The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

(The Strategy of commoditization culture tourism ;Baba food PERANAKAN in Phuket Province)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by saree.b, 2021-01-11 21:42:40

รายงานวิจัยอาจารย์ชลิดา แย้มศรีสข

(The Strategy of commoditization culture tourism ;Baba food PERANAKAN in Phuket Province)

51

(1) สถานประกอบการ

(2) หนวํ ยงานภาครฐั
(3) เทศบาลนครภเู กต็
(4) ชุมชนยาํ นเมอื งเกาํ ภูเก็ต
2.2 การสัมภาษณ๑แบบเจาะลึกรายบุคคล (In-depth Interview) เป็นการใช๎แนวสัมภาษณ๑

เจาะลึก (ตามภาคผนวก) จาํ นวน 7 คน โดยกําหนดผู๎ให๎ขอ๎ มูลในการสัมภาษณ๑ (Key-Informants)

ชื่อ – สกุล สถานภาพในการให้ข้อมูล

1.นายภัคพงศ๑ ทวิพฒั น๑ ผว๎ู ําราชการจงั หวดั ภเู ก็ต

2.นางสาวสมใจ สวุ รรณศุภพนา นายกเทศมนตรี สํานักงานเทศบาลนคร

ภูเก็ต

3.นายกวี ตันตสคุ ตานนท๑ รองนายกเทศมนตรี สํานักงานเทศบาลนคร

ภเู กต็

4.คุณเจรญิ พรหมมนิ ทร๑ กองการศึกษาองค๑การบริหารสํวนจงั หวดั

ภเู ก็ต

5.คุณดอน ลม้ิ นนั ทพสิ ฐิ ประธานชุมชนยํานเมอื งเกําภูเก็ต

6.นายแพทย๑โกศล แตงอทุ ยั นายกสมาคมเพอรานากนั

7.คุณจูน ร๎านเต๎าสอ๎ แมบํ ญุ ธรรม

2.3. การอภิปรายเฉพาะกลํมุ (Focus – Group Discussion) เปน็ การอภปิ รายโดยอาศัย

ผใ๎ู ห๎ขอ๎ มลู ทมี่ สี ถานภาพเดยี วกัน เพอ่ื หาข๎อสรปุ รํวมกนั ตามแนวอภิปรายกลมํุ (ดังรายละเอียดภาคผนวก)

ผูท๎ ่ีจะใชใ๎ นการอภปิ รายเฉพาะกลมุํ ทงั้ หมด 2 กลํมุ ๆละ 10 คน ซึง่ แตํละกลํุมประกอบดว๎ ย (1) สถาน

ประกอบการ (2) หนวํ ยงานภาครัฐ (3) เทศบาลนครภเู ก็ต (4) ชุมชนยํานเมอื งเกําภเู กต็

3. การสังเกตแบบมสี วํ นรํวม (Participant Observation) หมายถงึ ประสบการณ๑จากการสังเกต
ทไ่ี ดจ๎ ากการรวํ มทํางานกับองคก๑ รปกครองสวํ นท๎องถ่นิ หนวํ ยงานภาครฐั สถานประกอบการ เป็นเวลา 1
เดือน ในตําแหนํง ผส๎ู ังเกตการณ๑ประกอบการวจิ ัย

52

3.2.2 การตรวจสอบข้อมลู การตรวจสอบขอ๎ มูลในทน่ี จ้ี ะใช๎รปู แบบการวจิ ัยเชงิ คุณภาพ ดังน้ี
1) การตรวจสอบการสัมภาษณ๑โดยใช๎แหลงํ ขอ๎ มลู ท่ตี ํางกนั ระหวาํ งเอกสารและ

การสมั ภาษณ๑ พบวํา ผตู๎ อบแบบสัมภาษณใ๑ ห๎ความสาํ คญั กบั การพฒั นาการทํองเทยี่ วท่ียั่งยืนดว๎ ยการ
บรหิ ารแบบมสี วํ นรวํ มระหวาํ งหนํวยงานของรฐั สถานประกอบการ และชมุ ชน

2) การตรวจสอบการสมั ภาษณ๑ โดยใช๎ผู๎สมั ภาษณท๑ ม่ี จี ดุ ยืนตํางกัน คือ ผส๎ู มั ภาษณจ๑ าก
หนํวยงานภาครัฐ สถานประกอบการ ชมุ ชน

3.2.3 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
การวเิ คราะห๑ขอ๎ มลู เชงิ ปรมิ าณเปน็ หลกั จากการเก็บแบบสอบถาม และเชิงคณุ ภาพ
เสรมิ จากการสมั ภาษณ๑เพอ่ื เพมิ่ เตมิ อธบิ ายผลการเกบ็ ขอ๎ มูลจากแบบสอบถาม จะใชก๎ ารตคี วามขอ๎ มูลจาก
การสัมภาษณ๑ เพอื่ เพิ่มเตมิ คําอธบิ ายตารางจากการสาํ รวจให๎มคี วามสมบรู ณ๑ย่ิงขนึ้ และทดสอบสมมติฐาน
การวจิ ัย

3.3 กระบวนการบรหิ ารการวิจยั

กจิ กรรรม วธิ ดี าเนนิ งานและจัดเก็บข้อมูล

กิจกรรม วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย วธิ กี าร

1.ตดิ ตํอประสานงาน การตดิ ตํอกบั แหลํงข๎อมลู เพื่อทาํ ความ -แหลํงข๎อมลู -ช้แี จงโครงการ
เพ่อื ดาํ เนินการเกบ็ เข๎าใจถงึ ความสาํ คญั ประเดน็ ปญั หา -หนวํ ยงานท่ี ประสานงาน และสรา๎ ง
ขอ๎ มูล และแผนงาน สรา๎ งความเข๎าใจระหวาํ ง เกีย่ วขอ๎ ง ความรวํ มมือระหวาํ ง
องคก๑ ร
หนวํ ยงานทีเ่ กย่ี วข๎องเพอ่ื ประสาน
ความรํวมมอื ในการดาํ เนินงาน

53

กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ กลุม่ เปา้ หมาย วธิ กี าร

2.การเก็บรวบรวม เพื่อรวบรวมข๎อมลู ทจ่ี าํ เป็นในการวจิ ัย - กลุํมเป้าหมาย เกบ็ ข๎อมลู โดยการ
ขอ๎ มูลจาก
กลมํุ เปา้ หมาย รวบรวมข๎อมลู ทีม่ ชี วี ติ จากกลมุํ คน - ชมุ ชนท่เี กีย่ วขอ๎ ง บันทึกภาพ เสียง
3. การสมั ภาษณ๑
เชิงลกึ สังคม ชุมชนทเี่ กย่ี วขอ๎ ง ภาพเคลอ่ื นไหว และ

3.1การศกึ ษา ตาํ แหนํงทางพกิ ัด
วฒั นธรรมอาหาร
บาบ๐า - เพ่อื รวบรวมข๎อมลู ท่เี ป็นจรงิ จาก -บคุ คลท่ีมคี วามร๎ู การเกบ็ ข๎อมลู ภาพและ

บคุ คลทย่ี ังมีชีวติ ทางประวตั ิศาสตร๑ เสยี ง ทงั้ บันทกึ ภาพถํายทีม่ ี

- ศึกษาข๎อมลู ทางประวัติศาสตรข๑ อง วัฒนธรรม ทง้ั โดย ความละเอียดสูง

ทอ๎ งถน่ิ ทสี่ มั พันธก๑ บั วิถีชีวิตความ ทางตรงและทางอ๎อม

เปน็ อยํู เศรษฐกิจ สงั คม เพอ่ื ให๎

วเิ คราะหย๑ ทุ ธศาสตร๑กระบวนการ

กลายเป็นสินค๎าทอํ งเที่ยวของอาหาร

บาบา๐

-การรวบรวมขอ๎ มลู ทีม่ ีความสัมพนั ธ๑ -ผูเ๎ ขา๎ รวํ มพิธีกรรม เก็บขอ๎ มลู โดยการสังเกต

กบั บริบทในปัจจบุ ัน เชํน อาหารบาบา๐ หรือเทศกาลทส่ี าํ คญั และบนั ทกึ ภาพถําย

(หมูฮอ๎ ง ขนมมงคล) เปน็ ตน๎ เชนํ เทศกาลถือศลี โดยผู๎วจิ ัย

-ศึกษาประเดน็ เร่ือง การสบื ทอดทาง กนิ ผัก งานทาํ บญุ

วัฒนธรรมอาหารบาบ๐า เดือนสบิ พิธกี รรม

ทางศาสนาอ่นื ๆ

54

กิจกรรม วัตถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย วิธกี าร

3.2การศกึ ษา -เพ่อื ศึกษาขอ๎ มลู อน่ื ๆทไี่ ดเ๎ คยมกี าร -เอกสารทางวชิ าการ - ศึกษาจากเอกสารเกํา
เอกสารทาง รวบรวมมากอํ นนํามาสรปุ และ
ประวัติศาสตร๑ หาประเดน็ ทยี่ งั ไมํไดถ๎ กู ช้ีแจง ที่ได๎เคยตพี มิ พ๑ หนังสือ วารสาร กอํ นจะ
เป็นแนวทางในการประกอบการวิจยั
3.3 การจัดเวที ให๎มปี ระโยชน๑ใช๎ได๎จรงิ ในสงั คม -กลมุํ นกั วชิ าการทมี่ ี สรปุ ผลเพอื่ นาํ ไปประกอบ
ประชุมกลํุมยอํ ย -หาขอ๎ สรปุ รํวมกบั ชุมชนถงึ เอกลกั ษณ๑
วฒั นธรรม บทบาทในดา๎ น ขอ๎ มลู ในงานวจิ ัยนี้
3.4 การจัดตัง้ -หาแนวทางในการสบื ทอดวัฒนธรรม
โครงการรํวมกับ ให๎มชี ีวติ รํวมกบั ชุมชน วฒั นธรรมทอ๎ งถ่นิ
ชมุ ชน ท๎องถน่ิ
-หาแนวทางใหเ๎ ยาวชนมสี วํ นรวํ มใน -ชุมชน จดั เวทสี ัมมนา นําเสนอ
3.5 เวทีคนื ขอ๎ มลู ให๎ การเกบ็ และรักษาวฒั นธรรมผาํ น
ชุมชน กระบวนการวจิ ยั -บุคคลผม๎ู สี ํวนรํวม ข๎อมลู แลกเปลย่ี นความ
-สร๎างแนวทางพฒั นาองค๑ความรู๎
ทางวฒั นธรรมดว๎ ยชมุ ชน ในชุมชน คิดเห็น
-เกบ็ รวบรวมขอ๎ มลู ทบทวนและ
สรปุ ผลโดยให๎ชุมชนมสี ํวนรํวม -นักวิชาการ

-หนํวยงานตํางๆ

-เยาวชน บ๎าน วัด

โรงเรยี น

-ชมุ ชน จดั เวทสี ัมมนา นาํ เสนอ
-บคุ คลผม๎ู สี ํวนรวํ ม ขอ๎ มลู และแลกเปลยี่ น
ในชุมชน ความคิดเหน็
-นกั วิชาการ
-หนํวยงาน

55

กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย วธิ กี าร

4.การติดตามผลงาน -ตดิ ตามกระบวนการทาํ งานโดย -ทีมวจิ ัย -ทาํ การสรปุ ผลทุกสัปดาห๑
พิจารณาถงึ เวลาและคุณภาพของ เพื่อพฒั นาการเกบ็ ข๎อมูล
ขอ๎ มูลทไ่ี ดร๎ วบรวม ทเี่ หมาะสม ซ่งึ จะชวํ ยให๎
ขอ๎ มลู และการสรปุ ผล
5.จัดเวทสี ืบตอํ -เพอ่ื หาแนวทางประยกุ ต๑การสบื ทอด -ผูอ๎ บรม มคี วามนาํ เช่ือถือมากย่งิ ขน้ึ
วฒั นธรรม วฒั นธรรม -วิทยากร จัดเวทสี ัมมนา นาํ เสนอ
-ชมุ ชน ขอ๎ มลู และแลกเปลยี่ น
-หนํวยงานท่ี ความคดิ เหน็ นอกจากนจี้ ะ
เกย่ี วข๎อง มีการเสนอแนวทางการ
พฒั นาวัฒนธรรมทอ๎ งถนิ่
6.การวิเคราะห๑ -เพือ่ สรปุ ผลการวจิ ัยในเร่ืองของ ทีมวิจยั สสํู ื่อประเภทอ่ืนๆ
ขอ๎ มูลและสรปุ ข๎อมลู วฒั นธรรม ดาํ เนนิ การสรปุ ข๎อมลู ตํางๆ
ทีไ่ ดจ๎ ากการวิจัย
-สรา๎ งองค๑ความรจู๎ ากงานวิจัย เพอ่ื
นําไปใชป๎ ระโยชนไ๑ ด๎ในอนาคต

56

บทท่ี 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผลการศกึ ษาเร่อื ง การวเิ คราะห๑เชิงยทุ ธศาสตร๑กระบวนการกลายเปน็ สินค๎าทํองเท่ยี วของอาหาร
บาบ๐าวฒั นธรรมรวํ มสมยั เพอรานากนั ในจังหวดั ภูเก็ต ใช๎วธิ ีวทิ ยาการวิจัยแบบผสมวิธี โดยมีวัตถุประสงค๑
การวิจยั คือ

1.เพอ่ื ศกึ ษากระบวนการกลายเปน็ สินคา๎ ทอํ งเท่ียวอาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากัน
ในจงั หวดั ภเู ก็ต

2.เพอื่ ศึกษาวเิ คราะหท๑ ิศทางเชิงยทุ ธศาสตร๑กระบวนการกลายเปน็ สินค๎าทํองเท่ียวอาหารบาบา๐
วฒั นธรรมรวํ มสมัยเพอรานากันในจังหวัดภูเก็ต

3.เพื่อศึกษาแนวทางพฒั นาอาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากันในจังหวัดภูเกต็
นําเสนอเปน็ หัวข๎อใหญํ 3 ตอนด๎วยกนั คอื

ตอนที่ 1 ปจั จยั สํวนบุคคลของผ๎ูตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 สภาพแวดลอ๎ มทางกายภาพ กระบวนการกลายเป็นสนิ ค๎าทํองเที่ยวอาหาร
บาบา๐ และแนวทางการพฒั นาอาหารบาบา๐
ตอนท่ี 3 ข๎อเสนอแนะเพ่ิมเติมตํอการวิเคราะห๑เชิงยุทธศาสตร๑กระบวนการกลายเป็น
สนิ คา๎ ทํองเท่ียวของอาหารบาบ๐าวฒั นธรรมรํวมสมัยเพอรานากันในจงั หวดั ภเู กต็
ผ๎วู ิจยั ขอเสนอผลการวเิ คราะห๑ข๎อมลู ตามลาํ ดบั ดงั น้ี
1.สัญลกั ษณ๑ทใ่ี ชใ๎ นการวเิ คราะห๑ขอ๎ มูล
2.การนําเสนอผลการวิเคราะห๑ข๎อมลู
3.ผลการวิเคราะห๑ข๎อมลู
สัญลักษณ์ท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
X แทน คําคะแนนเฉลยี่
SD. แทน สวํ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

57

N แทน จาํ นวนกลมุํ ตัวอยําง
p แทน ความนําจะเป็นของคาํ สถิติ
t แทน คาํ แจกแจงแบบที (t-Distribution)
F แทน คาํ สถิตกิ ารแจกแจงแบบเอฟ (F-test)
MS แทน คาํ เฉล่ยี ผลรวมกาํ ลงั สองของคะแนน (Mean of Square)
SS แทน ผลรวมกําลงั สองของคะแนน (Sum of Square)
df แทน คาํ แหํงชัน้ ความเป็นอสิ ระ (Degree of Freedom)
*แทน ความแตกตาํ งอยํางมนี ัยสาํ คญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั .05

การเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู
ในการเสนอผลการวิเคราะหข๑ ๎อมลู ครง้ั น้ี ผูว๎ ิจยั ขอเสนอเป็นตอนๆ ดงั น้ี
ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะหข๑ อ๎ มลู เบอื้ งตน๎ ของผต๎ู อบแบบสอบถาม จาํ แนกตามเพศ อายุ

สถานภาพ ระดับการศึกษา หนวํ ยงานทสี่ งั กดั
ตอนท่ี 2 ผลการวเิ คราะหข๑ อ๎ มลู การวเิ คราะห๑ตัวแปรท่ีใชใ๎ นการวจิ ัยเปน็ รายข๎อ
ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห๑ข๎อมลู การประชมุ กลํมุ ยอํ ย (Focus Group) และสัมภาษณ๑เชงิ ลึก

(Indepth-Interview)
ตอนที่ 1 ผลการวเิ คราะหข๑ อ๎ มลู เบ้อื งตน๎ ของผู๎ตอบแบบสอบถาม จาํ แนกตามเพศ

ตาราง 1 รอ๎ ยละของกลุํมตัวอยํางจาํ แนกตามเพศ (n=400)

เพศ จาํ นวน ร๎อยละ
ชาย 231 57.75
หญงิ 169 42.25
400 100.00
รวม

58

จากตารางท่ี 1 แสดงวาํ กลมํุ ตัวอยํางผ๎ตู อบแบบสอบถามสํวนใหญํเป็นเพศชาย มากกวาํ เพศ
หญงิ โดยเพศชาย จํานวน 231 คดิ เป็นรอ๎ ยละ 57.75 และเพศหญิง จาํ นวน 169 คิดเปน็ ร๎อยละ 42.25

ตาราง 2 ร๎อยละของกลุํมตัวอยาํ งจาํ แนกตามอายุ (n=400)

อายุ จํานวน รอ๎ ยละ
10 - 19 4 1.00
20 – 29 126 31.50
30 – 39 60 15.00
40 – 49 35 8.75
50 – 59 169 42.25
60 – 69 5 1.25
70 – 79 00
80 – 89 1 0.25

รวม 400 100.00

จากตารางที่ 2 พบวาํ กลมํุ ตวั อยํางสวํ นใหญมํ ชี ํวงอายุ 50 – 59 ปี จาํ นวน 169 ราย คดิ เปน็
รอ๎ ยละ 42.25 กลมุํ ตวั อยาํ งรองลงมามชี วํ งอายุ 20 – 29 ปี จาํ นวน 126 ราย คิดเปน็ รอ๎ ยละ 31.50 และ
กลํมุ ตวั อยํางรองลงมามชี ํวงอายุ 30 – 39 จํานวน 60 คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 15.00

59

ตาราง 3 รอ๎ ยละของกลมํุ ตวั อยํางจาํ แนกตามสถานภาพ (n=400)

สถานภาพ จํานวน ร๎อยละ

โสด 211 52.75
สมรส 164 41.00
อื่นๆ 25 6.25
รวม 400 100.00

จากตารางท่ี 3 พบวํา กลํุมตวั อยํางสํวนใหญํมีสถานภาพโสด จํานวน 211 ราย คิดเป็นร๎อยละ
52.75 กลํุมตัวอยํางรองลงมามีสถานภาพสมรส จํานวน 164 ราย คิดเป็นร๎อยละ 41.00 และกลุํม
ตัวอยํางรองลงมา อ่ืนๆ จาํ นวน 25 ราย คดิ เปน็ รอ๎ ยละ 6.25

ตาราง 4 รอ๎ ยละของกลมํุ ตัวอยํางจาํ แนกตามการศกึ ษา (n=400)

การศกึ ษา จาํ นวน ร๎อยละ

ตาํ่ กวําปรญิ ญาตรี 6 1.50
ปรญิ ญาตรี 393 98.25
อืน่ ๆ 1 0.25
รวม 400 100.00

จากตารางท่ี 4 พบวํา กลํุมตัวอยํางสํวนใหญํมีการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 393 ราย
คดิ เป็นรอ๎ ยละ 98.25 กลมํุ ตัวอยาํ งรองลงมามกี ารศึกษาระดับตํ่ากวําปริญญาตรี จํานวน 6 ราย คิดเป็น
ร๎อยละ 1.50 และกลมํุ ตัวอยาํ งมกี ารศึกษาระดับอน่ื ๆ จาํ นวน 1 ราย คดิ เปน็ ร๎อยละ 0.25

60

ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล การวเิ คราะห์ตัวแปรที่ใชใ้ นการวิจยั เปน็ รายขอ้
ตารางท่ี 5 แสดงคําเฉลยี่ สํวนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ของผ๎ตู อบแบบสอบถาม จํานวน 400 คน

ขอ้ ความ X S.D.
สภาพแวดล้อมจงั หวัดภูเก็ต
1.จังหวัดภเู ก็ตมพี ื้นที่ ท่ตี ง้ั เหมาะสมกบั การทํองเทีย่ วเชงิ วฒั นธรรมอาหาร 4.06 0.83
2.จงั หวดั ภูเกต็ มคี วามพรอ๎ มในการรองรบั การการคมนาคม 3.97 0.75
ทาํ อากาศยานนานาชาติ ทําเรือน้ําลกึ ถนน
3.ระบบโครงสรา๎ งพน้ื ฐานอาํ นวยความสะดวกให๎กบั นักทอํ งเที่ยว 3.85 0.77
4.จาํ นวนนักทอํ งเทยี่ วมผี ลตอํ เศรษฐกจิ ในจังหวดั ภเู ก็ต 4.11 0.77
5.นกั ทอํ งเทีย่ วนยิ มเลอื กสถานที่ในจังหวัดภเู กต็ ทไ่ี ด๎รบั ความนยิ มและ 4.02 0.83
มีความปลอดภัยระหวํางทอํ งเท่ียว
6.การขยายตวั ของสงั คมผสู๎ งอายมุ ีผลตอํ การทอํ งเทย่ี วของจงั หวัดภเู กต็ 3.75 0.81
7.คนในพน้ื ทใ่ี ห๎ความรํวมมอื เปน็ อยาํ งดีในการสงํ เสรมิ พัฒนา ตอ๎ นรบั 3.69 0.63
นักทํองเท่ียว
รวม 4.01 0.55
กระบวนการกลายเปน็ สนิ คา้ ทอ่ งเท่ียวอาหารบาบ๋า
8.นักทอํ งเทีย่ วเลือกทานอาหารตามคําบอกเลาํ ในส่อื ออนไลน๑ 3.89 0.72
9.นกั ทอํ งเท่ียวสามารถคน๎ หาร๎านอาหารทอ๎ งถน่ิ ภเู ก็ตไดส๎ ะดวกจากสอ่ื 3.98 0.85
ออนไลน๑
10.อาหารบาบา๐ ได๎รบั ความนยิ มจากรสชาตอิ าหารและ 3.96 0.85
ความสวยงาม
11.วัฒนธรรมการกนิ ของนักทอํ งเทีย่ วสํงผลตอํ การเลือกซอ้ื สินคา๎ ประเภท 3.98 0.90
อาหารเปน็ ของท่ีระลึก
12.คนในพ้ืนท่มี คี วามเข๎าใจเกย่ี วกับอาหารบาบ๐าเป็นอยํางดี 3.92 0.93
รวม 3.94 0.66

61

แนวทางการพฒั นาอาหารบาบา๋ X S.D.
13.นกั ทํองเทีย่ วสามารถเข๎าถึงขอ๎ มลู ขําวสาร กจิ กรรมจงั หวัดภเู ก็ต 4.00 0.88

14.นักทํองเที่ยวมสี ํวนรํวมกบั คนในพ้ืนทใี่ นการอนุรักษว๑ ฒั นธรรม ประเพณี 4.08 0.86
จงั หวดั ภเู ก็ต
15.ภาครฐั ใหก๎ ารสนับสนุนในด๎านการจัดการทอํ งเทีย่ วดา๎ นอาหารสูง 4.03 0.91
16.การบริหารจดั การด๎านการทํองเท่ียวเชงิ วฒั นธรรมอาหารของรฐั และ 3.75 0.97
เอกชน ขาดความเป็นเอกภาพ
17.มหี นํวยงานภาครัฐและเอกชนทีเ่ พยี งพอในการรองรบั การทํองเที่ยวเชงิ 4.02 0.87
วัฒนธรรมอาหาร
18.ยทุ ธศาสตรก๑ ารพฒั นาจังหวดั แบบบรู ณาการ ทําใหม๎ กี ารเพิม่ ขีด 4.07 0.87
ความสามารถในการแขงํ ขนั ของจงั หวัดภูเก็ต
รวม 3.99 0.69
รวมทกุ ดา้ น 3.98 0.73

จากตารางท่ี 5 วัดระดับความคิดเห็นของประชาชน ตํอการวิเคราะห๑เชิงยุทธศาสตร๑
กระบวนการกลายเป็นสนิ ค๎าทํองเท่ียวของอาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากันในจังหวัดภูเก็ต
สภาพแวดลอ๎ มจงั หวัดภูเก็ตมีระดับความคิดเห็น มากที่สุด คําเฉลี่ย 4.01 มีคําเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.55
รองลงมา ความคิดเห็นตํอแนวทางการพัฒนาอาหารบาบ๐า มีคําเฉลี่ย 3.69 มีสํวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
0.69 และมคี วามคดิ เหน็ น๎อยท่สี ดุ ตอํ กระบวนการกลายเป็นสนิ ค๎าทอํ งเทีย่ วอาหารบาบ๐า มีคําเฉลี่ย 3.94
และคาํ สวํ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.66 และ มรี ายละเอยี ดในแตลํ ะดา๎ นดังนี้

62

สภาพแวดล้อมจงั หวัดภเู กต็ X S.D.
1.จงั หวดั ภูเกต็ มพี ้ืนท่ี ทีต่ ง้ั เหมาะสมกบั การทํองเทยี่ วเชงิ วัฒนธรรมอาหาร 4.06 0.83
2.จงั หวัดภเู กต็ มคี วามพรอ๎ มในการรองรบั การการคมนาคม 3.97 0.75
ทาํ อากาศยานนานาชาติ ทาํ เรือนํา้ ลกึ ถนน
3.ระบบโครงสรา๎ งพืน้ ฐานอาํ นวยความสะดวกใหก๎ บั นักทอํ งเท่ยี ว 3.85 0.77
4.จาํ นวนนกั ทอํ งเทีย่ วมผี ลตอํ เศรษฐกิจในจังหวัดภเู ก็ต 4.11 0.77
5.นักทอํ งเทยี่ วนยิ มเลอื กสถานที่ในจังหวดั ภูเกต็ ทไี่ ด๎รบั ความนยิ มและ 4.02 0.83
มคี วามปลอดภัยระหวาํ งทอํ งเที่ยว
6.การขยายตวั ของสงั คมผส๎ู งอายมุ ีผลตอํ การทํองเทย่ี วของจงั หวัดภเู ก็ต 3.75 0.81
7.คนในพนื้ ทใ่ี ห๎ความรวํ มมอื เปน็ อยํางดีในการสงํ เสรมิ พฒั นา ตอ๎ นรับ 3.69 0.63
นกั ทํองเที่ยว
รวม 4.01 0.55

ตารางที่ 6 สภาพแวดลอ้ มจงั หวดั ภเู ก็ต
จากตารางท่ี 6 ผลการวิเคราะหเ๑ ชงิ ยุทธศาสตร๑กระบวนการกลายเปน็ สนิ คา๎ ทอํ งเท่ียวของอาหาร
บาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากันในจังหวัดภูเก็ต ด๎านท่ีประชาชนมีระดับความคิดเห็น มากท่ีสุด
สภาพแวดลอ๎ มจงั หวดั ภูเก็ต คือ คาํ เฉลย่ี 4.01 และมคี ําสํวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน 0.55

กระบวนการกลายเปน็ สนิ คา้ ท่องเทยี่ วอาหารบาบ๋า X S.D.

8.นกั ทอํ งเท่ยี วเลอื กทานอาหารตามคําบอกเลําในสอื่ ออนไลน๑ 3.89 0.72

9.นกั ทํองเที่ยวสามารถค๎นหารา๎ นอาหารทอ๎ งถิ่นภเู ก็ตได๎สะดวกจากส่อื ออนไลน๑ 3.98 0.85

10.อาหารบาบา๐ ไดร๎ บั ความนิยมจากรสชาติอาหารและ 3.96 0.85

ความสวยงาม

11.วฒั นธรรมการกนิ ของนกั ทอํ งเทยี่ วสํงผลตอํ การเลอื กซอ้ื สนิ ค๎าประเภทอาหาร 3.98 0.90

เปน็ ของที่ระลึก

63

กระบวนการกลายเป็นสนิ ค้าทอ่ งเทยี่ วอาหารบาบา๋ (ต่อ) X S.D.
12.คนในพน้ื ที่มคี วามเขา๎ ใจเกี่ยวกบั อาหารบาบ๐าเป็นอยาํ งดี 3.92 0.93
รวม 3.94 0.66

ตารางท่ี 7 กระบวนการกลายเป็นสนิ คา้ ท่องเทย่ี วอาหารบาบ๋า
จากตารางท่ี 7 ผลการวิเคราะห๑เชิงยทุ ธศาสตร๑กระบวนการกลายเป็นสินคา๎ ทอํ งเทีย่ วของอาหาร
บาบา๐ วัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากันในจังหวัดภเู ก็ต ดา๎ นที่ประชาชนมีระดับความคิดเห็นน๎อยท่ีสุด คือ
กระบวนการกลายเปน็ สินคา๎ ทอํ งเท่ียวอาหารบาบ๐า คือ คําเฉลี่ย 3.94 และมีคําสํวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
0.66

แนวทางการพฒั นาอาหารบาบา๋ X S.D.
13.นักทอํ งเทีย่ วสามารถเขา๎ ถงึ ข๎อมลู ขําวสาร กจิ กรรมจังหวดั ภูเก็ต 4.00 0.88

14.นักทอํ งเท่ยี วมสี วํ นรํวมกบั คนในพืน้ ท่ีในการอนุรักษว๑ ัฒนธรรม ประเพณี 4.08 0.86
จงั หวดั ภูเกต็
15.ภาครฐั ให๎การสนับสนนุ ในดา๎ นการจดั การทอํ งเท่ยี วด๎านอาหารสูง 4.03 0.91
16.การบรหิ ารจัดการดา๎ นการทํองเทยี่ วเชงิ วฒั นธรรมอาหารของรฐั และ 3.75 0.97
เอกชน ขาดความเปน็ เอกภาพ 4.02
17.มีหนวํ ยงานภาครฐั และเอกชนท่เี พยี งพอในการรองรบั การทอํ งเทย่ี วเชงิ 0.87
วัฒนธรรมอาหาร 4.07
18.ยุทธศาสตรก๑ ารพฒั นาจังหวัดแบบบูรณาการ ทําใหม๎ กี ารเพม่ิ ขีด 3.99 0.87
ความสามารถในการแขงํ ขนั ของจงั หวัดภูเก็ต
รวม 0.69

64

ตารางที่ 8 แนวทางการพฒั นาอาหารบาบ๋า
จากตารางท่ี 8 ผลการวิเคราะหเ๑ ชงิ ยุทธศาสตร๑กระบวนการกลายเป็นสินค๎าทอํ งเท่ยี วของอาหาร
บาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากันในจังหวัดภูเก็ต ด๎านท่ีประชาชนมีระดับความคิดเห็นระดับมาก
รองลงมา คือ แนวทางการพัฒนาอาหารบาบ๐า มีคําเฉลยี่ 3.99 คําสํวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน เทาํ กับ 0.69
ตอนท่ี 2 ผลการทดสอบสมมตฐิ าน
ในการเสนอผลการทดสอบสมมติฐานครั้งน้ีผว๎ู จิ ยั ขอเสนอเป็นตอนๆดังน้ี
ตอนที่ 1 การทดสอบสมมติฐานโดยใช๎คําที (T-test) หรือ การทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนทางเดยี ว
(One-way ANOVA) มีสมมตฐิ าน ดังน้ี
1.การวิเคราะห๑เชิงยุทธศาสตร๑กระบวนการกลายเปน็ สนิ ค๎าทํองเทีย่ วของอาหารบาบ๐าวัฒนธรรม
รํวมสมัยเพอรานากันในจังหวดั ภเู กต็ แตกตาํ งกนั ตามเพศ
2.การวิเคราะห๑เชงิ ยุทธศาสตร๑กระบวนการกลายเปน็ สินค๎าทํองเท่ียวของอาหารบาบา๐ วัฒนธรรม
รํวมสมัยเพอรานากันในจังหวัดภเู กต็ แตกตาํ งกันตามอายุ
3.การวิเคราะหเ๑ ชงิ ยุทธศาสตรก๑ ระบวนการกลายเปน็ สนิ ค๎าทํองเทยี่ วของอาหารบาบา๐ วัฒนธรรม
รวํ มสมัยเพอรานากันในจังหวดั ภูเก็ตแตกตํางกนั ตามการศกึ ษา

65

ตารางท่ี 9 การวิเคราะหเ์ ชิงยทุ ธศาสตรก์ ระบวนการกลายเป็นสินค้าทอ่ งเท่ยี วของอาหารบาบา๋

วัฒนธรรมร่วมสมยั เพอรานากนั ในจงั หวัดภเู ก็ตแตกตา่ งกันตามเพศ

การวเิ คราะห๑เชิงยทุ ธศาสตร๑

กระบวนการกลายเป็นสินคา๎

ทํองเท่ียวของอาหารบาบ๐า SS df MS F Sig.

วัฒนธรรมรวํ มสมยั เพอรานากนั

ในจงั หวัดภเู ก็ตแตกตํางกนั

ตามเพศ

ระหวํางกลมุํ 73.52 264 .254 1.12 .269
ภายในกลมํุ 19.60 136 .22
รวม 93.12 400

*มนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ิทรี่ ะดบั 0.05

จากตารางที่ 9 ตารางวิเคราะห๑ความแปรปรวนแบบทางเดียว แสดงวําการวิเคราะห๑
เชิงยทุ ธศาสตรก๑ ระบวนการกลายเป็นสินค๎าทํองเที่ยวของอาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากัน
ในจังหวัดภูเก็ตแตกตํางกันตามเพศ โดยรวมแตกตํางกันอยํางมีนัยสําคัญ กําหนดให๎ α = .05 ผลการ
วิเคราะห๑ คําสถิติ F = 1.12 และมีคํา Sig =.269 สรุปได๎วํา ที่ระดับนัยสําคัญ .05 Scores on
Functional Status อยาํ งนอ๎ ย 2 กลํุมเหมือนกัน

66

ตารางที่ 10 การวิเคราะหเ์ ชงิ ยุทธศาสตรก์ ระบวนการกลายเปน็ สนิ ค้าท่องเที่ยวของอาหารบาบา๋
วัฒนธรรมรว่ มสมยั เพอรานากนั ในจังหวัดภูเกต็ แตกต่างกันตามอายุ

การวเิ คราะห๑เชงิ ยทุ ธศาสตร๑ SS df MS F Sig.
กระบวนการกลายเปน็ สินคา๎

ทอํ งเทีย่ วของอาหารบาบ๐า
วัฒนธรรมรวํ มสมยั เพอรานากนั
ในจงั หวดั ภูเกต็ แตกตาํ งกนั
ตามอายุ

ระหวาํ งกลมุํ 70.43 273 .244 1.10 .301
.22
ภายในกลมํุ 19.25 127

รวม 89.68 400

*มีนยั สําคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั 0.05

จากตารางที่ 10 แสดงวําการวเิ คราะหเ๑ ชิงยุทธศาสตรก๑ ระบวนการกลายเปน็ สินค๎าทํองเทย่ี วของ
อาหารบาบา๐ วัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากันในจงั หวดั ภูเก็ตแตกตํางกันตามอายุ โดยรวมแตกตํางกนั อยาํ ง
มีนยั สําคญั กําหนดให๎ α = .05 ผลการวิเคราะห๑ คาํ สถติ ิ F = 1.10 และมีคํา Sig =.301 สรปุ ไดว๎ าํ ที่
ระดบั นยั สาํ คญั .05 Scores on Functional Status อยํางนอ๎ ย 2 กลมํุ เหมือนกัน

67

ตารางที่ 11 การวเิ คราะห์เชงิ ยุทธศาสตร์กระบวนการกลายเป็นสินค้าท่องเทยี่ วของอาหารบาบา๋
วฒั นธรรมรว่ มสมยั เพอรานากนั ในจังหวดั ภเู ก็ตแตกตา่ งกันตามการศกึ ษา

การวเิ คราะห๑เชิงยทุ ธศาสตร๑ SS df MS F Sig.
กระบวนการกลายเป็นสินคา๎

ทํองเท่ียวของอาหารบาบ๐า
วฒั นธรรมรํวมสมัยเพอรานากนั
ในจังหวัดภูเกต็ แตกตํางกนั
ตามการศึกษา

ระหวาํ งกลมํุ 105.23 273 .365 .85 .81
.42
ภายในกลํมุ 34.88 127

รวม 89.68 400

*มีนัยสําคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั 0.05

จากตารางท่ี 11 แสดงวําการวิเคราะหเ๑ ชงิ ยทุ ธศาสตรก๑ ระบวนการกลายเป็นสนิ คา๎ ทอํ งเท่ียวของ
อาหารบาบา๐ วฒั นธรรมรํวมสมยั เพอรานากันในจงั หวัดภูเก็ตแตกตํางกนั ตามการศกึ ษา โดยรวมแตกตําง
กันอยาํ งมีนัยสาํ คัญกาํ หนดให๎ α = .05 ผลการวเิ คราะห๑ คาํ สถิติ F = 0.85 และมีคํา Sig =.81 สรปุ ได๎วาํ
ท่รี ะดับนัยสาํ คัญ .05 Scores on Functional Status อยาํ งน๎อย 2 กลุํมเหมอื นกัน

68

ในการศกึ ษาเชิงคณุ ภาพด๎วยการศกึ ษาการวิเคราะหเ๑ ชงิ ยุทธศาสตร๑กระบวนการกลายเป็นสินค๎า

ทํองเที่ยวของอาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากันในจังหวัดภูเก็ต ผลการวิเคราะห๑ข๎อมูล

การประชมุ กลุํมยํอย (Focus Group) และสัมภาษณ๑เชิงลึก (Indepth-Interview)

ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู

จากการประชุมกลํมุ ยํอย (Focus Group) เมือ่ วนั ที่ 8 ตุลาคม 2562 มีผเ๎ู ขา๎ รวํ มประชุม คอื

ผเ๎ู ข๎ารํวมประชุมกลมํุ ยอํ ย (Focus Group)

1.นายเศกสรรค๑ สจั จศรี องค๑การบรหิ ารสํวนจงั หวัดภูเกต็

2.นายกันตพิ งษ๑ ผลช่ืน องคก๑ ารบรหิ ารสํวนจังหวัดภูเก็ต

3.นายภาณุพงษ๑ อนิ ทร๑พรหม องค๑การบรหิ ารสวํ นจังหวดั ภูเก็ต

4.นายทวี ตันสจุ านนท๑ เทศบาลนครภูเกต็

5.นางอารีย๑ พรหมดวง เทศบาลนครภเู ก็ต

6.นางจิราพร อรพงศ๑ เทศบาลนครภูเก็ต

7.นางอรณุ ลกั ษณ๑ สังข๑ด๎วงยาง สาํ นักงานพฒั นาชมุ ชนจงั หวดั ภเู กต็

8.นางสาวสุวรรณา บุหงา สํานักงานพฒั นาชมุ ชนจงั หวัดภูเก็ต

9.นายพงษ๑เทพ ทองเทพ สํานักงานพาณิชย๑จงั หวดั ภูเกต็

10.นายสรุ เชษฐ๑ เจรญิ ผล พิพธิ ภณั ฑ๑ภูเก็ตไทหัว

11.นางแสงเดอื น หงั สวนสั มหาวทิ ยาลัยราชภฎั ภูเก็ต

12.นกั ศึกษาสาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร๑ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏภเู กต็

ผลของการประชุมกลํุมยํอย (Focus Group) ในการวิเคราะห๑เชิงยุทธศาสตร๑กระบวนการ
กลายเปน็ สนิ คา๎ ทอํ งเท่ยี วของอาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมยั เพอรานากนั ในจงั หวดั ภเู กต็

วัตถุประสงค๑ข๎อท่ี 1 เพ่ือศึกษากระบวนการกลายเป็นสินค๎าทํองเที่ยวอาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัย
เพอรานากนั ในจงั หวดั ภเู ก็ต

69

จงั หวัดภูเกต็ ได๎รบั การคัดเลือกใหเ๎ ปน็ เมอื งสรา๎ งสรรคท๑ างด๎านอาหาร โดยเทศบาลนครภูเก็ตได๎
เสนอตํอองค๑การการศึกษา วิทยาศาสตร๑ และวัฒนธรรมแหํงสหประชาชาติ (UNESCO) ในการข้ึน
ทะเบยี นเมอื งสร๎างสรรค๑ทางอาหาร ทําให๎อาหารเป็นจุดดึงดูดนักทํองเท่ียวด๎วยความท่ีอาหารพ้ืนเมือง
ภูเก็ต อาหารบาบ๐า ได๎รับความนิยมจากรสชาติ สีสัน การโฆษณา การตลาดเพ่ือดึงดูดนักทํองเท่ียวที่
นอกเหนือจากแหลงํ ทรัพยากรธรรมชาตทิ ส่ี วยงาม

กระบวนการกลายเป็นสินค๎าอาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากันในจังหวัดภูเก็ต การ
บรโิ ภคอาหารจงึ มีวิวัฒนาการของการสรา๎ งสรรค๑วฒั นธรรมของชาวจนี บาบา๐ มกี ระบวนการถํายทอดสูตร
อาหารจากรนํุ สูรํ นุํ เกดิ การปรบั ตวั ในการสรา๎ งสรรคอ๑ าหารใหมํท่ีตอบสนองความตอ๎ งการของทกุ ชํวงวัยทํา
ให๎วตั ถดุ บิ ท่มี คี วามด้งั เดิมเปลี่ยนไปให๎สามารถหาซื้ออาหารได๎สะดวกยิ่งข้ึน ทําให๎ผ๎ูบริโภคละเลยความ
ดงั้ เดมิ ของอาหารสนใจเพยี งรูปลักษณ๑ของอาหารทป่ี รากฎในส่อื ตํางๆ

ท้ังนี้เพ่ือเป้าหมายในการดึงดูดใจในการซ้ือสินค๎านั้น นโยบายทางการตลาดในการสร๎าง
ความหมายในสนุ ทรยี ศาสตรจ๑ ึงมีความสําคัญมากเสียยิ่งกวําคุณคําที่แท๎จริงของสินค๎าเสียอีก (Lupton,
1997:121) โดยที่คุณคําแท๎จริงเป็นเพียงสํวนประกอบยํอยของภาพท่ีแท๎จริง ในขณะที่คุณคําในการ
แลกเปลยี่ น หรอื ความหมายทถ่ี กู ลอยไวน๎ นั้ ไดถ๎ ูกสร๎างข้นึ เพือ่ ให๎อ๎างอิงกบั ผลิตภณั ฑ๑รปู แบบอน่ื ๆ รูปแบบ
การดาํ เนินชวี ติ บางประเภท และคณุ คาํ ทีเ่ ปน็ นามธรรม การโฆษณาจะชํวยในการสรา๎ งความปรารถนาตํอ
คณุ คําท่ีอยใูํ นรูปนามธรรม เชํน ความบอบบาง ความสวยงาม ความหรูหรา ความอุดมสมบูรณ๑และความ
พึงพอใจซึ่งถกู นาํ มาใสหํ รอื เติมลงในวัตถหุ รอื ผลติ ภัณฑ๑น้ันๆ ส่ิงที่เราต๎องทําความเข๎าใจก็คือ มโนทัศน๑ที่
เปน็ ความปรารถนาทเ่ี ป็นส่ิงสาํ คัญตํอการศึกษาการโฆษณาและความหมายของตวั สินคา๎ นน้ั เอง ทั้งน้ี การ
โฆษณากอํ ใหเ๎ กิดความร๎สู ึกขาดและไมํมแี ตํส่งิ ท่ขี าดไมํสามารถเตมิ เตม็ ได๎ตามธรรมชาติของมนษุ ย๑ก็เพราะ
มันไมไํ ด๎เกีย่ วขอ๎ งกับความต๎องการทางกายภาพ (เชนํ ความหิว หรือความกระหาย) เทําน้ัน แตํยังรวมไป
ถงึ ความตอ๎ งการเชิงสญั ลกั ษณ๑อกี ดว๎ ย (Lupton, 1997:122) คือ การบรโิ ภคในตวั ของมนั เองได๎กํอให๎เกิด
ความพอใจ ตํอความปรารถนา แตกํ ็เป็นสิ่งท่ีไมํได๎มอบความพึงพอใจน้ีให๎แกํบุคคล (Bocock, 1993:68)
และในการโฆษณานเ้ี องกช็ ํวยใหผ๎ บ๎ู ริโภคสามารถสร๎างความหมายของตนเองผํานการโฆษณานี้ได๎

“ภาพลกั ษณ๑ของอาหารสํงผลตอํ การทํองเทย่ี วในชมุ ชน หมํบู ๎าน การใช๎ภูมิปัญญาท๎องถ่ินในการ
สรา๎ งคุณคาํ ทางโภชนาการของอาหาร เชนํ วัตถดุ บิ สมุนไพรในอาหาร การใช๎อาหารเปน็ ยารกั ษาโรค”

70

นางอรุณลกั ษณ๑ สงั ข๑ดว๎ งยาง. สาํ นักงานพฒั นาชุมชนจงั หวดั ภูเกต็ .
สัมภาษณ๑เมอื่ วนั ท่ี 8 ตลุ าคม 2562

วตั ถุประสงค์ขอ้ ท่ี 2 เพ่ือศกึ ษาวเิ คราะห์ทิศทางเชิงยทุ ธศาสตรก์ ระบวนการกลายเปน็ สนิ ค้าท่องเทีย่ ว
อาหารบาบา๋ วฒั นธรรมร่วมสมัยเพอรานากนั ในจังหวดั ภูเกต็

จากสภาพแวดล๎อมของจังหวดั ภูเกต็ ท่ีมที รัพยากรธรรมชาติที่สวยงาม SEA SAND SUN ทําให๎มี
นักทํองเท่ียวเข๎ามาเท่ียวในจังหวัดภูเก็ตตลอดท้ังปี การใช๎อาหารเพื่อการทํองเท่ียวจึงเป็นปัจจัยดึงดูด
ใหน๎ ักทํองเทีย่ วอยากเข๎ามาล้มิ ลองรสชาตขิ องอาหาร โดยเฉพาะอาหารพ้ืนเมืองภูเก็ต หรืออาหารบาบ๐า
ซงึ่ รา๎ นอาหารในจงั หวดั ภูเกต็ ในบางสถานประกอบการไดร๎ ับรางวัลมิชชิลนี รับรองคุณภาพของอาหาร

ดังคาํ ใหส๎ มั ภาษณข๑ อง “การสงํ เสริมการอนรุ กั ษอ๑ าหารบาบา๐ ใหผ๎ สมผสานกับความเป็นสมัยใหมํ
ของภูเก็ต จึงควรมสี ถานประกอบการสอนทาํ อาหาร หรอื กิจกรรมทําอาหารให๎กับนักทํองเท่ียว เพ่ือให๎ผ๎ู
มาเยือนเข๎าใจถึงรากเหง๎าของอาหาร จังหวัดภูเก็ต นอกจากรูปลักษณ๑เพียงอยํางเดียวควรตร ะหนักถึง
คุณคําของอาหารด๎วย เชํน การจัดหลักสูตร กิจกรรมทําอาหารของนักเรียน ในรายวิชาคหกรรม
ในโรงเรยี น เพือ่ เปน็ การสงํ เสรมิ ใหเ๎ ด็กนักเรยี นรู๎จกั อาหาร ความเป็นมาของอาหาร วตั ถุดบิ ท่ีใช๎ในการปรงุ
อาหาร”

71

นายเศกสรรค๑ สจั จศร.ี องค๑การบริหารสวํ นจงั หวัดภูเก็ต. สมั ภาษณ๑เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2562
ภาพท่ี 1

วตั ถุประสงคข์ ้อท่ี 3 เพือ่ ศึกษาแนวทางพฒั นาอาหารบาบา๋ วฒั นธรรมร่วมสมัยเพอรานากันในจงั หวัด
ภูเกต็

จากการสมั ภาษณค๑ ุณทวี ตนั สุจานนท๑ สงั กัดเทศบาลนครภูเก็ต ตํอแนวทางพัฒนาอาหารบาบ๐า
วฒั นธรรมรวํ มสมยั เพอรานากนั ในจงั หวัดภูเกต็

“อาหารบาบ๐า ยุทธศาสตร๑ภาพรวมจังหวัด การใช๎เทคโนโลยีเข๎ามาสํงเสริมการทํองเที่ยวเชิง
วัฒนธรรม องค๑กรปกครองสํวนทอ๎ งถน่ิ กับการทอํ งเท่ียว “อาหารพื้นเมืองภูเกต็ ” เชนํ องคก๑ ารบรหิ ารสวํ น
ตําบลสนบั สนุน เพ่อื กระตุน๎ เศรษฐกจิ เชํน ภเู กต็ มอี าหารโชว๑เยอะ ไมวํ ําจะเป็นในเมือง-ชนบท มอี าหารท่ี
ดี ความรํวมมอื ระหวํางหนวํ ยงานราชการ กบั สถานประกอบการ ในการนําเสนออัตลักษณ๑อาหารบาบ๐า
ในงานประเพณีของจังหวัดภูเก็ต เพื่อให๎คนท๎องถ่ินเกิดความตระหนักและอนุรักษ๑ความเป็นอาหาร
พน้ื เมืองของภูเกต็ ตอํ ไป”

72

สมั ภาษณเ๑ ม่ือวนั ที่ 8 ตุลาคม 2562
ภาพท่ี 2

แนวทางพัฒนาอาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากันในจังหวัดภูเก็ต นั้น เมื่อมี
นักทอํ งเทีย่ วเขา๎ มาเท่ียวจํานวนมาก เรือ่ งการจัดการขยะอาหารจงึ เปน็ อีกปจั จยั หน่ึงท่ีสํงผลตํอความเป็น
เมืองนาํ อยูํของจังหวัดภเู กต็ การพฒั นาอาหารใหเ๎ ปน็ อาหารที่ยํอยสลายหรือใช๎วัตถุดิบอาหารได๎ทุกสํวน
เชนํ การใชว๎ ตั ถุดบิ พชื ที่เปน็ ส่งิ บงํ ชี้ ทางภมู ิศาสตร๑ (GI) เชํน สับปะรดภูเก็ตในการประกอบอาหารคาว
หวาน การสร๎างความมั่นคงทางอาหารใหก๎ บั ผ๎ูบรโิ ภคได๎ตระหนักถึงคณุ คาํ ทางโภชนาการ การมีภาชนะใสํ
อาหารทเี่ ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล๎อม หรือ การใช๎วตั ถุดบิ คงเหลอื จากการทําอาหารเป็นปุ๋ยหมัก หรือน้ําหมัก
ชีวภาพ

การพัฒนาอาหารพื้นเมือง หรืออาหารท๎องถิ่นของจังหวัดภูเก็ตให๎เป็นที่นิยมควรได๎รับความ
รํวมมือจากทกุ ภาคสวํ นทง้ั จากประชาชน สถานประกอบการร๎านอาหาร ร๎านขายของท่ีระลึก หนํวยงาน
ภาครฐั ในการสํงเสรมิ อาชพี และการจดั เสน๎ ทางทํองเทีย่ ววฒั นธรรมอาหารใหเ๎ กิดการมสี วํ นรํวมของคนใน
ชมุ ชน การจัดประกวดแขํงขนั เชฟเด็ก อบรมด๎านอาหารทอ๎ งถิน่ ศึกษา เปน็ ตน๎

ผลการวเิ คราะห์แบบสังเกตพฤติกรรม

จากการประชุมกลุํมยํอย (Focus group) ผู๎ให๎ข๎อมูลได๎ให๎ความรํวมมือเป็นอยํางดีในการ
แลกเปล่ียนความคิดเห็น รับฟังความคิดเห็น ความต้ังใจในการทํางาน การมีสํวนรํวมในการอภิปราย
มีระดบั พฤตกิ รรมอยูใํ นระดบั ดมี าก

ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลการสมั ภาษณ์แบบเจาะลกึ (Indepth - Interview)
จากการสมั ภาษณ๑ คณุ จนู เจ๎าของร๎านแมบํ ุญธรรม ตํอการวเิ คราะหเ๑ ชงิ ยุทธศาสตรก๑ ระบวนการ

กลายเป็นสนิ ค๎าของอาหารบาบา๐ วฒั นธรรมรวํ มสมัยเพอรานากนั ในจงั หวัดภเู ก็ต

73

ขนมเต๎าสอ๎ ของร๎านแมํบญุ ธรรม มรี สชาติทีเ่ ปน็ อตั ลักษณ๑จากความสดใหมํ ออกจากเตาอบทกุ
วนั และขนมทําด๎วยมือ โรงครัวเปน็ ต๎กู ระจกทาํ ใหผ๎ ซู๎ ือ้ เหน็ กรรมวิธีในการผลิต ด๎วยรสชาติ ท่อี รํอย
สะอาด สดใหมํ ทาํ ใหม๎ ลี กู คา๎ ประจํา ทางร๎านไมํมีการตลาดออนไลน๑ รฐั ไมํได๎เข๎ามาสํงเสริมในการขายของ
มีเพยี งธนาคารเข๎ามาสนบั สนนุ SME หรือออกบธู START UP สวํ นสถาบนั การศึกษาเขา๎ มาศกึ ษาดูงาน
ในวิชาคหกรรม เชนํ โรงเรยี น มหาวทิ ยาลัย

คณุ จนู .สมั ภาษณเ๑ มอื่ วันท่ี 28 ตลุ าคม 2562
ภาพที่ 3

จากการสัมภาษณ๑ คณุ เจริญ พรหมมินทร๑ ตําแหนํง รักษาการหัวหน๎าฝ่ายวิชาการและสํงเสริม
การศึกษา กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค๑การบริหารสํวนจังหวัดภูเก็ต ในประเด็น
สภาพแวดล๎อมภายในและภายนอกของจังหวัดภูเก็ตมีแนวโน๎มที่ดีเมื่อมองในมุมการศึกษาของการจัด
การศึกษาของโรงเรยี นในเครอื ขาํ ยองค๑การบรหิ ารสวํ นจงั หวดั ภูเก็ต ทง้ั 5 โรงเรียน ซง่ึ กองการศกึ ษาไดจ๎ ัด
โครงการคํายเยาวชน give for take give ในกจิ กรรมการทาํ งานอาหารพืน้ เมอื งภูเก็ต โดยให๎นักเรียนใน
ระดับประถมศกึ ษา มัธยมศึกษามีสวํ นรวํ มในการทาํ อาหาร ปลูกฝังใหร๎ จ๎ู ักอาหารพื้นเมือง การใสํใจในการ
จดั การขยะทีเ่ กดิ จากอาหาร เชนํ ศูนย๑เรียนร๎ูการจัดการขยะโรงเรยี นบางบอน อีกทั้ง กองการศึกษาฯ ได๎
เชิญวิทยากรท่มี ีความร๎ู ความเชีย่ วชาญ ดา๎ นอาหารมาอบรมใหค๎ วามรกู๎ บั นกั เรียน

74

สําหรบั จดุ แข็งของยุทธศาสตรก๑ ระบวนการกลายเป็นสินคา๎ ทํองเท่ยี วของอาหารบาบ๐าวัฒนธรรม
รวํ มสมยั เพอรานากนั ในจังหวัดภเู ก็ต ในสํวนของกองการศกึ ษามงี บประมาณสาํ หรับเด็กและเยาวชนเพื่อ
การพัฒนาคุณภาพชวี ิตผํานข๎อบญั ญัติขององค๑การบริหารสํวนจงั หวดั ภเู ก็ต

สําหรบั อํอนของยทุ ธศาสตร๑กระบวนการกลายเป็นสินค๎าทํองเท่ียวของอาหารบาบ๐าวัฒนธรรม
รํวมสมัยเพอรานากันในจังหวัดภูเก็ต ในสํวนของกองการศึกษาฯ คือ ความตํอเนื่องในการจัดกิจกรรม
รวํ มกบั หนํวยงานราชการภายนอก

สําหรับอุปสรรค/ ข๎อจํากัด ของยุทธศาสตร๑กระบวนการกลายเป็นสินค๎าทํองเที่ยวของอาหาร
บาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากันในจังหวัดภูเก็ต คือ กระบวนการสํงเสริมถํายทอดความรู๎จาก
ปราชญ๑ท๎องถ่ิน ชุดความรเ๎ู กี่ยวกับอาหารพนื้ เมอื งภูเก็ต และความตระหนักถึงความสําคัญของความเป็น
ท๎องถน่ิ การให๎เด็กได๎ลงมือทําเพื่อกํอให๎เกิดการเรียนรู๎ อาหารกับคุณคําทางโภชนาการ อาหารเป็นยา
รกั ษาโรค

สําหรับทศิ ทางในการพฒั นายทุ ธศาสตรก๑ ระบวนการกลายเป็นสินค๎าทํองเท่ียวของอาหารบาบ๐า
วฒั นธรรมรํวมสมัยเพอรานากนั ในจังหวัดภเู กต็ คือ ชุดอาหารพื้นเมอื งทม่ี คี ุณคาํ ทางโภชนาการและค๎ุมคํา
กบั ราคา สถานประกอบการมีสํวนรํวมในการสงํ เสริมการจัดการขยะอาหารทด่ี ี เพื่อการจัดการทํองเท่ียว
วฒั นาธรรมอาหารทย่ี ั่งยนื ตํอไป

75

คณุ เจรญิ พรหมมนิ ทร.๑ สัมภาษณ๑เม่อื วนั ท่ี 29 ตลุ าคม 2562
ภาพที่ 4

จากการสัมภาษณ๑ ผ๎ูวาํ ราชการจงั หวัดภเู กต็ ตอํ แนวโน๎มสภาพแวดลอ๎ มภายในและภายนอกของ
จังหวัดภเู กต็ ในดา๎ นการเมือง เศรษฐกิจ สงั คมและวัฒนธรรม นั้น เน่ืองจากจังหวัดภูเก็ตเป็นเมอื งแหํงการ
ทํองเท่ียวระดับโลกมีนักทํองเท่ียวจากทั่วโลกมาเยือนในแตํละปีกวําสิบล๎านคน ซ่ึงสร๎างรายได๎ให๎กับ
จังหวัดภูเก็ตและประเทศปีละหลายหมื่นล๎านบาท ในขณะเดียวกันการขยายของเขตเมืองเพ่ิมมากข้ึน
ปญั หาตาํ งๆก็มีความซับซ๎อนเพ่ิมมากขึ้นด๎วย เชํน มีประชากรแฝงและแรงงานตํางด๎าวจํานวนมาก นํ้า
ขยะ อากาศ ความแออดั ของเมือง การบกุ รุกที่สาธารณะและป่าไม๎ ระบบการจราจร เป็นต๎น ต๎องมีการ
แก๎ไขปัญหาอยํางเป็นระบบและทุกภาคสํวนต๎องมีสํวนรํวมชํวยกัน และมีความจําเป็นท่ีจะต๎องใช๎
งบประมาณจํานวนมากในการดาํ เนินการดา๎ นตํางๆ จงึ จะจดั การแก๎ไขปัญหาท้ังระบบได๎

สําหรับจุดแข็ง คือ อาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากันเป็นเอกลักษณ๑ไมํเหมือนกับ
จังหวัดอนื่ มีลักษณะผสมผสานวัฒนธรรมโดยได๎มีการนําสํวนท่ีดีที่สุดของอาหารระหวํางอาหารจีนกับ
อาหารพนื้ เมอื งมาผสมประสานอยํางลงตวั และมีอัตลักษณ๑เฉพาะตัวของตัวเอง มีวิธีการปรุงอาหารตาม
ความเชอื่ ดั้งเดิมของท๎องถิ่นซง่ึ สสี ันสวยงาม มรี สชาติกลมกลํอมไมํจัดจ๎านจนเกินไปเหมอื นกบั อาหารปักษ๑

76

ใตท๎ ่วั ไป และยงั อดุ มไปดว๎ ยคุณคําโภชนาการจากวัตถดุ บิ ในท๎องถ่ิน ในปจั จุบนั เราสามารถสงํ เสรมิ ให๎เดก็ ๆ
ค๎นหาตัวเองในด๎านนี้ได๎สามารถตอํ ยอดไปได๎ เพราะธุรกจิ ดา๎ นอาหารยงั สามารถเตบิ โตไดอ๎ ีก เพราะฉะน้ัน
ในอนาคตจงั หวดั ภเู กต็ อาจจะมีจดุ เดนํ เร่อื งอาหารบาบา๐ เพือ่ สงํ เสรมิ การทํองเทย่ี วได๎อีกทางหนง่ึ

สวํ นจดุ ออํ น คอื ผ๎ูประกอบการร๎านอาหารบาบ๐าซงึ่ สวํ นใหญอํ าศัยอยูใํ นยาํ นเมอื งเกําภเู ก็ตทยี่ งั คง
รักษาวัฒนธรรมอาหารบาบ๐ามาจนถึงปัจจุบัน มีความร๎ู ทักษะในการปรุงอาหารมักจะมีเคล็ดลับที่
ถํายทอดผํานลูกหลานรํุนสูํรํุนในครอบครัวเทําน้ัน ซึ่งอาจจะทําให๎มีการสูญหายหรือร สชาติอาหาร
ผดิ เพ้ียนไปจากเดมิ เน่อื งจากการขยายตวั ของชุมชนเมืองหรือแหลํงทํองเท่ียวมีเพ่ิมมากข้ึนเรื่อยๆทําให๎
แหลงํ วัตถดุ ิบตามธรรมชาติในพื้นที่ทอ๎ งถน่ิ ท่ีมปี ริมาณท่ีน๎อยลง ประกอบกับการที่ผู๎ประกอบการร๎านค๎า
ต๎องการท่ีจะประหยัดต๎นทุนเพ่ือจะได๎เพ่ิมผลกําไรมากยิ่งข้ึน ทําให๎กระบวนการผลิตอาหารบาบ๐า
วฒั นธรรมดง้ั เดมิ อาจจะเส่ือมหรอื สูญหายไปได๎

สวํ นอุปสรรค/ ข๎อจาํ กดั ของการวิเคราะห๑เชงิ ยุทธศาสตร๑ กระบวนการกลายเป็นสินค๎าทํองเท่ียว
ของอาหารบาบา๐ วฒั นธรรมรํวมสมยั เพอรานากันในจงั หวัดภูเก็ต คือ

1.ในปัจจุบันพ้ืนท่ีตํางๆมีความเจริญขยายกลายเป็นเมืองเพิ่มมากข้ึน วิถีชีวิตของชาวภูเก็ต
ก็มกี ารเปลี่ยนแปลงต๎องเรงํ รบี แขงํ กบั เวลาทําให๎คนสํวนใหญไํ มํได๎ใหค๎ วามสนใจกบั อาหารบาบ๐าเทาํ ที่ควร

2.ชาวจังหวัดภเู กต็ ในปัจจบุ นั ให๎ความสนใจกับอาหารประเภทอ่ืนๆอาหารบาบ๐าต๎องแขํงขันกับ
อาหารวฒั นธรรมอนื่ ๆที่หล่งั ไหลเขา๎ มาอยํางตอํ เนื่อง

3.ความปลอดภัยในอาหาร ซึ่งเป็นจุดอํอนท่ีสุดของอาหาร เน่ืองจากอากาศที่ร๎อนช้ืนจะทําให๎
อาหารเนาํ เสียได๎งาํ ย จึงตอ๎ งดูแลในเรื่องน้เี ป็นพเิ ศษ

4.ความพึงพอใจในรสชาตขิ องอาหารบาบา๐ การจะรกั ษ๑รสชาติด้งั เดิมของอาหารบาบ๐า ซ่ึงปัญหา
ท่ีพบ คอื รา๎ นอาหารหลายๆรา๎ น ไมํสามารถควบคุมรสชาติอาหารได๎ ย่ิงนานารสชาติอาหารย่ิงเพ้ียนไป
จากเดิม

77

5.การประชาสมั พนั ธเ๑ ผยแพรํขอ๎ มลู ขําวสารเกี่ยวกับอาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยพารานากัน
ยังไมํเพียงพอและขาดความตอํ เน่อื ง

สํวนทิศทางในการพัฒนายุทธศาสตร๑กระบวนการกลายเป็นสินค๎าทํองเท่ียวของอาหารบาบ๐า
วฒั นธรรมรวํ มสมัยเพอรานากันในจังหวัดภูเกต็ สํกู ารเปน็ แหลํงทอํ งเทีย่ วเชงิ วัฒนธรรมอาหารอยํางย่ังยืน
คอื

1.จัดให๎มหี นํวยงานทร่ี บั ผดิ ชอบในการเผยแพรํข๎อมลู และถาํ ยทอดเก่ียวกับกระบวนการผลิตอยําง
ครบวงจรตั้งแตวํ ัตถดุ ิบทม่ี คี ุณภาพขน้ั ตอนการปรงุ และกระบวนการบริการให๎กับลกู คา๎

2.ประชาสัมพันธ๑เผยแพรํข๎อมูลขําวสารในทุกชํองทาง และมีการสํงเสริมความรํวมมือและ
ประชาสมั พนั ธ๑ เชํน เมืองพ่เี มอื งน๎อง ทง้ั 14 จงั หวัดภาคใต๎

3.พฒั นารปู แบบแพ็คเกจการบรรจเุ พมิ่ มูลคาํ ใหด๎ สู วยงามนาํ รับประทาน พฒั นาและสํงเสรมิ ด๎าน
การตลาดใหก๎ บั ผป๎ู ระกอบการร๎านค๎าและแปรรูปให๎ทันสมัยมากย่ิงข้ึน เชํนเดียวกับผลิตภัณฑ๑ของญ่ีปุ่น
และเกาหลี

4.ภูเก็ตได๎รบั การรบั รองให๎เปน็ City of Gastronomy จากยูเนสโก และควรจัดใหม๎ งี านเทศกาล
อาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากัน โดยมีชํวงเวลาท่ีแนํนอนอยํางน๎อยปีละหน่ึงคร้ังเพื่อ
ประชาสมั พันธ๑ให๎กบั ประชาชนท่วั ไป และนักทํองเที่ยวท้ังชาวไทยและตํางประเทศได๎รับร๎ูข๎อมูลขําวสาร
เก่ียวกับอาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมยั เพอรานากนั เพราะสามารถสํงเสริมการทํองเที่ยวให๎กับจังหวัด
ภูเกต็ ได๎อกี ทางหนึง่ และยงั สามารถสร๎างรายได๎เพ่ิมใหก๎ บั ผปู๎ ระกอบการร๎านอาหารบาบ๐าเพื่อเป็นการสืบ
ทอดวฒั นธรรมรวํ มสมัยเพอรานากนั ให๎ยั่งยืนตํอไป

สมั ภาษณ๑เมื่อวนั ท่ี 18 พฤศจกิ ายน 2562

78

จากการสัมภาษณ๑คุณสมใจ สุวรรณศุภพนา ตําแหนํง นายกเทศมนตรีเทศบาลนครภูเก็ต
ได๎วิเคราะห๑ ถึงสภาพแวดล๎อมภายในและภายนอกของจังหวัดภูเก็ตมีแนวโน๎มในด๎านการเมือง
เศรษฐกิจ สังคมหรอื วัฒนธรรม คือ สภาพแวดลอ๎ มของรฐั บาล อุตสาหกรรมการทํองเท่ียว จังหวัดภูเก็ต
มีการสงํ เสรมิ การทอํ งเทยี่ วเชงิ วฒั นธรรม (เมืองมีชวี ิต) สังคม การทอํ งเท่ียวธรรมชาติ : พัฒนาเศรษฐกิจ
ซึ่งแนวโน๎มของจังหวัดภูเก็ตเป็นสังคมผู๎สูงอายุการสํงเสริวัฒนธรรมจากคุณคําสํูมูลคํา การพัฒนาพื้นท่ี
เกาะภูเกต็ ทงั้ ฝ่งั ตะวันออกและฝ่ังตะวันตก เชนํ การพฒั นาเกาะแกว๎ ป่าคลอก

สํวนบทบาทขององค๑กรปกครองสํวนท๎องถ่ิน ได๎ปรับปรุงโครงสร๎างพ้ืนฐาน ปรับปรุงให๎มี
มาตรฐานการปรบั ภมู ทิ ศั นใ๑ ห๎เป็นเมืองนําอยํู ชโิ นยโู รเปยี น การสรา๎ งทางฟุตบาตรให๎มีความปลอดภัยกับ
คนสามวยั เชํน วัยเด็ก วัยกลางคน และวัยสูงอายุ ซ่ึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนยําน Old
Town การมี CCTV เพ่ือสร๎างความปลอดภัยให๎กับชุมชน มีบ๎านหลักเพ่ือประชาสัมพันธ๑ข๎อมูลการ
ทํองเที่ยวให๎กับนักทํองเที่ยว คือ บ๎านเลขที่ 63 กับบ๎านหั้วเซี่ย (บ๎านตัวอยําง) นํามาซ่ึงการปรับปรุง
โครงสร๎างพื้นฐานสูํการทอํ งเท่ียวเชงิ วฒั นธรรม มีแผนที่แนะนาํ ยํานเมืองเกํา พื้นที่เชคอนิ ถํายภาพ

องค๑กรปกครองสํวนท๎องถ่ินมีแผนพัฒนาด๎วยหลักสูตรท๎องถ่ิน โดยการให๎องค๑ความรู๎ ความ
ภาคภูมิใจของภูเก็ต เชํน การแตํงกาย ประเพณี อาหาร ซึ่งนโยบายของรัฐชํวยเหลือสนับสนุน +
ประชาชนมสี ํวนรํวม (ความต๎องการของชมุ ชน) = ตอํ ยอดได๎

อีกทั้ง การค๎นหาตัวตน ซึ่งเป็นจุดแข็งนํามาร๎อยเรียง วัฒนธรรมการทานอาหารกับครอบครัว
เชํน ข๎าวหํอภูเก็ต (ตามชายทะเล) เชํน การกินข๎าวนอกบ๎านในวันสุดสัปดาห๑ที่สะพานหินซ่ึงเป็นพ้ืนที่
นันทนาการ ทาํ กิจกรรม และการดแู ลในครอบครวั

สําหรบั จดุ แขง็ ของยุทธศาสตร๑กระบวนการกลายเปน็ สินคา๎ ทอํ งเท่ยี วของอาหารบาบ๐าวัฒนธรรม
รวํ มสมัยเพอรานากันในจังหวัดภูเกต็ คือ 1.ภูเกต็ เปน็ เกาะมีความสมบรู ณใ๑ นเชิงธรรมชาติ 2.การรักษาวิถี
ชวี ติ ขนบธรรมเนียมประเพณี การทํองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม (เป็นทางเลือกที่นักทํองเท่ียวเข๎ามาในเมือง
การทอํ งเท่ยี ว เชงิ วัฒนธรรม Old Town)

79

3.ฝ่ังตะวันออกของเกาะ อาหารทางทะเล การเกษตรและชุมชนมีความแข็งแรง อาหารไทย
ดัง้ เดมิ สูเํ มอื งวัฒนธรรมอาหารดั้งเดิม เชํน อาํ เภอกะทู๎ กบั เทศกาลถือศีลกนิ ผกั (อาหารกับประเพณี)

4.ชุมชน เครือขาํ ย รํวมกบั การทอํ งเทย่ี วแหงํ ประเทศไทยจังหวัดภูเก็ต (ททท.ภเู กต็ ) + สถาบัน +
สาํ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวัดภูเกต็ + โรงเรยี น และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนสามชํวงวัย คือ วัยเด็ก
วยั กลางคน วยั สงู อายุ โดยใช๎สินค๎าวฒั นธรรม + ปากทอ๎ งของคนในพ้นื ที่

สวํ นจุดออํ นของยุทธศาสตร๑กระบวนการกลายเป็นสินค๎าทํองเท่ียวของอาหารบาบ๐าวัฒนธรรม
รํวมสมัยเพอรานากันในจังหวัดภูเก็ต คือ 1.การทํองเท่ียวในทุกมิติ (ทําให๎มีชีวิต) การสร๎างอาหาร
สรา๎ งสรรค๑ (การ Check in อาหาร)

1.1 การพฒั นาโครงสร๎างพื้นฐานมผี ลกระทบตอํ คนในพน้ื ที่ หากหนํวยงานปกครองสํวนท๎องถิ่น
กาํ ลงั ดาํ เนินการปรับภมู ทิ ศั น๑ในฤดทู อํ งเทย่ี ว

1.2 ประชากรแฝงท่มี จี าํ นวนเพ่ิมมากขนึ้ ขาดความลึกซึง้ กบั วัฒนธรรมภูเกต็

และอุปสรรค/ ข๎อจํากัด คือ ความลึกซ้ึง ความเข๎าใจของประชาชนตํอความเป็นภูเก็ต (ความ
ลกึ ซ้ึงกบั วฒั นธรรม)

สาํ หรบั ทิศทางในการพฒั นาในอนาคตนั้น ปจั จุบันให๎ความสําคัญกับวิถีชีวิตมากกวําอาหารมอง
ครบทกุ มิตขิ องการทํองเท่ยี ววฒั นธรรม โดยใช๎วัฒนธรรมคุณคําสูํมูลคํา การนาํ ความแตกตํางมาทําจุดแข็ง
ของชมุ ชนด๎วยการสร๎างรายได๎ การมกี ระบวนการ โดยตอบสนองความต๎องการกับคนในชุมชน การสร๎าง
เครอื ขาํ ย การทาํ ใหว๎ ัฒนธรรมถูกยกระดบั + การสร๎างเครอื ขํายวัฒนธรรม การแบงํ ปันพนื้ ท่ีกับวัฒนธรรม
ชุมชน การสร๎างเมืองภูเก็ตให๎เป็น Creative city สร๎างเครือขํายกับเมืองสรรค๑ เชํน จังหวัดเชียงใหมํ
กรุงเทพมหานคร สุโขทัย เพ่ือการพฒั นาสํสู ากล

การเชือ่ มโยงเส๎นทางอาหาร เชํน หลาดใหญํ การเป็นศูนย๑รวม OTOP + การขบั เคลื่อนของคนใน
ชมุ ชน ในแตํละพืน้ ที่ โดยใหค๎ วามสําคัญกับอาหาร ตน๎ นํ้า กลางนํา้ ปลายน้าํ ให๎ขยายผลระหวํางอําเภอ
และจังหวดั

80

ภาพที่ 5

สํานักงานเทศบาลนครภูเก็ต. สัมภาษณ๑เมือ่ วนั ท่ี 26 พฤศจกิ ายน 2562
ภาพท่ี 6

จากการสัมภาษณ๑ คุณดอน ลิ้มนันทพิสิฐ ตําแหนํง ประธานชุมชนยํานเมืองเกําภูเก็ต ตํอการ
วเิ คราะห๑สภาพแวดล๎อมภายในและภายนอกของจงั หวัดภูเกต็ ตอํ แนวโน๎มด๎านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
หรือวฒั นธรรม คือ สภาพแวดลอ๎ มในชมุ ชนยํานเมืองเกาํ ภเู ก็ตคาํ นึงถงึ ความย่งั ยืน โดยใชแ๎ นวคิดปรัชญา

81

เศรษฐกิจพอเพียงในการสร๎างสมดุลของสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล๎อม และวัฒนธรรมเพื่อให๎เกิดความ
ยงั่ ยนื ของชุมชน อน่งึ ชมุ ชนยงั ขาดการจัดการในชุมชน เชนํ สถติ ิจํานวนนักทํองเท่ียวในแตํละปี สถิติการ
ใช๎บนรถโพถ๎องของนักทํองเที่ยว ในยํานชุมชนเมืองเกํา ปัญหาการจัดการสถานท่ีจอดรถให๎กับ
นักทอํ งเทยี่ ว กลํุมนักทอํ งเท่ียว , การจดั การความปลอดภยั ในชุมชน ไมํมีตํารวจนักทํอเท่ียวมาให๎บริการ
หรอื ศูนย๑ขอ๎ มูลให๎กับนักทํองเทย่ี ว

การขยายเส๎นทางทํองเท่ียวชุมชนเมืองนําอยูํ เชํน ถนนพังงา ถนนรัษฎา ถนนดีบุก ถนนกระบี่
(การสรา๎ งเมอื งนําอยํู SMART CITY) รา๎ นอาหาร ที่กิน ทพ่ี กั ที่เทยี่ ว ซ่ึงเมืองเกํายังขาดการจัดการ ปัญหา
การขาดการจัดการของ TAXI แยํงแขก

การสรา๎ งความเชือ่ มโยง คนกบั วัฒนธรรม การมีกิจกรรมใหก๎ ับนักทํองเท่ียว ในเร่ืองอาหารบาบ๐า
เช๎า สาย บําย เย็น อาหารในชีวิตประจําวัน การเช่ือมโยงคน สังคม เศรษฐกิจ คนกิน (ทํามาขายได๎)
การทค่ี นพนื้ เมืองคนในพนื้ ที่ ให๎ความสําคญั กับการอนรุ ักษอ๑ าหารทอ๎ งถิน่ และพฤตกิ รรมของนักทํองเท่ียว
ควรที่จะรับผดิ ชอบตํอชุมชน เชํน มีการจัดการขยะที่ดีให๎กับนักทํองเท่ียว การคิดบริการคําการจัดการ
ท่ีรวมกบั ราคาหอ๎ งพกั ของนกั ทอํ งเที่ยว เพ่ือนําเงินคําบริการดังกลําวใช๎เป็นกองทุนในการจัดการชุมชน
เชนํ การบริหารจดั การขยะ

วัฒนธรรมการกิน การได๎มาซึ่งทมี่ าของอาหาร แหลํงท่ีมาของอาหาร คุณคําทางโภชนาการของ
อาหาร กระบวนการทําอาหาร สุขอนามัย (อาหารปลอดภัย) การจัดการขยะอาหารของสถาน
ประกอบการ นาํ มาซ่งึ การสรา๎ งสมดุลทางวัฒนธรรม : วัฒนธรรมอาหาร อาหารพ้ืนเมืองกับสูตรดั้งเดิม
ความด้ังเดมิ ของอาหาร กบั ความเปน็ สมยั ใหมํของอาหาร และการสรา๎ งความร๎ู ความเขา๎ ใจให๎กับชุมชน

อาหารกับการสร๎าง สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล๎อม วัฒนธรรมอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ๑
สําเร็จรูป การอนุรักษค๑ วามดัง้ เดิมของอาหาร การนําอาหารกลบั บา๎ น การพัฒนาอาหารใหเ๎ ป็นของท่ีระลกึ
อาหารสําเรจ็ รปู สะดวกตํอการทาน โดยคํานงึ ถงึ โภชนาการคณุ คําทางอาหารดว๎ ย วัตถุดบิ อาหารท่ีสดใหมํ

82

สาํ หรับจดุ แขง็ ของยุทธศาสตร๑กระบวนการกลายเปน็ สินค๎าทํองเทย่ี วของอาหารบาบ๐าวัฒนธรรม
รวํ มสมยั เพอรานากนั ในจงั หวัดภูเก็ต คือ อาหารภเู กต็ มคี วามหลากหลาย (อาหารไมซํ าํ้ ) Street food
หลากหลายชนดิ ประเภท ทห่ี ลากหลาย และอาหารมหี ลายระดบั ให๎เลือกรับประทาน การอนรุ ักษ๑ความ
ดั้งเดมิ ของอาหาร ที่มาของอาหารบอกถงึ ความเป็นมาของคนภเู ก็ต

สวํ นจดุ อํอน คอื การดาํ เนินงานท่ไี มตํ อํ เน่ืองของหนวํ ยงานภาครฐั
สําหรับอุปสรรค ข๎อจํากัด คือ ข๎อจํากัดของชุมชนในการจัดอบรมการทําอาหาร การสร๎าง
กิจกรรมให๎กับนักทํองเที่ยว การสํงเสริมของหนํวยงานภาครัฐตามงบประมาณ การขาดการจดบันทึก
ประวตั ิศาสตรข๑ องชมุ ชน
และจากจุดแข็ง จุดอํอน นํามาสํูทิศทางในการพัฒนาจังหวัดภูเก็ตให๎ไปสํูแหลํงทํองเที่ยวเชิง
วัฒนธรรมอาหารอยํางยั่งยืน คือ อาหารอยํูได๎ต๎องขายได๎ ควรมีกิจกรรมให๎นักทํองเท่ียวได๎ทดลอง
ทําอาหารพื้นเมือง ตามแนวคดิ Local Experience: ประสบการณ๑ อาหาร อาภรณ๑ อารมณ๑ บรรยากาศ

คณุ ดอน ลม้ิ นันทพสิ ฐิ . สมั ภาษณเ๑ มอื่ วันที่ 25 พฤศจกิ ายน 2562
ภาพที่ 7

จากการสัมภาษณ๑นายแพทย๑โกศล แตงอุทัย ตําแหนํง นายกสมาคมเพอรานากัน ตํอการ
วิเคราะห๑เชิงยทุ ธศาสตร๑กระบวนการกลายเปน็ สินค๎าทอํ งเทยี่ วอาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานา
กนั ในจังหวัดภเู ก็ต คือ อาหารบาบ๐า หรอื อาหารพ้ืนเมืองภูเก็ต เป็นอาหารที่คนภูเก็ตทํากินในครอบครัว

83

ไมไํ ด๎ทําไวเ๎ พอ่ื เป็นสนิ คา๎ อาหารบาบา๐ เป็นอาหารท่ีถํายรสชาติความเป็นดั้งเดิม ปัจจุบันรสชาติเหลําน้ัน
อยูกํ ับครอบครวั ความเป็นสมัยใหมํของหน๎าตา รสชาตอิ าหารไดท๎ ําให๎อาหารบาบา๐ มีรสชาตทิ ่ตี าํ งจากเดิม
และหากจะสํงเสรมิ อาหารพื้นเมืองหรืออาหารท๎องถ่ินให๎เป็นสินค๎าวัฒนธรรมควรท่ีจะมีผู๎ประกอบการ
มผี เ๎ู ชี่ยวชาญดา๎ นอาหารพน้ื เมือง มีวตั ถุดิบการผลติ ทส่ี ะอาด สด ใหมํ ถกู สขุ ลกั ษณะ

และ สภาพแวดล๎อมภายใน ภายนอก ภูเก็ตในระยะ 5-10 ปีถัดไป ยังคงมีการเพิ่มจํานวน
ประชากรจากการอพยพเข๎ามาหางานทํารวมกับจํานวนนักทํองเที่ยว จะทําให๎ชนบทลดลง เมืองขยาย
ชมุ ชนคนท๎องถ่นิ จะหดตัวลงจะธาํ รงวถิ ชี วี ิตเดิมๆไมํได๎ รากฐานทางวฒั นธรรมสน่ั คลอน

อีกทั้งเมื่อวิเคราะห๑ SWOT แล๎ว จุดแข็ง : อรํอยด๎วยรสชาติกลมกลํอม หรือกลางๆให๎
นกั ทอํ งเทยี่ วทั่วโลกชมิ ได๎/ มีอัตลักษณ๑ของตนเอง จุดอํอน : หากรสชาติแท๎ต๎องผลิตด๎วยกรรมวิธี Slow
food/ ขาดผเู๎ ชยี่ วชาญ/ ต๎นทนุ การผลติ สูง โอกาส : ตอ๎ งมี R&D เพ่อื สร๎างกระบวนการผลิตใหมํ, ยกระดับ
สูอํ ตุ สาหกรรมอาหาร
อุปสรรค : ต๎องแขงํ ขันกบั อาหารแนวใหมํ, ขา๎ มชาติ สํวนประเด็นท่ี 3 ทศิ ทางพัฒนาสํูแหลํงทํองเที่ยวเชิง
วฒั นธรรมอาหาร 1.อาศัยภูมิปญั ญาท๎องถ่ิน, การได๎ City of Gastronomy สร๎าง Brand ของจงั หวดั และ
กจิ การเอกชน

2.ทุกภาคสํวนรัฐและเอกชน ตอ๎ งเขา๎ ใจและรํวมมอื กนั และ 3.สนบั สนุนธรุ กิจอาหารของ
SME ให๎เขม๎ แขง็

นายแพทย๑โกศล แตงอทุ ยั . สัมภาษณเ๑ มอื่ วนั ที่ 29 พฤศจิกายน 2562

84

องคค์ วามรู้ใหมท่ ่ีไดจ้ ากการวจิ ยั

การวเิ คราะหเ๑ ชงิ ยทุ ธศาสตรก๑ ระบวนการกลายเป็นสินค๎าทํองเที่ยวของอาหารบาบ๐าวัฒนธรรม
รํวมสมยั เพอรานากันในจงั หวดั ภเู ก็ต นั้น ผ๎ูบรโิ ภคควรรจู๎ กั รากเหงา๎ ของอาหาร คือ แหลงํ ท่มี าของวตั ถดุ ิบ
คุณคําทางโภชนาการท่ผี ๎บู รโิ ภคได๎รับตามความเหมาะสมของชวํ งวยั คอื อาหารควรเป็นอาหารปลอดภัย
ผ๎ูบริโภคมีความพึงพอใจในรสชาติของอาหาร การบริการท่ีมีคุณภาพ และกํอให๎เกิดความย่ังยืนสร๎าง
รายได๎ให๎กบั ชุมชนสามารถพ่งึ ตนเอง และรกั ษาความเปน็ อัตลักษณ๑ของตน

กระบวนการกลายเป็นสินค๎าของอาหารบาบ๐า คือ การทําให๎อาหาร เป็นการทํองเท่ียวเชิง
วฒั นธรรมอาหารท๎องถน่ิ สรา๎ งการมสี วํ นรวํ มของชุมชนในการจดั การทอํ งเทยี่ วยัง่ ยืน การใช๎ประโยชน๑จาก
อาหารใหค๎ ๎มุ คํา การจดั การขยะอาหารให๎เปน็ ศนู ย๑ (Zero waste) และการทําใหอ๎ าหารเป็นยารักษาโรค
โดยการสงํ เสรมิ หลักสตู ร อาหารท๎องถนิ่ ศกึ ษา, การจัดการทํองเท่ียวสงิ่ แวดลอ๎ มเชงิ วัฒนธรรม

ซ่ึงการจัดการขยะอาหารให๎เป็นศูนย๑ คือ การคัดแยกขยะอาหาร เพ่ือนําเศษอาหารเป็นปุ๋ย
กลบั มาจาํ หนํายใหก๎ ับชุมชนเพ่ือนาํ ไปปลกู ต๎น หรอื เศษไม๎ จากตะเกีย๊ บ ลูกชิ้น นํามาเป็นเช้ือเพลิง และ
การคัดแยกขยะอาหารไปขาย นาํ เข๎ากองทนุ รักษาสิ่งแวดล๎อมของชุมชน สูํการสร๎างสังคมเอ้ืออาทร และ
การทําความเข๎าใจกับประชาชน ทาํ ให๎ดู นาํ ไปสูํการขยายผลและสรา๎ งกระบวนการมสี วํ นรํวมที่ย่ังยืนของ
คนในชมุ ชน จากความรวํ มมอื ของผูป๎ ระกอบการรา๎ นค๎า โรงแรม

ดังนั้น การศึกษาวิจัยนี้ พบวํา การศึกษาการทํองเท่ียวเชิงวัฒนธรรมอาหารท๎องถ่ินควรใช๎
ประโยชน๑จากขยะให๎เกิดความคุ๎มคํา กํอให๎เกิดการทํองเที่ยวที่ย่ังยืนในชุมชน การสร๎างมูลคําเพิ่มของ
อาหารด๎วยการผสมศลิ ปะบนอาหารให๎เยาวชนเขา๎ ถึงวัฒนธรรมอาหารผํานเร่ืองเลาํ นํามาซ่ึงการประดิษฐ๑
อาหารให๎นาํ สนใจ การทาํ ใหว๎ ัฒนธรรมเรื่องเลาํ ศิลปะบนอาหาร รสชาตขิ องอาหาร เป็นของที่ระลึก เป็น
เรอื่ งเลาํ ตาํ นานทไี่ ดร๎ ับการกลาํ วขานสบื ไป

85
ภาพที่ 8
ภาพท่ี 9

86
ภาพที่ 10
ภาพที่ 11

87
ภาพท่ี 12

88

บทท่ี 5
สรปุ ผลการวิจัย

การนําเสนอผลการวิจยั ในบทที่ 5 นี้ จะแบํงหัวข๎อการเสนอออกเปน็ 4 หัวข๎อใหญํๆ ดงั ตอํ ไปน้ี
1.1 สรปุ ผลการศกึ ษา
1.2 การอภิปรายผลการศกึ ษา
1.3 ขอ๎ เสนอแนะเชงิ นโยบาย
1.4 ข๎อเสนอแนะในการทําวิจยั ครั้งตอํ ไป

5.1 สรปุ ผลการศกึ ษา

การวจิ ยั เรอื่ ง การวเิ คราะหเ๑ ชิงยทุ ธศาสตรก๑ ระบวนการกลายเปน็ สนิ คา๎ ทํองเท่ียงของอาหารบาบา๐
วฒั นธรรมรํวมสมยั เพอรานากนั ในจงั หวดั ภูเกต็ มีวตั ถุประสงคใ๑ นการศกึ ษา คอื

1.เพ่ือศึกษากระบวนการกลายเป็นสนิ คา๎ ทํองเทย่ี วอาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากัน
ในจงั หวดั ภูเก็ต

2.เพ่ือศึกษาวเิ คราะห๑ทิศทางเชิงยทุ ธศาสตร๑กระบวนการกลายเปน็ สินคา๎ ทอํ งเที่ยวอาหารบาบ๐า
วัฒนธรรมรํวมสมยั เพอรานากนั ในจงั หวดั ภูเก็ต

3.เพอ่ื ศึกษาแนวทางพฒั นาอาหารบาบา๐ วัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากนั ในจังหวดั ภเู ก็ต

ขอ๎ คน๎ พบ ตามวตั ถุประสงค๑ขอ๎ ท่ี 1 สามารถสรปุ ได๎วาํ
1. ขอ๎ ค๎นพบ ตามวัตถุประสงคข๑ ๎อท่ี 1 สามารถสรปุ ไดว๎ ํากลํุมตัวอยาํ ง นักทอํ งเทย่ี วทงั้ ชาวไทย

และตาํ งชาตินยิ มเท่ยี วในชุมชนยาํ นเมืองเกําภูเก็ต เมื่อพิจารณาเป็นรายด๎าน พบวํา ระดับความคิดเห็น
มากที่สุด 2 ด๎าน คือ สภาพแวดล๎อมของจังหวัดภูเก็ต อันเนื่องจากการสนับสนุนของหนํวยงานภาครัฐ
สํงเสรมิ การทํองเท่ยี วตลอดปขี องจงั หวัดภูเกต็ ประกอบกบั ความเข๎มแข็งท่มี ีของชุมชนยํานเมืองเกําภูเก็ต
จงึ เปน็ แรงดงึ ดดู ให๎นักทํองเท่ยี วมาถาํ ยรปู สถาปัตยกรรมยํานเมอื งเกําภูเก็ต ล้ิมลองอาหารพื้นเมืองภูเก็ต
ท่มี ีอัตลกั ษณ๑ เชนํ โอวเอ๐ว คลายร๎อนในฤดูร๎อน ประกอบกับความเช่ือเกี่ยวกับอาหารท๎องถ่ินภูเก็ตบาง
ประเภทมกั จะนาํ มาประกอบในพธิ กี รรมตาํ งๆอยูํ เพราะอาหารบางประเภทมกั มีความเช่ือแบบโบราณจึง

89

มีความจําเป็นต๎องใช๎ในพิธีกรรมตํางๆ เชํน ขนมโอนีแป๊ะก๐วย ในงานมงคล ซึ่งสืบเน่ืองกันตํอมาจนถึง
ปัจจบุ ัน

และรองลงมา คอื ความคิดเห็นกระบวนการกลายเป็นสนิ ค๎าทอํ งเท่ยี วอาหารบาบ๐า อันเนื่องจาก
การทํองเท่ียวสงํ ผลตํอการซอื้ สนิ คา๎ เปน็ ของทร่ี ะลึก การสงํ เสริมกระบวนการให๎อาหารบาบ๐า เปน็ ที่นยิ มจงึ
เป็นของฝากของที่ระลึก ทีเ่ ปน็ สินค๎าอตั ลกั ษณ๑ของภเู ก็ตยังไมไํ ด๎รับความนยิ มเทาํ ที่ควร

2. ขอ๎ คน๎ พบ ตามวตั ถุประสงคข๑ ๎อท่ี 2 สามารถสรุปไดว๎ าํ
กลํุมตวั อยาํ งนกั ทํองเทีย่ ว เห็นวาํ วัฒนธรรมการกนิ ของนักทํองเทย่ี วสํงผลตํอการเลือกซื้อสินค๎า

ประเภทอาหารเปน็ ของทรี่ ะลึก จากปัญหาทรพั ยากรธรรมชาติที่เสอื่ มโทรมของจงั หวัดภูเกต็ อนั เป็นผลมา
จากการขาดการบรหิ ารจัดการอยํางเป็นระบบจากทุกภาคสํวน คือ หนํวยงานราชการ องค๑กรปกครอง
สํวนท๎องถ่ิน สถานประกอบการ ชุมชนและประชาชนอยํางบรู ณาการ

เน่ืองจากการเป็นแหลํงทํองเที่ยวที่ได๎รับความนิยมจากทั่วโลกทําให๎มีนักทํองเที่ยวเข๎ามา
ทํองเที่ยวเป็นจํานวนมาก ซึ่งจังหวัดภูเก็ตมีจุดขายหลัก คือ ชายหาดและกิจกรรมการทํองเท่ียวตํางๆ
โดยเฉพาะกจิ กรรมบันเทิง นันทนาการและกีฬาทางน้ํา และการเชื่อมโยงการทํองเท่ียวกับเกาะบริวาร
โดยรอบและเกาะในจังหวดั ใกล๎เคยี ง

กลยทุ ธใ๑ นการพัฒนาอาหารบาบ๐าใหเ๎ ปน็ ทนี่ ยิ มควรมกี ารพฒั นาตราผลติ ภณั ฑ๑บรรจุภัณฑ๑และ
ฉลากสินคา๎ และจดั ทาํ แผนกลยทุ ธท๑ างการตลาดของชมุ ชน โดยการทํากลยทุ ธเ๑ ชิงรุก ไดแ๎ กํ 1.การออก
งานแสดงสนิ ค๎าอยาํ งตํอเนือ่ ง 2 .การสร๎างความรวํ มมือกับหนํวยงานภาครัฐ และสถาบนั อุดมศกึ ษาเพ่อื
พัฒนาผลติ ภัณฑ๑เข๎าสํตู ลาด 3 .ขยายกลมํุ ตลาดในกลํุมธุรกจิ อาหารเพอื่ สุขภาพ และ 4 . ) พัฒนาการ
ดาํ เนินงานดา๎ นการตลาดผําน Social media Application ทส่ี งํ เสรมิ สินคา๎ ใหเ๎ ข๎าถึงกลุํมลูกค๎าทกุ ชวํ งวัย

90

ข๎อค๎นพบ ตามวตั ถุประสงค๑ข๎อท่ี 3 สามารถสรปุ ได๎วาํ
3. ข๎อคน๎ พบ ตามวัตถปุ ระสงค๑ข๎อที่ 3 สามารถสรปุ ได๎วาํ นักทอํ งเที่ยวมสี ํวนรวํ มกับคนในพ้นื ที่

ในการอนุรักษ๑วฒั นธรรม ประเพณี จังหวดั ภเู กต็ สําหรับสงิ่ ทีค่ วรพัฒนา ได๎แกํ 1. การพัฒนาบรรจุภัณฑ๑
และตราสัญลักษณ๑สินค๎า ตลอดจนรูปแบบการจัดกลํุมบรรจุภัณฑ๑ที่หลากหลาย การทําให๎ขยะอาหาร
สามารถยํอยสลายได๎ เปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดล๎อม 2. การสร๎าง Brand Online และ3. การพัฒนาศักยภาพ
บคุ ลากรทีส่ อดคลอ๎ งกบั ความต๎องการพัฒนาอาชพี อยาํ งตํอเนือ่ ง

การอภปิ รายผล

ในการวิเคราะห๑เชิงยุทธศาสตร๑กระบวนการกลายเป็นสินค๎าทํองเท่ียวของอาหาร
บาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากันในจังหวัดภูเก็ต นั้น ผ๎ูบริโภคควรร๎ูจักรากเหง๎าของอาหาร คือ
แหลงํ ท่มี าของวัตถดุ ิบ คณุ คําทางโภชนาการท่ีผู๎บริโภคได๎รับตามความเหมาะสมของชํวงวัย คือ อาหาร
ควรเป็นอาหารปลอดภัย ผ๎ูบริโภคมีความพึงพอใจในรสชาติของอาหาร การบริการที่มีคุณภาพ และ
กํอให๎เกิดความย่ังยืนสร๎างรายได๎ให๎กับชุมชนสามารถพ่ึงตนเอง และรักษาความเป็นอัตลักษณ๑ของตน
เนอ่ื งจากเพศสภาพ อายุ การศึกษา ของกลํุมตัวอยํางและผ๎ูให๎ข๎อมูลหลักไมํมีผลตํอการวิเคราะห๑ข๎อมูล
อนั เนื่องจาก ความชนื่ ชอบรสชาตขิ องอาหารขึ้นอยํกู บั รสชาตอิ าหารท่ีแตํละคนรับประทานมาต้ังวัยเยาว๑
ในการรับรส เผ็ด เปร้ียว เคม็ หวาน แมว๎ าํ ปจั จุบันรสชาติและภาพลักษณ๑ของอาหารมคี วามสมัยใหมํและ
สะดวกตํอการรบั ประทานมากขึ้น แตํการคงคุณคําทางโภชนาการอาหารเป็นส่ิงที่ควรมีในอาหารทุกคํา
ทุกคร้ังที่รับประทานอาหารประเภทตํางๆซึ่ง ข๎อค๎นพบจากการวิจัยเก่ียวกับอาหารท๎องถ่ินมีผล
ตํอการรักษาเอกลักษณ๑ของอาหารท๎องถิ่น เชํน สุนี ศักดาเดช (2549:29-31) ได๎สรุปปัจจัยท่ีมีผลตํอ
อตั ลักษณข๑ องอาหารท๎องถน่ิ 9 ปัจจยั คือ

1.วัตถุดิบท่ีใช๎ในการปรุงอาหารเป็นวัตถุดิบที่มีในท๎องถิ่นทั้งพืชและสัตว๑ ซ่ึงอาจเกิดเองโดย
ธรรมชาตหิ รือชุมชนผลติ ขึ้นโดยการเพาะปลูก เลย้ี งสัตว๑ แล๎วนํามาปรุงอาหารในชีวิตประจําวัน วัตถุดิบ
บางชนิดมเี ฉพาะในทอ๎ งถ่นิ น้ันๆ เชํน ผักเหลยี งเป็นพชื ทม่ี ีในภาคใต๎ เป็นตน๎

91

2.วิธีการปรุงและประกอบอาหาร เป็นวิธีการท่ีทําได๎งําย ไมํยุํงยากซับซ๎อน บางท๎องถิ่นอาจใช๎
วตั ถดุ บิ ชนดิ เดยี วกนั กบั ทอ๎ งถ่นิ อน่ื แตมํ ีวธิ กี ารปรุงและประกอบอาหารที่ตํางกัน เชํน แกงเหลือง อาหาร
ท๎องถิน่ ของภาคใต๎

3.วิธกี ารรบั ประทานอาหารคล๎ายๆกันทุกท๎องถิ่น หากท๎องถ่ินหนึ่งมีวิธีการนํามารับประทานที่
แตกตาํ งจากทอ๎ งถ่ินอ่นื กน็ บั วําเปน็ อาหารเฉพาะท๎องถิ่นนั้น เชํน ผัดหมี่ฮกเก๊ียน เป็นตน๎

4.ลักษณะทางภูมิประเทศ สภาพพ้ืนที่ความสมบูรณ๑ของดิน แหลํงน้ํา ส่ิงเหลํานี้มีผลตํอแหลํง
อาหารธรรมชาติ เชนํ การเล่ือนไหล การแลกเปลย่ี นของวฒั นธรรม

5.ลักษณะภูมอิ ากาศ
6.การย๎ายถ่ิน อาจเกิดจากการไปหางานทํา การไปศึกษาเลําเรียน การไปทํางาน การนําเอา
วฒั นธรรมตามท๎องถนิ่ ของตนเองซึ่งมีตดิ ตํอไปใช๎ในแหลงํ ท่ีอยอํู าศัยใหมํและถา๎ เหตุการณ๑เชํนนี้เกิดข้ึนตํอ
เป็นระยะเวลานาน วัฒนธรรมท๎องถ่ินหนึ่งก็จะไปเกิดเป็นวัฒนธรรมใหมํในอีกท๎องถิ่นหนึ่ง และในทาง
กลบั กนั ถ๎าเป็นการยา๎ ยถ่นิ ในระยะสน้ั เชํน การไปศกึ ษาตอํ ตํางประเทศ เมอื่ มนุษยย๑ า๎ ยกลับมาอยูํที่ในถ่ิน
ฐานเดิมก็นาํ เอาวฒั นธรรมท๎องถ่ินท่ตี นเองได๎พบและดํารงชีวิตอยํูในสังคมรายหนึ่ง กลับมาใช๎ในท๎องถิ่น
เดิมของตนและถ๎าคนในชมุ ชนพอใจยอมรับ ก็จะเกดิ การนาํ มาปฏิบัติตอํ เนื่องกนั ไป
7.ความเจริญกา๎ วหนา๎ ด๎านเทคโนโลยี มีการประดษิ ฐ๑คดิ ค๎น เคร่ืองมือ เครอ่ื งอาํ นวยความสะดวก
มนุษย๑จึงนํามาใช๎เพื่อชํวยทุํนแรง ประหยัดเวลา แตํหากมนุษย๑ไมํใช๎อยํางระมัดระวังโดยเฉพาะในด๎าน
อาหารกอ็ าจจะทาํ ใหเ๎ สยี ความเป็นเอกลักษณ๑
8.ความเปลีย่ นแปลงของครอบครัวและสังคม จากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม การใช๎เวลาหรือ
การทาํ กจิ กรรมรํวมกนั ในครอบครวั น๎อยลง เกิดวัฒนธรรมการกนิ อาหารนอกบา๎ น
9.การเจริญสัมพันธไมตรีกับตํางประเทศ มีการค๎าขาย แลกเปล่ียนทําให๎มีความสัมพันธ๑อยําง
ใกล๎ชิดของประเทศท่ีมอี าณาเขตตดิ ตอํ กัน
10.การใหท๎ ําใหอ๎ าหารเปน็ ยารักษาโรค ผ๎บู ริโภคได๎รบั โภชนาการทีค่ รบถ๎วนตามหลักโภชนาการ
อาหาร 5 หมูํ และสามารถใช๎อาหารเป็นยาได๎

92

อีกทงั้ เม่ือวิเคราะห๑ยทุ ธศาสตรก๑ ระบวนการกลายเป็นสินคา๎ ทอํ งเทยี่ วของอาหารบาบ๐าวัฒนธรรม
รวํ มสมยั เพอรานากันในจงั หวัดภเู ก็ต (SWOT) น้นั

จุดแข็ง : อาหารบาบ๐าที่มีการปรุงสูตรเฉพาะในครอบครัวของคนพ้ืนเมืองภูเก็ต อาหาร
มีความอรอํ ยด๎วยรสชาติกลมกลํอม หรือมีรสชาติอาหารรสกลางๆไมํเผ็ด ไมํหวาน ไมํเปร้ียว ไมํขมมาก
เกินจําเป็นของรสชาติให๎นกั ทํองเทีย่ วทว่ั โลกชิมได๎และมอี ตั ลกั ษณข๑ องตนเอง

จุดอ่อน : อาหารบาบ๐าหากรสชาติแท๎ต๎องผลิตด๎วยกรรมวิธีท่ีพิถีพิถันและขาดผู๎เชี่ยวชาญ
ดา๎ นอาหารพื้นเมอื ง อกี ทง้ั ต๎นทุนการผลติ สงู เชํน วตั ถดุ บิ ในการประกอบอาหาร

โอกาส : อาหารบาบ๐าต๎องมีการวิจัยและพัฒนาเพ่ือสร๎างกระบวนการผลิตใหมํอยํางตํอเน่ือง,
และยกระดับอาหารบาบา๐ หรอื อาหารพน้ื เมืองภเู กต็ สํูอุตสาหกรรมอาหารใหเ๎ ป็นทีย่ อมรบั ของประชาชน

อุปสรรค : อาหารบาบ๐ายังขาดความนยิ มประกอบกบั การแขํงขันของสถานประกอบการอาหาร
ทม่ี ีลกั ษณะอนรุ กั ษ๑อาหารดงั้ เดมิ ตอ๎ งแขํงขันกับอาหารแนวใหมํ, ข๎ามชาติ เปลี่ยนแปลงตามสภาวการณ๑
โลก จึงจําเป็นต๎องมีการถํายทอดรสชาติ อตั ลักษณ๑อาหารจากรนํุ สํรู นํุ ไมมํ ากนัก

จากความหลากหลายของอาหารไทยสํงผลตอํ แนวทางการสํงเสริมการทํองเที่ยวเชิงอาหารของ
ไทย ซึง่ อาหารไทยในแตลํ ะท๎องถิ่นมีเอกลกั ษณท๑ แ่ี ตกตํางกนั ตามวฒั นธรรม และวตั ถุดบิ ของแตลํ ะท๎องถิน่
จงึ ทําใหม๎ รี สชาติท่ีแตกตาํ งกันโดยเฉพาะ รวมถึงสินค๎าท่ีเกี่ยวกับอาหาร เชํน โอวเอว๎ ของจัดหวัดภูเก็ต
เปน็ ตน๎

ซึ่งสอดคล๎องกับงานวิจัยเร่ือง การพัฒนาการทํองเท่ียวในเขตเทศบาลเมืองภูเก็ตและพื้นที่
เกี่ยวเนื่อง (ศศิธร ย้ิมศิริ : บทคัดยํอ) ผลการศึกษาพบวํา ภูเก็ตมีจุดขายหลักทางด๎านทรัพยากร
การทํองเท่ียวทางธรรมชาติ นักทํองเท่ียวสํวนใหญํเป็นนักทํองเท่ียวจากภายนอกประเทศและ
ภายในประเทศ เปา้ หมายหลักในการเดนิ ทางทอํ งเทยี่ วเปน็ เรอื่ งของการพกั ผํอน และสนุกสนานกบั แหลํง
ทํองเทย่ี วทางธรรมชาติ ในขณะทแี่ หลงํ ทํองเที่ยวในเขตเทศบาลเมอื งภเู ก็ตและพนื้ ท่เี กย่ี วเน่อื งยังไมํได๎รับ
การพัฒนาให๎เทํากับมาตรฐานท่ีจะดึงดูดนักทํองเท่ียวให๎มากขึ้นได๎ ดังน้ัน เป้าหมายหลักสําหรับ
การพัฒนาการทอํ งเที่ยวในเขตเทศบาลเมืองภูเก็ตและพื้นท่เี กี่ยวเนอื่ งจะต๎องทําอยํางเรํงดํวน และอยูํบน

93

ฐานของการพัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกในแหลํงพื้นท่ีการทํองเที่ยว การทํานุบํารุงขนบธรรมเนียม
ประเพณขี องท๎องถน่ิ รวมท้งั มาตรฐานของความปลอดภยั และความสะอาด ในขณะเดียวกับความคิดของ
การอนุรกั ษ๑จะตอ๎ งนํามาพจิ ารณาเพื่อจะสร๎างความประทับใจที่ดสี าํ หรับนกั ทํองเท่ียวทัง้ นอกประเทศและ
ในประเทศ โดยคาดหวงั ท่จี ะให๎พื้นที่เทศบาลเมืองภูเก็ตและพนื้ ทเี่ กยี่ วเนอ่ื งเปน็ ตลาดการทอํ งเทย่ี วทไี่ ด๎รบั
ความสนใจจากนกั ทอํ งเทย่ี วในอนาคต

จากแนวทางพฒั นาอาหารบาบา๐ เกดิ กระบวนการกลายเป็นสินคา๎ วฒั นธรรมทํองเท่ียวควรพัฒนา
จากผูป๎ ระกอบการ (ผ๎ูผลิต) ในการสร๎างสรรค๑อาหารให๎เป็นอาหารของที่ระลึก มีการแปรรูปผลิตภัณฑ๑
อาหาร ใหอ๎ าหารยงั คงคณุ คําทางโภชนาการ มีภาพลักษณ๑ ตราสนิ คา๎ ที่ทนั สมัยและสื่อถึงความเป็นตัวตน
ของอาหารบาบ๐าในการเป็นสินค๎าเพื่อการทํองเท่ียว สามารถแบํงออกได๎เป็น 2 สํวน คือ 1.การเพ่ิม
มูลคาํ เพม่ิ ให๎กบั ผลติ ภัณฑ๑ ซึ่งประกอบด๎วย การเรียนร๎ู ภูมิปัญญา การรวมกลํุม และการเป็นนํ้าหน่ึงใจ
เดียวกันในการพัฒนาอาหารบาบ๐าซึ่งเป็นอาหารท๎องถิ่นของจังหวัดภูเก็ตให๎เป็นท่ีรู๎จักอยํางแพรํหลาย
โดยเฉพาะคุณคําทางโภชนาการที่ดีตํอผ๎ูบริโภค ด๎วยการทําให๎อาหารเป็นของท่ีระลึก นักทํองเท่ียว
สามารถเลือกซือ้ สินค๎าดา๎ นอาหารเป็นของฝาก ของท่ีระลกึ เชนํ ผลไมอ๎ บแหง๎ อาหารปรุงสําเร็จรูป และ
2.กระบวนการในการพฒั นาสนิ คา๎ เชํน การพัฒนาบรรจุภณั ฑ๑ การพัฒนาทกั ษะให๎กบั สถานประกอบการ
การศึกษาถํายทอดให๎กับชุมชนอ่ืนที่สนใจ เป็นการแบงํ ปนั ระหวํางชมุ ชน และสรา๎ งเครอื ขํายความรํวมมือ
การสํงเสริมวัฒนธรรมอาหารพ้ืนเมืองด๎วยการจัดเทศกาลอาหารท๎องถิ่น รวมถึงการใช๎ส่ือออนไลน๑
ประชาสมั พนั ธ๑การทํองเทีย่ วเชงิ อาหาร รวมถึงการทํองเท่ยี วเชงิ วัฒนธรรมอาหารที่เป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ๎ ม
กํอให๎เกิดความยงั่ ยนื ตอํ ไป

94

ขอ้ เสนอแนะ

1.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
จากขอ๎ ค๎นพบที่ไดจ๎ ากการศกึ ษา สรุปไดว๎ ํา การวิเคราะห๑เชิงยุทธศาสตร๑กระบวนการกลายเป็น
สินค๎าทํองเท่ียวของอาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากันในจังหวัดภูเก็ต ผ๎ูวิจัยมีข๎อเสนอแนะ
ทเ่ี ปน็ นัยยะในเชิงนโยบายท่สี าํ คญั ดังน้ี
1.1 การจัดทําโครงการอบรมใหค๎ วามร๎ู เวทีคนื ความรส๎ู ชํู ุมชน : การวเิ คราะห๑เชิงยทุ ธศาสตร๑
กระบวนการกลายเป็นสินคา๎ ทอํ งเที่ยวของอาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรํวมสมัยเพอรานากนั ในจงั หวดั ภูเก็ต

1.2 สํงเสริมการทอํ งเท่ยี วเชงิ อาหารเชอื่ มโยงกบั การทํองเทยี่ วเชงิ เกษตร การทอํ งเท่ียว
เชิงสุขภาพและความงาม และการทํองเที่ยวเชิงวฒั นธรรม

2.ขอ้ เสนอแนะในการทาวิจยั คร้งั ต่อไป

หลังจากท่ีได๎ดําเนินการวิจัย เร่ือง การวิเคราะห๑เชิงยุทธศาสตร๑กระบวนการกลายเป็นสินค๎า
ทํองเที่ยวของอาหารบาบ๐าวัฒนธรรมรวํ มสมยั เพอรานากันในจังหวัดภูเก็ต ผ๎ูวิจัยเห็นวําควรมีการดําเนิน
วจิ ัยหลงั จากน้ี คือ

3.1 ควรขยายผลการนําคํูมอื การปฏบิ ตั งิ านกระบวนการสงํ เสรมิ การบรกิ ารอาหารบาบ๐าเพอื่
การทํองเทย่ี ว ให๎แตลํ ะชุมชนไดร๎ วํ มกบั องค๑กรปกครองสํวนท๎องถ่ินในการทําให๎อาหารบาบ๐าเป็นอาหาร
เพื่อการทํองเที่ยวเชงิ วัฒนธรรม

3.2 ควรศกึ ษาวิจัยเกีย่ วกับการชุมชนสรา๎ งสรรคท๑ างอาหารวฒั นธรรมของประชาชนในท๎องที่
จังหวดั ภเู ก็ต โดยอาศัยการวิจัยเชิงคุณภาพแนวประวัติศาสตร๑เพ่ือให๎เข๎าใจถึงวิถีทางวัฒนธรรมอันเป็น
พนื้ ฐานในการยอมรบั หรอื ปฏเิ สธการใชว๎ ัฒนธรรมอาหารเพอื่ การทํองเที่ยว

3.3 ควรเพมิ่ การศึกษาเชิงประวัติศาสตร๑ ศกึ ษาการเปลีย่ นแปลงด๎านอาหารทางประวัตศิ าสตข๑ อง
จังหวดั ภเู ก็ต

95

3.4 ควรมีการวิจัยเชงิ สาํ รวจความนยิ มบริโภคอาหารพืน้ เมืองจังหวดั ภเู กต็ ของประชาชนและ
นักทํองเที่ยวชาวไทยและชาวตํางชาติ เพ่ือการพัฒนาคุณภาพ อนุรักษ๑รสชาติความด่ังเดิมของอาหาร
ตํอไป

96

บรรณานกุ รม

กาญจนา แกว๎ เทพ และสมสุข หินวิมาน. (มปป.). เศรษฐศาสตรก์ ารเมืองกบั การสือ่ สารศกึ ษา.
กรงุ เทพฯ: ภาพพมิ พ๑.

โกศล แตงอุทัย และคณะ สมาคมเพอรานากัน. (2556). รายงานการรวบรวมขอ้ มูลภูมิปญั ญาอาหาร
บาบา๋ -เพอรานากนั , 64 หน๎า.

งามพศิ สัตยส๑ งวน. (2534). หลกั มานุษยวทิ ยา. พมิ พ๑คร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: เจ๎าพระยาการพมิ พ.๑
จันทรเ๑ พญ็ อมรเลิศวิทย.๑ (2543). การจดั องค์การทางสงั คม. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง.
ชตุ มิ า ชณุ หกาญจน.๑ (2550). พฤติกรรมการเลยี นแบบวัฒนธรรมของวยั ร่นุ ไทยจาก

สอ่ื บนั เทงิ เกาหล.ี กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั .
ดารารตั น๑ เมตตารกิ านนท.๑ (2543). “การรวมกลมุ่ ทางการเมอื งของ ส.ส.อีสาน พ.ศ.2476-2494”

วทิ ยานพิ นธ๑ปรญิ ญาอักษรศาสตร๑ดุษฎบี ัณฑิต, ภาควชิ าประวตั ศิ าสตร,๑ คณะอกั ษรศาสตร,๑
จุฬาลงกรณม๑ หาวทิ ยาลัย.
ธนภูมิ อตเิ วทิน . (2543). วฒั นธรรมบรโิ ภคนยิ มกบั อาหารเพอื่ สขุ ภาพในบริบทสงั คมเมอื ง .
ปรญิ ญานิพนธ๑ รฐั ศาสตร๑มหาบณั ฑติ จฬุ าลงกรณม๑ หาวิทยาลยั .
นิยพรรณ วรรณศริ .ิ (2550). มานุษยวิทยา สังคม และวฒั นธรรม. กรงุ เทพฯ. เอก็ ซเปอรเ๑ นท็ .
ผอํ งพันธ๑ มณรี ตั น.๑ (2521). การเปล่ยี นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม. กรงุ เทพฯ:
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.๑
พัฒนา กติ ิอาษา . (2546). ท้องถ่ินนยิ ม . คณะกรรมการการวจิ ัยแหงํ ชาติ สาขาสงั คมวิทยา .
สํานักงานคณะกรรมการการวจิ ยั แหํงชาติ.
เมฆาณี จงบญุ เจือ และสมพศิ คลขี่ ยาย. (2556). อาหารปกั ษ์ใต้ บาบ๋า ยาหยาอนั ดามัน. กรุงเทพฯ:
สาํ นักพิมพ๑เศรษฐศลิ ป.์

รังสรรค๑ ธนะพรพันธ.๑ุ (2546). ทนุ วฒั นธรรม: วัฒนธรรมในระบบทุนนิยมโลก เล่ม 1. กรงุ เทพฯ:
สาํ นักพิมพ๑มติชน.

97

ศศธิ ร ยิม้ ศิริ. (2536). การพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วในเขตเทศบาลเมอื งภูเกต็ และพนื้ ทเี่ กีย่ วเนอ่ื ง.
วิทยานิพนธ๑ปรญิ ญาการวางแผนภาคและเมอื งมหาบณั ฑิต, ภาควิชาการวางแผนภาคและเมอื ง,
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร๑ จฬุ าลงกรณ๑มหาวิทยาลยั .

สํานกั งานสถติ ิจงั หวัดภูเกต็ . (2559). จานวนท่องเที่ยวชาวไทยและชาวตา่ งชาติ ปี 2559. เข๎าถงึ เมอ่ื
วันท่ี 11 พฤศจิกายน 2561, จาก http://83_tour_n_thai_tourist_cwt.

สมศกั ด์ิ ศรสี นั ตสิ ขุ . (2530) การเปล่ียนแปลงทางสงั คมและวัฒนธรรมของชุมชนสองแห่งใน
จังหวัดขอนแกน่ . ภาควิชาสังคมศาสตร๑ คณะมนุษยศาสตร๑และสงั คมศาสตร๑
มหาวทิ ยาลยั ขอนแกํน.

สุธินดา ใจขาน และคณะ. (2557). การศกึ ษาศักยภาพของอาหารพ้นื บา้ นกบั การทอ่ งเทยี่ วของเมือง
มรดกโลกหลวงพระบางเพ่อื เตรยี มความพร้อมเข้าสปู่ ระชาคมอาเซยี น. รายงานการประชมุ
วิชาการ การพัฒนาชนบททีย่ ่ังยืน ครง้ั ท่ี 4 ประจาํ ปี 2557 “Rethink : Social Development
for Sustainability in ASEAN Community”. หน๎า 650 – 657.

สุนี ศกั ดาเดช. (2549). อาหารทอ้ งถน่ิ . จนั ทบรุ ี : คณะวิทยาศาสตร๑และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ
รําไพพรรณ.ี

อรัญญา ศริ ิผล. (2551). คนพลดั ถิ่นกบั การกลายเปน็ สินคา้ : ประสบการณ์ชวี ติ ของชุมชนไทใหญ่
กับการคา้ แรงงานในมิติทางสังคมวฒั นธรรมบริเวณชายแดนไทย – พมา่ . กรุงเทพฯ: สํานกั งาน
กองทนุ สนบั สนนุ การวิจยั

Appadurai, Arjun. (1986). The Social Life of Thing: Commodities in Culture Perspective.
New York: University of Cambridge.

Adorno , T. (1967). Veblen’s Attack on Culture. Translated by S.Weber. London :
Spearman.

Astushi Kitahara, (1996). The Thai Rural Community Reconsidered: Historical
Community Formation and Contemporary Development Movement.
(Bangkok: Political Economy Center, Faculty of Economics, Chulalongkorn
Universiy, 1996).

Baudrillard, J. (1975). The Mirror of Production. St Louis : Telos Press.

98

Baudrillard, J. (1981). For a crituqe of the Political Economy of the Sign. St Louis :
Telos Press.

Bocock, R. (1993). Consumption. London : Routledge.

Charles F Keyes, Isan: Regionalism in Northeastern Thailand, Data Paper no.65
(Ithaca: Cornell Southeast Asia Program, 1967).

Cheng Y.Ng., Shahrim Ab. Karim. (2016). Historical and contemporary perspectives of
the Nyonya food culture in Malaysia. Journal of Ethnic Foods, 3, 93-106.

Ewen, S. (1976). Captains of Consciousness : Advertising and the Social Roots of
the Culture. New York : McGraw – Hill.

Falk, P. (1994). The Consuming Body. London : Sage Publications.
Featherstone, M. (1992). Consumer Culture and Postmodernism. London : Sage

Publications.

Featherstone, M. ; Hepworth, M. ; and Turner, B.S. , eds. 1992. The body : Social
Process and Cultural Theory . witshire : Dotesios.

Foucault, M. (1998). Technoligies of the Self. In Martin, L.h. : Gutman H. ; and Hutton,
P.W. , eds. Technologies of the Self : A Seminar with Michel Foucault. London
: Tavistock.

Grosz, E. (1990). Inscriptions and Body maps : representationsand the corporeal. In
Threadgold. T. and Cranny – Francis, A., eds . Feminine 2 Masculine and
Representation. Sydney : Allen and Unwin Kevin Hewison, “Nongovernmental
Organizations and the Cultural Development Perspective: A Comment on Rigg
(1991), “World Development vol. 21(10) :699 – 708, Jonathan Rigg, “Grass –
Roots Development in Rural Development: A Lost Cas?” World Development vol.
19(2/3):199 - 211.

99

Charles E.Gearing, William W. Swart, and Turgut Var. Planning for Tourism
Development. Praeger Publishers, Inc.,

Jame Brain Quinn. (1995.) The strategy Process : European Edition. Prentice Hall.
Kenichi Ohmae. (1991) The Borderless world : Power and Strategy in the Interlinked

Economy. Harper Business.
Lupton, D. (1996). Food, the Body and the Self. Witshire : Redwood Press.
Lupton, D. (1997). The Imperative of Health : Public Health and the Regulated

Body. Witshire : Cromwell .Press.
Marvin Harris, (1979). Cultural Materialism: The Struggle for a Science of Culture (New

York:Random, & Michael Rhum, “Harris, Marvin (1927-),” in The
Dictionary of Anthropology, edited by Thomas Barfield (Malden,
Massachusetts: Blackwell Publisher, 1997), pp. 232-233.
McCracken, G. (1998) . Culture and Consumption : New Approach and Symbolic
Character of Consumer Goods and Activities. Bloomington ; Indiana University
Press. Rhodes,T. and Shaughnessy, R. 1989. Compulsory Screening : Advertising
AIDS in Britain, 1986 – 89. Policy and Politics 18(1) : 55 – 61.
Miles, S. (2001). Social Theory in the real World. London: Sage.
Ripe, L. (1993). Goodbye Culinary Cringe . Sydney : Allen and Unwin.
Suan, T.G. (2004). Gateway to Peranakan Food Culture. Singapore: Asiapac Books.

Woodward, K. , ed. (1997). Identity and Difference . Glagow Bath Press Colourboosk.

100

ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version