The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kung_7994, 2022-06-11 00:39:09

ธุรกิจ

ธุรกิจ

รูปแบบธุรกิจและปัจจัย
ในการประกอบธุรกจิ

ครูผู้สอน
นางสาวชุตมิ า เผือกทอง

1

ปัจจยั ในการดาเนินธุรกจิ

• การดาเนนิ ธุรกจิ ตอ้ งอาศัยหลาย ๆ ปัจจัยประกอบกัน จึงจะเกดิ

กจิ กรรมในการประกอบธุรกิจ จะขาดปัจจัยใดปัจจัยหนง่ึ ไมไ่ ด้

โดยทั่วไปปัจจัยพื้นฐานในการดาเนนิ ธุรกิจมี 4 ประเภท ที่

เรียกว่า 4 M , 6 M ไดแ้ ก่

• คน (Man)

• เงิน (Money)

• วัสดุหรอื วัตถดุ บิ (Material)

• วิธีปฏบิ ัตงิ าน (Method)

• เครื่องจักร (Machine)

• ตลาด (Market) 2

1. คน (Man)

• ถือวา่ เป็นปัจจยั ที่สาคญั ที่สุด เพราะธุรกิจต่าง ๆ เกิดข้ึนไดต้ อ้ ง
อาศยั ความคิดของคน มีคนเป็นผดู้ าเนินการหรือเป็นผูจ้ ดั การ จึง
จะทาใหเ้ กิดกิจกรรมทางธุรกิจหลายรูปแบบ ซ่ึงในวงจรธุรกิจมี
คนหลายระดบั หลายรูปแบบ ท้งั ระดบั ผบู้ ริหาร ผใู้ ชแ้ รงงาน
ร่วมกนั ดาเนินการ จึงจะทาใหป้ ระสบความสาเร็จในการ
ประกอบธุรกิจ

3

2. เงนิ (Money)

• เงินทุนเป็นปัจจยั ในการดาเนินธุรกิจอีกชนิดหน่ึงที่ตอ้ งนามาใช้
ในการลงทุน เพอื่ ใหเ้ กิดการประกอบธุรกิจโดยธุรกิจแต่ละ
ประเภทใชป้ ริมาณเงินทุกที่แตก ต่างกนั ธุรกิจขนาดใหญ่ยอ่ มใช้
เงินทุนสูงกวา่ ธุรกิจขนาดเลก็ กวา่ ดงั น้นั ผปู้ ระกอบธุรกิจจึงตอ้ ง
มีการวางแผนในการใชเ้ งินทุน และการจดั หาเงินทุนอยา่ งมี
ประสิทธิภาพ เพื่อทาใหก้ ารดาเนินธุรกิจไม่ประสบปัญหาดา้ น
เงินทุน และก่อใหเ้ กิดผลตอบแทนสูงสุดคุม้ กบั เงินท่ีนามาลงทุน

4

3. วสั ดุหรือวตั ถุดบิ (Material)

• ในการผลิตสินคา้ ตอ้ งอาศยั วตั ถุดิบในการผลิตค่อนขา้ งมาก
ผบู้ ริหารจึงตอ้ งรู้จกั การบริหารวตั ถุดิบใหม้ ีประสิทธิภาพ เพือ่ ให้
เกิดตน้ ทุนดา้ นวตั ถุดิบต่าสุด อนั จะส่งผลใหธ้ ุรกิจมีผลกาไร
สูงสุดตามมา

5

4. วธิ ีปฏบิ ัติงาน (Method)

• เป็นวธิ ีการในการปฏิบตั ิงานในแต่ละข้นั ตอนของการดาเนิน
ธุรกิจ ซ่ึงตอ้ งมีการวางแผนและควบคุม เพ่ือใหก้ ารปฏิบตั ิงานมี
ประสิทธิภาพ เกิดความคล่องตวั สอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ ม
ท้งั ภายในและภายนอกกิจการ

6

ประโยชน์ของธุรกจิ

• 1. ธุรกิจผลิตสินคา้ และบริการเพื่อสนองความตอ้ งการของมนุษย์
ในสงั คมเน่ืองจากความตอ้ งการของคนเราแตกต่างกนั และมีความ
ต้องการไม่มีท่ีสิ้นสุด โดยความต้องการของคนเราจะเพิ่มข้ึน
ตลอดเวลา เพื่อสร้างความพึงพอใจและความสะดวกสบายแก่
ตนเอง ธุรกิจจึงมีหน้าท่ีในการจัดหาสิ่งต่าง ๆ มาบริการสนอง
ความตอ้ งการดงั กล่าว

7

ประโยชน์ของธุรกจิ (ต่อ)

• 2 . ธุ ร กิ จ ช่ ว ย ก ร ะ จ า ย สิ น ค้า จ า ก ผู้ผ ลิ ต ไ ป สู่ ผู้บ ริ โ ภ ค
เมื่อธุรกิจประเภทผูผ้ ลิตสินคา้ เช่น โรงงานอุตสาหกรรมผลิต
สินค้าออกมาแล้ว การท่ีสินค้าจะกระจายไปสู่ผูบ้ ริโภคได้น้ัน
จาเป็ นตอ้ งอาศยั ธุรกิจประเภทอื่น ช่วยกระจายสินคา้ ไปสู่ผบู้ ริโภค
เป็ นตน้ ว่าธุรกิจการขนส่ง ท้งั ทางบก ทางน้า ทางอากาศพ่อคา้ คน
กลาง การประชาสัมพนั ธ์ การบริการดา้ นการเงินของธนาคาร การ
ส่ือสาร ฯลฯ

8

ประโยชน์ของธุรกจิ (ต่อ)

• 3. ธุรกิจเป็นแหล่งตลาดแรงงาน
ในการดาเนินการธุรกิจมีความจาเป็นตอ้ งใชแ้ รงงาน เพื่อทาการ
ผลิตสินคา้ หรือบริการ ดงั น้นั การดาเนินธุรกิจจึงทาใหค้ นมีงานทา
สามารถหารายไดเ้ พ่ือเล้ียงตวั เองและครอบครัวได้ ทาใหช้ ีวติ
ความเป็นอยขู่ องคนในสงั คมดีข้ึน นอกจากน้นั การที่ธุรกิจกระจาย
ไปอยตู่ ามส่วนต่าง ๆ ของประเทศ กเ็ ป็นการกระจายรายไดแ้ ละ
ตลาดแรงงานไปสู่ทอ้ งถิ่นอีกดว้ ย

9

ประโยชน์ของธุรกจิ (ต่อ)

• 4 . ธุ ร กิ จ เ ป็ น แ ห ล่ ง เ พ่ิ ม ร า ย ไ ด้ ใ ห้ แ ก่ รั ฐ บ า ล
เม่ือการดาเนินธุรกิจมีผลกาไร ผปู้ ระกอบธุรกิจมีหนา้ ท่ีเสียภาษีให้
รัฐบาลตามที่กฎหมายกาหนด ทารายไดข้ องรัฐเพ่ิมข้ึนและรายได้
ดงั กล่าวรัฐบาลนาไปใช้ในการพฒั นาประเทศ ได้แก่ การสร้าง
โรงพยาบาล สร้างถนน สร้างโรงเรียน ซ่ึงสิ่งเหล่าน้ีเป็ นการสร้าง
คุณภาพชีวติ ใหเ้ กิดแก่ประชาชน

10

ประโยชน์ของธุรกจิ (ต่อ)

• 5 . ธุ ร กิ จ ช่ ว ย พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ
ในการผลิตสินคา้ และบริการของธุรกิจในระยะแรก ๆ กเ็ พ่ือสนอง
ความตอ้ งการของประชาชนในทอ้ งถิ่น จงั หวดั และประเทศ แต่
เมื่อธุรกิจขยายตวั เติบโตข้ึนสามารถผลิตสินคา้ และบริการไดม้ าก
จนเกิดความตอ้ งการของคนในประเทศ จึงตอ้ งส่งสินคา้ ออกไป
จาหน่ายยงั ต่างประเทศ ทาให้รายไดเ้ ขา้ สู่ประเทศ เป็ นการพฒั นา
เศรษฐกิจของประเทศไดอ้ ีกทางหน่ึง

11

หน้าทใ่ี นการประกอบธุรกจิ

• ธุรกิจทุกประเภท ต่างมีหน้าท่ีในการตอบสนองความ
ตอ้ งการของผูบ้ ริโภคในดา้ นต่าง ๆ เพื่อให้ผูบ้ ริโภคไดร้ ับ
ความพอใจสูงสุด เกิดอรรถประโยชนส์ ูงสุด สามารถบาบดั
ความตอ้ งการของผูบ้ ริโภคไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์ หนา้ ที่ดงั กล่าว
ไดแ้ ก่

12

หน้าทใ่ี นการประกอบธุรกจิ (ต่อ)

• 1. การผลิต (Production) เป็นกิจกรรมในการแปรรูปวตั ถุดิบให้
เป็นสินคา้ หรือบริการ เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการของผบู้ ริโภค ทา
ใหผ้ บู้ ริโภคเกิดความพงึ พอใจในการบริโภค กระบวนการผลิตสินคา้
หรือบริการมีหลายข้นั ตอน จึงจะไดส้ ินคา้ หรือบริการตามที่ผบู้ ริโภค
ตอ้ งการ ผปู้ ระกอบธุรกิจจะตอ้ งมีความรู้ในการผลิตเป็นอยา่ งดี จึงจะ
ทาใหไ้ ดส้ ินคา้ หรือบริการที่มีคุณภาพดี มีตน้ ทุนที่เหมาะสม ซ่ึงปัจจยั
สาคญั ที่ผปู้ ระกอบธุรกิจตอ้ งพจิ ารณา ไดแ้ ก่

• 1.1 การเลือกทาเลท่ีต้งั
• 1.2 การวางผงั โรงงาน

• 1.3 การออกแบบสินคา้

• 1.4 การกาหนดตารางเวลาการผลิต

• 1.5 การตรวจสอบสินคา้ 13

หน้าทใี่ นการประกอบธุรกจิ (ต่อ)

• 2. การจดั หาเงินทุน (Capital) เงินทุนถือวา่ เป็นปัจจยั ที่มีความสาคญั ใน
การประกอบธุรกิจ ผปู้ ระกอบธุรกิจจึงตอ้ งมีการบริหารเงินทุนอยา่ งมี
ประสิทธิภาพ ท้งั การจดั สรรเงินทุนในการดาเนินงานใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด
และการจดั หาเงินทุนมาใชใ้ นการประกอบธุรกิจ ซ่ึงมีแหล่งเงินทุน 2 แหล่ง
ดงั น้ี

• 2.1 แหล่งเงินทุนภายใน (Internal Sources) เป็นเงินทุนท่ีไดจ้ าก
เจา้ ของกิจการ อนั ไดแ้ ก่เงินที่นามาลงทุน และจากกาไรสะสม

• 2.2 แหล่งเงินทุนภายนอก (External Sources) เป็นเงินทุนท่ีไดจ้ าก
การกยู้ มื จากสถาบนั การเงินภายนอกกิจการ เช่น ธนาคารพาณิชย์ บริษทั
เงินทุนและหลกั ทรัพย์ บรรษทั บริหาร ธุรกิจขนาดยอ่ ย (บอย.) บริษทั
ประกนั ภยั เป็นตน้

14

หน้าทใี่ นการประกอบธุรกจิ (ต่อ)

• 3. การจดั หาทรัพยากรดา้ นกาลงั คน คนถือเป็นปัจจยั พ้ืนฐานท่ีสาคญั มากท่ีสุด
ในการประกอบธุรกิจ ผปู้ ระกอบธุรกิจจะตอ้ งจดั หาบุคคลท่ีมีคุณภาพ และ
เหมาะสมกบั ตาแหน่งงาน โดยใชห้ ลกั การ “จดั คนใหเ้ หมาะกบั งาน” (Put
the right man in the right job) รวมท้งั เม่ือไดบ้ ุคลากรท่ีมี
คุณภาพและเหมาะสมกบั งานแลว้ ผปู้ ระกอบธุรกิจยงั ตอ้ งรักษาบุคลากร
ดงั กล่าวใหป้ ฏิบตั ิงานอยกู่ บั องคก์ รตลอด ไปอยา่ งมีความสุข ในการจดั หา
ทรัพยากรดา้ นกาลงั คน ผปู้ ระกอบธุรกิจควรพิจารณาดงั น้ี

• 3.1 การวางแผนกาลงั คน ดา้ นจานวน คุณภาพและหนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบ
• 3.2 การสรรหากาลงั คน
• 3.3 การคดั เลือกและการบรรจุ
• 3.4 การฝึ กอบรม
• 3.5 การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน

15

หน้าทใี่ นการประกอบธุรกจิ (ต่อ)

• 4. การบริหารการตลาด เป็นกระบวนการที่ทาใหส้ ินคา้ หรือ
บริการถึงมือผบู้ ริโภค เพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการและสร้าง
ความพงึ พอใจสูงสุดแก่ผบู้ ริโภค ซ่ึงการบริหารการตลาด ผู้
ประกอบธุรกิจตอ้ งอาศยั ส่วนผสมทางการตลาด
(Marketing mix)หรือเรียกวา่ 4 P’s เป็นเครื่องมือท่ีทา
ใหผ้ บู้ ริโภคเกิดความพึงพอใจ ไดแ้ ก่

16

Marketing mix หรือเรียกวา่ 4 P’s

• 4.1 ผลิตภณั ฑ์ (Product) คือ สิ่งที่ธุรกิจเสนอขายเพื่อสนอง
ความตอ้ งการของผูบ้ ริโภคให้พึงพอใจ ผลิตภณั ฑ์อาจจะมีตวั ตน
หรื อไม่มีตัวตนก็ได้ ผลิตภัณฑ์จึงประกอบด้วยสินค้า บริ การ
ความคิด สถานที่ องค์กรหรือบุคคล ซ่ึงต้องมีอรรถประโยชน์
(Utility) มีมูลคา่ (Value) ในสายตาของผบู้ ริโภคจึงจะขายได้

17

Marketing mix หรือเรียกวา่ 4 P’s

• 4.2 ราคา (Price) คือ มูลค่าผลิตภณั ฑใ์ นรูปตวั เงิน ผปู้ ระกอบ
ธุรกิจตอ้ งกาหนดราคาให้เหมาะสม เป็ นที่ยอมรับของผูบ้ ริโภค
จึงจะสามารถจาหน่ายผลิตภณั ฑด์ งั กล่าวให้แก่ผูบ้ ริโภคได้ ซ่ึง
การกาหนดราคาข้ึนอยกู่ บั ตวั ผลิตภณั ฑ์ กลุ่มตลาดเป้าหมาย การ
แข่งขนั บทบญั ญตั ิตามกฎหมาย เป็นตน้

18

Marketing mix หรือเรียกวา่ 4 P’s

• 4.3 การจดั จาหน่าย (Place) คือ กิจกรรมการเคลื่อนยา้ ย
ผลิตภณั ฑ์จากธุรกิจไปยงั ตลาดเป้าหมาย ผูป้ ระกอบธุรกิจตอ้ ง
เลือกช่องทางการจัดจาหน่ายให้เหมาะสมกับประเภทของ
ผลิตภณั ฑ์ และจะตอ้ งจดั จาหน่ายให้ทนั กบั ความตอ้ งการของ
ผบู้ ริโภค จึงจะทาใหผ้ ลิตภณั ฑจ์ าหน่ายได้

19

Marketing mix หรือเรียกวา่ 4 P’s

• 4.4 การส่งเสริมการตลาด (Promoting) คือ การ
ติดต่อสื่อสารเก่ียวกับข้อมูลระหว่างผูข้ ายกับผูซ้ ้ือ เพ่ือสร้าง
ทศั นคติและพฤติกรรมการซ้ือ โดยมีวตั ถุประสงคท์ ี่จะชกั จูงให้
เกิดการซ้ือ ผู้ประกอบธุรกิจจาเป็ นต้องเลือกการส่งเสริ ม
การตลาดใหเ้ หมาะสมกบั ผลิตภณั ฑ์ และกลุ่มตลาดเป้าหมาย ซ่ึง
เคร่ืองมือในการส่งเสริมการตลาดมีหลายประเภท อาทิเช่น การ
โฆษณาการใหส้ ่วนลด การใหข้ องแถม เป็นตน้

20

คุณสมบัตขิ องผู้ประกอบธุรกจิ

• ผปู้ ระกอบธุรกิจหรือนกั ธุรกิจ (Businessman) คือ บุคคล
ผูจ้ ัดต้ังธุรกิจและบริหารจัดการธุรกิจให้เกิดความสาเร็จตาม
เป้าหมาย ที่ต้งั ไว้ ซ่ึงผูป้ ระกอบธุรกิจจะตอ้ งติดต่อกบั บุคคลอ่ืน
ตลอดเวลาไม่วา่ จะเป็นลูกคา้ พนกั งานในองคก์ ารหรือหน่วยงาน
ต่าง ๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน เพ่ือผลประโยชน์ต่อธุรกิจตน
ดงั น้นั ผปู้ ระกอบธุรกิจจึงตอ้ งมีคุณสมบตั ิดงั น้ี

21

คุณสมบัตขิ องผู้ประกอบธุรกจิ (ต่อ)

• 1. มีความเชื่อมน่ั ในตนเอง คือ มีความรู้สึกวา่ สามารถทาทุกอยา่ ง
ที่ตอ้ งการหรือที่อยากทาได้ หากยง่ิ ประสบความสาเร็จกจ็ ะรู้สึก
มีความเช่ือมน่ั ในตนเองมากข้ึน ซ่ึงการมีความเช่ือมนั่ ในตนเองน้ี
ทาใหน้ กั ธุรกิจสามารถทางานทุกอยา่ งดว้ ย ความมน่ั ใจ มีความ
อยากทาและมีความต้งั ใจในการทา อนั ทาใหเ้ กิดผลงานออกมาดี
ตามที่ตอ้ งการได้

• 2. มีความซื่อสตั ยต์ ่อลูกคา้ ท้งั ดา้ นคาพดู และการกระทา
สร้างสรรคผ์ ลงานท่ีดีมีคุณภาพใหล้ ูกคา้ ไดบ้ ริโภคแต่ส่ิงท่ีดีและ
มีความ ปลอดภยั ต่อชีวติ

22

คุณสมบัตขิ องผู้ประกอบธุรกจิ (ต่อ)

• 3. มีความกตญั ญูต่อลูกคา้ และผมู้ ีบุญคุณอื่น ๆ โดยการมอบแต่สิ่งดี ๆ
ใหแ้ ก่ลูกคา้ และพฒั นาคุณภาพของผลิตภณั ฑใ์ หด้ ีอยา่ งต่อเนื่อง

• 4. มีความยตุ ิธรรมในการบริหารงานและตดั สินปัญหาต่าง ๆ ดว้ ย
ความยตุ ิธรรมในการใหโ้ อกาสแก่ทุก ๆ ฝ่ ายเท่าเทียมกนั

• 5. มีประสบการณ์ดา้ นธุรกิจ การมีประสบการณ์จะทาใหม้ ีขอ้ มลู ใน
การนามาวางแผนและบริหารงานใหม้ ี ประสิทธิภาพไดเ้ ป็นอยา่ งดี
เพราะรู้วา่ สิ่งใดควรปฏิบตั ิและสิ่งใดควรละเวน้ จึงจะทาใหก้ ารดาเนิน
ธุรกิจ บรรลุตามวตั ถุประสงคท์ ่ีต้งั ไว้

23

คุณสมบัตขิ องผู้ประกอบธุรกจิ (ต่อ)

• 6. มีความมน่ั ใจในตนเอง สามารถตดั สินใจไดท้ นั เวลา ทนั กบั
เหตุการณ์ต่าง ๆ และสามารถแกป้ ัญหาต่าง ๆ ไดด้ ี ยอ่ มทาใหไ้ ม่
เสียโอกาสทองในการดาเนินธุรกิจ

• 7. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ท้งั ดา้ นการบริหารและการจดั การ
ทาใหธ้ ุรกิจมีวธิ ีการใหม่ ๆ หรือผลงานใหม่ ๆ ท่ีมีคุณภาพดีข้ึน
หรือมีประสิทธิผลมากข้ึน

• 8. มีความรอบรู้เกี่ยวกบั สภาพของตลาด เพราะเป็นแหล่งขอ้ มูล

สาคญั ในการนามาตดั สินใจใน กระบวนการผลิตและการจดั

จาหน่าย เพ่อื ธุรกิจจะไดป้ ฏิบตั ิหรือดาเนินธุรกิจใหส้ อดคลอ้ งกบั

สภาวะตลาดและสงั คม 24

คุณสมบตั ขิ องผู้ประกอบธุรกจิ (ต่อ)

• 9. มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความรับผดิ ชอบต่อ
องคก์ ารและสงั คม รวมถึงปฏิบตั ิต่อบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งดว้ ยการมี
จรรยาบรรณที่ดี
นอกจากคุณสมบตั ิดงั กล่าวแลว้ ผปู้ ระกอบธุรกิจยงั ตอ้ งพฒั นาคุณสมบตั ิ
ดงั ต่อไปน้ีจึงจะส่งผลใหป้ ระสบผล สาเร็จในการทางานไดเ้ ป็นอยา่ งดี ไดแ้ ก่

• 1. มีความอดทนและขยนั หมน่ั เพยี รในการทางาน
• 2. มีความละเอียด รอบคอบในการทางาน

• 3. มีหลกั การและเหตุผลท่ีดีในการตดั สินใจ

• 4. มีความต่ืนตวั และติดตามความเคลื่อนไหวในทุก ๆ ดา้ นของสงั คม

• 5. มีจิตสานึกดี มีคุณธรรม

• 6. มีสุขภาพดี ร่างกายแขง็ แรง สดช่ืนแจ่มใสในการปฏิบตั ิงาน

• 7. มีความฉลาดและรอบรู้ในทุก ๆ ดา้ น โดยการศึกษาเพ่มิ เติมอยตู่ ลอดเวลา
เพ่ือพฒั นาความรู้ของตนเอง
25

รูปแบบการประกอบธุรกจิ ในประเทศไทย

• 1. กิจการเจา้ ของคนเดียว
• 2. หา้ งหุน้ ส่วน (partnership)
• 3. บริษทั จากดั (corporation)
• 4. สหกรณ์ (cooperative)
• 5. รัฐวสิ าหกิจ (state enterprise)
• 6. บริษทั ขา้ มชาติ
• 7 กิจการแฟรนไชส์ (Franchise)

26

1. กิจการเจา้ ของคนเดียว

• กิจการเจา้ ของคนเดียว คือ กิจการที่มีบุคคลคนเดียวเป็ นเจา้ ของ

หรือลงทุนคนเดียว ควบคุมการดาเนินเองท้งั หมด เมื่อกิจการ
ประสบผลสาเร็จมีผลกาไรก็จะไดร้ ับผลประโยชน์เพียงคนเดียว

ในขณะเดียวกันก็ยอมรับการเสี่ยงภยั จากการขาดทุนเพียงคน

เดียวเช่นกนั กิจการประเภทน้ีมีอยทู่ ว่ั ประเทศจานวนมาก ไดร้ ับ
ความนิยมสูงสุดและเป็ นธุรกิจที่เก่าแก่ท่ีสุด การดาเนินงานไม่

สลบั ซับซ้อน มีความคล่องตวั สูงในการตดั สินใจดาเนินงาน

กิจการมีขนาดเล็กกวา่ ธุรกิจประเภทอื่น ตวั อยา่ งกิจการประเภท

น้ี เช่น หาบเร่แผงลอย ร้านคา้ ปลีก ร้านคา้ ส่ง ร้านเสริมสวย ร้าน

ตดั เยบ็ เส้ือผา้ การทาไร่ การทานา เป็นตน้ 27

ลกั ษณะของกจิ การเจ้าของคนเดียว

• 1. มีเจา้ ของกิจการเพียงคนเดียว ใชเ้ งินลงทุนนอ้ ย
• 2. เจา้ ของกิจการมีความรับผดิ ชอบในหน้ีสินท้งั หมดไม่จากดั

จานวน เจา้ หน้ีมีสิทธิเรียกร้องเอาทรัพยส์ ินของเจา้ ของได้ ถา้
ทรัพยส์ ินของกิจการไม่เพียงพอชาระหน้ี
• 3. เจา้ ของกิจการไดร้ ับผลตอบแทนจากการลงทุนท้งั ผลกาไร
และผลขาดทุนเพียงคนเดียว
• 4. การควบคุมการดาเนินงานโดยเจา้ ของกิจการคนเดียว

28

ข้อดีและข้อเสียของกจิ การเจ้าของคนเดียว

• ข้อดี
• 1. จดั ต้งั ง่ายใชเ้ งินทุนนอ้ ย
• 2. มีอิสระในการตดั สินใจดาเนินงานโดยเจา้ ของกิจการเพียงคน

เดียว ทาใหเ้ กิดความรวดเร็วคล่องตวั ในการดาเนินงาน
• 3. ผปู้ ระกอบการไดร้ ับผลกาไรท้งั หมดเพียงคนเดียว
• 4. รักษาความลบั ของกิจการไดด้ ี เพราะผรู้ ู้มีเพยี งคนเดียว
• 5. มีขอ้ บงั คบั ทางกฎหมายนอ้ ย
• 6. การเลิกกิจการทาไดง้ ่าย

29

ข้อดีและข้อเสียของกจิ การเจ้าของคนเดียว

• ข้อเสีย

• 1. การขยายกิจการใหใ้ หญ่ข้ึนทาไดย้ าก เพราะเงินทุนมีจากดั และถา้
ตอ้ งการกยู้ มื เงินจากภายนอกจะทาไดย้ ากเพราะขาดหลกั ประกนั

• 2. การตดั สินใจโดยเจา้ ของกิจการเพียงคนเดียวอาจมีขอ้ ผิดพลาดไดง้ ่าย

• 3. ถา้ มีผลขาดทุน ผปู้ ระกอบการรับผลขาดทุน และรับผิดชอบในหน้ีสิน
ของกิจการไม่จากดั จานวนเพียงคนเดียว

• 4. ระยะเวลาดาเนินงานมกั ไม่ยนื ยาว ข้ึนอยกู่ บั เจา้ ของกิจการ ถา้ เจา้ ของ
กิจการป่ วยหรือเสียชีวิตอาจหยดุ ชะงกั หรือเลิกกิจการ

• 5. ความสามารถในการคิดและบริหารงานมีจากดั เพราะเกิดจากเจา้ ของ

เพียงคนเดียว 30

2. ห้างหุ้นส่วน (partnership)

• ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1012 บัญญัติว่า

“ห้างหุ้นส่วน คือ สัญญาซ่ึงบุคคลต้ังแต่สองคนข้ึนไปตกลงเขา้ กัน
เพื่อกระทากิจการร่วมกนั ดว้ ยประสงคจ์ ะแบ่งปันกาไรอนั จะพึงไดแ้ ก่

กิจการท่ีทาน้นั ” จากบทบญั ญตั ิดงั กล่าวสามารถสรุปไดว้ ่า กิจการห้าง
หุน้ ส่วน คือ กิจการท่ีมีบุคคลต้งั แต่2 คนข้ึนไปร่วมกนั ลงทุนและดาเนิน
กิจการ โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือแบ่งผลกาไรที่ไดจ้ ากการดาเนินงานซ่ึง

ธุรกิจประเภทน้ี สืบต่อมาจากธุรกิจเจ้าของคนเดียว เม่ือกิจการ
ดาเนินงานกา้ วหนา้ ข้ึน ตอ้ งการเงินทุนและการจดั การเพ่ิมข้ึน จึงตอ้ งหา
บุคคลที่ไวว้ างใจไดเ้ ขา้ มาเป็ นหุ้นส่วนร่วมดาเนินงาน ทาให้กิจการมี

ขนาดใหญ่ข้ึน การบริหารงานมีประสิทธิภาพที่สูงกวา่ เดิม 31

ลกั ษณะของกจิ การห้างหุ้นส่วน

• 1. มีผรู้ ่วมเป็นหุน้ ส่วนต้งั แต่ 2 คนข้ึนไป ตกลงทาสญั ญาร่วมกนั
ดาเนินงาน ซ่ึงอาจกระทาดว้ ยวาจาหรือเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร

• 2. มีการร่วมกนั ลงทุน โดยนาเงินสด ทรัพยส์ ินหรือแรงงานมา
ลงทุนตามขอ้ ตกลง

• 3. มีการกระทากิจการอยา่ งเดียวกนั ร่วมกนั
• 4. มีความประสงคแ์ บ่งผลกาไรกนั ตามขอ้ ตกลง

32

ประเภทกจิ การห้างหุ้นส่วน

• ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ แบ่งหา้ งหุน้ ส่วน
ออกเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี

• หา้ งหุน้ ส่วนสามญั
• หา้ งหุน้ ส่วนจากดั

33

1. ห้างหุ้นส่วนสามญั

• หา้ งหุน้ ส่วนสามญั คือ หา้ งหุน้ ส่วนท่ีผเู้ ป็นหุน้ ส่วนทุกคนตอ้ งรับผดิ ในหน้ีสิน
ท้งั หมดของหา้ งหุน้ ส่วนโดยไม่จากดั จานวน ดงั น้นั ผเู้ ป็นหุน้ ส่วนทุกคนจึงมีสิทธิ
ดาเนินกิจการในนามหา้ งหุน้ ส่วนได้ ซ่ึงหา้ งหุน้ ส่วนสามญั จะจดทะเบียนหรือไม่ก็
ได้ จึงแบ่งหา้ งหุน้ ส่วนสามญั ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ

• 1.1 หา้ งหุน้ ส่วนสามญั จดทะเบียนหรือหา้ งหุน้ ส่วนสามญั นิติบุคคล มีสภาพเป็น
นิติบุคคล จะตอ้ งใชค้ าวา่ หา้ งหุน้ ส่วนสามญั นิติบุคคลประกอบหนา้ ช่ือหา้ งเสมอ
หา้ งหุน้ ส่วนประเภทน้ีจะตอ้ งระบุชื่อผเู้ ป็นหุน้ ส่วนผจู้ ดั การไวช้ ดั เจน ซ่ึงจะมีคน
เดียวหรือหลายคนกไ็ ด้ และหุน้ ส่วนผจู้ ดั การเท่าน้นั ท่ีมีสิทธิเขา้ จดั การงานของหา้ ง
หุน้ ส่วน และทานิติกรรมต่าง ๆ ในนามหา้ งหุน้ ส่วนได้

• 1.2 หา้ งหุน้ ส่วนสามญั ไม่จดทะเบียน มีฐานะเป็นบุคคลธรรมดา ถา้ ผเู้ ป็นหุน้ ส่วน
ไม่ไดต้ กลงกนั ไวใ้ นสญั ญาของหา้ งหุน้ ส่วน กฎหมายใหถ้ ือวา่ ผเู้ ป็นหุน้ ส่วนทุก
คนมีสิทธิเขา้ จดั การงานของหา้ งหุน้ ส่วนได้

34

2. ห้างหุ้นส่วนจากดั

• หา้ งหุน้ ส่วนจากดั คือ หา้ งหุน้ ส่วนท่ีตอ้ งจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย
หา้ งหุน้ ส่วนประเภทน้ี ตอ้ งใชค้ าวา่ “หา้ งหุน้ ส่วนจากดั ” ประกอบหนา้ ช่ือของหา้ ง
หุน้ ส่วนเสมอ หา้ งหุน้ ส่วนจากดั ประกอบดว้ ยผเู้ ป็นหุน้ ส่วน 2 ประเภท คือ

• 2.1 หุน้ ส่วนประเภทจากดั ความรับผดิ ชอบ เป็นหุน้ ส่วนประเภทท่ีจากดั ความ
รับผดิ ชอบในหน้ีสินของหา้ งหุน้ ส่วนเพียงไม่ เกินจานวนเงินท่ีตนรับจะลงทุนใน
หา้ งหุน้ ส่วน หุน้ ส่วนประเภทน้ีไม่มีสิทธิเขา้ จดั การงานของหา้ งหุน้ ส่วน มีสิทธิ
เพยี งออกความเห็น รับเป็นท่ีปรึกษาและทุนท่ีนามาลงทุนตอ้ งเป็นเงินหรือ
ทรัพยส์ ินเท่าน้นั จะเป็นแรงงานไม่ได้

• 2.2 หุน้ ส่วนประเภทไม่จากดั ความรับผดิ ชอบ เป็นหุน้ ส่วนประเภทท่ีตอ้ ง
รับผดิ ชอบร่วมกนั ในหน้ีสินของหา้ งหุน้ ส่วนโดยไม่ จากดั จานวน กฎหมายระบุวา่
ตอ้ งมีหุน้ ส่วนไม่จากดั ความรับผดิ ชอบอยา่ งนอ้ ย 1 คน ในหา้ งหุน้ ส่วนจากดั
หุน้ ส่วนประเภทน้ีมีสิทธิเขา้ จดั การงานของหา้ งหุน้ ส่วนและทุนท่ีนามาลงทุน เป็น
เงิน ทรัพยส์ ินหรือแรงงานกไ็ ด้

35

3. บริษทั จากดั (corporation)

• ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 1096 บญั ญตั ิวา่ “บริษทั

จากดั คือ บริษทั ประเภทซ่ึงต้งั ข้ึนดว้ ยแบ่งทุนเป็นหุน้ มีมูลค่าหุน้ เท่า ๆ
กนั โดยผถู้ ือหุน้ ต่างรับผิดจากดั เพยี งไม่เกินจานวนเงินที่ตนยงั ส่งใชไ้ ม่

ครบ มูลค่าของหุน้ ท่ีตนถือ” จะเห็นไดว้ า่ ปัจจุบนั น้ี การประกอบกิจการ

ในรูปแบบบริษทั จากดั น้ีเป็นท่ีนิยมมาก เพราะการประกอบธุรกิจส่วน

ใหญ่มกั ตอ้ งใชเ้ งินทุนจานวนมาก การระดมเงินทุนกิจการในรูปแบบน้ี

จดั ทาไดง้ ่ายและไดจ้ านวนมาก นอกจากเงินทุนที่ไดจ้ ะไดจ้ ากเจา้ ของ

กิจการผเู้ ริ่มก่อต้งั แลว้ ยงั มีการระดมเงินทุนจากบุคคลทวั่ ไปดว้ ย รวมท้งั
การบริหารงานที่มีประสิทธิภาพโดยผบู้ ริหารท่ีมีความสามารถร่วมกนั

ดาเนินกิจการ ส่งผลใหเ้ ป็นกิจการที่มีความมน่ั คงและน่าเช่ือถือมาก
ประเภทหน่ึง
36

ลกั ษณะของบริษทั จากดั

• ตามบทบญั ญตั ิของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3
มาตรา 1096 ไดบ้ ญั ญตั ิว่า บริษทั จากดั คือบริษทั ประเภทท่ีจดั ต้งั
ข้ึนด้วยการแบ่งทุนเป็ นหุ้น มีมูลค่าเท่า ๆ กัน ผู้ถือหุ้นต่าง
รับผิดชอบจากดั ไม่เกินจานวนเงินที่ตนส่งใชใ้ ห้ครบมูลค่าหุ้น ที่
ตนถือ

• 1. ความเป็ นเจ้าของ เนื่องจากลักษณะของบริษทั มีการแบ่งทุน
ออกเป็ นหุ้น ผูซ้ ้ือหุ้นของบริษทั เรียกวา่ “ผูถ้ ือหุ้น” จะมีฐานะเป็ น
เจา้ ของหุน้ ไม่ใช่เจา้ ของกิจการ แต่มีสิทธิไดร้ ับประโยชน์ตอบแทน
จากบริษทั คือ “เงินปันผล” ผูเ้ ป็ นเจา้ ของกิจการก็คือนิติบุคคลที่
เป็นบริษทั จากดั นน่ั เอง

37

ลกั ษณะของบริษทั จากดั (ต่อ)

• 2. การก่อต้งั บริษทั จากดั มีข้นั ตอนในการก่อต้งั ตามกฎหมาย ดงั น้ี

• 1.1 มีบุคคลอย่างน้อย 7 คน มารวมกนั จดั ต้งั บุคคลกลุ่มน้ีเรียกวา่ “คณะ
ผกู้ ่อการ”

• 1.2 ทาหนังสือบริคณห์สนธิ ซ่ึงมีรายละเอียดต่าง ๆ เก่ียวกบั บริษทั ที่จดั ต้งั
ข้ึน ไดแ้ ก่ ซื่อบริษทั สถานท่ีต้งั วตั ถุประสงค์ ช่ือผกู้ ่อการ อาชีพผกู้ ่อการ
ชนิดของหุน้ ท่ีออกจาหน่าย จานวนหุน้ มูลคา่ หุน้ และนาหนงั สือบริคณห์
สนธิไปจดทะเบียนที่กรมการคา้ กระทรวงพาณิชย์

• 1.3 คณะผู้ก่อการจะต้องทาหนังสือชี้ชวน เพ่อื ใหม้ ีผสู้ นใจมาซ้ือหุน้ ของ

บริษทั และจะตอ้ งดาเนินการใหม้ ีผมู้ าจองหุน้ ของบริษทั จนครบจานวน

หุน้ ท่ีขอจดทะเบียน 38

ลกั ษณะของบริษทั จากดั (ต่อ)

• 1.4 เม่ือมผี ู้จองหุ้นจนครบทุกหุ้นแล้ว บริษทั เรียกผจู้ องหุน้ ทุกคนประชุม
จดั ต้งั บริษทั โดยในที่ประชุมจะตอ้ งเลือกต้งั กรรมการบริหารบริษทั อยา่ ง
นอ้ ย 1 คน และกาหนดอานาจหนา้ ท่ีของกรรมการในการกระทาการแทน
บริษทั และดาเนินการเรียกเกบ็ คา่ หุน้ คร้ังแรกอยา่ งนอ้ ย 25% ของมูลคา่ หุน้

• 1.5 หลงั จากเรียกเกบ็ ค่าหุ้นคร้ังแรกแล้ว จึงไปขอจดทะเบียนเป็นบริษทั
จากดั เพ่ือใหม้ ีสภาพเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย โดยนาสาเนาการประชุม
หนงั สือบริคณห์สนธิระเบียบขอ้ บงั คบั ไปขอจดทะเบียน

• 1.6 ต้องมีผู้สอบบญั ชีรับอนุญาตเป็ นผู้สอบบญั ชีของบริษัทจากดั
• 1.7 ต้องมีสานักงานใหญ่ต้งั อยู่ภายในราชอาณาจกั ร

39

ลกั ษณะของบริษัทจากดั (ต่อ)

• 3. จานวนเงินทุนที่ตอ้ งใช้ ทุนของบริษทั จากดั จะไดม้ าเน่ืองจากการ
นาใบหุน้ ออกจาหน่าย กฎหมายระบุวา่ มูลค่าหุน้ จะตอ้ งมีมูลค่าหุน้ ละ
เท่า ๆ กนั เงินทุนของบริษทั แบ่งไดด้ งั น้ี

• 3.1 ทุนจดทะเบียน (Authorized Capital) คือ จานวนทุน
ท้งั สิ้นที่ไดร้ ะบุไวใ้ นหนงั สือบริคณห์สนธิ

40

ลกั ษณะของบริษัทจากดั (ต่อ)

• 3.2 ทุนชาระแลว้ (Paid – up Capital) คือ จานวนเงินท่ีผถู้ ือหุน้ ได้
ชาระคา่ หุน้ ใหแ้ ก่บริษทั ตามท่ีบริษทั ไดเ้ รียกร้อง ใหช้ าระแลว้ หุน้ ของบริษทั
จากดั แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ

• 1. หุน้ สามญั (Common Stock) คือ หุน้ ที่มีผลู้ งจองหุน้ ดว้ ยเงิน เมื่อเร่ิม
ต้งั แต่มีการใหจ้ องหุน้ ผถู้ ือหุน้ สามญั มีสิทธิออกเสียงในท่ีประชุมทุกเร่ือง มี
สิทธิไดเ้ งินปันผล และไดร้ ับคืนทุนเมื่อบริษทั เลิกดาเนินกิจการ

• 2. หุน้ บุริมสิทธิ (Preferred Stock) คือ หุน้ ท่ีมีสิทธิพิเศษเหนือหุน้
สามญั โดยมีสิทธิไดเ้ งินปันผลและคืนทุนก่อนหุน้ สามญั แต่ผถู้ ือหุน้ บรุ ิมสิทธิ
ไม่มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุม

41

ลกั ษณะของบริษทั จากดั (ต่อ)

• 4. ความรับผดิ ชอบและการบริหารงาน ในที่ประชุมจดั ต้งั บริษทั ที่
ประชุมใหญ่จะตอ้ งออกเสียงเลือกต้งั คณะกรรมการของบริษทั ซ่ึง
จะตอ้ งมีจานวน ไม่นอ้ ยกว่า 3 คน โดยท่ีประชุมผูถ้ ือหุ้น เป็ นผูม้ ี
สิทธิแต่งต้งั และถอดถอนคณะกรรมการได้ โดยแต่งต้งั กรรมการ
คนใดคนหน่ึงเป็นกรรมการผจู้ ดั การ

42

หน้าทแี่ ละความรับผดิ ชอบของกรรมการตามกฎหมาย มดี งั นี้

• 1. ดาเนินงานเพอื่ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคข์ องบริษทั
• 2. ควบคุมการชาระเงินคา่ หุน้ ของผจู้ องหุน้
• 3. จดั ทาบญั ชีและจดั เกบ็ รักษาบญั ชีและเอกสารตามที่กฎหมายกาหนด
• 4. จ่ายเงินปันผลและดอกเบ้ีย
• 5. ปฏิบตั ิตามมติของท่ีประชุมใหญ่ผถู้ ือหุน้
• 6. กรรมการของบริษทั จะทาการคา้ แข่งขนั กบั บริษทั ของตนเองไม่ได้
• 7. มีอานาจหนา้ ท่ีอื่น ๆ ตามที่ไดร้ ะบุไวใ้ นขอ้ บงั คบั ของบริษทั สาหรับผถู้ ือ

หุน้ มีสิทธิเป็นเจา้ ของ หุน้ ตามที่ตกลงซ้ือไว้ แต่ไม่มีสิทธิเป็นเจา้ ของ
สินทรัพยข์ องบริษทั

43

ลกั ษณะของบริษัทจากดั (ต่อ)

• 5. ผลตอบแทนจากการลงทุน ผลประโยชนท์ ่ีผถู้ ือหุน้ จะไดร้ ับคือ
ส่วนแบ่งจากกาไร เรียกวา่ เงินปันผล หรือผลประโยชน์อ่ืนใด
ตามท่ีระบุไวใ้ นหนงั สือบริคณห์สนธิ โดยปกติผลกาไรของบริษทั
จะไม่นามาแบ่งเป็นเงินปันผลท้งั หมด ส่วนหน่ึงจะกนั สะสมไว้
เพอื่ บริษทั นาไปใชจ้ ่ายตามวตั ถุประสงค์ เช่น เพ่อื ไวข้ ยายโรงงาน
เพ่อื ซ้ือเครื่องจกั รใหม่ เพือ่ ผลขาดทุนในภายหนา้ กาไรส่วนท่ีกนั
สะสมไวน้ ้นั เรียกวา่ เงินสารอง (Reserves)

44

ลกั ษณะของบริษทั จากดั (ต่อ)

• 6. การควบคุมการบริหารงาน การบริหารงานของบริษทั จะอยู่ในรูปของ
คณะกรรมการ ซ่ึงจะมีการบริหารงานที่กระจายงานตามหน้าท่ีและความ
รับผดิ ชอบเป็นระบบและมี ข้นั ตอนท่ีถูกตอ้ ง โดยกฎหมายกาหนดใหจ้ ะตอ้ ง
มีการตรวจสอบบัญชีของบริษัทปี ละคร้ัง โดยมีผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต
รับรองงบดุล และบญั ชีกาไรขาดทุน ยนื่ ต่อนายทะเบียนบริษทั

• 7. การประเมินผลการดาเนินงาน บริษทั จะทาการประเมินผลการดาเนินงาน
โดยดูจากงบการเงิน คือ งบกาไรขาดทุน และงบดุลของบริษทั

• 8. การขยายกิจการ บริษทั สามารถขยายกิจการไดด้ ว้ ยการขอจดทะเบียนเพิ่ม
ทุนหรือกยู้ มื จากธนาคารหรือสถาบนั การเงินอ่ืน

45

ลกั ษณะของบริษทั จากดั (ต่อ)

• 9. การเลกิ กจิ การ บริษทั จาเป็นตอ้ งเลิกกิจการเนื่องจากสาเหตุดงั ต่อไปน้ี
• 1. ถา้ ในการจดั ต้งั บริษทั ระบุเพ่ือทากิจการอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงโดยเฉพาะ เม่ือเสร็จ

สิ้นกิจการน้นั แลว้ บริษทั กต็ อ้ งเลิกกิจการ
• 2. ถา้ ในการจดั ต้งั บริษทั กาหนดระยะเวลาของการดาเนินงานไว้ เมื่อครบกาหนด

ระยะเวลาท่ีระบุ บริษทั กต็ อ้ งเลิกกิจการ
• 3. ถา้ ในขอ้ บงั คบั ของบริษทั ระบุเหตุที่บริษทั ตอ้ งเลิกไว้ เม่ือเกิดเหตุน้นั บริษทั ก็

ตอ้ งเลิกกิจการ
• 4. เม่ือมีมติพเิ ศษจากผถู้ ือหุน้ ใหเ้ ลิกบริษทั
• 5. เมื่อบริษทั จดทะเบียนต้งั บริษทั มาแลว้ 1 ปี เตม็ โดยบริษทั ไม่ไดเ้ ร่ิมดาเนิน

กิจการ หรือหยดุ ดาเนินการมาเป็นระยะเวลา 1 ปี เตม็
• 6. เมื่อผถู้ ือหุน้ ของบริษทั ลดลงจนเหลือไม่ถึง 7 คน
• 7. เมื่อบริษทั ลม้ ละลาย

46

ข้อดีของบริษัทจากดั

• 1. สามารถจดั หาเงินทุนไดจ้ านวนมากตามท่ีตอ้ งการ โดยการออกหุ้น
จาหน่ายเพิ่ม หรือจดั หาโดยกยู้ มื จากสถาบนั การเงิน ซ่ึงจะไดร้ ับความเชื่อถือ
มากกวา่ กิจการประเภทอื่น

• 2. การดาเนินกิจการบริษทั ไม่จากดั ระยะเวลาตามอายขุ องผถู้ ือหุน้ ดงั น้นั
ระยะเวลาในการดาเนินกิจการจึงยาวกวา่ การดาเนินกิจการประเภทอื่น

• 3. ผถู้ ือหุน้ รับผดิ ชอบเฉพาะมูลค่าหุน้ ส่วนที่ยงั ชาระค่าหุน้ ไม่ครบเท่าน้นั
โดยไม่ตอ้ งรับผดิ ชอบต่อหน้ีสินใด ๆ ของบริษทั

• 4. การบริหารงานสามารถหาผทู้ ี่มีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์
จดั การแทนได้ เพอื่ ใหม้ ีประสิทธิภาพในการบริหารงาน

• 5. ผถู้ ือหุน้ ของบริษทั สามารถโอนหรือขายหุน้ ใหผ้ ใู้ ดกไ็ ด้ โดยไม่ตอ้ งขอ
ความเห็นชอบจากบริษทั ก่อน

47

ข้อจากดั ของบริษัทจากดั

• 1. การจดั ต้งั บริษทั มีข้นั ตอนตามกฎหมายท่ียงุ่ ยาก

• 2. กิจการบริษทั เนื่องจากตอ้ งเปิ ดเผยขอ้ มูลใหผ้ ถู้ ือหุน้ และบุคคลภายนอก
ทราบจึงไม่อาจรักษาความลบั ได้

• 3. เนื่องจากในการดาเนินการของบริษทั จากดั มีผถู้ ือหุน้ คณะกรรมการ
บริษทั และพนกั งาน ดงั น้นั ในการปฏิบตั ิงานอาจจะมีบางส่วนที่ขาดความ
ต้งั ใจในการทางานเพราะไม่ ไดเ้ ป็นเจา้ ของกิจการเอง

• 4. การเสียภาษีของกิจการประเภทบริษทั จะเสียภาษีคอ่ นขา้ งสูงและซ้าซอ้ น
คือบริษทั จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลแยกต่างหากจากเจา้ ของกิจการ ดงั น้นั
จะตอ้ งเสียภาษีนิติบุคคลเม่ือบริษทั จ่ายเงินปันผลใหผ้ ถู้ ือหุน้ ในฐานะผถู้ ือ
หุน้ เป็นบุคคลธรรมดาตอ้ งเสียภาษีบุคคลธรรมดาอีกดว้ ย

48

บริษทั มหาชนจากดั

• ตามพระราชบญั ญตั ิบริษทั มหาชนจากดั พ.ศ. 2511 บริษทั มหาชนจากดั มี
โครงสร้างเหมือนกบั บริษทั จากดั คือ มีผลู้ งทุนเรียกวา่ ผถู้ ือหุน้ รับผดิ ชอบจากดั
ไม่เกินจานวนเงินค่าหุน้ ท่ียงั ไม่ชาระมีคณะกรรมการเป็นผู้ บริหาร แต่มีลกั ษณะ
บางประการที่แตกต่างจากบริษทั จากดั คือ

• 1. มีกลุ่มผกู้ ่อการเป็นบุคคลธรรมดาต้งั แต่ 15 คนข้ึนไป และมีกรรมการต้งั แต่ 5
คนข้ึนไป

• 2. มีผถู้ ือหุน้ ต้งั แต่ 100 คนข้ึนไป โดยผถู้ ือหุน้ คนหน่ึงถือหุน้ ไดไ้ ม่เกินร้อยละ 0.6
ของจานวนหุน้ ที่จาหน่ายท้งั หมดรวมกนั และไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 ของจานวน
หุน้ ที่จาหน่ายไดท้ ้งั หมด ส่วนหุน้ จานวนที่เหลือบุคคลใดบุคคลหน่ึงจะถือไวไ้ ด้
รายละไม่เกินร้อยละ10

• 3. ตอ้ งมีทุนที่ชาระดว้ ยตวั เงินไม่นอ้ ยกวา่ 5 ลา้ นบาท โดยมีมูลค่าหุน้ ละเท่า ๆ กนั
และจะตอ้ งมีมูลค่าไม่ต่ากวา่ หุน้ ละ 20 บาท และไม่เกินหุน้ ละ 100 บาท

49

4. สหกรณ์ (cooperative)

• พระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ พ.ศ.2511 ไดใ้ หค้ วามหมายของสหกรณ์ไวด้ ังน้ี
“สหกรณ์ หมายความวา่ คณะบุคคลซ่ึงรวมกนั ดาเนินกิจการเพื่อช่วยเหลือ
ซ่ึ ง กัน แ ล ะ กัน แ ล ะ ไ ด้จ ด ท ะ เ บี ย น ต า ม พ ร ะ ร า ช บัญ ญัติ น้ี ”
จากความหมายของสหกรณ์ตามพระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ จะเห็นไดว้ ่า
สหกรณ์ คือธุรกิจรูปแบบหน่ึงท่ีจดั ต้งั และดาเนินการโดยกลุ่มบุคคลที่มี
ความประสงค์ อย่างเดียวกันร่วมกันจัดต้ังลงทุน ดาเนินการและเป็ น
เจา้ ของร่วมกนั ดว้ ยความสมคั รใจ ทาหนา้ ที่ในธุรกิจเพ่ือช่วยเหลือสมาชิก
โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือขจดั ปัญหาความเดือดร้อนทางเศรษฐกิจและสังคม
ในหมู่ สมาชิก รวมท้งั รักษาและส่งเสริมผลประโยชนข์ องสมาชิกใหด้ ีข้ึน

50


Click to View FlipBook Version