ายทุกรายการบันทกึ ไว้ครบหรือไม่ และให้ระแวดระวัง
เป็นพิเศษเม่ือต้องชาระเงินในสกุลเงินต่างประเทศ ตรวจสอบอัตราแลกเปลี่ยนและให้แน่ใจว่าไม่ได้มีการเรียก
เก็บเงินเกินในใบเรียกเก็บเงินท่สี ่งมาให้คุณขณะจ่ายเงิน ใหพ้ ยายามหลกี เลี่ยงการส่งบัตรเครดิตให้พนักงาน แต่
ยืนกรานให้มีการทาธรุ กรรมใด ๆ ต่อหน้าคุณ หากบัตรไม่ได้อยู่กับคุณแล้ว หรือคุณสงสัยว่ามีการเล่นตุกติกผดิ
กฎหมาย ให้ติดต่อบริษัทที่ออกบัตรเครดิตของคุณโดยทันที ข้อดีมากท่ีสุดประการหนึ่งของการจ่ายด้วยบัตร
เครดิตคอื หากมเี หตุทไี่ มถ่ กู ต้องเกิดข้ึน คณุ น่าจะได้รับประกนั ว่าจะไดร้ บั เงินชดเชยสาหรับความสญู เสยี ใด ๆ

รูปท่ี 1 เก็บบัตรต่าง ๆ ใหป้ ลอดภยั

2. ซ่อนเงินสดที่พกติดตัว การล้วงกระเป๋าเกิดข้ึนอยู่ท่ัวไปในหลายเมือง และโจรขโมยท่ีมีทักษะ
เหล่าน้ีมีเทคนิคท่ีหลากหลายท่ีจะแยกคุณจากทรัพย์สินของคุณ ดังน้ัน ชุดชั้นในของคุณอาจเป็นที่เก็บของมี
ค่าท่ีปลอดภัย ในท้องตลาดมีเข็มขัดแบบเก็บเงินได้กว่าร้อยแบบขายและหลายคนถึงขนาดมีกระเป๋าลับเย็บติด
อยกู่ ับชดุ ช้นั ในหรือเส้อื แจ็คเก็ตเพอ่ื ไว้เกบ็ เงินสารองในกรณีฉุกเฉนิ

รูปท่ี 2 ซอ่ นเงินสดทีพ่ กติดตวั
3. การหาข้อมลู เกยี่ วกับเครอ่ื งแต่งกายท้องถ่นิ ที่ถกู กาลเทศะเม่ือเดนิ ทางถึงที่หมายและการซ้ือเครื่อง
แต่งกายใหม่หากจาเป็นจะช่วยรักษาหน้าให้คุณได้โดยเฉพาะในประเทศอย่างอินเดีย ในประเทศอิสลาม
บ่อยครั้งการสวมผ้าคลุมศีรษะจะช่วยปกป้องตัวคุณเองและยังเป็นสัญลักษณ์ของการแสดงความเคารพต่อ
วัฒนธรรมและธรรมเนียมท้องถ่นิ ดว้ ย ดังนน้ั อ่านขอ้ มลู มาล่วงหน้าและมาเทยี่ วแบบเตรยี มพร้อมอย่างเตม็ ที่

รปู ท่ี 3 การหาข้อมลู เกี่ยวกบั เครอ่ื งแต่งกายทอ้ งถิน่
4. การปฐมพยาบาล เตรยี มอุปกรณใ์ ห้พร้อม สง่ิ ท่ีคุณไม่อยากใหเ้ กดิ ข้ึนมากทส่ี ุดในวนั หยุดของคุณคือ
น้ิวโดนบาดตอนเปดิ ขวดเบียร์ท่ชี ายหาดบาหลีหรือ มลั ดฟี สต์ อนตสี าม จนติดเช้อื และอาจตอ้ งสูญเสยี น้วิ
ดงั นั้นขอแนะนาใหค้ ุณนาชุดอปุ กรณ์ปฐมพยาบาลเลก็ ๆ ท่ีมีพลาสเตอรย์ า ยากนั ยุง ยาแกท้ ้องเสยี ใสก่ ระเป๋า
ไปด้วย อุปกรณเ์ หล่านี้มขี นาดเลก็ และเบาและจะช่วยคุณหลีกเลยี่ งสถานการณท์ ่ีไม่นา่ พงึ ประสงคไ์ ด้ อีกเคลด็
ลับหนงึ่ คืออยา่ ลืมนาไฟฉายเลก็ ๆ และหนบี ติดกับพวงกุญแจของคุณได้ ตดิ ตัวไปทุกท่ีเผ่ือไว้กรณีท่ีคุณไปที่มืด
สนทิ ตอนกลางคืนหรือไฟดบั

รูปที่ 4 . การปฐมพยาบาล เตรยี มอุปกรณ์ให้พร้อม

5. เอกสารและหนังสือเดินทาง ก่อนทีค่ ุณจะเดนิ ทางไปที่ใด ต้องแนใ่ จวา่ มีคนรวู้ ่าคุณจะไปไหนและมี
สาเนารายละเอียดการเดินทางของคุณ การให้สาเนาหนังสือเดินทางและวซี ่าไว้กับสมาชิกครอบครัวท่ีไว้ใจไดก้ ็
เป็นความคิดท่ีดีเหมือนกัน เผ่ือกรณีท่ีเอกสารดังกล่าวของคุณหาย ถูกขโมย หรือเม่ือเอกสารดังกล่าวใช้
ประโยชน์อะไรไม่ได้ในเหตุการณ์ที่ไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยคร้ังอย่างรัฐประหาร ความคิดท่ีดียิ่งกว่าคือการสแกน
รายละเอยี ดของคุณและอเี มลสาเนาเอกสารไปที่เมลของคุณเอง เพ่อื ทว่ี ่าคุณจะได้พิมพ์ออกมาระหว่างเดินทาง
หากตอ้ งการ อยา่ ลืมพกรายละเอียดการติดตอ่ สถานทูตไว้เสมอด้วย

รปู ที่ 5 เอกสารและหนงั สือเดินทาง
6. หาข้อมลู จากคนท้องถิ่น ความรทู้ ่ีมีคณุ คา่ ท่ีสุดท่ีคุณจะได้รับเมื่ออยู่ตา่ งประเทศมักมากจากคนพื้นท่ี
เสมอ เมื่อเดินทางถึงสถานที่แห่งใหม่ ลองพยายามหาคนที่คุณจะไว้ใจได้ อาจจะเป็นไกด์ทัวร์ ตัวแทนขายของ
คุณ หรือเจ้าของร้านอาหารท้องถ่ิน คาแนะนาจากพวกเขาอาจจะเป็นตัวช่วยชีวิตคุณได้ทีเดียวและยังช่วยให้
คุณหลีกเล่ียงสถานการณ์ที่เป็นอันตรายโดยไม่จาเป็น พร้อมยังอาจได้คาแนะนาเรื่องสถานท่ีกินดื่มแสนอร่อย
และกิจกรรมท่นี า่ สนกุ อกี ต่างหาก

รูปที่ 6 หาข้อมลู จากคนท้องถิ่น
7. หากเดินทางกับครอบครัว อย่าลืมนารูปถ่ายของลูกๆ ติดตัวไปด้วย หากคุณท่องเที่ยวกันเป็น
ขบวนครอบครัวและมีเด็ก ๆ ร่วมกลุ่มมาด้วยล่ะก็ อย่าลืมพกรูปที่ถ่ายเมื่อเร็วๆ น้ีของเด็ก ๆ แต่ละคนมาด้วย
เผื่อกรณที ี่เดก็ ๆ อาจเดนิ แยกออกจากขบวนไป ลองนกึ ดวู ่าหากเกิดเหตกุ ารณ์แบบนี้ขน้ึ บนถนนท่ีคับค่งั วุ่นวาย
คณุ จะรู้วา่ รปู พวกนี้จะกลายเปน็ กญุ แจสาคัญใหช้ ว่ ยตามหาลกู รักทีห่ ลงทางไปได้

รูปที่ 7 เดนิ ทางกบั ครอบครัว

หลักการเตรียมการเดนิ ทางใหน้ ายจา้ ง

2.1 กอ่ นการเดินทาง เลขานกุ ารจะตอ้ งทราบรายละเอยี ดต่าง ๆ กอ่ นการเดินทางของนายจา้ ง ดังนี้ คอื
1. วัตถุประสงคข์ องการเดินทาง
2. สถานท่ีทจี่ ะไปและบคุ คลท่ีจะไปพบ
3. วัน เวลาเดนิ ทางทัง้ ไปและกลับ
4. วนั เวลา สถานทที่ ีจ่ ะแวะระหวา่ งการเดินทางทั้งไปและกลบั
5. กาหนดเส้นทางและยานพาหนะทใ่ี ช้ในการเดินทาง
6. สถานทพ่ี กั
7. งบประมาณ
8. เอกสารท่ีจะต้องติดตัวไปด้วย

รปู ที่ 8 หลักการเตรียมการเดินทางใหน้ ายจ้าง
2.2 วิธีจัดเตรียมการเดินทาง ก่อนท่ีนายจา้ งจะเดินทาง เลขานกุ ารควรจะจดั เตรียมการเดินทางดงั ต่อไปนี้ คือ

1. การเลือกยานพาหนะและการกาหนดเสน้ ทาง
2. การจองท่ีพัก
3. การเตรียมค่าใชจ้ ่ายในการเดินทาง
4. การเตรียมเอกสารและเครื่องใชใ้ นการเดนิ ทาง
5. การจัดทากาหนดการเดนิ ทาง
6. การปรกึ ษาหารือและมอบหมายงานก่อนเดนิ ทาง

การปฏิบตั ิงานระหวา่ งนายจ้างไม่อยู่

ความสาคัญก่อนหลังไว้เสนอให้ทราบ งานที่ด่วนมากอาจต้องส่งต่อไปยังนายจ้าง ด้วยเหตุน้ี
เลขานกุ ารจึงต้องทราบที่อยู่ของนายจา้ งทุกระยะเพื่อท่ีจะตดิ ต่อไดถ้ ูกต้อง นอกจากนี้อาจมีเรื่องด่วนต้องติดต่อ
ทางโทรศัพท์ก็จะติดต่อได้ ขณะนายจ้างไม่อยู่เลขานกุ ารไม่ควรถือโอกาสหยุด มาทางานสาย หรือกลับบ้านเรว็
ไม่เอาใจใส่ต่องานมนหน้าท่ี ออกไปซ้ือของส่วนตัวในเวลาทางาน ผู้ที่เป็นเลขานุการที่ดี นายจ้างไม่อยู่
เลขานุการต้องมีความรับผิดชอบมากย่ิงขึ้นหลายเท่าเน่ืองจากเลขานุการเปรียบเสมือนมือขวาของนายจ้างงาน
ทกุ ประเภทท่เี ข้ามาในสานักงานซ่ึงปกติเปน็ งานของนายจ้างก็จะต้องเป็นหน้าท่ีของเลขานุการเป็นผรู้ ับผิดชอบ
แทน

ถ้ามีงานค่ังค้างอยู่เดิมในขณะนายจ้างไม่อยู่ เลขานุการควรถือโอกาสจัดการงานให้เสร็จ เพราะ
นายจ้างกลบั มากจ็ ะมงี านทามากมายหลายอยา่ ง เช่น งานเอกสาร งานการเงนิ เปน็ ตน้

ในขณะท่ีนายจ้างไม่อยู่ ถ้ามีแขกมาขอพบนายจ้าง เลขานุการจะต้องทาหน้าท่ีต้อนรับผู้มาตอดต่อ
แทน มีธรุ ะทสี่ ่งั ไว้ ตอ้ งจดไว้เรียนให้นายจา้ งทราบเมื่อนายจา้ งเดนิ ทางกลบั มา

รปู ที่ 9 การปฏบิ ัตงิ านระหว่างนายจ้างไม่อยู่

การปฏบิ ัติงานเมอ่ื นายจ้างกลบั มาจากการเดินทาง

1. เลขานุการเสนอเอกสารและจดหมายที่ต้องพิจารณา ถ้ามีเอกสารจานวนมาก อาจจะจัดเป็น
ประเภท แฟ้มเอกสารเสนอเซ็น, แฟ้มจดหมายท่ีต้องพิจารณา, แฟ้มเอกสารท่ีต้องอ่านหรือรับทราบซึ่ง
เลขานกุ ารหรือผรู้ บั ผิดชอบไดจ้ ัดการตอบแลว้ ระหวา่ งทีน่ ายจ้างไมอ่ ยู่, แฟม้ เสนอรายงาน บันทึก และเอกสารท่ี
ไม่ค่อยสาคญั

2. รวบรวมใบสาคัญต่าง ๆ เก่ยี วกับค่าใช้จ่ายของนายจ้างทารายงาน หรือทาบญั ชเี บิกจ่ายให้ถูกต้อง
ตามระเบียบของสานกั งาน

3. เสนอบันทกึ เก่ียวกบั การนดั หมาย และผูท้ ีม่ าติดตอ่ ในระหว่างนายจ้างไมอ่ ยู่
4. ทาหนังสือขอบคุณผทู้ ใ่ี ห้ความสะดวกหรือการต้อนรับในการเดินทาง
5. ตรวจสอบเอกสาร เคร่ืองใช้ท่ีนายจ้างนากลับมา ถ้าเป็นเอกสารที่ออกจากแฟ้มไปก็นากลับเข้าท่ี
เดมิ เช็คบนั ทกึ ตา่ ง ๆ ที่นายจา้ งบนั ทกึ ไวเ้ ก่ียวกบั เอกสารเหลา่ นี้
6. จัดทารายงานการเดินทางอยา่ งละเอยี ดเพอื่ เสนอฝ่ายการเงินตรวจสอบ

รปู ท่ี 10 การปฏิบตั ิงานเมือ่ นายจ้างกลับมาจากการเดนิ ทาง

8 เทคโนโลยี ทีต่ อ้ งจดั ทาในการเตรียมตัวให้กับนายจ้างในการเดนิ ทาง

กจิ กรรมอีกอย่างหน่ึงของธุรกิจ คอื กจิ กรรมทางด้านการเดนิ ทาง นับต้ังแตผ่ ูบ้ ริหารสูงสุดจนถงึ ระดับ
ผปู้ ฏิบัติงานภายในสานักงาน ผบู้ ริหารมกั จะมภี ารกจิ มากมายท่ีต้องปฏิบัติ เช่น ผจู้ ดั การฝ่ายขายจะตอ้ งใชเ้ วลา
ในการคิดวางแผน ต้องไปตรวจงานขายในแต่ละเขต พนักงานขายเดินตลาดจะต้องไปติดต่อลูกค้าประจาและ
แสวงหาลูกค้าใหม่ตามส่วนภูมิภาค ผู้จัดการทั่วไปจะต้องเดินทางไปตรวจงานและติดต่อบุคคลสาคัญในการ
ขยายสาขา เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมาจะต้องเดินทางไปร่วมประชุมทางวิชาการ หรือประชุมด้านการตลาด
กิจกรรมเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งในการดาเนินธุรกิจประจาวัน ผู้เดินทางอาจจะไปด้วยรถยนต์ของบริษัท หรือ
อาจจะเดนิ ทางโดยทางรถไฟ ทางรถยนต์โดยสาร ทางอากาศ ทางเรอื

หน้าท่ีหรือภารกิจในการอานวยความสะดวกให้แก่ผู้จัดการหรือนายจ้างในการจัดเกี่ยวกับเร่ืองการ
เดินทางเป็นงานของเลขานุการ หรือพนักงานผู้ใดผู้หน่ึงที่ได้รับมอบหมายให้เตรียมเร่ืองการเดินทางตามความ
ประสงค์และจะต้องปฏิบัติงานท่ีได้รับมอบหมายให้ดีท่ีสุด ให้ตรงตามเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา การ
เตรียมการเดินทางจะสาเร็จลุล่วงได้ผลดีก็จะต้องมีแหล่งข่าวหรือข้อมูลเกี่ยวกับการเดินทางอยู่พร้อม เช่น
ตารางเท่ียวบิน ตารางการเดินรถไฟ ตารางกาหนดเดินทางรถทัวร์ปรับอากาศ หรือรถ บขส. แผนที่ทางหลวง
แผ่นดิน อัตราค่าโดยสารปรับอากาศ ข่าวสารเหล่านี้จะต้องเป็นฉบับล่าสุดที่เป็นปัจจุบัน ซึ่งจะช่วยให้การ
เตรียมงานขั้นตอ่ ไปเรยี บร้อยในแต่ละเร่อื ง

ในบรษิ ทั ใหญ่ ๆ บางบริษทั จะมแี ผนกเดินทาง (Travel Department) ซ่งึ มียานพาหนะพรอ้ ม และมี
หน้าท่ีในการจัดการเดินทางให้กับผู้บริหารและบรรดาตัวแทนของบริษัท ถ้าเป็นดังน้ีก็จะแบ่งเบาภาระของ
เลขานกุ ารไดม้ ากในการกาหนดเวลาในการใชย้ านพาหนะ

เลขานุการก็มีหน้าที่ในการเตรียมและติดต่อเรื่องอ่ืน ๆ ในการเดินทางแต่ละครั้งของนายจ้าง เช่น
กาหนดเวลา การนดั หมาย การจองท่ีพกั ฯลฯ กอ่ นการเตรยี มการเดนิ ทางควรได้มีการปรึกษานายจา้ ง และเมื่อ
กาหนดแลว้ เลขานุการก็จะตอ้ งเสนอรายละเอียดนน้ั เพอ่ื การรบั รองจากนายจ้างกอ่ นจึงดาเนนิ การได้

รปู ที่ 11 8 เทคโนโลยี ท่ตี อ้ งจัดทาในการเตรียมตัวให้กบั นายจ้างในการเดินทาง

แหล่งอา้ งองิ

skyscanner.co.th ความสาคัญของการเตรียมการเดินทาง [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา
https://www.skyscanner.co.th (22 มกราคม 2564)

sites.google.com หลกั การเตรยี มการเดนิ ทางใหน้ ายจา้ ง [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา
https://sites.google.com/a/ttc.ac.th/filin/karte-ri-ym-kar-dein-thang/hlak-kar
(22 มกราคม 2564)

sites.google.com การปฏบิ ัตงิ านระหว่างนายจ้างไมอ่ ยู่ [ระบบออนไลน์] แหล่งทีม่ า
https://sites.google.com/a/ttc.ac.th/filin/karte-ri-ym-kar-dein-thang/ptibati-ngan
(22 มกราคม 2564)

sites.google.com การปฏิบตั งิ านเมอื่ นายจ้างกลับมาจากการเดินทาง [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา
https://sites.google.com/a/ttc.ac.th/filin/karte-ri-ym-kar-dein-thang (22 มกราคม 2564)

sites.google.com 8 เทคโนโลยี ทต่ี ้องจดั ทาในการเตรยี มตวั ให้กบั นายจ้างในการเดนิ ทาง
[ระบบออนไลน์] แหล่งทีม่ า https://sites.google.com/a/ttc.ac.th/filin (22 มกราคม 2564)

หน่วยท่ี 6
การใช้เทคโนโลยใี นการสบื ค้นขอ้ มลู

การใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นขอ้ มูล

เสนอ

ครูปรยี า ปนั ธยิ ะ

จัดทาโดย

นางสาวอมรรตั น์ ตนั ธะดา
เลขท่ี 16 สบล. 63.1

สาขาวชิ าการเลขานุการ
รายงานนเ้ี ปน็ สว่ นหน่ึงของ รหัสวิชา 30203-2002

วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศในงานเลขานุการ
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563
วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาลาปาง

คานา

รายงานเล่มน้ีเป็นส่วนหนึ่งของ รหัสวิชา 30203-2002 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในงานเลขานุการ
ได้รับมอบหมายจากครูปรียา ปันธิยะ ให้ดาเนินการศึกษาค้นคว้า เก่ียวกับเรื่อง การทาธุรกิจดิจิทัลบนสื่อ
สังคมออนไลน์ ที่เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวัน ซ่ึงเน้ือหารายงานเล่มน้ีประกอบด้วย 1. การประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบนั 1.1 การประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานด้านการศึกษา 1.2 การประยุกต์ใชใ้ นงานด้านธรุ กจิ
1.3 การประยุกต์ใช้ในงานสาธารณสุขและการแพทย์ 1.4 การประยุกต์ใช้ในงานด้านการส่ือสารและ
โทรคมนาคม 1.5 การประยุกต์ใช้ในสาขาอุตสาหกรรมและการผลิต 1.6 การประยุกต์ใช้ในหน่วยงานราชการ
ตา่ ง ๆ 1.7 การประยุกต์ใชใ้ นสาขาด้านความม่นั คงของชาติและทางทหาร 1.8 การประยุกต์ใชใ้ นสาขาบนั เทิง
2. การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ 2.1 การสืบค้นข้อมูลด้วย GOOGLE 2.2 การสืบค้นเพื่อเข้าสู่เว็บไซต์ของ
นักเรียน 2.3 ความหมายของการสืบค้นข้อมูล 2.4 ประเภทการสืบค้นข้อมูล 2.5 ประเภทของ SEARCH
ENGINE 2.6 ประโยชน์ของ SEARCH ENGINE 2.7 รูปแบบและวิธีการสืบคน้ ข้อมูลสารสนเทศ

ซงึ่ จากการทีผ่ ู้จัดทาได้ศึกษา คน้ ควา้ ขอ้ มลู ดงั กลา่ วเพอื่ เปน็ แนวทางในการศึกษาเพิ่มเติม ผ้จู ดั ทาหวงั
เป็นอย่างยิง่ วา่ คงเป็นประโยชน์ต่อผูท้ ส่ี นใจ

อมรรตั น์ ตันธะดา
สาขาวิชาการเลขานุการ

สารบญั หน้า

คานา ข
สารบญั ค
แหลง่ อ้างองิ 1
1. การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในปจั จบุ นั
1.1 การประยุกตใ์ ช้ในงานด้านการศกึ ษา 1-3
1.2 การประยุกตใ์ ช้ในงานด้านธรุ กิจ 3-4
1.3 การประยุกต์ใช้ในงานสาธารณสขุ และการแพทย์ 4-5
1.4 การประยุกตใ์ ชใ้ นงานด้านการสือ่ สารและโทรคมนาคม
1.5 การประยุกตใ์ ชใ้ นสาขาอุตสาหกรรมและการผลิต 5
1.6 การประยุกตใ์ ช้ในหน่วยงานราชการต่าง ๆ 6
1.7 การประยุกต์ใชใ้ นสาขาด้านความมัน่ คงของชาติและทางทหาร 6-7
1.8 การประยุกตใ์ ชใ้ นสาขาบันเทิง 7-8
2. การสบื ค้นขอ้ มูลสารสนเทศ 8-9
2.1 การสบื คน้ ข้อมลู ด้วย GOOGLE 10
2.2 การสบื ค้นเพื่อเข้าสูเ่ วบ็ ไซต์ของนักเรยี น 10-12
2.3 ความหมายของการสบื ค้นขอ้ มูล 13
2.4 ประเภทการสบื คน้ ข้อมูล 14
2.5 ประเภทของ SEARCH ENGINE 14-16
2.6 ประโยชน์ของ SEARCH ENGINE 16-18
2.7 รูปแบบและวธิ กี ารสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ 19
19-20

หนว่ ยที่ 6
การใช้เทคโนโลยีในการสืบคน้ ขอ้ มูล

บทนา

ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทในการเปลี่ยนแปลง การดาเนินงาน
และเพ่ิมประสิทธิภาพการทางานขององค์กรต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการ
จัดเก็บข้อมูลและการให้บริการข้อมูล ส่งผลให้ห้องสมุดสามารถใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีดังกล่าวในการ
จัดระบบข้อมูลของห้องสมดุ ในรูปแบบ “ห้องสมุดดิจิทัล” โดยจัดเก็บทรพั ยากรสารสนเทศหลากหลายรูปแบบ
ให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล มีการออกแบบ การเข้าถึงเน้ือหาสาระให้เป็นประโยชน์แก่ผู้ใช้ และมีเครื่องมือหรือ
วิธีการในการช่วยค้นสารสนเทศ ในระบบเครือข่ายที่เช่ือมโยงกันได้ทั่วโลก (The Association of Research
Libraries, 1998) ประโยชน์จากการดาเนินงานของห้องสมุดดิจิทัล ส่วนใหญ่เป็นการอนุรักษ์ทรัพยากร
สารสนเทศ ท่มี ีคุณคา่ ทางประวัติศาสตรแ์ ละอารยธรรม เช่น หนงั สือหายาก ทรัพยากรสารสนเทศซึ่งมีคุณค่า ที่
ชารุดเสียหายง่ายโดยปรับเปล่ียนให้เป็นทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล ท่ีผู้ใช้สามารถใช้ประโยชน์ ได้ผ่าน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Miyakava, 1996) ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาในด้านของข้อจากัดในการ เข้าถึงสารสนเทศ
ท้ังด้านเวลาและสถานที่ นอกจากนี้ยังประหยัดพ้ืนที่ในการจัดเก็บและให้บริการ รวมทั้งยังสามารถสืบค้น
สารสนเทศได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็ว แนวโน้มของห้องยุคใหม่จึงหัน มาให้ความสาคัญต่อการจัดเก็บ
สารสนเทศให้อยู่ในรูปแบบดจิ ิทัลมากข้ึน เพื่อรวบรวมสารสนเทศ ทีก่ ระจดั กระจายใหส้ ะดวกในการค้นหาและ
การเข้าถึงของผู้ใช้ โดยการจัดสร้างเป็นฐานข้อมูล เอกสารเนื้อหาฉบับเต็ม (Full text) และข้อมูลมัลติมีเดีย
ด้วยเหตุน้ีห้องสมุดส่วนใหญ่จึงใช้ ประโยชน์ของนวัตกรรมดังกล่าว เพ่ือเผยแพร่แหล่งความรู้ หรือองค์ความรู้
ขององค์กร

1. การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในปัจจบุ ัน

เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเคร่ืองมือในการจัดการและการกระจายสารสนเทศไปยังผู้ใช้ได้อย่างทั่วถึง
และมีประสิทธิภาพ อีกทั้งผู้ใช้สามารถนาสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจได้เป็นอย่างดี ดังน้ันในทุก
สาขาอาชีพจาเป็นต้องได้รับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งต่าง ๆ ที่น่าเช่ือถือ เพื่อใช้ในการพัฒนาตนเอง
พัฒนาอาชีพ รวมท้ังพัฒนาสังคมและประเทศชาติ ดังน้ันงานด้านต่าง ๆ จึงมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ ดงั น้ี

1.1 การประยกุ ต์ใช้ในงานดา้ นการศกึ ษา

1. วดี ทิ ศั นต์ ามอธั ยาศัย (Video on Demand : VOD) เป็นระบบท่นี าภาพวดิ โี อมาบนั ทึกเปน็ ไฟล์ใน
ระบบคอมพิวเตอร์และนาไฟลด์ ังกลา่ วมาเผยแพร่ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นท่ีอย่หู ่างไกลมี
โอกาสเรียนรู้ได้ในเวลาท่ีสะดวก อีกท้ังยังจัดทาเป็นลักษณะของสื่อผสม (multimedia) ซ่ึงสามารถกระตุ้นให้
ผ้เู รยี นสนใจเรยี นอยตู่ ลอดเวลา รวมทง้ั ยงั จาลองสภาพจรงิ ท่ชี ่วยให้เกิดการเรียนรู้อยา่ งชัดเจน ดังนัน้ ในท้องถ่ิน

ห่างไกลที่ขาดบุคลากรทางการศึกษาเฉพาะทาง ขาดอุปกรณ์การทดลองหรืออุปกรณ์ทางการศึกษาต่าง ๆ
กย็ งั คงสามารถเรยี นรู้ได้เท่าเทียมกบั เดก็ ในเมอื ง ตัวอย่างเว็บไซต์ทีน่ าเสนอวดี ทิ ัศน์ตามอัธยาศัย

รูปที่ 1 วดี ิทัศนต์ ามอธั ยาศัย
2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-books) เป็นหนังสือท่ีอยู่ในรูปแบบของไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีไม่ต้องใช้
กระดาษ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถอ่านไดโ้ ดยใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ประเภทพกพาและซอฟต์แวร์ท่ีใช้อ่าน
เช่น เคร่อื งคอมพวิ เตอรโ์ น้ตบุ๊ก เครอื่ งพีดเี อ และโทรศพั ท์มือถือบางร่นุ ทมี่ ีระบบปฏิบัตกิ าร Microsoft Mobile
นอกจากนีห้ นงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์ยังสามารถดาวนโ์ หลดหรอื อ่านได้จากเวบ็ ไซดท์ างอนิ เทอรเ์ นต็

รปู ท่ี 2 หนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ (e-books)
3. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-library) แหล่งรวมความรู้ท่ีมีระบบการทางานของห้องสมุดให้อยู่ใน
รูปแบบอัตโนมัติ เช่น ระบบบริการยืม–คืนทรัพยากรด้วยรหัสบาร์โค้ด ระบบบริการสืบค้นข้อมูลทรัพยากร
และระบบตรวจเช็คสถิติการยืม-คืนทรัพยากร เป็นต้น ดังน้ันห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์จะเก็บข้อมูลไว้ในเครื่อง
คอมพวิ เตอร์ และให้บริการข้อมลู ผ่านเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็

รปู ที่ 4 ห้องสมุดอเิ ลก็ ทรอนิกส์

4. การเรียนรู้แบบออนไลน์ (e-learning) เป็นการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้เรียนผ่าน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต (internet) หรืออินทราเน็ต (intranet) ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนรู้ได้ตาม
ความสามารถและความสนใจ โดยเน้ือหาในบทเรียนซึ่งอาจประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียง วิดีโอ และ
มัลติมีเดียอ่ืน ๆ ซ่ึงผู้เรียนจะต้องมีโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ (web browser) ในการแสดงผลการเรียน การ
เรียนรู้แบบออนไลน์จะทาให้ผู้เรียน ผู้สอน และเพ่ือนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปล่ียน
ความคิดเหน็ ระหว่างกันได้เช่นเดียวกับการเรยี นในชั้นเรียนปกติ การเรยี นรู้ออนไลน์จงึ เป็นการเรียนสาหรับทุก
คนทีส่ ามารถเรยี นรไู้ ดท้ กุ เวลา และทุกสถานที่ (Learn for all : anyone anywhere and anytime)

รปู ท่ี 5 การเรียนรูแ้ บบออนไลน์

1.2 การประยุกต์ใชใ้ นงานดา้ นธรุ กิจ

1. การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce) การทากิจกรรมทางธุรกิจผ่านช่องทางอิเล็กทรอนกิ ส์
ในทุกช่องทางเช่น อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์ วิทยุ แฟกซ์ เป็นต้น ทั้งในรูปแบบข้อความ เสียง และภาพ โดย
กิจกรรมทางธุรกิจจะเน้นการขายสินค้าหรือบริการซ่ึงเรมิ่ ตั้งแต่ส่วนของผู้ช่ือ สามารถดาเนนิ การเลอื กซื้อสนิ ค้า
หรือบริการ คานวณเงิน ชาระเงิน รวมถึงการได้รับบริการหลังการขายได้โดยอัตโนมัติ ส่วนของผู้ขาย สามารถ
นาเสนอสินค้า รับเงินชาระค่าสินค้า ตัดสินค้าจากคลังสินค้า และประสานงานไปยังผู้จัดส่งสินค้า รวมถึงการ
บริหารหลังการขายไดโ้ ดยอตั โนมัติ

กิจกรรมทางธรุ กิจดงั กล่าวในปจั จบุ นั นยิ มจัดทารูปแบบของเว็บไซต์ เชน่ www. amazon.com เป็น
เว็บไซต์การค้าปลีกออนไลน์ท่ีใหญ่ที่สุด โดยในช่วงแรกจะขายหนังสือ แต่ปัจจุบันกาลังพัฒนาการขายสินค้า
เพิ่มเติมโดยลกู คา้ สามารถดาวน์โหลดเพลง ภาพวิดีโอ และหนงั สอื ได้

ปัจจุบันประเทศไทยนิยมใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับธุรกิจประเภท OTOP ซ่ึงสามารถ
ประชาสมั พนั ธส์ นิ คา้ ของแตล่ ะทอ้ งถน่ิ ให้เป็นท่ีรจู้ ักท่ัวโลก ซึง่ ชว่ ยสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ชมุ ชนไดใ้ นระดบั หนึ่ง

รปู ที่ 6 การพาณชิ ย์อิเล็กทรอนกิ ส์ (e-commerce)
2. สานักงานอัตโนมัติ (office automation) เป็นการนาเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่ ได้แก่
เครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ โทรศัพท์ เทเลเท็กซ์ เครื่องเขียนตามคาบอกอัตโนมัติ (dictating machines)
เคร่ืองถ่ายเอกสารแบบหน่วยความจา เคร่ืองโทรสาร ฯลฯ มาใช้ช่วยให้การปฏิบัติงานในสานักงาน เกิด
ประสิทธภิ าพและความสะดวกรวดเรว็ มากขึน้
การใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์จะช่วยในเร่ืองการประมวลผลข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การติดต่อส่ือสาร
ภายในสานกั งานเปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ และยังช่วยให้ลดปริมาณการใชก้ ระดาษของสานักงานได้เปน็ อย่าง
ดี

1.3 การประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานสาธารณสุขและการแพทย์

1. ระบบแพทย์ทางไกล (telemedicine) เป็นโครงการของรฐั บาลที่ยกระดับการให้บรกิ ารรักษาผู้ป่วย
ในท้องถ่ินทุรกันดารผ่านเครือข่ายโทรคมนาคม โดยเริ่มจากส่งข้อมูลผู้ป่วยด้วยการถ่ายทอดสดผ่านทาง
ดาวเทียมในการประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย (video conference system) ขณะตรวจอาการผู้ป่วยจาก
สถานีอนามัยเช่ือมไปยังเคร่ืองปลายทางท่ีโรงพยาบาลประจาอาเภอ เพ่ือให้แพทย์ผู้เช่ียวชาญของโรงพยาบาล
ปลายทางได้ดูภาพลักษณะของผู้ป่วย ก่อนทาการวินิจฉัยอาการผ่านจอมอนิเตอร์อย่างละเอียดอีกคร้ัง พร้ อม
กับให้คาแนะนาในการรักษากลับมายังเจ้าหน้าท่ีสถานีอนามัย เพื่อให้การรักษาพยาบาลเป็นไปอย่างถูกต้อง
และถูกวธิ ที ี่สดุ

รปู ที่ 7 ระบบแพทยท์ างไกล (telemedicine)

2. ระบบการปรึกษาแพทย์ทางไกล (medical consultation) เป็นระบบการปรึกษาระหว่าง
โรงพยาบาลชุมชนกับโรงพยาบาลท่ีมีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญผ่านสัญญาณดาวเทียม ซ่ึงสามารถส่งได้ทั้งข้อมูล ภาพ
ภาพเคลอื่ นไหว และเสียง

รูปท่ี 8 ระบบการปรกึ ษาแพทยท์ างไกล (medical consultation)

1.4 การประยกุ ต์ใชใ้ นงานดา้ นการสื่อสารและโทรคมนาคม

เทคโนโลยีของการสือ่ สารและโทรคมนาคมในปจั จบุ ันกาวไกลไปมาก มีบริการมากมายทีท่ นั สมัยและ
ตอบรับกับการนามาประยุกต์ใช้ในการดาเนินธุรกิจ ตัวอย่างการใช้โทรศัพท์ในปัจจุบันน้ีก็มิได้มีไว้เพียงสาหรบั
คุยสนทนาเพียงอย่างเดียวอีกต่อไป แต่มันสามารถช่วยงานได้มากข้ึน โดยอ้างอิงข้อมูลและการเปิดให้บริการ
ของบริษัท มตี ดิ ตอ่ สอ่ื สารผานดาวเทียมทงั้ ภาพและเสียง มโี ทรศัพทม์ ือถือรุ่นต่าง ๆ ออกมามากมาย พัฒนาท้ัง
หน่วยงานของภาครัฐและเอกชน เช่นเทเลคอม เอเชีย คอร์ปอร์เรชัน จากัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้วางแผนการ
ก่อสร้าง และติดตั้งขยายบริการโทรศัพท์พื้นฐาน 2.6 ล้านเลขหมาย ครอบคลุมพื้นท่ีในเขตกรุงเทพและ
ปริมณฑล รวมถงึ การซอ่ มบารุงรักษาเปน็ ระยะเวลา 25 ปี และเป็นหน่งึ ในผใู้ หบ้ รกิ ารในปัจจบุ ัน

รูปที่ 9 การประยุกตใ์ ชใ้ นงานดา้ นการส่อื สารและโทรคมนาคม

1.5 การประยุกตใ์ ช้ในสาขาอตุ สาหกรรมและการผลิต

โรงงานอุตสาหกรรมหลายแห่งนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดกา(Management Information
System-MIS) เข้ามาช่วยจดั การงานด้านการผลติ การสงั่ ซ้ือ การพสั ดุ การเงนิ บุคลากร และงานด้านอ่นื ๆ ใน
โรงงาน ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานอุตสาหกรรมเช่น อุตสาหกรรมการพิมพ์ อุตสาหกรรม
ประเภทน้ี ใช้ระบบการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Publishing) ในการจัดเตรียมต้นฉบับ วิดีโอเท็กซ์
วัสดุย่อส่วน และเทเลเท็กซ์ได้ รวมท้ังการพิมพ์ภาพโดยใช้เทอร์มินัลนาเสนอภาพ ( Visual Display
Terminal) ส่วนอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ มีการใช้คอมพิวเตอร์ออกแบบรถยนต์ ปฏิบัติการการผลิต (เช่น
การพ่นสี การเช่ือมอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ฯลฯ) การขับเคลื่อน การบริการ และการขาย รวมทั้งออกแบบ
ระบบคอมพิวเตอรใ์ ห้สามารถปฏิบตั ิงานในโรงงานไดใ้ นรปู แบบหุ่นยนต์

รูปที่ 10 การประยกุ ต์ใชใ้ นสาขาอุตสาหกรรมและการผลติ

1.6 การประยุกต์ใช้ในหน่วยงานราชการต่าง ๆ

สานักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ (Government Information Technology Services –
GITS) ลักษณะงานของสานักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ จะให้บริการเครือข่ายสารสนเทศ
ภาครฐั (Government Information Network) เพอ่ื ตอบสนองการบริหารงานสาหรบั หนว่ ยงานของภาครัฐได้
อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูง ส่งเสริมหน่วยงานภาครัฐให้มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการ
ดาเนินงานอันนาไปสู่การเป็น E-government และเป็นศูนย์กลางส่งเสริมให้เกิดระบบการเชื่อมโยงข่าวสาร
ระหว่างภาครัฐและประชาชน

สานกั งานอตั โนมัติ (Office Automation - OA) สานกั งานอัตโนมัติท่ีหน่วยงานของรัฐจัดทาขึ้นมีช่ือ
ว่า IT Model Office เป็นโครงการนาร่องที่จัดทาข้ึนเพ่ือพัฒนาระบบเครือข่ายพ้ืนฐานของภาครัฐ ในรูปของ
สานักงานอัตโนมัติ เช่น งานสารบรรณ งานจัดทาเอกสารและจัดส่งทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ งานแฟ้ม
เอกสาร งานบันทกึ การนัดหมายผู้บริหาร ซ่งึ ระบบงานทสี่ าคัญมีดงั นี้

1. ระบบนาเสนอขอ้ มลู ข่าวสารสาหรับผบู้ รหิ าร
2. ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แบบปลอดภัย ได้มีการนาเทคโนโลยีลายเซ็นดิจิทัล (Digital
Signature) เข้ามาชว่ ยในการยนื ยนั ผู้ส่งและยนื ยันความแท้จริงของอเี มล์

3. อินเทอร์เน็ตตาบล อินเทอร์เน็ตตาบล เป็นการวางระบบเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ตให้ตาบลต่าง ๆ ทั่ว
ประเทศสามารถเข้าใช้อินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพอันจะเป็นประโยชน์อย่างมากในด้านต่าง ๆ เช่น
หน่วยงานของรัฐ และองค์กรต่าง ๆ สามารถมีส่วนร่วมในการจัดทาและใช้ประโยชน์จากระบบอินเทอร์เน็ต
ตาบล โดยเฉพาะอย่างย่ิง หน่วยงานที่อยู่ ณ ตาบลและใกล้ชิดกับประชาชนก็จะมีความสาคัญและความ
รบั ผดิ ชอบในการจดั ทา ตรวจสอบและปรบั ปรงุ ข้อมูล รวมท้ังใหบ้ ริการแกก่ ลมุ่ ชนตา่ ง ๆ

รปู ท่ี 11 การประยกุ ต์ใชใ้ นหน่วยงานราชการต่าง ๆ

1.7 การประยกุ ตใ์ ชใ้ นสาขาดา้ นความมั่นคงของชาติและทางทหาร

ด้านกฎหมายและการปกครอง ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสรุปคดีทุกคดีว่าใครฟ้องใคร เร่ืองอะไร ศาล
ช้ันตน้ ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา ตัดสนิ ว่าอยา่ งไร เขา้ คอมพวิ เตอร์ท้งั หมด หลงั จากนน้ั คอมพวิ เตอร์ก็จะช่วยงานได้
หลายอย่าง เช่น ต้องการทราบว่ารัฐธรรมนูญฉบับไหนเหมือนหรือแตกต่างกับฉบับไหนมากน้อยเท่าใด ก็ให้
คอมพิวเตอร์ค้นหา และวิเคราะห์เปรียบเทียบพิมพ์ลงได้ หรือต้องการทราบว่าคดีแบบไหนเคยมีฟ้องร้องแล้ว
ศาลตดั สนิ อย่างไร ก็ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยหาใหก้ ็จะไดค้ าตอบภายในเวลาไม่ก่นี าที

ด้านรัฐสภา เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทสาคัญต่อการสนับสนุน และการดาเนินบทบาท
ด้านการพัฒนาประชาธิปไตยเป็นอย่างมากต่องานรฐั สภา ซ่ึงเปน็ หนว่ ยงานดา้ นนิติ-บญั ญตั ิ ตามบทบญั ญัติของ
รัฐธรรมนญู รฐั สภาไดม้ กี ารปรับปรุงระบบงานใหม่ พรอ้ มดงึ เอาคอมพวิ เตอร์เข้ามาใช้ในกิจการงานสภา ศกึ ษา
วิเคราะห์ระบบงานรัฐสภาทั้งหมดและจัดต้ังศูนย์คอมพิวเตอร์ ขึ้นมากากับดูแลงานด้านคอมพิวเตอร์ พร้อม
พัฒนาฐานข้อมูลรัฐสภาข้ึนระหวา่ งปีพ.ศ. 2535-2540

ด้านการทหารและกองบัญชาการทหารสูงสุด การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในด้าน
การทหารแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ด้านการส่ือสาร และภูมิศาสตร์ มีการนาดาวเทียมทหารมาใช้เพ่ือ
กิจการด้านความมั่นคงทางทหาร เพราะสามารถส่งข้อมูลข่าวสารซึ่งเป็นความลับเก่ียวกับความม่ันคงของชาติ
โดยเฉพาะด้านการทหารซ่งึ ไม่สามารถเปดิ เผยข้อมูลได้

การถ่ายภาพภูมิศาสตร์ จาลองลกั ษณะภมู ิศาสตรใ์ นภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของประเทศ เพ่ือความสะดวก ใน
การจัดทายทุ ธภมู ิและการวางแผนปอ้ งกันประเทศ

- ได้นาเทคโนโลยีมาใช้ในการประดิษฐ์อาวุธที่ทันสมัย สามารถกาหนดพิกัดการยิงโดยเคร่ือง
คอมพวิ เตอรใ์ นการคานวณระยะทางและวิถีการตกของระเบิดได้อย่างถูกต้องและแม่นยา

- ทางด้านการทหารได้นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กับเคร่ืองตรวจจับ อาวุธสงคราม รวมถึง
เคร่ืองบนิ ท่รี กุ ล้าเข้ามาใน เขตน่านฟา้ ของประเทศไทย

- มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดเก็บข้อมูลด้านความปลอดภัยเก่ียวกับข้อมูลผู้ไม่ประสงค์ดีต่อ
ประเทศไทย มาสรา้ งเปน็ แบบจาลองการป้องกนั ประเทศ

รูปท่ี 12 การประยุกต์ใชใ้ นสาขาด้านความมั่นคงของชาตแิ ละทางทหาร

1.8 การประยกุ ต์ใชใ้ นสาขาบันเทิง

ด้านความบันเทิงได้นานวัตกรรมด้านเทคโนโลยีและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ก่อให้เกิดรูปแบบ
ของ “อีซีนีมา(E-cinema) เป็นการบริการสมาชิกหรือลูกค้าแบบออนไลน์ เช่น การจองตั๋วหนังออนไลน์ การ
เลือกท่ีน่ังผ่านทางเว็บไซต์ และชาระค่าบริการผ่านทางบตั รเครดิต นอกจากการจองในระบบออนไลน์แล้ว ยัง
สามารถใช้บรกิ ารในระบบโทรศพั ทไ์ ดอ้ กี ด้วย

ฟังเพลง (Music) ระบบคอมพิวเตอร์ปัจจุบันมีความทันสมัยมากท่ีเรียกกันว่า มัลติมีเดีย
(Multimedia) หรือสื่อผสม ซ่ึงมีท้ังข้อความ รูปภาพ เสียง ภาพเคล่ือนไหวต่าง ๆ อยู่ในน้ัน สามารถฟังเพลง
และวิทยุแบบสดๆ ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ บางคร้ังระบบน้ีจะเรียกว่า Audio บนเว็บไซต์ ตัวอย่าง
การประยุกต์ใช้งานของระบบ Audio น้ี จะมีท้ังเสียงเพลง เสียงพูด และเสียงอ่ืน ๆ ซ่ึงจะประกอบด้วยไฟล์
เสียง ที่ สามารถดาวน์โหลดไปฟังยังเคร่ืองคอมพิวเตอร์ได้ รูปแบบของไฟล์เสียงจะมีการจัดเก็บเอาไว้หลาย
ลกั ษณะ เช่น MP3, WAV, WMA (Windows Media Audio), MPEG, RealAudio, Quick Time เปน็ ตน้

โรงภาพยนตร์และฟิล์ม (Theater and Film) ในระบบคอมพิวเตอร์น้ัน สามารถเปิดดูภาพยนตร์ได้
และในคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค (Notebook) บางเคร่ืองมีกล้องดิจิตอลติดมาด้วย สามารถจะใช้ถ่ายภาพและ
บันทึกวิดีโอได้ เม่ือถ่ายเสร็จแล้ว สามารถย้อนกลับมาดูได้ ภาพไหนท่ีไม่ชัดก็ลบทิ้งได้ นอกจากนั้น ยังสามารถ
ดาวน์โหลดภาพยนตร์ท้ังเก่าและใหม่มาดูได้ ในปัจจุบันมีหลายเว็บไซต์ ที่ได้รวบรวมเอาความสนุกสนาน
เพลิดเพลินมารวมเอาไว้ ตัวอย่างเช่น คุณสามารถที่จะเข้าไปดูและฟังเพลง จากนักเล่นดนตรีทั้งในอดีตและ
ปัจจุบันได้ โดยเข้าไปสู่ห้องเกียรติยศ และพิพิธภัณฑ์ของ Rock and Roll ( http://rockhall.com) หรือถ้า
หากคุณต้องการท่จี ะเข้าไปดรู ายการภาพยนตรท์ ่ีคณุ ชื่นชอบล่าสดุ ท่ีเพ่ิงเข้ามาใหม่ คุณก็สามารถเข้าไปดูได้ที่ E!
Online and Entertainment ซ่ึงในน้ี จะมีลักษณะช่วยจัดการดูแลเรื่องรายการภาพยนตร์ท่ีจะออกทาง

โทรทศั น์ และยอดภาพยนตรท์ จี่ ะออกฉายในโรง ระบบภาพยนตร์บนอนิ เตอร์เน็ตจะบรรจไุ ปด้วยฐานข้อมูลของ
รายการภาพยนตรท์ ่ฉี ายมาแลว้ และยงั ไม่ได้ฉายมากกวา่ 400,000 เรือ่ งทีเดียว สาหรบั เว็บไซต์ทางด้านให้

ความบันเทิง ในส่วนของฟิล์ม เม่ือนากล้องดิจิตอล หรือวิดีโอดิจิตอลถ่ายรูปมาแล้ว ปัจจุบันสามารถ
เสยี บต่อเข้าเครือ่ งคอมพวิ เตอรไ์ ด้เลย แตถ่ ้าไม่ได้ใช้กล้องหรือวิดโี อทเี่ ปน็ ระบบดจิ ติ อล ต้องใช้โปรแกรมสาหรับ
การตัดต่อฟลิ ม์ เชน่ โปรแกรม Adobe Premiere เปน็ ตน้

ละครเวทีเป็นบทความเกยี่ วกับ ภาพยนตร์ ดนตรี หรอื การบนั เทงิ ทย่ี ังไม่สมบรู ณ์ ต้องการตรวจสอบ
เพม่ิ เน้ือหาหรอื เพิม่ แหล่งอา้ งอิง คุณสามารถชว่ ย เพือ่ ให้สมบูรณม์ ากข้นึ

ละครเวที (play หรือ stageplay) ประพันธ์บทโดยนักเขียนบทละคร เป็นรูปแบบของ
วรรณกรรม โดยมากมกั จะมีบทพูดกนั ระหวา่ งตัวละครซงึ่ มีลักษณะการแสดงมากกว่าการอ่าน ละครเวทมี ีความ
แตกต่างจากละครเพลงซึ่งเน้นการร้องมากกว่า คาดกันว่าละครเวทีมีมาตั้งแต่สมัยกรีก อริสโตเติลบันทึกไว้ว่า
ละครของกรีก เร่ิมต้นข้ึนจากการกล่าวคาบูชาเทพเจ้าไดโอนีซุส เทพเจ้าแห่งไวน์และความอุดมสมบูรณ์และมี
อกี มากมายท่ีนาเทคโนโลยมี าประยกุ ต์ใชใ้ นการบันเทิง

การอ่าน เป็นการรับรู้สารโดยการดูตัวหนังสือจากการเขียน ในทางคอมพิวเตอร์ การอ่านหมายถึง
การนาข้อมลู ท่เี กบ็ ไว้ในหนว่ ยความจาออกมาอีกด้วย

เคร่ืองรับวิทยุเป็นเคร่ืองมือสื่อสารทางเดียวชนิดหน่ึง ทาหน้าที่รับและเลือก คล่ืนวิทยุจาก
สายอากาศ แล้วนาไปสู่ภาคขยายต่อไป โดยมีช่วงความถ่ีของคล่ืนท่ีกว้าง แล้วแต่ประเภทของการใช้งาน
โดยทั่วไป คาว่า “เครื่องวิทยุ” มักจะใช้เรียกเคร่ืองรับสัญญาณความถ่ีกระจายเสียง เพื่อส่งข่าวสาร และความ
บันเทงิ โดยมียา่ นความถีห่ ลักๆ คือ คล่นื สน้ั คลืน่ กลาง และคล่นื ยาว

รปู ที่ 13 การประยกุ ต์ใชใ้ นสาขาบันเทิง

2. การสบื คน้ ข้อมลู สารสนเทศ

อินเทอร์เนต็ คอื ระบบเครือขา่ ยนานาชาติเกดิ จากเครือข่ายย่อย ๆ มีบรกิ ารมากมายสาหรับทุกคนท่ี
ติดต่ออินเทอร์เน็ตสามารถใช้อินเทอร์เน็ตส่งจดหมายคุยกับเพื่อน ๆ คัดลอกแฟ้มข้อมูล และโปรแกรมจาก
คอมพิวเตอรเ์ ครื่องอ่ืนรวมทงั้ ค้นหาข้อมูลสารสนเทศจากแหล่งข้อมูลท่วั โลก

รปู ท่ี 14 การสืบคน้ ข้อมูลสารสนเทศ

2.1 การสืบค้นขอ้ มลู ด้วย GOOGLE

1. Google Search เป็นเคร่ืองมือที่ให้บริการค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine) ของ
เว็บไซต์ Google.com ท่ีโด่งดังที่สุดในปัจจุบันครับ ผู้ใช้งานเพียงเข้า เว็บไซต์ www.Google.com จากน้ัน
พิมพ์คาหรือข้อความ( Keyword) เก่ียวกับเร่ืองท่ี ต้องการค้นหา เพียงช่ัวอึดใจหลังกดปุ่ม Enter Google
Search ก็จะแสดงเว็บไซต์ ทั้งหมดท่ีเก่ียวข้องกับ Keyword เหล่านั้นทันที ไม่เฉพาะแต่เพียงการค้นหาข้อมูล
ในรูปของเว็บไซต์ เท่านั้น Google Search ยังสามารถ ค้นหาข้อมูลที่เป็นไฟล์รูปภาพ(Images) , กลุ่มข่าว
( News Groups) และ สารบบเวบ็ ( Web Directory)

รูปที่ 15 Google Search

2. รูปแบบการค้นหาข้อมูลด้วย Google ที่ควรทราบ การค้นหาโดยทั่วไปส่วนใหญ่แล้วจะใช้
Keyword เป็นเคร่ืองมือในการน าทางการค้นหา อย่างเดียว แต่ถ้าผู้ใช้รู้จักใช้เคร่ืองหมายบางตัวร่วมด้วย ก็
จะท าให้ขอบเขตการค้นหา ของ Google แคบลง ทาให้ผู้ใช้ได้ข้อมูลท่ีตรงกับความต้องการมากข้ึน
เคร่ืองหมายท่ี สามารถนามาชว่ ยในการค้นหาได้ มีดังน้ี

- การใช้เคร่ืองหมายบวก (+) เชอ่ื มคา โดยปกติ Google จะไมใ่ สใ่ จในในการค้นหาข้อมูลจากการพิมพ์
Keyword ประเภท Common Word( คาง่ายๆ ) เช่น at, with, on, what, when, where, how, the, to,
of แต่เนื่องจากเป็นบางครั้งคาเหล่านี้เป็นคาสาคัญของประโยคท่ีผู้ใช้จาเป็น ต้องค้นหา ดังนั้นเครื่องหมาย +
จะช่วยเชื่อมคา โดยมีเงื่อนไข ว่า ก่อนหน้าเคร่ืองหมาย + ต้องมี การเว้นวรรค 1 เคาะด้วย เช่น หากต้องการ
ค้นหาเว็บไซต์เก่ียวกับเกมส์ที่มีชื่อว่า Age of Empire ถ้าผู้ใช้พิมพ์ Keyword Age of Empire Google ก็จะ
ทาการคน้ หาแยกคาโดย ไม่สนใจคาว่า of และจะคน้ หาคาว่า Age หรอื Empire เพียงสองคา แต่ถ้าผูใ้ ช้ระบุว่า
Age +of Empire Google จะทาการคน้ หาท้ังคาว่า Age, of และ Empir

รูปที่ 16 การใช้เครื่องหมายบวก
- ตัดบางคาท่ีไม่ต้องการค้นหาด้วยเคร่ืองหมายลบ ( - ) จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถตัดเรื่องที่ผู้ใช้ไม่
ต้องการ หรือไม่เก่ียวข้องออกไปได้ เช่น ถ้าผู้ใช้ ต้องการค้นหาเว็บไซต์ที่เก่ียวกับการ ล่องแก่ง แต่ไม่ต้องการ
การล่องแก่งที่เก่ียวข้อง กับจังหวัดตาก ให้ผู้ใช้พิมพ์ Keyword ว่า ล่องแก่ง -ตาก (เช่นเดียวกับเครื่องหมาย +
ต้องเว้นวรรคก่อนหน้าเครื่องหมายด้วย) Google จะท าการค้นหาเว็บไซต์ท่ีเก่ียวกับการ ล่องแก่ง แต่ไม่มี
จงั หวัดตากเขา้ มาเก่ยี วขอ้ ง

รปู ที่ 17 การค้นหาด้วยเครอื่ งหมายลบ

- การค้นหาด้วยเครื่องหมายคาพูด ("...") เหมาะสาหรับการค้นหาคา Keyword ท่ีมีลักษณะเป็น
ประโยควลีหรือกลุ่มคา ที่ผู้ใช้ ต้องการให้แสดงผลทุกคาในประโยค โดยไม่แยกคา เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการหา
เว็บไซต์ เก่ียวกับเพลงท่ีมีช่ือว่า If I Let You Go ให้พิมพ์ว่า " If I Let You Go" Google จะทาการค้นหา
ประโยค " If I Let You Go" ท้งั ประโยคโดยไมแ่ ยกคาค้นหา

รปู ที่ 18 การคน้ หาดว้ ยเครื่องหมายคาพดู
- ไมต่ ้องใช้คาว่า " AND" ในการแยกคาค้นหา แตเ่ ดมิ การใช้ Keyword ทมี่ ากกวา่ 1 คาในการค้นหา
เว็บไซต์แบบแยกคา ผู้ใช้ จาเป็นต้องใช้ AND ในการแยกคาเหล่านั้น ปัจจุบันไม่ต้องใช้ AND แล้ว เพราะ
Google จะทาการแยกคาให้โดยอัตโนมัติเมื่อผู้ใช้ทาการเว้นวรรคคาเหล่าน้ัน เช่น ถ้า ผู้ใช้พิมพ์คาว่า Thai
Travel Nature เม่ือคลิกปุ่มค้นหา ก็จะพบว่าในรายช่ือหรือ เนื้อหาของเว็บท่ีปรากฏจะมีคาว่า Thai ,Travel
และ Nature อย่ใู นนนั้ ด้วย

รปู ท่ี 19 Thai Travel Nature
- Google จะไม่ใส่ใจใน Common Word คาศัพท์พ้ืน ๆ อย่าง the, where, is, how, a, to และ
อื่น ๆ รวมท้ังตัวเลขและตัวอักษร เด่ียว ๆ Google มักไม่ให้ความสาคัญและใส่ใจท่ีจะค้นหาครับ เน่ืองจาก
เครื่องมือท่ี Google ใชจ้ ัดเก็บและรวบรวมเว็บท่ัวโลกจะค่อนข้างเสียเวลาในการเก็บรวบรวมเว็บที่มี คาเหล่านี้
(ซึ่งมีเยอะมาก ๆ) แต่ถ้าหากจาเป็น ผู้ใช้จะต้องใช้เครื่องหมาย " + " ในการ เชื่อมคาเหล่าน้ีด้วย หรืออีกทางก็
คอื ผูใ้ ช้อาจจะระบุคาท่ตี ้องค้นหาท้ังหมดในรปู ของวลภี ายใต้เคร่อื งหมาย " ……. "

2.2 การสบื คน้ เพอื่ เข้าสู่เวบ็ ไซต์ของนกั เรยี น

1.เลือกท่ีไอคอน google chrome

รูปที่ 20 ไอคอน google chrome
2.พิมพช์ ่ือเวป็ ไซต์ท่ีต้องการลงบน google

รูปท่ี 21 เวป็ ไซต์ที่ตอ้ งการลงบน google
3. เลอื กท่เี วป็ ไซต์ทีค่ ้นหา

รปู ท่ี 22 เวป็ ไซต์ทค่ี ้นหา

2.3 ความหมายของการสืบคน้ ขอ้ มูล

การสืบค้นสารสนเทศ (Information retrieval) คือ กระบวนการค้นหาสารสนเทศที่ต้องการ โดยใช้
เคร่อื งมอื สืบค้นสารสนเทศท่สี ถาบันบรกิ ารสารสนเทศจัดเตรยี มไวใ้ ห้
การสืบค้นสารสนเทศ แบง่ ออกเปน็ 2 วิธี

1. การสบื คน้ สารสนเทศดว้ ยระบบมอื (Manual system)
2. การสืบค้นสารสนเทศดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์ (Computer system)
การสืบค้นสารสนเทศด้วยระบบมือ สามารถกระทาได้โดยผ่านเครื่องมือหลายประเภท เช่น
บัตรรายการ บัตรดรรชนีวารสาร บรรณานุกรม เป็นต้น ในที่น้ีจะกล่าวถึงเฉพาะบัตรรายการแ ละ
บัตรดรรชนีวารสารเท่าน้ัน การสืบค้นสารสนเทศด้วยระบบคอมพิวเตอร์ สามารถกระทาได้โดยผ่านอุปกรณ์
คอมพวิ เตอรใ์ นการค้นหาข้อมูลจากฐานขอ้ มลู ต่าง ๆ ได้แก่ ฐานข้อมลู โอแพก็ ฐานขอ้ มลู ซีดรี อม
ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานขอ้ มูลบนอินเทอรเ์ นต็

รปู ท่ี 23 ความหมายของการสบื คน้ ขอ้ มลู

2.4 ประเภทการสืบค้นขอ้ มลู

การคน้ หาข้อมูลบนอนิ เตอร์เนต็ สามารถแบง่ ตามลักษณะการทางานได้ 3 ประเภท คอื
Seach Engine การคน้ หาข้อมลู ด้วยคาทีเ่ จาะจง เปน็ เวบ็ ไซต์ที่ชว่ ยในการคน้ หาข้อมูลโดยใช้

โปรแกรมชว่ ยในการคน้ หาท่ีเรียกวา่ Robot ทาหนา้ ที่รวบรวมขอ้ มลู เก่ียวกับเวบ็ ไซต์ในอนิ เตอร์เน็ตมาเกบ็ ไว้ใน
ฐานขอ้ มลู ซ่งึ การคน้ หาขอ้ มูลรูปแบบนจี้ ะชว่ ยใหส้ ามารถค้นหาขอ้ มลู ไดต้ รงกบั ความต้องการเฉพาะได้ระบคุ าท่ี
เจาะจงลงไป เพ่ือใหโ้ รบอตเป็นตวั ชว่ ยในการคน้ หาข้อมูลซึ่งเป็นรปู แบบทเ่ี ป็นท่นี ยิ มมาก
เช่น www.google.com

รปู ท่ี 24 Seach Engine
Search Directories การค้นหาข้อมูลตามหมวดหมู่ การค้นหาข้อมูลตามหมวดหมู่โดยมีเว็บไซต์ท่ี
เป็นตัวกลางในการรวบรวมข้อมูลในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยจัดข้อมูลเป็นหมวดหมู่เพื่อให้ผู้ใช้สามารถ
เลือกข้อมูลตามท่ีต้องการได้โดยการจัดหมวดหมู่ของข้อมูลจะจัดตามข้อมูลที่คล้ายกัน หรือเป็นประเภท
เดียวกนั นามารวบรวมไว้ในกล่มุ เดยี วกนั ลักษณะการค้นหาข้อมูล Search Directories จะทาใหผ้ ใู้ ชส้ ะดวกใน
การเลอื กข้อมลู ทีต่ ้องการค้นหา และทาให้ได้ข้อมูลตรงกับความต้องการการคน้ หาวิธนี ้ี มขี ้อดีคือ สามารถเลือก
จากชื่อไดเร็กทอรี่ส์ท่ีเก่ียวข้องกับสิ่งที่ต้องการค้นหา และสามารถท่ีจะเข้าไปดูว่ามีเว็บไซต์ใด้บ้างได้ทันที
เชน่ www.sanook.com

รปู ที่ 25 Search Directories
การคน้ หาจากหมวดหมู่ หรือ Directories การให้บริการค้นหาข้อมูลด้วยวิธนี ี้ เปรยี บเสมือนเราเปิด
หนา้ ต่างเขา้ ไปในห้องสมดุ ซ่งึ ไดจ้ ัดหมวดหมูข่ องหนังสือไว้แล้ว และเรากไ็ ด้เดินไปยังหมวดหมขู่ องหนังสือท่ี
ต้องการ ซงึ่ ภายในหมวดหมใู่ หญ่นั้น ๆ ยังประกอบดว้ ยหมวดหมู่ย่อย ๆ เพ่ือให้ได้ข้อมูลทช่ี ัดเจนย่ิงข้นึ หรอื
แบง่ ประเภทของข้อมลู ให้ชัดเจน เรากจ็ ะสามารถเข้าไปหยิบหนังสอื ทต่ี ้องการได้ แลว้ ก็เปดิ เขา้ ไปอ่านเนื้อหา
ขา้ งในของหนงั สือเลม่ นนั้ วิธีนจี้ ะช่วยใหก้ ารคน้ หาข้อมูลได้ง่ายขนึ้ มีเวบ็ ไซต์มากมายที่ให้บรกิ ารการค้นหา
ข้อมลู ในรูปแบบนี้

รูปท่ี 26 การค้นหาจากหมวดหมู่

2.5 ประเภทของ SEARCH ENGINE

SEARCH ENGINE มี 3 ประเภท (โดยทั่ว ๆ ไปแล้วจะมีการแบ่งออกเป็นหลาย ๆ ประเภทด้วยกัน แต่พอสรุป
ได้เพียง 3 ประเภทหลกั ๆ ดังทจ่ี ะนาเสนอต่อไปน้ี
ประเภทท่ี 1 CRAWLER BASED SEARCH ENGINES
Crawler Based Search Engines คือ เคร่ืองมือการค้นหาบนอินเทอร์เน็ตแบบอาศัยการบันทึกข้อมูล และ
จัดเก็บข้อมูลเป็นหลัก ซ่ึงจะเป็นจาพวก Search Engine ท่ีได้รับความนิยมสูงสุด เนื่องจากให้ผลการค้นหา
แมน่ ยาที่สุด และการประมวลผลการค้นหาสามรถทาได้อย่างรวดเร็ว จึงทาให้มบี ทบาทในการค้นหาข้อมูลมาก
ท่สี ดุ ในปจั จบุ ัน
โดยมีองคป์ ระกอบหลกั เพยี ง 2 สว่ นด้วยกัน คือ
1. ฐานขอ้ มลู
2. ซอฟตแ์ วร์
ตัวอยา่ งของ CRAWLER BASED SEARCH ENGINE คือ GOOGLE

รปู ท่ี 27 CRAWLER BASED SEARCH ENGINE

ประเภทที่ 2 WEB DIRECTORY หรอื BLOG DIRECTORY
web directory หรอื Blog Directory คอื สารบญั เว็บไซตท์ ่ีให้คุณสามารถค้นหาขา่ วสารขอ้ มลู ด้วย

หมวกหมู่ข่าวสารข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกันในปริมาณมาก ๆ คล้าย ๆ กับสมุดหน้าเหลืองซ่ึงจะมีการสร้าง ดรรชนี
มกี ารระบุหมวดหมู่อย่างชดั เจน ซ่ึงจะช่วยใหก้ ารค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ตามหมวดหมู่น้ัน ๆ ไดร้ บั การเปรียบเทียบ
อ้างอิง เพื่อหาข้อเท็จจริงได้ในขณะที่เราค้นหาหมวดหมู่เดยี วกันให้เราเลือกท่ีจะหาข้อมูลได้ อย่างตรงประเดน็
ทสี่ ุด (ลดระยะเวลาไดม้ ากในการค้นหา) ซง่ึ จะขอยกตัวอย่างมาดงั นี้

1. ODP หรือ Dmoz ที่หลาย ๆ คนรู้จักซึ่งเป็น Web Directory ท่ีใหญ่ที่สุดในโลก Search Engine
หลาย ๆ แห่งก็ใช้ข้อมูลจากที่แห่งน้ีเกือบท้ังสิ้น เช่น Google, AOL, Yahoo, Netscape และ อ่ืน ๆ อีก
มากมาย

2. สารบัญเว็บไทย SANOOK ก็เป็น Web Directory ที่มีชื่อเสียงอีกเช่นกัน และเป็นที่รู้จักมากท่สี ุด
ในเมอื งไทย

3. Blog Directory อยา่ ง BlogFlux Directory ท่มี กี ารเกบ็ ขอ้ มลู เกี่ยวกบั บล็อกมากมายตามหมวดหมู่
ต่าง ๆ หรือ Blog Directory อน่ื ๆ ทส่ี ามารถหาได้จาก Make Many แหง่ น้ี

รปู ที่ 28 WEB DIRECTORY
ประเภทท่ี 3 META SEARCH ENGINE

Meta Search Engine คือ Search Engine ท่ีใช้หลักการในการค้นหาโดยอาศัย Meta Tag ในภาษา
HTML ซึ่งมรการประกาศชุดคาส่ังต่าง ๆ เป็นรูปแบบของ Tex Editor ด้วยภาษา HTML นั้นเองเช่น
ชื่อผู้พฒั นา คาคน้ หา เจา้ ของเว็บ หรือบลอ็ ก คาอธิบายเว็บหรอื บลอ็ กอยา่ งยอ่

รปู ที่ 29 META SEARCH ENGINE

2.6 ประโยชนข์ อง SEARCH ENGINE

Search Engine น้ันมีประโยชน์อย่างมากในการค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต และเป็นเหมือน
ตวั กลางในการเช่ือมต่อระหว่างผู้ใช้งานและเว็บไซต์ ปัจจบุ ันผูใ้ ช้งานส่วนใหญ่ใช้งาน Search Engine มากกว่า
การเข้าเว็บไซต์โดยตรง เพราะเว็บไซต์ในระบบอินเตอร์เน็ตมรมากมายหลายเว็บไซต์ ซ่ึงไม่สามารถที่จะรู้ได้ว่า
ขอ้ มูลทีต่ ้องการนน้ั อยู่เวบ็ ไซตใ์ ด เพราะฉะน้ัน Search Engine จึงมปี ระโยชนม์ ากมาย ดังนี้

1. สามารถคน้ หาเวบ็ ไซต์ท่ีตอ้ งการไดส้ ะดวก รวดเรว็
2. สามารถค้นหาแบบเจาะลึกไดห้ มวู่ า่ จะเปน็ รปู ภาพ ข่าว MP3 วดิ ีโอ แผ่นที่ และอน่ื ๆ
3. สามารถค้นหาจากเว็บไซตเ์ ฉพาะทางที่มกี ารจัดทาไว้
4. มคี วามหลากหลายในการค้นหาข้อมูล
5. รองรับการคน้ หาภาษาไทย

2.7 รปู แบบและวธิ กี ารสืบคน้ ข้อมูลสารสนเทศ

1. กาหนดวัตถุประสงค์การสืบค้น ผู้สืบค้นหรือผู้วิจัยที่จะนาข้อมูลสารสนเทศไปใช้ ควรตั้ง
วัตถปุ ระสงค์การสืบค้นที่ชัดเจน ทาใหส้ ามารถกาหนดขอบเขตของแหลง่ ข้อมลู สารสนเทศท่จี ะสืบค้นใหแ้ คบลง
กาหนดประเภทของเคร่ืองมือหรือโปรแกรมสาหรับการสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต ท่ีเรียกว่า Search Engine ให้
เหมาะสม กาหนดชว่ งเวลาท่ขี ้อมูลสารสนเทศถูกสร้างขึน้ เช่น ช่วงปีทต่ี ีพิมพ์ของวารสารอิเล็กทรอนกิ ส์

ทั้งนเ้ี พือ่ ใหผ้ ลการสบื ค้นมีปรมิ าณไม่มากเกนิ ไป มีความตรง (Validity) ตามวัตถปุ ระสงค์ และมีความ
นา่ เช่อื ถือ (Reliability) มากท่ีสุดอีกทง้ั ยังสามารถสืบคน้ ไดผ้ ลในเวลาอันรวดเรว็

2. ประเภทของขอ้ มลู สารสนเทศทส่ี ามารถสืบค้นได้ ขอ้ มลู สารสนเทศท่ีอย่บู นอนิ เทอร์เน็ตมีมากมาย
หลายประเภท มีลกั ษณะเป็นมัลตมิ เี ดยี คือ มที ้ังทีเ่ ป็นขอ้ ความ (Text) ภาพวาด (Painting) ภาพเขียนหรือภาพ
ลายเสน้ (Drawing) ภาพไดอะแกรม (Diagram) ภาพถา่ ย (Photograph) เสียง (Sound) เสียงสงั เคราะห์ เชน่
เสยี งดนตรี (Midi) ภาพยนตร์ (Movie) ภาพเคลอื่ นไหวอะนิเมชัน (Animation)

จากเทคโนโลยีการสืบค้นท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน การสืบค้นท่ีเร็วท่ีสุด มีประสิทธิภาพท่ีสุด และแพร่หลาย
ที่สุด คือ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศประเภทข้อความ สาหรับการสืบค้นข้อมูลที่เป็นภาพ ( Pattern
Recognition) และเสยี ง ยงั มขี อ้ จากัดอยู่มาก ใชเ้ วลานาน และยงั ไม่มีประสิทธภิ าพ จึงยงั ไม่มีการสืบคน้ ข้อมูล
ประเภทอ่ืน ๆ นอกจากประเภทขอ้ ความในการให้บริการการสบื ค้นบนอนิ เทอร์เน็ต

3. การสืบค้นต้องอาศัยอุปกรณ์และความรู้ ก่อนท่ีผู้สืบค้นจะสามารถสืบค้นข้อ มูลสารสนเทศทาง
อินเทอร์เน็ตได้ ต้องมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ดังต่อไปนี้ คือ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่อเข้าอินเทอร์เน็ตซ่ึง
อาจเป็น Modem ในกรณีท่ีใช้คู่กับสายโทรศัพท์ หรือแผ่น LAN Card ในกรณีท่ีใช้คู่กับระบบเครือข่ายที่ได้รับ
การติดตั้งไว้แล้ว ซอฟต์แวร์การสื่อสาร (Communication Software) เช่น Dial-up Networking ในกรณีใช้
Modem หรือมกี ารตดิ ตงั้ Network Protocol ทเี่ หมาะสมกับระบบเครือข่ายท่ีเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นตดิ ตั้งอยู่
และติดต้ัง Network Adapter ที่เหมาะสมสาหรับ LAN Card น้ัน ๆ ต้องสมัครเป็นสมาชิกขององค์การหรือ
บริษัทผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider หรือ ISP) เพ่ือเป็นช่องทางออกสู่อินเทอร์เน็ต

นอกจากอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้นแล้วยังต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการใช้งาน
คอมพิวเตอร์ ( Computer Literacy) ความรู้ภาษาอังกฤษเน่ืองจากข้อมูลสารสนเทศส่วนใหญ่ในอินเทอร์เน็ต
เป็นภาษาองั กฤษ และยงั ต้องมกี ารจดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสมอีกดว้ ย

4. บริการบนอินเทอร์เน็ต บริการบนอินเทอร์เน็ตท่ีสามารถใช้ช่วยในการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศมี
มากมายหลายบริการ เช่น บริการเครือข่ายใยแมงมุมโลก หรือ Word-Wide-Web (WWW) บริการค้นหา
ข้อมูล Gopher บริการการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อการวิจัย ค้นหาโปรแกรมใช้
งาน Archie นอกจากนี้ อาจใช้บรกิ ารสอบถามผ่านทาง E-mail หรือ Chat กบั ผใู้ ชง้ านอินเทอร์เน็ตอนื่ ๆ หรือ
สอบถามผ่าน News Group หรือ Group/Thread Discussion กไ็ ด้

เมื่อค้นได้แหล่งข้อมูลแล้วอาจ download หรือถ่ายโอนข้อมูลที่สืบค้นได้โดยใช้บริการถ่ายโอน
ไฟล์ข้อมลู และโปรแกรม (File Transfer Protocol หรอื FTP) โดยทวั่ ไปในปัจจุบนั การสืบค้นขอ้ มูลสารสนเทศ
ทางอินเทอร์เน็ต นิยมใช้โปรแกรม Web Browsers เช่น Internet Explorer หรือ Netscape แล้วเรียกใช้
บริการ www ประกอบกับการใช้ Search Engine ซ่ึงมีอยู่มากมายบนอินเทอร์เน็ตในการสืบค้น เมื่อสืบค้นได้
แล้ว โปรแกรม Web Browsers มักจะมบี รกิ าร Download ได้ทนทโี ดยไมต่ ้องอาศัยโปรแกรมอ่ืน ๆ เข้าชว่ ย

5. เครื่องมือหรือโปรแกรมสาหรับการสืบค้น เคร่ืองมือหรือโปรแกรมสาหรับการสืบค้น (Search
Engine) มอี ยู่มากมายและมีให้บริการอยตู่ ามเว็บไซต์ตา่ ง ๆ ทใ่ี ชบ้ รกิ ารการสบื คน้ ข้อมูลโดยเฉพาะ การเลือกใช้
นั้นข้ึนกับประเภทของข้อมูล สารสนเทศที่ต้องการสืบค้น Search Engine ต่าง ๆ จะให้ข้อมูลท่ีมีความลึกใน
แง่มุมหรือศาสตร์ต่าง ๆ ไม่เท่ากัน ตัวอย่าง Search Engine ท่ีนิยมใช้มีท้ังเว็บไซต์ท่ีเป็นของต่างประเทศ
และของไทยเอง

แหล่งอา้ งอิง

sites.google.com การประยุกต์ใชใ้ นงานด้านการศกึ ษา [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา
https://sites.google.com/site/kroonom/kar-prayukt-chi-the (21 มกราคม 2564)

sites.google.com การประยุกตใ์ ช้ในสาขาอตุ สาหกรรมและการผลิต [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา
https://sites.google.com/site/thekhnoloyisarsntheskhxngthiy (21 มกราคม 2564)

belle050blog.wordpress.com การประยุกตใ์ ช้ในสาขาบันเทิง [ระบบออนไลน์] แหลง่ ที่มา
https://belle050blog.wordpress.com (21 มกราคม 2564)

sites.google.com การสบื ค้นข้อมลู สารสนเทศ [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา
https://sites.google.com/site/karsubkhnkhxmulsarsnthes2 (21 มกราคม 2564)

www.cvc.ac.th การสืบคน้ ข้อมูลด้วย GOOGLE [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา
http://www.cvc.ac.th/cvc2011/files/161216044474363_17030218182504.pdf
(21 มกราคม 2564)

sites.google.com การสืบคน้ เพ่อื เข้าสูเ่ ว็บไซต์ของนกั เรียน [ระบบออนไลน์] แหล่งท่ีมา
https://sites.google.com/site/magunchao420555/home/kar-subkhn-pheux
(21 มกราคม 2564)

sites.google.com ความหมายของการสืบคน้ ข้อมูล [ระบบออนไลน์] แหลง่ ท่ีมา
https://sites.google.com/site/magunchao420555/home/khwam-hmay-khxng
(21 มกราคม 2564)

sites.google.com ประเภทการสบื ค้นขอ้ มูล [ระบบออนไลน์] แหลง่ ที่มา
https://sites.google.com/site/magunchao420555/home/prapheth-kar-subkhn-khxmul
(21 มกราคม 2564)

natdamart.wordpress.com ประเภทของ SEARCH ENGINE [ระบบออนไลน์] แหล่งท่ีมา
https://natdamart.wordpress.com/2016/09/22 search-engine (21 มกราคม 2564)

sites.google.com ประโยชน์ของ SEARCH ENGINE [ระบบออนไลน์] แหลง่ ทีม่ า
https://sites.google.com/site/anuwatro75/prayochn-khxng-search-engine
(21 มกราคม 2564)

sites.google.com รูปแบบและวิธีการสืบคน้ ข้อมลู สารสนเทศ [ระบบออนไลน์] แหล่งทมี่ า
https://sites.google.com/site/binganthi159exe/bth-thi-3-kar-subkhn-khxmul
(21 มกราคม 2564

หน่วยที่ 7
การประยุกตใ์ ชร้ ะบบประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ

(Cloud Computing) ในงานเลขานุการ


Click to View FlipBook Version