The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Mr.Wisit Mayam, 2020-06-13 05:30:59

Powerpoint หน้าที่พลเมือง ม.3

ม.3.1หน้าที่พลเมือง

แนะนำครูผ้สู อน



ครวู ศิ ิษฏ์ มำแยม้ 082-4829541

เม่อื ทอ้ ใหท้ อ่ งไว้เสมอวำ่ ...กด็ แี ลว้

กฎระเบียบในกำรอยู่ร่วมกนั

1. ความสะอาด 2. ตรงต่อเวลา 3. ใหเ้ กยี รติซง่ึ กนั และกนั
• - รองเท้าหนา้ หอ้ ง • - เวลาเรียน • - ไมเ่ ล่นโทรศพั ทข์ ณะทาการ
• - โต๊ะเกา้ อี้ พ้นื • - เวลาสง่ งาน
• - เคร่อื งแตง่ กาย เรยี นการสอน
• - ไมส่ ง่ เสียงดัง
• - ไมล่ ุกออกจากท่ีโดยพลการ

ระบอบการเมอื งการปกครองในโลกปจั จบุ นั



ประชาธิปไตยมี 2 รปู แบบ

1. ประชาธปิ ไตยทางตรง 2. ประชาธปิ ไตยทางออ้ ม (มีตัวแทน)
2.1 รัฐสภา
2.2 ประธานาธบิ ดี
2.3 ก่งึ รัฐสภากง่ึ ประธานาธิบดี

ประวัตขิ องประชาธิปไตย







ความเป็นมาของระบอบประชาธิปไตย

- ระบอบประชาธิปไตยเกดิ ขน้ึ ครั้งแรก ประมาณ 500 ปีกอ่ นครสิ ต์กาล
- เกดิ ท่ี เอเธนส์ กรกี โบราณ ซึ่งเป็นประชาธปิ ไตย ทางตรง
- โดยให้ชายทมี่ ีอายุ 20 ปี บิดามารดาเป็นคนเอเธนส์ออกไปประชุมเลอื กตงั้
แต่ ก็ยงั จากดั สทิ ธิของผู้หญงิ ทาส ไม่มีสทิ ธิแสดงความคดิ เห็น

ความหมายของประชาธิปไตย

- ประชาธปิ ไตยมาจากคาในภาษากรกี Democracy
- ในภาษากรีกจะเรียกวา่ เดโมคราเตีย Demokratia มาจากคาวา่
(Demos) หมายถึงประชาชน กบั เครตอส (Kratos) หมายถงึ การปกครอง
เม่ือนาศพั ทม์ าบวกกันจงึ หมายถึง “การปกครองของประชาชน”

ความหมายของประชาธิปไตย



ประชาธิปไตยมี 2 รปู แบบ

1. ประชาธปิ ไตยทางตรง 2. ประชาธปิ ไตยทางออ้ ม (มีตวั แทน)

2.1 รัฐสภา ต้นแบบ องั กฤษ (ไทยใช้)
2.2 ประธานาธบิ ดี ตน้ แบบ USA
2.3 กึง่ รัฐสภาก่งึ ประธานาธิบดี
ต้นแบบ ฝร่ังเศส

ประชำธิปไตยทำงออ้ ม (ตัวแทน)

ประเดน็ เปรียบเทียบ รัฐสภา ประธานาธิบดี กึ่งรฐั สภาก่งึ ประธานาธบิ ดี
ตน้ แบบการปกครอง
ประมุขของประเทศ องั กฤษ สหรฐั อเมริกา ฝรัง่ เศส
หวั หน้าฝา่ ยบรหิ าร
King (ราชอาณาจักร) ประธานาธบิ ดี
ประธานาธิบดี (สาธารณรฐั )

นายกรัฐมนตรี ประธานาธบิ ดี

ที่มาของหวั หนา้ ฝ่ายบริหาร การเลอื กของ สส สว เลือกตงั้ โดยตรงจากประชาชน

ตาแหน่งนายก มี ไมม่ ี มี (แตไ่ ม่ใชผ่ นู้ าฝ่ายบรหิ าร)

การยุบสภาผู้แทนราษฎร นายก มีอานาจในการยุบ ไมม่ ี ประธานาธิบดมี อี านาจยบุ
สภา สภา

สภาลงมตไิ มไ่ ว้วางใจฝ่ายบรหิ าร รัฐสภาทาได้ ไมม่ ี รฐั สภาลงมตินายกได้

ตัวอยา่ ง ราชอาณาจกั ร(ไทย สเปน ญปี่ ่นุ ฟิลิปปนิ ส์ อินโดนิ ศรีลังกา ฟนิ แลนด์ โปรตเุ กส รัสเซีย
ภูฏาน สวีเดน) เซีย บราซิล เกาหลีใต้ กรซี
สาธารณรฐั (สงิ คโปร์ อินเดีย อิตาลี ปากีสถาน อียิปต์
อิสราเอล เยอรมณี) แอฟริกาใต้

การเมอื งการปกครอง

1. รูปแบบรัฐสภา

ประมุขของรัฐ จะเปน็ กษัตริย์ หรอื ประธานาธิบดี จะไม่มาร่วมทางการเมือง
และไมม่ ีอานาจหน้าทใ่ี นการบรหิ ารบ้านเมอื ง

- กษัตริย์เป็นประมขุ ประเทศที่ปกครองรปู แบบนี้
เรียกวา่ ราชอาณาจกั ร (Kingdom) เช่น อังกฤษ ไทย กมั พชู า มาเลเซีย
ญปี่ นุ่ สเปน สวีเดน เดนมารก์ และเนเธอรแ์ ลนด์ เปน็ ต้น
- ประธานาธบิ ดเี ป็นประมขุ สว่ นใหญม่ าจาก รัฐสภา ประเทศทีป่ กครอง
รปู แบบนีเ้ รียกวา่ สาธารณรฐั (Republic) เชน่ สิงคโปร์ อนิ เดยี บงั กลาเทศ อสิ ราเอล
โปรตุเกส เยอรมนี อิตาลี เป็นต้น

การเมอื งการปกครอง

1. รปู แบบรัฐสภา (ตอ่ )

หวั หน้าฝ่ายบรหิ าร นายกรฐั มนตรี
รัฐสภา ส่วนใหญม่ ี 2 สภา คือ สภาผู้แทนราษฎร และ วุฒสิ ภา
มบี ทบาทในการออกกฎหมาย และควบคมุ ฝา่ ยบริหารหรอื รฐั บาล

การเมืองการปกครอง

2. รปู แบบประธานาธิบดี
- ไมม่ นี ายกรฐั มนตรี
- ประธานาธบิ ดีเปน็ ทง้ั ประมขุ ของรัฐ และ หัวหน้าฝ่ายบริหาร
มาจากการเลอื กตัง้ ของประชาชน
- ประเทศทปี่ กครองแบบประชาธิปไตยประธานาธบิ ดี เช่น สหรฐั อเมรกิ า
เมก็ ซโิ ก อาร์เจนตนิ า บราซิล อนิ โดนิเซีย และฟิลปิ ปินส์

การเมอื งการปกครอง

3. รปู แบบกึ่งประธานาธิบดี

*****มที ัง้ ประธานาธบิ ดี และ นายกรฐั มนตรี
- ประธานาธบิ ดี เป็นประมขุ และหัวหนา้ ฝา่ ยบรหิ าร (มาจากการเลอื กตงั้ )
- มีนายกคอยช่วยบรหิ าร มาจากการแต่งต้งั ของประธานาธิบดี
- ฝรงั่ เศส เกาหลีใต้ มองโกเลีย ศรลี ังกา รัสเซียเป็นต้น

มาครง มุนแจอิน

การเมืองการปกครอง

ประชาธิปไตย (DEMOCRACY)

หลกั การ

1. หลักอานาจอธปิ ไตยเปน็ ของประชาชน
เปน็ อานาจสูงสูงในการปกครองประเทศ

2. หลักความเสมอภาค
- กฎหมาย
- การเมือง
- เศรษฐกจิ
- สงั คมและโอกาส

การเมอื งการปกครอง

ประชาธปิ ไตย (DEMOCRACY)

หลักการ (ต่อ)

3. หลกั สิทธแิ ละเสรภี าพ
ให้เกดิ ความเท่าเทยี ม ความอิสระ เช่นการ

แสดงความคิดเห็น

4. หลกั นติ ิธรรม
ใช้กฎหมายควบคมุ ความประพฤติ

5. หลกั เสียงข้างมาก
ยอมรบั เสยี งข้างมาก และฟังเสยี งขา้ งน้อย

การปกครองระบอบเผด็จการ

การเมอื งการปกครอง

เผด็จการ (Dictatorship)

หลกั การ

รวบรวมอานาจการปกครองและการบรหิ ารประเทศไว้ที่ บคุ คลเพยี งคนเดียว
หรอื กลุม่ คนเพยี งกลุม่ เดยี ว

มอี านาจเบด็ เสรจ็ ในการตดั สินใจโดยไม่ฟงั เสียงของประชาชน โดยคานงึ ถึง
ประโยชนข์ องรัฐเป็นสาคัญ

ผ้คู ดิ คน้ ทฤษฏคี อมมิวนสิ ต์

ระบอบการปกครองแบบเผด็จการ

เผด็จการอานาจนิยม เผด็จการเบ็ดเสรจ็

ดแู ลการเมือง ควบคมุ ท้ัง

ให้อสิ ระเศรษฐกิจสังคม การเมือง เศรษฐกจิ สังคม

เผดจ็ การทหาร เผด็จการฟาสซสิ ต์
เผดจ็ การนาซี

เผดจ็ การคอมมิวนิสต์
เผดจ็ สมบรู ณาญาสิทธริ าชย์

ฟาสซสิ ต์ นาซี คอื พีน่ อ้ งกัน

• หลกั การ นับถอื ผู้นาสูงสุด
ระบบฟาสซิสต์และนาซเี ปน็ ระบอบการปกครองที่ใช้อานาจใน
การควบคมุ ประชาชนในทกุ เร่อื ง เปน็ ลทั ธิทถี่ ือว่าประชาชนไมม่ ี
ความสามารถ ขาดความรู้ ปกครองตนเองไม่ไดป้ ระชาชนตอ้ ง
อยูภ่ ายใต้การปกครองของผ้นู าทม่ี ีความรู้ความสามารถในทุกๆ
ดา้ น



เผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ

เผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ 1.ระบอบเผด็จการฟาสซสิ ต์ (Fascism)

จุดกาเนดิ โดย เบตโิ น มสุ โสลนิ ี ผนู้ าอิตาลี ชว่ งก่อน WAR II
ลักษณะเดน่
- ผูน้ าใช้ความเดด็ ขาดในการปกครองประเทศ
- ปลูกฝงั ชาตินิยม ใหป้ ระชาชน
- ส่งเสริมความเขม้ แขง็ ให้กบั กองทัพ







เผด็จการแบบเบด็ เสรจ็

เผด็จการแบบเบ็ดเสรจ็ 2.ระบอบเผด็จการนาซี (Nazism)

จุดกาเนิด โดย อดอลฟ์ ฮติ เลอร์ ผ้นู าเยอรมนี ชว่ ง WAR II
ลักษณะเด่น - ลักษณะเหมอื นกับ เผดจ็ การฟาสซิสต์

























การเมืองการปกครอง

เผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ 3.ระบอบเผด็จการคอมมวิ นิสต์ (Communism)

จุดกาเนดิ เริ่มทร่ี สั เซียและแพรข่ ยายเข้าจีน ในยุคของ เหมาเจอ๋ ตงุ หลงั WAR II
ลกั ษณะเด่น - เนน้ การปฏิวัตชิ นชน้ั กรรมกรเพ่อื สร้างความเปน็ ธรรมในสงั คม
- ผกู ขาดอานาจในการปกครองโดย พรรคคอมมิวนสิ ต์
- ประเทศทย่ี ังใชร้ ะบอบนชี้ ัดเจนท่สี ุดคอื เกาหลีเหนอื
- จนี และเวยี ดนาม ปัจจบุ ันผอ่ นคลายใหส้ ิทธิเสรีภาพประชาชนมากข้นึ
- ประเทศทปี่ กครองคอมมิวนิสต์ เกาหลีเหนือ จีน เวยี ดนาม

ลาว

การเมืองการปกครอง

เผดจ็ การแบบเบด็ เสร็จ ระบอบเผด็จการคอมมวิ นสิ ต์ (Communism)


Click to View FlipBook Version