The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อมรรัตน์ ตันธะดา, 2021-03-11 11:39:52

รูปเล่ม

รูปเล่ม

การประยกุ ต์ใชร้ ะบบประมวลผลแบบกล่มุ เมฆ
(Cloud Computing) ในงานเลขานุการ

เสนอ

ครปู รยี า ปันธิยะ

จดั ทาโดย

นางสาวอมรรตั น์ ตนั ธะดา
เลขท่ี 16 สบล. 63.1

สาขาวชิ าการเลขานุการ
รายงานน้ีเปน็ สว่ นหนงึ่ ของ รหสั วชิ า 30203-2002

วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในงานเลขานกุ าร
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563
วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาลาปาง

คานา

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหน่ึงของ รหัสวิชา 30203-2002 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในงานเลขานุการ
ได้รับมอบหมายจากครูปรียา ปันธิยะ ให้ดาเนินการศึกษาค้นคว้า เกี่ยวกับเร่ือง การทาธุรกิจดิจิทัลบนสื่อ
สังคมออนไลน์ ที่เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวัน ซึ่งเน้ือหารายงานเล่มน้ีประกอบด้วย การประมวลผลกลุ่ม
เมฆ Cloud Computing,นิยามของ Cloud Computing หรือ การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ ,ประวัติความ
เป็นมา Cloud Computing ,องคป์ ระกอบของระบบประมวลผลกลุม่ เมฆ Cloud Computing, สถาปัตยกรรม
Cloud Computing, การทางานของ Cloud Computing, สามเหล่ียมกลุ่มเมฆ,มาตรฐานของระบบ
ประมวลผลกลุ่มเมฆ, ประเภทของ Cloud Computing, การจัดเก็บขอ้ มูลจากบุคคลภายนอกองค์กร,
การจัดเก็บเมฆ, ความมั่นคงให้ผู้บริการ, ระบบการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ ในภาครัฐ, ข้อดี ข้อเสีย ของ
Cloud Computing, ประโยชน์ของ Cloud Computing

ซ่ึงจากการท่ผี ู้จดั ทาไดศ้ ึกษา ค้นคว้าข้อมลู ดังกลา่ วเพอื่ เป็นแนวทางในการศึกษาเพ่มิ เติม ผ้จู ัดทาหวัง
เป็นอย่างยิ่งวา่ คงเปน็ ประโยชน์ต่อผทู้ สี่ นใจ

อมรรตั น์ ตันธะดา
สาขาวิชาการเลขานุการ

สารบญั หน้า

คานา ข
สารบัญ ค
แหล่งอ้างองิ 1
การประมวลผลกลมุ่ เมฆ Cloud Computing 1-2
นิยามของ Cloud Computing หรอื การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ 2-3
ประวตั ิความเปน็ มา Cloud Computing 3
องคป์ ระกอบของระบบประมวลผลกลุ่มเมฆ Cloud Computing 3-4
สถาปัตยกรรม Cloud Computing 4-5
การทางานของ Cloud Computing 5
สามเหล่ียมกลุ่มเมฆ 6
มาตรฐานของระบบประมวลผลกลุ่มเมฆ 6-7
ประเภทของ Cloud Computing 8
การจัดเก็บข้อมูลจากบคุ คลภายนอกองค์กร 8-9
การจดั เก็บเมฆ 9-10
ความมัน่ คงให้ผูบ้ ริการ
ระบบการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ ในภาครัฐ 10-11
ขอ้ ดี ข้อเสยี ของ Cloud Computing 11
ประโยชนข์ อง Cloud Computing 12

หนว่ ยท่ี 7
การประยุกต์ใชร้ ะบบประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ (Cloud Computing)

ในงานเลขานกุ าร

บทนา

ระบบประมวลผลแบบกลุม่ เมฆ (Cloud computing) เป็นระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ท่ีมี
ประสทิ ธภิ าพต่อ การนามาใช้ในงานทางการศึกษา มีส่วนสาคญั ทที่ าให้ผเู้ รยี น และผู้สอน สามารถใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศได้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพและเกดิ มติ ใิ หม่ทางการเรยี นได้จากทุกท่ี ทกุ เวลา ได้อย่างแท้จรงิ
ตอบสนองในการเคลื่อนท่ีด้วย อุปกรณ์พกพา สนับสนุนการเขา้ ถงึ ได้ทุกท่ีทุกเวลาอยา่ งแท้จริง เกิดการ
แลกเปลยี่ นข้อมูลรว่ มกัน สง่ เสรมิ ความ ร่วมมอื และเชอ่ื ถอื ได้ในความปลอดภัยของข้อมูลและการเก็บสารอง
ข้อมูล ประหยดั ค่าใช้จา่ ย ยดื หยนุ่ ในการใช้งาน

การประมวลผลกลมุ่ เมฆ Cloud Computing

การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ ถูกอธบิ ายถงึ โมเดลรูปแบบใหมข่ องเทคโนโลยสี ารสนเทศในการใช้งาน
บนอนิ เทอร์เนต็ ทเ่ี นน้ การขยายตวั ไดอ้ ยา่ งยืดหยุ่น สามารถจะปรบั ขนาดได้ตามความต้องการของคนที่ใชแ้ ละมี
การจดั สรรทรัพยากรโดยเนน้ การทางานระยะไกลอยา่ งง่าย ท่ใี ชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ เปน็ โครงสร้างพน้ื ฐาน

รปู ท่ี 1 การประมวลผลกลมุ่ เมฆ Cloud Computing

นิยามของ Cloud Computing หรอื การประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ

คาว่า Cloud Computing มีผ้ไู ด้ให้คานิยามไว้หลากหลาย เช่น บรษิ ทั การต์ เนอร์ ได้ให้นยิ าม
วา่ “Cloud computing is a style of computing where massively scalable IT-related capabilities
are provided ‘as a service’ across the Internet to multiple external customers” หรอื ระบบการ
ประมวลผลแบบกลุม่ เมฆ คือแนวทางการประมวลผลทพี่ ลังของโครงสรา้ งทางไอทขี นาดใหญ่ทีข่ ยายตัวไดถ้ ูก
นาเสนอยังลูกค้าภายนอกจานวนมหาศาลในรูปแบบของบริการ ฟอเรสเตอร์กรุ๊ป ไดน้ ิยามว่า “ cloud
computing: A pool of abstracted, highly scalable, and managed infrastructure capable of

hosting end-customer applications and billed by consumption” หรือ กลมุ่ ของโครงสร้างพื้นฐานท่ี
ถูกบรหิ ารจัดการและขยายตวั ได้อย่างมาก ซง่ึ มีขดี ความสามารถในการรองรับโปรแกรมประยุกตต์ ่าง ๆของผู้ใช้
และเกบ็ คา่ บรกิ ารตามการใช้งาน JavaBoom Collection” ไดน้ ิยามวา่ เป็น การประมวลผลท่อี งิ กับความ
ตอ้ งการของผใู้ ช้ โดยผ้ใู ช้สามารถระบคุ วามต้องการไปยังซอฟต์แวรข์ องระบบ Cloud Computing จากนัน้
ซอฟต์แวรจ์ ะร้องขอให้ ระบบ จดั สรรทรัพยากรและบรกิ ารใหต้ รงกับความตอ้ งการของผู้ใช้ โดยระบบสามารถ
เพมิ่ หรือลดจานวนทรพั ยากรใหพ้ อเหมาะกบั ความต้องการของผใู้ ช้ โดยท่ผี ู้ใช้ไม่ต้องทราบการทางานเบ้ืองหลงั
วา่ เปน็ อย่างไร”

รปู ท่ี 2 นิยามของ Cloud Computing หรือ การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ

ประวัติความเปน็ มา Cloud Computing

คาวา่ Cloud น้นั เรายืมมาจากการสอ่ื สารแบบโทรศัพทใ์ นยุคปี 90 ดาต้าเซอร์กจิ ไดเ้ กิดขึน้ (บน
เครอื ข่ายข้อมลู อินเทอรเ์ นต็ ) เป็นการยากทจ่ี ะเดนิ สายเชื่อมต่อระหวา่ งปลายทางแตล่ ะจุด ดงั นัน้ ผใู้ ห้บริการ
เริม่ มีบริการเครือข่ายสว่ นตัวเสมือน หรอื ท่เี รยี กว่า VPN โดยผู้ให้บรกิ าร VPN สามารถรับประกนั แบนด์วิธ
เทยี บเทา่ กับที่การใชว้ งจรแบบฟกิ สใ์ นราคาท่ีต่ากวา่ เพราะสามารถสวิตชท์ ราฟฟิกส์และใชป้ ระโยชน์จาก
เครือข่ายโดยรวมได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ จากการท่ีอาศยั สวิตช์นเี้ องจึงเป็นการยากที่จะบอกลว่ งหนา้ ไดว้ า่
ข้อมลู เดินทางผ่านเส้นทางใด คาว่า "Telecom cloud" จึงถูกใช้เพ่ืออธิบายเครือขา่ ยประเภทนี้ และ Cloud
Computing ก็มคี อนเซพตค์ ่อนขา้ งคลา้ ยกัน Cloud Computing อาศัยพ้ืนฐานเครอ่ื งเสมอื น (virtual
machine) ซ่ึงเกิดขึน้ หรอื ลดจานวนเพือ่ ใหต้ รงกบั ความต้องการของผู้ใช้ เพราะวา่ Virtual instances สามารถ
ทจ่ี ะเกิดตามความต้องการ จงึ เปน็ การยากการทีจ่ ะตรวจสอบได้วา่ มี virtual machine เทา่ ไรท่ีทางานให้
ขณะนน้ั รวมถึง virtual machine ดงั กลา่ วทางานอยทู่ ไ่ี หนเหมือน Cloud network

แนวคดิ ของ Cloud Computing ย้อนกลบั ไปยังเมือ่ 1960 เมอื่ John McCarthy ได้เสนอความ
คิดเหน็ วา่ วันหน่งึ การคานวณจะถกู จัดการใหส้ ามารถใช้มนั ไดอ้ ยา่ งสาธารณะ โดยลกั ษณะการแชร์บรกิ ารกัน
แตส่ ว่ นคาวา่ Cloud เขา้ มาใชใ้ นเชงิ พาณชิ ย์

รปู ท่ี 3 ประวตั ิความเป็นมา Cloud Computing

องค์ประกอบของระบบประมวลผลกลมุ่ เมฆ Cloud Computing

1. อินเตอรเ์ น็ตทมี่ ีช่องสญั ญาณสูงจนเกือบจะไม่มีจากัด (Nearly unlimited bandwidth)
2. เทคโนโลยรี ะบบเสมอื นจริง (Increasingly sophisticated virtualization technologies)
3. สถาปัตยกรรมเครือขา่ ยท่ีรองรับการเข้าถึงพร้อมกันจานวนมาก (Multitenant Architectures)
4. ลกั ษณะการใชง้ านได้ของเซิรฟ์เวอร์ประสิทธิภาพสูง (Availability of extremely powerful
servers)

รปู ท่ี 4 องค์ประกอบของระบบประมวลผลกลุ่มเมฆ Cloud Computing

สถาปัตยกรรม Cloud Computing

Cloud computing เป็นรปู แบบของคอมพวิ เตอรแ์ บบ Dynamic และทรัพยากร
แบบ Virtualization ทใ่ี ห้บรกิ ารผ่านทางอนิ เทอรเ์ น็ต ผ้ใู ช้ไมต่ ้องมีความรู้ ประสบการณ์ หรอื การควบคุม
โครงสร้างเทคโนโลยีในแบบ Cloud เปน็ คอนเซ็ปตก์ ารรวบรวม infrastructure as a service (IaaS),
platform as a service (PaaS) และ software as a service (SaaS) ทิศทางของเทคโนโลยีจะมรี ูปแบบ
เป็น theme บนอินเทอรเ์ น็ต บรกิ าร Cloud computing จะใช้งานกบั แอพพลิเคชน่ั ทางดา้ นธุรกจิ ออนไลน์
โดยจะใชง้ านผา่ นทางเวบ็ เบราเซอร์ โดยจะนาเอาซอฟต์แวรแ์ ละข้อมลู เกบ็ ไว้บนเซิร์ฟเวอร์ Software as a
Service (SaaS) เปน็ รปู แบบการให้บรกิ ารซอฟต์แวร์ หรือ Application บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ต ทาใหล้ ูกคา้
ท่ีออนไลนบ์ นเครือข่ายอนิ เตอร์เน็ตใชบ้ ริการซอฟต์แวร์เหลา่ นี้ ได้โดยไม่จาเป็นต้อง ติดตง้ั ซอฟต์แวร์ไวท้ ี่

หนว่ ยงานหรอื คอมพวิ เตอร์ของลูกค้า อย่างเช่น Salesforce.com, Google Apps ทเี่ สนอการให้บริการธุรกจิ
อยา่ ง e-mail

รูปท่ี 5 สถาปัตยกรรม Cloud Computing
Platform as a Service (PaaS) ระดับ Abstraction ซ่งึ สูงข้ึน บริการเช่น Google App Engine ที่
จดั programming environment ให้โดยซ่อนรายละเอยี ดของ instances machine และรายละเอียดทาง
เทคนคิ จาก developer โดยโปรแกรมจะรนั บน data center โดยท่ี developer ไม่ต้องสนใจเกีย่ วกบั
การ allocate พื้นท่ี แตส่ ่งิ ทต่ี ้องแลกคือ developer จะต้องยอมรบั เง่ือนไขของ environment ตวั อย่างเช่น
การใช้ key-value stores แทนการใชฐ้ านข้อมลู Infrastructure as a Service (IaaS) เป็นระดับล่างสุด
ของ Cloud Computing ผใู้ ห้บรกิ าร ด้าน Storage , network ตวั อยา่ งเชน่ Amazon Web Service
S3 และ EC2 ใหบ้ รกิ ารเคร่อื ง instances สาหรับ developer โดย instances จรงิ ๆแลว้ มพี ฤตกิ รรม
เหมือน dedicated server ถูกควบคุมโดย developer ซง่ึ รบั ผิดชอบในการทางานของมัน ดังนน้ั เมอ่ื เครอ่ื ง
ทางานถึงประสิทธภิ าพท่ีจากัดไว้ developer จะต้องจดั การกับแบ่งแอพพลเิ คช่ันออกไปทางานบน
อกี instance ดว้ ย ตนเอง บรกิ ารนมี้ วี ัตถปุ ระสงคส์ าหรบั นักพัฒนาผทู้ ส่ี ามารถเขยี นซอฟตแ์ วร์โดยมีวธิ ี ในการ
พฒั นาบนโครงสรา้ งพนื้ ฐานที่ยืดหยนุ่ ได้เพียงเลก็ น้อย

การทางานของ Cloud Computing

อธิบายแบบรวบรดั เพ่ือความเขา้ ใจไดโ้ ดยง่ายกค็ ือ ระบบ cloud computing จะแบ่งการทางาน
ออกเปน็ สว่ นหนา้ และสว่ นหลัง โดยท้งั 2 ส่วนจะทาการเชื่อมตอ่ กนั ผ่านทางเครือขา่ ยอินเตอรเ์ นต็ ขยายความ
ได้ ดงั น้ี

สว่ นหนา้ คือ ส่วนของผใู้ ชง้ านหรือท่เี รียกกันวา่ Client ประกอบดว้ ยคอมพิวเตอรห์ รอื เครอื ข่าย
คอมพวิ เตอร์ของผใู้ ช้รวมถึงแอปพลิเคชนั ที่จาเป็นในการเข้าถงึ ระบบคอมพิวเตอรค์ ลาวด์ สาหรับส่วนหลังก็คือ
สว่ นระบบ cloud computing ซ่ึงในสว่ นนี้จะมี Server Computer และระบบจดั เกบ็ ข้อมูลตา่ ง ๆ รวมอยู่
ทงั้ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ระบบท่ีใช้ในการประมวลผลข้อมูล ไปจนการเกบ็ ข้อมลู ในรปู แบบวีดโี อหรอื เกม
ต่าง ๆ ซึ่งในแต่ละโปรแกรมหรือแอปพลิเคชนั กม็ กั จะถูกเก็บอยูใ่ นเซริ ์ฟเวอรแ์ ตล่ ะเครื่องของตวั เองทเ่ี รียกว่า
Dedicate Server

รูปท่ี 6 การทางานของ Cloud Computing

สามเหลี่ยมกลมุ่ เมฆ

1. โครงสร้างพ้ืนฐานกลมุ่ เมฆ (Cloud Infrastructure) ผู้ใหบ้ รกิ ารโครงสรา้ งพนื้ ฐาน เปน็ ระดับ
เร่มิ ตน้ ของสภาพแวดลอ้ มระบบประมวลผลกลุ่มเมฆในลักษณะของเคร่ืองคอมพิวเตอรเ์ สมือน (Virtual
Machine) ใหบ้ ริการดา้ นการจัดสมดลุ ปริมาณงาน (Loadbalancing) และพืน้ ท่จี ัดเก็บข้อมลู (Storage)
รองรบั แพลทฟอรม์ กลมุ่ เมฆ และแอพพลิเคชั่นกลุ่มเมฆ ผใู้ ห้บรกิ ารโครงสร้างพื้นฐานสามารถปรับเปล่ียน
คุณสมบัติ บริการ และควบคุมระบบประมวลผลกลุม่ เมฆได้สูงสุด โดยเป็นผ้ใู ห้บริการระดับควบคุมท้ังหมดของ
โครงสร้างเซิรฟ์ เวอรต์ วั อยา่ งผู้ใหบ้ รกิ ารโครงสร้างพนื้ ฐาน เชน่ Amazon's EC2 , GoGrid , RightScale

2. แพลทฟอร์มกลุม่ เมฆ (Cloud Platform) ผูใ้ หบ้ ริการแพลทฟอร์มจะกาหนดมาตรฐานของ
แอพพลเิ คชน่ั สาหรบั ผ้พู ัฒนา แต่แพลทฟอร์มจาเปน็ ต้องขนึ้ กับลักษณะของโครงสร้างพ้ืนฐานของเคร่อื ง
คอมพวิ เตอรเ์ สมอื น ตวั อย่างผใู้ ห้บริการแพลทฟอร์มกลุ่มเมฆ เช่น Google App Engine , Heroku , Mosso ,
Engine Yard , Joyent , force.com(Saleforce platform)

3. แอพพลิเคชนั่ กลมุ่ เมฆ (Cloud Application) การใหบ้ ริการซอฟต์แวรบ์ นเครอื ข่ายในลกั ษณะ
SAAS (Software As A Service) โดยรปู แบบให้บรกิ ารเป็นลกั ษณะ Virtualization กลา่ วคอื เปน็ เว็บ
แอพพลิเคชัน่ มีสว่ นติดต่อกบั ผู้ใช้ (User interface) บนหนา้ เว็บเบราว์เซอร์ โดยแยกส่วนโปรแกรมและสว่ น
ประมวลผลอยบู่ นเครือขา่ ย ผู้ใช้จึงไมจ่ าเปน็ ต้องติดตัง้ แอพพลเิ คชั่นในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เช่นบริการ Hotmail
, Gmail , Quicken Online , Google Doc. , SalesForce , Online banking service

รูปท่ี 7 สามเหล่ยี มกลุ่มเมฆ

มาตรฐานของระบบประมวลผลกลมุ่ เมฆ

ระบบประมวลผลกลมุ่ เมฆใช้มาตรฐานแบบเปิด (open standard) เชน่ Browsers (Ajax)
Communications (HTTP, XMPP) Data (XML,JSON) Offline (HTML5) Management (OVF) Security
(OAuth, OpenID, TLS) Solution stacks (LAMP) Syndication (Atom) Web Service (REST)

รปู ท่ี 8 มาตรฐานของระบบประมวลผลกลุ่มเมฆ

ประเภทของ Cloud Computing

1.ตามกลมุ่ ผใู้ ช้
1.1 Cloud ระดับองค์กร ตวั อยา่ ง Cloud Library เชน่ OCLC (Online Computer Library

Center) เป็นองค์กรทพี่ ยายามนาห้องสมดุ ทั้งหมดมาเชอ่ื มโยงกัน ปัจจุบัน OCLC กาลงั พฒั นาระบบ Cloud
LCIS, Cloud OPAC คือ เม่ือค้นหนังสอื แลว้ ผลค้นจะแสดงรายการใหเ้ หน็ ว่าหนงั สืออยู่ท่ีประเทศใดบ้าง
เปน็ ต้น

1.2 Cloud ระดบั บุคคล/บรกิ าร เชน่ Gmail เป็น Cloud ของ Google ส่วน Facebook, Meebo,
Hotmail เป็น Cloud ของ Microsoft

1.3Cloud ผสมผสาน เช่น Dropbox เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการเก็บไฟลส์ ่วนบุคคล ผใู้ ชส้ ามารถใส่
ไฟล์ใด ๆ เขา้ ไปในพน้ื ทีฝ่ ากไฟล์ และสามารถดาวนโ์ หลดจาก URL นัน้ ได้ นอกจากน้ยี ังสามารถใช้งานรว่ มกัน
ได้หลายคน ทาให้ได้ไฟลท์ ี่ต้องการโดยไมต่ ้องใช้ handy drive และสามารถแบ่งปนั ให้ผู้ใชท้ ัว่ ไปดหู รือเลอื ก
เฉพาะไฟล์ทตี่ ้องการเผยแพร่ได้
2.ตามการใหบ้ ริการ

2.1 Public Cloud เปน็ การใช้บริการการเข้าถึงข้อมูลรูปแบบต่าง ๆ ผา่ นทางอินเตอร์เน็ต ผา่ นการ
ให้บรกิ ารของผ้ใู หบ้ ริการสาธารณะ มักจะเปน็ บริษัทไอทีรายใหญ่ เช่น Google, Amazon,
IBM และ Microsoft ซ่งึ การจัดการข้อมูลสามารถทาให้เปน็ แบบเปิดหรือปดิ เป็นความลับได้

2.2 Private Cloud เป็นการใชง้ านภายในองค์กร ทัง้ ข้อมูลและแอพพลเิ คชัน่ จะถูกจัดเกบ็ ไวอ้ ย่าง
ปลอดภยั บน Data Center ซงึ่ ผใู้ ชบ้ ริการเปน็ ผบู้ รหิ ารจัดการระบบ สามารถปรับเปลย่ี นระบบต่าง ๆไดด้ ้วย
ตนเอง ผใู้ หบ้ ริการจะมหี น้าที่ติดตัง้ และดูแลรกั ษาใหเ้ ทา่ น้นั จงึ ช่วยเพิ่มความปลอดภยั ให้กบั องคก์ ร

2.3 Hybrid Cloud เปน็ การผสมผสานกันระหวา่ ง Private Cloud และ Public Cloud เลือกแบง่
การทางานเปน็ สว่ นๆ ได้ โดยมีความสามารถท้ังสองแบบ

รูปท่ี 9 ประเภทของ Cloud Computing
3.ตามประเภทของเทคโนโลยี

3.1 SaaS (Software as a service) เป็นรูปแบบการให้บริการใชซ้ อฟตแ์ วร์หรือแอพพลิเคชน่ั
บน Cloud ทาใหผ้ ใู้ ชท้ ่อี อนไลน์บนเครือขา่ ยอนิ เตอรเ์ นต็ ใช้บรกิ ารซอฟตแ์ วรเ์ หล่านีไ้ ดโ้ ดยไมจ่ าเปน็ ต้องติดต้ัง
ซอฟตแ์ วรไ์ ว้ท่หี น่วยงานหรอื คอมพิวเตอร์ของผ้ใู ช้ Applications บน Cloud เชน่ G-mail,
Google Apps, Facebook, Dropbox

3.2 Google Document ใหบ้ ริการโปรแกรมใช้งานในออฟฟิศตา่ ง ๆ สามารถทางานพ้ืนฐานทุก
ประเภทได้อย่างง่ายดาย รวมถงึ การทารายการสญั ลักษณ์แสดงหัวข้อย่อย การเรียงลาดับตามคอลมั น์ การเพ่มิ
ตาราง รูปภาพ ข้อคดิ เหน็ สตู ร เปลย่ี นแบบอักษรและอืน่ ๆ การสรา้ งเอกสารหรอื อัพโหลดข้อมลู สามารถทาได้
ง่าย เพราะมีหน้าตาที่คล้ายกับโปรแกรมออฟฟิศทว่ั ไป ทาใหง้ า่ ยต่อการใชง้ าน โดยรองรับรูปแบบไฟลท์ ่นี ยิ มใช้
กนั สว่ นใหญ่ ได้แก่ DOC, XLS, ODT, ODS, RTF, CSV และ PPT เป็นต้น และการใชง้ าน Google
Document นนั้ ไมต่ ้องเสียค่าใชจ้ า่ ยใด ๆ

3.3 ระบบการรับ-สง่ อีเมล์ และบริการซอฟตแ์ วร์ เชน่ Hotmail, Yahoo Gmail, Facebook และ
Amazon เป็นต้น เพียงลอ็ คอินเข้าส่รู ะบบอินเตอร์เน็ตและสมคั รเปดิ เข้าใชบ้ ญั ชอี เี มล์ของผู้ใหบ้ ริการข้างตน้ ก็
สามารถใชง้ านรบั -ส่งอีเมล์ได้ทกุ ทที่ ุกเวลา โดยไมจ่ าเป็นต้องลงโปรแกรมหรอื ซอฟตแ์ วร์ใด ๆ ในเคร่ือง

3.4 IaaS (Infrastructure as a Service) เปน็ การใหบ้ ริการเฉพาะโครงสรา้ งพน้ื ฐานของระบบ เช่น
หนว่ ยประมวลผล (Processing Unit) เครอื ขา่ ยข้อมลู (Network) ระบบเก็บข้อมูล (Storage) หรอื พนื้ ที่
เซิรฟ์ เวอร์ (Hosting) ผู้ใช้บริการจะสามารถเชา่ เวลาในการประมวลผล ซอ้ื เวลาและขนาดของ ช่องสัญญาณใน
การสง่ ข้อมูล หรอื ขนาดของพ้ืนที่เก็บข้อมลู จากผใู้ ห้บริการได้ Hardware บน Cloud เช่น Amazon,Dropbox

3.5 PaaS (Platform as a service) บรกิ ารแพลทฟอร์ม คอื ให้บริการนกั พฒั นาในการพัฒนา
โปรแกรม โดยผู้รับบริการสามารถพัฒนาโปรแกรมระบบ ไดแ้ ก่ บริการ Google App Engine ซง่ึ ผู้รับบริการ
สามารถสรา้ งโปรแกรมประยุกต์ประเภท Web Application บนเวบ็ ที่มีอตั ราการเขา้ ชมสงู โดยไม่ตอ้ งจัดการ
โครงสรา้ งพื้นฐานสาหรับอตั ราการเขา้ ชมท่ีสูง การเขียนโปรแกรมนนั้ นกั พัฒนาสามารถใช้
ภาษา Java หรอื Python แล้วโฮสตโ์ ปรแกรมบน Server ของ Google ไดโ้ ดยมีคา่ บริการตาม
จานวน Transaction หรือ Data storage Platform พฒั นาซอฟตแ์ วรบ์ น Cloud เช่น Microsoft Azure

การจัดเกบ็ ขอ้ มลู จากบุคคลภายนอกองคก์ ร

ข้อมลู (Data) เปน็ องค์ประกอบทสี่ าคัญสว่ นหนงึ่ ของระบบสารสนเทศคอมพวิ เตอร์ การจดั การ
ขอ้ มูล (Data Management) เป็นกลยทุ ธห์ น่งึ ในการบริหารองค์การให้มปี ระสทิ ธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ใน
ยคุ ของเทคโนโลยีข่าวสาร คอมพวิ เตอร์ทเี่ จรญิ กา้ วหนา้ ไปอย่างรวดเร็ว การจัดการและบรหิ ารองค์การให้
ประสบความสาเรจ็ น้ัน การตัดสนิ ใจท่ถี ูกต้อง รวดเรว็ และทนั ตอ่ เหตุการณ์ถือเป็นหวั ใจของการทาธรุ กจิ ในยุค
ปัจจบุ ัน ดงั นั้นการจัดการขอ้ มลู ให้มปี ระสทิ ธิภาพ เพ่ือนาไปสู่การตดั สนิ ใจท่ถี ูกต้องจะช่วยใหอ้ งค์การอย่รู อดได้
ในการแข่งขนั กับองคก์ ารอ่นื ๆ

การจัดการฐานข้อมลู ในการทางานด้วยคอมพวิ เตอร์ ถึงแมจ้ ะมีเครื่องคอมพิวเตอร์ทม่ี ีประสิทธิภาพ
ดีแล้วยังตอ้ งมีชดุ คาส่ัง (Software) ที่จะควบคุมการทางานของเครื่องอกี ด้วย การทางานโดยวิธีการจดั แฟ้มซึ่ง
เรยี กวิธีนว้ี ่า ระบบการจดั การกระทาแฟ้มข้อมูล (file handing system) อาจใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ ซง่ึ ทาหนา้ ทใี่ น
การเก็บรวบรวมข้อมลู ใหเ้ ปน็ แฟ้มที่มีระเบยี บง่ายต่อการใช้งาน และช่วยทาใหผ้ ู้ใช้ประมวลผลข้อมูลต่าง ๆ
ตามความต้องการได้อยา่ งรวดเร็ว โปรแกรมเหล่าน้จี ะใชร้ ะบบการจัดการฐานข้อมลู หรือทเ่ี รียกวา่ ดบี เี อม็ เอส
(Data Base Management System : DBMS)

รูปที่ 10 การจัดเกบ็ ข้อมูลจากบคุ คลภายนอกองค์กร
ระบบฐานข้อมลู เปน็ สง่ิ ท่จี าเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานประจาวนั การตดั สนิ ใจของผู้บริหารจะ
กระทาไดร้ วดเรว็ ถา้ มีขอ้ มูลท่ีถกู ต้องและเพียงพอ จงึ มีการใช้คอมพวิ เตอรช์ ่วยประมวลผลเพอื่ ให้ได้สารสนเทศ
ดังกล่าว แตก่ ารประมวลผลด้วยคอมพิวเตอรจ์ าเปน็ ต้องมหี ลักการและวิธกี ารทีท่ าให้ระบบมรี ะเบียบแบบแผน
ท่ดี ี การแบ่งประเภทแฟ้ม

การจัดเกบ็ เมฆ

ข้อกาหนดในการใช้ Clound Storage ม่ันใจได้วา่ ขอ้ มลู สาคญั ของ บริษัท ของคุณจะปลอดภัยและ
พรอ้ มใชง้ าน เม่ือจาเปน็ มีความจาเปน็ ซงึ่ มีข้อกาหนดพนื้ ฐานหลายอย่างเม่ือพจิ ารณาการจดั เกบ็ ข้อมูลใน
ระบบคลาวด์

ความคงทน (Durability) ข้อมลู ไดร้ ับการจดั เกบ็ รกั ษาอย่างดี ซง่ึ เหมาะสาหรบั อปุ กรณ์หลาย ๆ
เคร่อื งและอุปกรณ์หลายเครอื่ งในแต่ละสถานที่ เหตุการณท์ ่ีไม่คาดคิด เช่นภัยธรรมชาติ ความผดิ พลาดของ
มนุษยห์ รอื ความผดิ พลาดเชิงกลไม่ทาให้ข้อมูลสูญหาย

ปรมิ าณของเวลาท่เี นต็ เวริ ์กพรอ้ มใชง้ าน (Availability) ขอ้ มลู ท้ังหมดพร้อมใช้งานเม่ือจาเปน็ แต่มี
ความแตกต่างระหว่างขอ้ มูลการผลติ และคลังข้อมูล การจดั เก็บข้อมลู แบบคลาวด์ท่เี หมาะสมจะช่วยให้เกิด
ความสมดลุ ของเวลาในการเรียกคน้ และค่าใช้จ่าย

ความปลอดภัย (Security) ข้อมูลท้ังหมดได้รับการเข้ารหสั ไวอ้ ย่างดเี ย่ียมท้งั ในส่วนท่ีเหลือและ
ระหว่างทาง สิทธ์แิ ละการควบคุมการเข้าถึงควรทางานไดด้ ีในระบบคลาวด์ เชน่ เดียวกับในสถานท่ีจดั เกบ็ ขอ้ มูล

รูปท่ี 11 การจดั เกบ็ เมฆ

ความมน่ั คงให้ผ้บู รกิ าร

ปจั จบุ ันเทคโนโลยี Cloud Computing เข้ามามีบทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนธุรกิจ เพอื่ ชว่ ย
ผู้ประกอบการในการ บริหารจัดการเทคโนโลยไี ด้อย่างรวดเรว็ รวมถงึ การบริหารตน้ ทุนท่ีมปี ระสิทธภิ าพและ
ประสิทธิผล อย่างไรก็ตามการใชง้ าน ระบบ Cloud Computing ทมี่ ีการบริหารจดั การโดยผูใ้ หบ้ รกิ าร
ภายนอก และลักษณะการใช้งานสภาพแวดล้อมการ ประมวลผลรว่ มกนั ของผู้ใชบ้ ริการ รวมถงึ การเชื่อมโยง
และเขา้ ถึงผา่ นเครือข่ายสาธารณะยังก่อใหเ้ กดิ ความเสย่ี งด้านความ ม่ันคงปลอดภยั สารสนเทศ และความมน่ั คง
ปลอดภยั ทางไซเบอร์ อนั อาจจะสง่ ผลกระทบต่อการดาเนนิ งานของผ้ปู ระกอบ ธรุ กิจ ผ้ลู งทนุ และความเชอื่ ม่นั
ตอ่ ตลาดทุนโดยรวมได้ ผบู้ ริหารระดับสูงจึงต้องมบี ทบาทสาคัญในการบริหารจัดการเชิงกล ยทุ ธ์ในการนา
เทคโนโลยีCloud Computing มาใช้ในการประกอบธุรกิจ รวมถึงการกาหนดนโยบายใช้งานเพ่ือใหม้ ่นั ใจว่า
การ นาเทคโนโลยีCloud Computing มาใชใ้ นการประกอบธรุ กิจ ช่วยให้ผูป้ ระกอบธรุ กิจสามารถบรรลุ
เป้าหมายได้ตามท่ีกาหนด ไวโ้ ดยมีการใชท้ รัพยากรและมีการบรหิ ารจดั การความเส่ียงอย่างเหมาะสม

คมู่ อื ฉบบั นี้จดั ทาข้ึนเพื่อเปน็ แนวทางใหผ้ ูป้ ระกอบธรุ กิจในการประยุกต์ใชง้ านระบบ Cloud
Computing ดา้ นการ กากับและบรหิ ารจัดการการใชบ้ รกิ าร Cloud Computing ทง้ั น้ีผูป้ ระกอบธรุ กจิ ควร
กาหนดนโยบายการใช้งานระบบ Cloud Computing ไวอ้ ยา่ งเปน็ ลายลักษณอ์ ักษร เพื่อรักษาความมั่นคง
ปลอดภยั ของระบบสารสนเทศ (Information Security Policy) จากการใช้บริการที่ครอบคลมุ ถงึ วิธีการ
คัดเลือกและประเมนิ ผู้ใหบ้ ริการ การทบทวนคุณสมบตั ิของผู้ ใหบ้ ริการ ข้อกาหนดเก่ียวกับการใช้บริการและ
การตรวจสอบบนั ทึกหลกั ฐานตา่ ง ๆ ท่อี าจจะส่งผลกระทบต่อการใชบ้ รกิ ารโดย มีแนวทางดังตอ่ ไปนี้

รปู ท่ี 12 ความมนั่ คงใหผ้ ู้บริการ

ระบบการประมวลผลแบบกล่มุ เมฆ ในภาครฐั

Cloud Computing คอื รปู แบบของการเขา้ ถึงระบบเพ่ือใช้งานทส่ี ะดวกและหลากหลายตามความ
ต้องการของผใู้ ช้งาน ในรูปแบบของการแชร์ทรัพยากร เช่น ส่วนประมวลผล, พนื้ ท่ีสาหรบั เกบ็ ข้อมลู , เครือขา่ ย
เปน็ ต้น รวมท้งั เซอร์วสิ อ่ืน ๆ ทส่ี ามารถจัดเตรียมเพ่ือใหบ้ ริการได้อยา่ งรวดเร็ว และลดภาระการบริหารจดั การ
ของผู้ดแู ลระบบใหน้ ้อยทีส่ ุด

EGA Cloud ความก้าวหน้าทางวิทยาการด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร เปน็ ตัวเร่งให้ต้อง
มกี ารพฒั นาการบริหารจดั การ และบรู ณาการบรกิ ารภาครัฐสู่ประชาชน ให้มีประสทิ ธภิ าพมากยิ่งขึ้น ซ่ึง
เทคโนโลยี Cloud Computing จะเป็นเทคโนโลยีที่มีความสาคัญในการพัฒนาดังกลา่ ว การนาเทคโนโลยี
Cloud Computing มาใชใ้ นการปฏิบตั ิงานนั้น นับเป็นเรอื่ งสาคญั และเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศไทย แต่
ในทางปฏบิ ตั ยิ งั มีความคบื หน้าท่ีเป็นรูปธรรมนอ้ ยมาก เน่ืองจากบางหน่วยงานยงั ขาดความรคู้ วามเข้าใจในตวั
ระบบหรือการทางานของระบบ Cloud Computing อยา่ งชัดเจนเพยี งพอ ในขณะทบี่ างหน่วยงานอาจจะมี
ความกงั วลในดา้ นความปลอดภัย และความเปน็ ส่วนตัวของข้อมลู ซงึ่ อาจมีข้อมลู บางอย่างท่ีต้องการใหร้ เู้ ฉพาะ
ภายในหน่วยงาน โดยปัจจบุ ันแต่ละหนว่ ยงานตา่ งเปน็ ผจู้ ัดเกบ็ กนั เอง และยังไม่มกี ารกาหนดนโยบายในเร่ือง
ดังกล่าวที่ชดั เจนเป็นรูปธรรมเพ่ือใช้เป็นหลกั ในการปฏิบัติ ดังนี้รฐั บาลจงึ มอบหมายให้ สานกั งานรัฐบาล
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (องค์การมหาชน) ดาเนนิ การโครงการ Government Cloud เพอื่ อานวยความสะดวกในการ
ให้บรกิ ารแกห่ น่วยงานภาครฐั ทั่วประเทศ โดยมุ่งหวังใน ๔ ประเดน็ สาคัญคอื

1. การศกึ ษาแนวทางในการใหบ้ ริการ Cloud Computing แกห่ น่วยงานภาครัฐ และพัฒนาไปสู่การ
ใหบ้ ริการที่มีประสทิ ธิภาพ

2. เปน็ แนวทางในการให้บรกิ ารโครงสรา้ งพ้นื ฐานหลกั สาหรบั ระบบและขอ้ มลู สารสนเทศของ
หน่วยงานภาครฐั

3. การลดความซา้ ซ้อนของงบประมาณภาครฐั ในดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ และเพิ่มประสทิ ธภิ าพใน
การพัฒนาระบบเพอื่ ให้บริการประชาชนแกห่ น่วยงานภาครฐั ท่รี ว่ มโครงการ

4. เพอ่ื พฒั นาประเทศไทยใหพ้ ร้อมสู่การเปน็ รัฐบาลอิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีทัดเทยี มกับนานาประเทศ

รปู ท่ี 13 ระบบการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ ในภาครัฐ

ขอ้ ดี ข้อเสีย ของ Cloud Computing

ข้อดีของ Cloud Computing
1. ลดตน้ ทนุ คา่ ดูแลบารุงรักษาเนือ่ งจากคา่ บริการไดร้ วมคา่ ใชจ้ า่ ยตามทใี่ ชง้ าน จรงิ เชน่ คา่ จา้ ง

พนกั งาน คา่ ซ่อมแซม คา่ ลิขสิทธ์ิ คา่ ไฟฟ้า ค่านา้ ค่านา้ มนั เช้อื เพลิง ค่าอัพเกรด และคา่ เชา่ คู่สาย เปน็ ต้น
2. ลดความเส่ียงการเร่มิ ตน้ หรอื การทดลองโครงการ
3. สามารถลดหรอื ขยายไดต้ ามความต้องการ
4. ไดเ้ ครือ่ งแม่ข่ายทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มรี ะบบสารองข้อมลู ท่ีดี มีเครอื ขา่ ยความเร็วสงู อย่ภู ายใต้การ

ดูแลของผเู้ ชยี่ วชาญ
ขอ้ เสียของ Cloud Computing

1. จากการทมี่ ีทรัพยากรที่มาจากหลายแห่ง จงึ อาจเกิดปญั หาดา้ นความต่อเนือ่ งและความรวดเรว็
2. ยังไมม่ ีการรับประกันในการทางานอยา่ งต่อเนือ่ งของระบบและความปลอดภัยของข้อมลู
3. แพลทฟอรม์ ยงั ไม่ไดม้ าตรฐาน ทาใหล้ ูกค้ามีข้อจากัดสาหรับตัวเลือกในการพฒั นาหรือติดต้งั
ระบบ site
4. เนอ่ื งจากเปน็ การใชท้ รัพยากรทมี่ าจากหลายทห่ี ลายแห่งทาใหอ้ าจมีปญั หาในเร่ืองของ ความ
ตอ่ เนื่องและความเร็วในการเข้าทรพั ยากรมากกวา่ การใช้บริการ Host ท่ี Local หรืออยภู่ ายในองค์การของเรา
เอง

รปู ที่ 14 ขอ้ ดี ขอ้ เสยี ของ Cloud Computing

ประโยชนข์ อง Cloud Computing

1. ชว่ ยลดต้นทุนและค่าใช้จา่ ยทีไ่ ม่จาเปน็ Cloud Computing ช่วยประหยดั คา่ ใช้จ่ายขององค์กรได้
มหาศาล เพราะผใู้ ห้บริการจะเป็นฝ่ายลงทนุ ทรพั ยากรดา้ น IT เกอื บท้ังหมด ต้ังแต่ Hardware, การวาง
โครงสร้างพ้นื ฐาน ไปจนถึงการดแู ลระบบต่าง ๆ ตลอด 24 ชว่ั โมง โดยคิดคา่ ใช้จา่ ยแบบ Pay as you go หรอื
คดิ ตามการใช้งานจรงิ ต่างกับการที่แตล่ ะธุรกจิ ต้องลงทุนติดต้งั Hardware และจ้างพนักงาน IT เพื่อดูแลระบบ
ภายในองค์กรเอง ซง่ึ มีค่าใชจ้ ่ายสูงกว่าอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั

2. รองรบั การขยายตัวของธรุ กจิ ได้อย่างรวดเร็ว ระบบ Cloud สามารถเพมิ่ ขนาดความจุ CPU หรอื
ขยายพ้ืนท่ี Storage สาหรบั จัดเก็บข้อมลู ได้ตลอดเวลา เพ่ือรองรบั การขยายตัวของธรุ กจิ ท่ตี ้อง
ใช้ Infrastructure ทางด้าน IT เพมิ่ มากข้นึ โดยมขี ้นั ตอนที่ไม่ยุ่งยากและไม่เสียเวลา จึงสามารถนาเวลาไป
พฒั นาศักยภาพดา้ นอืน่ ๆ ของธรุ กิจไดอ้ ย่างเต็มท่ี

3. เพมิ่ ความสะดวกและความรวดเร็วในการทางาน ข้อดขี อง Cloud ท่ีทุกคนต่างให้การยอมรบั คือ
ความสะดวกรวดเร็วในการใชง้ าน เนือ่ งจากไม่มขี ้อจากดั เร่อื งสถานที่ เวลา หรืออุปกรณ์ เพยี งมีอินเทอร์เน็ตก็
สามารถใชง้ านได้ เชน่ การประชุมผา่ น Skype for business, การแชร์ไฟล์เอกสารต่าง ๆ ผ่านเวบ็ ไซต์ หรอื
การใช้ Smart VDI เพอ่ื เขา้ ถึงขอ้ มลู ผา่ นอุปกรณต์ ่าง ๆ ได้อย่างไร้ข้อจากัด ไม่วา่ จะเปน็ Notebook ,
Tablet หรอื แม้กระท่ัง Smartphone

4. เข้าถึงเทคโนโลยที ที่ นั สมัยกอ่ นใคร บริษทั ที่ใช้ Cloud Computing มโี อกาสเขา้ ถงึ นวัตกรรมใหม่
ๆ ได้มากกว่า เนื่องจากผู้ใหบ้ รกิ าร Cloud จะทาหน้าทอ่ี ัพเกรดระบบและสรรหาเทคโนโลยีทที่ นั สมยั
เชน่ Blockchain, Virtual Machine หรอื Application ใหม่ ๆ เพอื่ นามาพัฒนาใช้รว่ มกบั
ระบบ Cloud พร้อมนาเสนอ Solutions ทเี่ ปน็ ประโยชน์กับแตล่ ะธุรกิจอย่างเหมาะสมอยเู่ สมอ

5. ขอ้ มูลถูกจัดเกบ็ อยา่ งปลอดภัย การใชร้ ะบบ Cloud กบั ผใู้ หบ้ รกิ ารทมี่ ี Data Center อยูใ่ น
ประเทศไทย และไดร้ บั การรับรองมาตรฐานระดับสากล เช่น ISO, PCI DSS หรอื CSA-STAR ชว่ ยใหม้ น่ั ใจได้
ว่าขอ้ มูลของคุณจะถูกจดั เก็บไวภ้ ายใต้ระบบรักษาความปลอดภยั ท่รี ดั กุม มีนโยบายรับมือกบั เหตุการณฉ์ ุกเฉนิ
ตา่ ง ๆ และไมถ่ ูกนาข้อมลู ไปแสวงหาผลประโยชนอ์ ยา่ งแน่นอน

รปู ท่ี 15 ประโยชนข์ อง Cloud Computing

แหลง่ อา้ งอิง

in7659.wordpress.com การประมวลผลกลุ่มเมฆ Cloud Computing [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา
https://in7659.wordpress.com/2015/11/26 (15 มกราคม 2654)

sites.google.com นิยามของ Cloud Computing หรือ การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ [ระบบออนไลน์]
แหลง่ ท่ีมา

https://sites.google.com/site/kornkanok551/khaw/khaw (15 มกราคม 2654)
navarojch.blogspot.com ประวตั ิความเป็นมา Cloud Computing [ระบบออนไลน์] แหล่งท่ีมา

http://navarojch.blogspot.com/2009/08/cloud-computing_3891.html
(15 มกราคม 2654)
sites.google.com องค์ประกอบของระบบประมวลผลกล่มุ เมฆ Cloud Computing [ระบบออนไลน์]
แหล่งท่ีมา
https://sites.google.com/site/liuwirinyaa/xngkh-prakxb-khxng-rabb-cloud-computing
(15 มกราคม 2654)
xn--it-wqi9d0brq4a5ce8ethpg.blogspot.com สถาปัตยกรรม Cloud Computing [ระบบออนไลน์]
แหล่งท่ีมา
http://xn--it-wqi9d0brq4a5ce8ethpg.blogspot.com/2013/05/cloud-
computing_8105.html (15 มกราคม 2654)
quickserv.co.th การทางานของ Cloud Computing [ระบบออนไลน์] แหล่งทมี่ า
https://www.quickserv.co.th/knowledge-base/solutions (15 มกราคม 2654)
cloudutcc.blogspot.com สามเหล่ียมกลุ่มเมฆ [ระบบออนไลน์] แหลง่ ที่มา
http://cloudutcc.blogspot.com/2014/12/cloud-computing.html (15 มกราคม 2654)
blogspot.com มาตรฐานของระบบประมวลผลกลุ่มเมฆ [ระบบออนไลน์] แหล่งท่ีมา
http://nukpanatchaporn.blogspot.com/2012/07/cloud-computing_2143.html
(15 มกราคม 2654)
blogspot.com ประเภทของ Cloud Computing [ระบบออนไลน์] แหล่งท่ีมา
http://cloudssru.blogspot.com/2015/03/cloud-computing_19.html (15 มกราคม 2654)
sites.google.com การจัดเก็บข้อมลู จากบุคคลภายนอกองคก์ ร [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา
https://sites.google.com/site/hahatoeyho/bth-thi-4-kar (15 มกราคม 2654)
aws.amazon.com การจัดเกบ็ เมฆ [ระบบออนไลน์] แหล่งท่ีมา
https://aws.amazon.com/what-is-cloud-storage/ (15 มกราคม 2654)
capital.sec.or.th ความม่นั คงให้ผบู้ ริการ [ระบบออนไลน์] แหลง่ ที่มา
https://capital.sec.or.th/webapp/nrs/data/8284s.pdf (15 มกราคม 2654)

sites.google.com ระบบการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ ในภาครฐั [ระบบออนไลน์] แหลง่ ที่มา
https://sites.google.com/site/karpramwlphlbaebklumme072016 (15 มกราคม 2654)

sites.google.com ข้อดี ข้อเสีย ของ Cloud Computing [ระบบออนไลน์] แหล่งท่มี า
https://sites.google.com/site/liuwirinyaa/khxdi-khx-seiy-cloud-computing
(15 มกราคม 2654)

phuketconnect.co.th ประโยชน์ของ Cloud Computing [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา
http://www.phuketconnect.co.th/Article/Detail/108680 (15 มกราคม 2654)

หนว่ ยท่ี 8
คุณจริยธรรมและความปลอดภัย
ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

คณุ จรยิ ธรรมและความปลอดภัย
ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

เสนอ

ครปู รยี า ปนั ธิยะ

จดั ทาโดย

นางสาวอมรรัตน์ ตนั ธะดา
เลขท่ี 16 สบล. 63.1

สาขาวิชาการเลขานกุ าร
รายงานนเี้ ปน็ ส่วนหนึ่งของ รหัสวชิ า 30203-2002

วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในงานเลขานุการ
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563
วิทยาลยั อาชีวศึกษาลาปาง

คานา

รายงานเล่มน้ีเป็นส่วนหน่ึงของ รหัสวิชา 30203-2002 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในงานเลขานกุ าร
ได้รับมอบหมายจากครูปรียา ปันธิยะ ให้ดาเนินการศึกษาค้นคว้า เก่ียวกับเร่ือง การทาธุรกิจดิจิทัลบนสื่อ
สังคมออนไลน์ ที่เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวัน ซ่ึงเนื้อหารายงานเล่มนี้ประกอบด้วย ความหมายของ
คณุ ธรรม, ความหมายของจรยิ ธรรม, คณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ, จรรยาบรรณในการใช้
อินเทอรเ์ นต็ , การใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งปลอดภัย, ความปลอดภยั ในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

ซง่ึ จากการที่ผู้จัดทาได้ศึกษา ค้นควา้ ข้อมลู ดังกลา่ วเพือ่ เป็นแนวทางในการศึกษาเพม่ิ เติม ผูจ้ ัดทาหวัง
เป็นอย่างยง่ิ วา่ คงเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้ทส่ี นใจ

อมรรตั น์ ตันธะดา
สาขาวิชาการเลขานกุ าร

สารบัญ หน้า

คานา ข
สารบญั ค
แหล่งอา้ งอิง 1
ความหมายของคุณธรรม 1
ความหมายของจรยิ ธรรม 1-2
คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2-3
จรรยาบรรณในการใช้อนิ เทอร์เน็ต 3-4
การใชเ้ ทคโนโลยีอย่างปลอดภัย 4-5
ความปลอดภัยในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

หนว่ ยที่ 8
คณุ ธรรม จริยธรรมและความปลอดภัยในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ความหมายของคุณธรรม

คณุ ธรรม หมายถึง สภาพคณุ งามความดีและความถูกต้องซึ่งบคุ คลควรยึดม่ันไว้เปน็ หลักการในการ
ปฏบิ ตั ิตนจนเปน็ นิสยั ความประพฤตดิ ีงาม เพ่ือประโยชนแ์ กต่ นและสังคม ซง่ึ มีพนื้ ฐานมาจากหลกั ศีลธรรมทาง
ศาสนา คา่ นิยมทางวฒั นธรรม ประเพณี หลกั กฎหมาย จรรยาบรรณวิชาชพี การร้จู ักไตร่ตรองว่าอะไรควรทา
ไมค่ วรทา และอาจกล่าวได้ว่าคณุ ธรรม คือ จริยธรรมทนี่ ามาปฏิบัติจนเปน็ นสิ ัย เชน่ การเปน็ คนซอื่ สัตย์
เสยี สละ และ มีความรับผิดชอบ

รปู ท่ี 1 ความหมายคณุ ธรรม

ความหมายของจริยธรรม

จรยิ ธรรม หมายถงึ ความประพฤตทิ ่ีเกิดจากคุณธรรม กฎเกณฑท์ เ่ี ปน็ แนวทางในการประพฤติปฏบิ ัติ
ตนในสิง่ ทดี่ ีงาม ส่งิ ท่ที าได้ในทางวนิ ยั จนเกดิ ความเคยชินมีพลงั ใจ มีความต้งั ใจแน่วแน่จึงตอ้ งอาศัยปญั ญา และ
ปัญญาอาจเกดิ จากความศรัทธาเช่ือถอื ผู้อื่น ในทางพุทธศาสนาสอนวา่ จริยธรรมคอื การนาความรู้ ความจริง
หรอื กฎธรรมชาติมาใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ การดาเนนิ ชีวิตท่ีดีงาม

คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ หมายถึง กระบวนการตา่ ง ๆ และระบบงานทีช่ ่วยใหไ้ ดส้ ารสนเทศหรือ
ข่าวสารทตี่ อ้ งการ โดยจะรวมถึง

1. เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ หมายถึง เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เครือ่ งใช้สานกั งาน อปุ กรณ์คมนาคม
ตา่ ง ๆ รวมทั้งซอฟต์แวร์ท้งั ระบบสาเรจ็ รูปและพัฒนาขน้ึ โดยเฉพาะดา้ น

2. กระบวนการในการนาอุปกรณเ์ คร่อื งมอื ต่าง ๆ ขา้ งต้นมาใช้งาน รวบรวมขอ้ มลู จัดเกบ็
ประมวลผล และแสดงผลลัพธเ์ ปน็ สารสนเทศในรปู แบบต่าง ๆ ทสี่ ามารถนาไปใช้ประโยชน์ไดต้ อ่ ไป
ในปจั จบุ นั การใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นส่งิ จาเป็นสาหรับทุกองคก์ ร การเชื่อมโยงสารสนเทศผ่านทาง
คอมพิวเตอร์ ทาให้สงิ่ ที่มคี ่ามากทส่ี ุดของระบบ คือ ข้อมูลและสารสนเทศ อาจถูกจารกรรม ถกู ปรบั เปล่ยี น ถูก
เขา้ ถึงโดยเจา้ ของไมร่ ตู้ วั ถูกปิดกั้นขัดขวางใหไ้ มส่ ามารถเข้าถึงข้อมูลได้ หรือถูกทาลายเสียหายไป ซ่ึงสามารถ
เกดิ ขน้ึ ไดไ้ มย่ ากบนโลกของเครือข่าย โดยเฉพาะเมอ่ื อยู่บนอินเทอร์เน็ต
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ผใู้ ช้อนิ เทอร์เนต็ มีเปน็ จานวนมากและเพิ่มข้นึ ทุกวัน การใช้งานระบบเครือข่ายที่ออนไลนแ์ ละส่ง
ข่าวสารถึงกันย่อมมีผู้ทม่ี ีความประพฤติไม่ดปี ะปนและสร้างปญั หาให้กับผูใ้ ช้อืน่ อย่เู สมอ หลายเครือขา่ ยจึงได้
ออกกฎเกณฑ์การใชง้ านภายในเครือข่าย เพ่ือใหส้ มาชิกในเครือข่ายของตนยดึ ถือ ปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์และ
ไดร้ บั ประโยชนส์ งู สุด ดังนนั้ ผู้ใช้อินเทอร์เนต็ ทกุ คนท่เี ปน็ สมาชิกเครือข่ายจะต้องเข้าใจกฎเกณฑ์ข้อบังคบั ของ
เครือข่ายนน้ั มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและผู้รว่ มใช้บริการคนอืน่ และจะต้องรับผดิ ชอบตอ่ การกระทาของ
ตนเองทเี่ ขา้ ไปขอใชบ้ รกิ ารต่าง ๆ บนเครือข่ายบนระบบคอมพิวเตอร์ เครือขา่ ยคอมพวิ เตอรท์ ผี่ ูใ้ ชอ้ ินเทอรเ์ น็ต
เรยี กเข้ามิไดเ้ ป็นเพยี งเครือข่ายขององค์กรทผ่ี ู้ใช้สงั กัด แต่เป็นการเชอ่ื มโยงของเครือขา่ ยตา่ ง ๆ เขา้ หากันหลาย
พันหลายหมืน่ เครือขา่ ยมขี ้อมูลข่าวสารอยรู่ ะหว่างเครือข่ายเป็นจานวนมาก การสง่ ขา่ วสารในเครอื ข่ายนั้นอาจ
ทาใหข้ า่ วสารกระจายเดินทางไปยังเครือข่ายอ่นื ๆ อีกเป็นจานวนมากหรอื แมแ้ ต่การสง่ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนกิ ส์
ฉบบั หน่ึงก็อาจจะต้องเดินทางผา่ นเครอื ข่ายอีกหลายเครือข่ายกวา่ จะถงึ ปลายทาง ดังน้ันผู้ใชบ้ รกิ ารตอ้ งให้
ความสาคัญและตระหนักถงึ ปัญหาปริมาณข้อมูลขา่ วสารท่วี ิง่ อยบู่ นเครือข่ายการใชง้ านอย่างสร้างสรรค์และ
เกดิ ประโยชน์จะทาให้สงั คมอินเทอร์เน็ตนา่ ใช้และเป็นประโยชน์ร่วมกันอย่างดี กิจกรรมบางอยา่ งท่ไี ม่ควร
ปฏิบัตจิ ะต้องหลีกเลีย่ งเช่นการส่งกระจายข่าวไปเป็นจานวนมากบนเครือข่าย การส่งเอกสารจดหมายลกู โซ่
ฯลฯ สิ่งเหลา่ น้ีจะเป็นผลเสียโดยรวมตอ่ ผูใ้ ชแ้ ละไมเ่ กิดประโยชน์ใด ๆ ต่อสงั คมอินเทอรเ์ น็ต

รูปที่ 2 คุณธรรม จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ

จรรยาบรรณในการใช้อินเทอรเ์ นต็
1. ตอ้ งไม่ใช้คอมพวิ เตอร์ทาร้ายหรือละเมิดผ้อู ืน่
2. ตอ้ งไม่รบกวนการทางานของผู้อ่นื
3. ตอ้ งไมส่ อดแนมหรอื แกไ้ ขเปิดดูในแฟ้มของผอู้ น่ื

4. ต้องไม่ใช้คอมพวิ เตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพวิ เตอร์สรา้ งหลกั ฐานทเ่ี ปน็ เท็จ
6. ต้องไม่คดั ลอกโปรแกรมผู้อื่นที่มีลขิ สิทธิ์
7. ต้องไมล่ ะเมิดการใชท้ รัพยากรคอมพิวเตอร์โดยทีต่ นเองไมม่ สี ิทธิ์
8. ตอ้ งไมน่ าเอาผลงานของผู้อ่ืนมาเป็นของตน
9. ตอ้ งคานึงถงึ ส่งิ ท่จี ะเกิดขึ้นกบั สังคมอันตดิ ตามมาจากการกระทา
10.ตอ้ งใชค้ อมพวิ เตอร์โดยเคารพกฎระเบยี บ กตกิ ามารยาท

รูปที่ 3 จรรยาบรรณในการใช้อนิ เทอรเ์ น็ต

การใช้เทคโนโลยีอยา่ งปลอดภัย

การใชง้ านไอทีเป็นสว่ นหน่งึ ในการดาเนินกจิ กรรมต่าง ๆ และส่งผลกระทบต่อผู้ใชง้ าน โดยเฉพาะ
อยา่ งยง่ิ การใชง้ านไอทีผา่ นสมารท์ โฟนที่มักมีแอพพลเิ คช่นั จานวนมาก ให้เลอื กตดิ ต้ังได้ฟรภี ายใต้เงื่อนไขบาง
ประการ ซึง่ หลายคนมกั ละเลยในการอ่านเง่อื นไขเหลา่ น้ี การใช้ไอทีอยา่ งปลอดภยั นั้นผู้ใช้งานจาเป็นตอ้ งเข้าใจ
ในประเด็นตา่ ง ๆ ดงั นี้

รปู ที่ 4 การใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภยั
- ศึกษาเง่ือนไขและข้อตกลง กอ่ นการตดิ ตั้งหรือใช้งานไอที
- มีความรูค้ วามเข้าใจ และความสามารถในการใช้ไอที เพ่ือใหใ้ ชง้ านได้อยา่ งถกู ต้อง และมี
ประสิทธภิ าพ

- ไมใ่ ชบ่ ัญชีผใู้ ช้ร่วมกับผ้อู ื่น เนื่องจากไม่สามารถควบคุมความปลอดภัยได้ และเสย่ี งต่อการรัว่ ไหล
ของรหสั ผ่านและข้อมูลส่วนตัว

- สารองข้อมูลอยา่ งสม่าเสมอ และเกบ็ ไวห้ ลายแหลง่ โดยเม่ือมีเหตุการณ์ท่ีทาให้ไฟลข์ ้อมูลเสยี หาย
เชน่ ข้อมลู โดนไวรสั ทาลาย เคร่อื งคอมพิวเตอรเ์ สยี หาย สามารถนาข้อมูลทีส่ ารองไวม้ าใช้งานได้

- ตดิ ตง้ั ซอฟต์แวร์เท่าทีจ่ าเป็น และไมต่ ิดตง้ั โปรแกรม ท่ีดาวน์โหลดจากแหล่งท่ีไมน่ ่าเชื่อถือ เพ่ือ
ปอ้ งกันมัลแวรท์ ีแ่ ฝงมากับโปรแกรม

- เขา้ ใจกฎ กติกา และมารยาททางสงั คมในการใชง้ านไอที ซึง่ เปน็ สง่ิ จาเป็นในการใช้งานไอที เพราะ
จะชว่ ยปอ้ งกันปัญหาตา่ ง ๆ ท่ีอาจเกดิ ขน้ึ ได้โดยไม่ต้ังใจ เชน่ การเรยี นรู้การใช้อักษรย่อ การใชส้ ญั ลกั ษณ์
ตา่ ง ๆ

- หลีกเล่ยี งการใช้งานเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสมหรือไม่แนใ่ จว่าเปน็ ของหนว่ ยงานใด
- ปรบั ปรงุ ระบบปฏิบตั กิ ารและโปรแกรมตา่ ง ๆใหท้ นั สมยั อยเู่ สมอ เช่น โปรแกรมแกไ้ ขจุดบกพร่อง
ของระบบปฏิบัติการที่เรียกวา่ อัพเดท หรอื แพทช์ โปรแกรมป้องกันไวรสั ซง่ึ โปรแกรมจะมีการเพิม่ เตมิ
ความสามารถในการป้องกันไวรสั ใหมๆ่ ทาให้อปุ กรณ์และขอ้ มูลใชง้ านได้อย่างปลอดภัย
- สงั เกตสิง่ ผดิ ปกติทีเ่ กิดจากการใช้งาน เชน่ มีโปรแกรมแปลกปลอมปรากฏขึ้นได้รับอีเมลจากคนที่
ไมร่ ้จู ัก หรือเข้าเวบ็ ไซตท์ ี่คุณเคยแตม่ บี างสว่ นของ URL หรือหน้าเวบ็ ที่เปลี่ยนไป ให้ตรวจสอบและหาข้อมูล
เพม่ิ เติม จนกว่าจะมัน่ ใจก่อนการใช้งาน
- ระวงั การใช้งานไอทีเมื่ออยู่ในทสี่ าธารณะ เช่น ไม่เช่ือมต่อไวไฟโดยอตั โนมัติ ไมจ่ ดจอใช้งาน
โทรศัพท์เคล่ือนท่ีโดยไม่สนใจสงิ่ ที่เกิดขึน้ รอบตัว ซึ่งอาจตกเป็นเหยือ่ มจิ ฉาชีพหรือทาใหเ้ กดิ อบุ ตั ิเหตุได้

ความปลอดภัยในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ

1.ความมั่นคงปลอดภยั (Security) การทาให้รอดพน้ จากอันตรายหรืออยู่ในสถานะทีม่ ีความ
ปลอดภยั ไร้ความกงั วลและความกลัวและไดร้ บั การป้องกนั จากภัยอันตรายทั้งท่เี กิดขน้ึ โดยต้ังใจหรือโดยบังเอิญ

2.ความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ (Information System Security) คือการป้องกัน
ข้อมลู สารสนเทศรวมถงึ องค์ประกอบอ่ืน ๆที่เกย่ี วข้องเชน่ ระบบและฮาร์ดแวร์ทใี่ ช้ในการจดั เก็บและถา่ ยโอน
ขอ้ มูลสารสนเทศนั้นใหร้ อดพ้นจากอนั ตรายอยู่ในสถานะท่ีมีความปลอดภัยไร้ความกังวลและความกลวั

รปู ที่ 6 ความปลอดภยั ในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
3.ประวตั ิของการรกั ษาความปลอดภยั ของข้อมลู

3.1 การรักษาความปลอดภัยดา้ นกายภาพ (Physical Security) ในอดตี ข้อมูลท่สี าคัญจะอยู่
ในรูปแบบวตั ถุโดยจะถกู บนั ทึกไวบ้ นแผ่นหินแผน่ หนงั หรือกระดาษแต่บุคคลสาคัญส่วนใหญ่ไม่นยิ มบันทึก
ขอ้ มูลทีส่ าคัญมาก ๆลงบนสื่อถาวรและไมส่ นทนาเกี่ยวกับข้อมูลกับคนที่ไมไ่ วใ้ จถ้าต้องส่งข้อมลู ไปท่ีอ่นื ต้องมีผู้
คมุ้ กนั ตดิ ตามไปดว้ ยเพราะภัยอันตรายจะอยใู่ นรปู แบบทางกายภาพเชน่ การขโมย

3.2 การรักษาความปลอดภยั ด้านการสอ่ื สาร (Communication Security) ยคุ ของจเู ลียส
ซีซาร์ (ยุคศตวรรษที่ 2) มีการคดิ ค้นวธิ ใี ชส้ าหรบั “ซ่อน” ข้อมูลหรือการเข้ารหัสข้อมูล (Encryption)
ชว่ งสงครามโลกครงั้ ที่ 2 เยอรมนั ใชเ้ ครื่องมอื ทเ่ี รียกว่าเอ็มนิกมา (Enigma) เขา้ รหัสข้อมูลทร่ี บั /สง่ ระหวา่ ง
หน่วยงานทหาร

3.3 การรักษาความปลอดภยั การแผร่ งั สี (Emissions Security) ในชว่ งทศวรรษ 1950 มีการ
ค้นพบวา่ ข้อมูลที่รบั /สง่ สามารถอ่านได้โดยการอา่ นสัญญาณไฟฟ้าท่ีส่งผา่ นสายโทรศพั ท์อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์
ทุกประเภทจะมีการแผ่รงั สีออกมาเครื่องเข้ารหสั จะรบั เข้าข้อความแลว้ เข้ารหัสและสง่ ไปบนสายโทรศัพท์ซ่ึงมี
การค้นพบวา่ สัญญาณไฟฟา้ ที่แทนข้อมลู ทีย่ งั ไม่ไดเ้ ข้ารหสั ก็ถกู ส่งไปบนสายโทรศัพทด์ ้วยข้อมลู เดิมท่ยี ังไม่ได้ถูก
เขา้ รหสั นัน้ สามารถกู้คนื ไดถ้ า้ ใชเ้ ครอ่ื งมือท่ีดีสหรัฐอเมริกาตอ้ งกาหนดมาตรฐานทช่ี ื่อเทมเพสต์
(Tempest) ควบคุมการแผ่รังสขี องอุปกรณ์คอมพวิ เตอรเ์ พื่อลดการแผ่รังสีที่อาจใชส้ าหรับการกคู้ นื ข้อมูลได้

3.4 การรกั ษาความปลอดภัยคอมพวิ เตอร์ (Computer Security) ชว่ งทศวรรษ 1970 เดวิด
เบลลแ์ ละลโี อนารด์ ลาพาดลู าพฒั นาแม่แบบสาหรับการรักษาความปลอดภยั ของคอมพิวเตอรแ์ บง่
ออกเปน็ 4 ช้ันคอื ไม่ลับลบั ลับมากและลับทส่ี ุดผทู้ ี่สามารถเขา้ ถึงข้อมูลในระดับใดระดบั หนึ่งไดจ้ ะตอ้ งมสี ิทธ์ิ
เท่ากับหรือสูงกว่าชน้ั ความลับของข้อมลู นนั้ ดงั นน้ั ผทู้ ่ีมีสทิ ธิ์นอ้ ยกว่าช้นั ความลับของไฟล์จะไม่สามารถเขา้ ถงึ
ไฟล์น้นั ได้ แนวคิดนีไ้ ด้ถูกนาไปใช้ในกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกาโดยได้ชื่อว่ามาตรฐาน 5200.28 หรือ
ออเรนจบ์ ุ๊ค (Orange Book) ซ่ึงได้กาหนดระดับความปลอดภัยของคอมพิวเตอร์ออกเป็นระดบั ตา่ ง ๆคือ D,
C1, C2, B1, B2, B3, A1 ในแตร่ ะดับออเรนจ์บุ๊คได้กาหนดฟังก์ชันต่าง ๆที่ระบบตอ้ งมรี ะบบทต่ี อ้ งการ
ใบรบั รองว่าจดั อยใู่ นระดับใดระบบนั้นต้องมีท้ังฟังกช์ นั ตา่ ง ๆทีก่ าหนดในระดับนนั้ ๆพร้อมทง้ั การรับประกนั ใน
ระดบั นั้นได้ดว้ ย

3.5 การรักษาความปลอดภยั เครือขา่ ย (Network Security) เมอ่ื คอมพวิ เตอร์เชื่อมต่อกันเข้า
เปน็ เครือขา่ ยปญั หาใหม่ก็เกิดขึ้นเช่นการสือ่ สารคอมพวิ เตอร์เปลยี่ นจาก WAN มาเป็น LAN ซึ่งมแี บนดว์ ธิ ทสี่ งู
มากอาจมหี ลายเครื่องทเี่ ชื่อมต่อเขา้ กบั ส่อื เดยี วกันการเข้ารหสั โดยใชเ้ ครอ่ื งเขา้ รหสั เดียว ๆ อาจไมไ่ ด้ผล
ในปี 1987 จึงไดม้ ีการใชม้ าตรฐาน TNI หรอื เรดบ๊คุ (Red Book) ซ่งึ ได้เพิ่มส่วนทีเ่ กย่ี วข้องกบั เครือข่ายเข้าไป
แตม่ ขี ้อกาหนดเก่ยี วกบั ฟังก์ชันและการรับประกนั มากทาใหใ้ ช้เวลามากเกินไปในการตรวจสอบระบบ

3.6 การรกั ษาความปลอดภยั ขอ้ มลู (Information Security) ไม่มวี ิธีการใดที่สามารถ
แก้ปญั หาเกี่ยวกบั การรักษาความปลอดภยั ได้ทั้งหมด ความปลอดภัยทด่ี ตี ้องใชท้ ุกวิธีการท่กี ลา่ วมารว่ มกันจงึ จะ
สามารถใหบ้ ริการการรกั ษาความปลอดภยั ข้อมูลได้

แหล่งอา้ งอิง

sites.google.com ความหมายของคุณธรรม, ความหมายของจริยธรรม [ระบบออนไลน์] แหลง่ ท่ีมา
https://sites.google.com/site/kahftgtrtr464878/ (7 มกราคม 2564)

sites.google.com คุณธรรม จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ [ระบบออนไลน์] แหลง่ ท่มี า
https://sites.google.com/site/abdulbasitpetsu/khunthrrm-criythrrm (7 มกราคม 2564)

sites.google.com จรรยาบรรณในการใช้อนิ เทอรเ์ นต็ [ระบบออนไลน์] แหล่งทีม่ า
https://sites.google.com/site/benjawan581031023/2 (7 มกราคม 2564)

training.com การใช้เทคโนโลยอี ยา่ งปลอดภัย [ระบบออนไลน]์ แหล่งท่ีมา
http://www.168training.com/e-learning_new/tc_co_m1_2/more/ (7 มกราคม 2564)

sites.google.com ความปลอดภยั ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ [ระบบออนไลน์] แหล่งท่ีมา
https://sites.google.com/a/npu.ac.th/ (7 มกราคม 2564)

จดั ทำโดย

นางสาวอมรรตั น์ ตนั ธะดา
สบล.63.1 เลขที่ 16

สาขาวิชาการเลขานกุ าร


Click to View FlipBook Version