The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฮูปแต้ม : ลมหายใจอีสาน ต้นทุนทางวัฒนธรรม สู่จิตกรรมร่วมสมัย

บทความโดย ภักดี ต่วนศิริ
สาขาวิจัยศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ฮูปแต้ม : ลมหายใจอีสาน ต้นทุนทางวัฒนธรรม สู่จิตกรรมร่วมสมัย

ฮูปแต้ม : ลมหายใจอีสาน ต้นทุนทางวัฒนธรรม สู่จิตกรรมร่วมสมัย

บทความโดย ภักดี ต่วนศิริ
สาขาวิจัยศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ฮปู แตม้ : ลมหายใจอสี าน
ตน้ ทุนทางวัฒนธรรม สจู่ ติ กรรมร่วมสมัย

ภกั ดี ต่วนศิริ

บทน�ำ
จิตกรรมฝาผนัง (Mural Painting) เป็นงานศิลปะทีป่ รากฏอยู่ทัว่ ทกุ ภูมิภาค
ของประเทศไทย คนอีสานเรยี กว่า ฮูปแต้ม โดยคำ� ว่าฮูปแตม้ นเี้ ป็นชือ่ เรยี กท่ีชาวอีสาน
เรยี กงานจติ รกรรมฝาผนงั มีปรากฏอยทู่ ่สี มิ วหิ าร หอไตร และหอแจก (ศาลา
การเปรียญ) โดยฮูปแตม้ ฝาผนงั มกั จะมอี ยู่ท้งั ด้านนอกและด้านในของสมิ
ส�ำหรับฮูปแต้มท่ีพบกันเป็นส่วนมากทางภาคอีสานมักจะเขียนอยู่บนผนัง
ดา้ นนอกของสมิ หรือโบสถ”์ (ศูนย์วฒั นธรรมอสี าน มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ,2532) ซง่ึ
ภาคอสี านเป็นภมู ิภาคหนงึ่ ทีป่ รากฏงานฮปู แต้มในหลายแห่ง นอกจากจะมกี ารค้นพบ
ตามผนังถำ้� และหนา้ ผาตา่ งๆ แลว้ ยังปรากฏตามโบสถแ์ บบพ้นื บา้ นทช่ี าวบา้ นเรยี กว่า
“สิม” จากการศึกษาส�ำรวจฮปู แตม้ ตามวัดในภาคอีสานของไพโรจน์ สโมสร และคณะ
พบว่ามีฮูปแต้ม 74 วัด สามารถจำ� แนกตามเนอ้ื เรือ่ งท่ีปรากฏได้สองกลุม่ กลมุ่ ทหี่ นึง่
เรื่องทางศาสนา ไดแ้ ก่ พทุ ธประวตั ิ พระมาลยั ไตรภมู ิ อรรถกถาชาดก ปรศิ นาธรรม
กล่มุ ทีส่ องเร่ืองทางวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ได้แก่ สนิ ไซ พระลกั -พระลาม สรุ วิ งศ์ กาละเกด
ปาจติ ตอ์ รพิมพ์ (ไพโรจน์ สโมสร และคณะ. 2532) ดงั นั้นฮูปแต้มจงึ เปรยี บไดก้ ับสื่อ
อนั ส�ำคญั ท่จี ะเป็นตวั เชือ่ มโยง โน้มน้าวจติ ใจผูค้ นทีพ่ บเหน็ เกดิ อารมณค์ วามรูส้ กึ เกดิ
รสของความสนุกสนาน และเข้าถงึ สาระแห่งคุณธรรมทอ่ี า่ นได้จากเส้นและสี(นิยม
วงศ์พงษ์ค�ำ,……) จากขอ้ มูลข้างตน้ จะเหน็ ไดว้ ่า ฮูปแต้มหรือจิตรกรรม สร้างสรรค์ข้ึน
เพอ่ื จรรโลใจให้แก่พทุ ธศาสนนิกชนโดยรปู แบบหรอื เรอ่ื งราวสร้างขนึ้ จากวถิ ี ความ
เชอื่ ความศรัทธาหรือจิตนาการของช่างแตม้ อบบลอจ...่านนมหหงขซหนนซวา้าออ้ายสางงยสสา::ร:ออฮสคฮงงปูิมาหหปู แวมอ้อ้แตัดงงต้มสม้จจรว..วะัดขขัดบออสโวันนรพแะแแธบกกกา้ววั น่่นรแาบกมา้ ้วนบบว้าัง้านคนดูณวงงับคตงั ณู.หอน.ตนอ.าหงดเนมูลอก็ งเม็ก
ฮปู แตม้ ทป่ี รากฎอยบู่ นผนงั สิม ในปจั จุบันนี้ นอกจากเป็นมรดกตกทอดทาง ลา่ งขวา : ฮปู แตม้ วัด
ด้านงานศิลปกรรมพื้นบ้านอีสานยังสามารถบอกเล่าเร่ืองราวในอดีตของสังคม
ศาสนา ประเพณี และสภาพแวดล้อม ของผคู้ นอีสานในอดตี ได้เปน็ อยา่ งดี แต่อยา่ งไร
ก็ตามปัจจุบันน้ีสังคมอีสานก็ยังไม่สามารถเห็นความส�ำคัญของมรดกทางวัฒนธรรมท่ี
คนในอดตี ท้ิงไวใ้ ห้มากนกั ทำ� ให้ ฮปู แตม้ ก�ำลังจะเลอื นหายไปตามกาละเวลา เหมอื น
คนชราท่กี ำ� ลงั จะหมดลมหายใจ
แต่กเ็ ปน็ ท่ีหน้ายนิ ดที ีม่ หี ลายส่วนท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั วัฒนธรรมท้องถิน่ จนถึง
ระดับประเทศ ท่ีพยายามที่จะต่อลมหายใจ โดยการอนรุ กั ษ์ การเขา้ ไปมสี ว่ นร่วม หรือ
การจดั กิจกรรมต่างๆ และนกั วชิ าการ นักออกแบบ สถาปนิก ศิลปิน รว่ มกนั สรา้ งสรรค์
รกั ษา ต่อยอดทางวฒั นธรรมใหแ้ ก่ฮปู แตม้ ได้มีลมหายใจอยู่กับคนอีสานรนุ่ ใหมอ่ ยา่ ง
มีคุณค่าเหมอื นในอดีต เฉกเชน่ ผลงานจิตกรรมรว่ มสมัยที่ปรากฎ ของตนุพล เอน
อ่อนเปรียบเสมือนการเดินทางผ่านกาลเวลาจากจุดก�ำเนิดของรากเหง้าทาง
วฒั นธรรมอสี าน ส่กู ารตคี วามแบบคนรนุ่ ใหมผ่ สมผสานกับกระบวนการทางศลิ ปะ
แบบรว่ มสมยั คือการน�ำภูมิปญั ญาพ้นื บ้านจากช่างแตม้ มาตีความดว้ ยการผสม
ผสานสารัตถะในวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ โดยน�ำเสนอในรูปแบบใหม่ จนสร้างความโดด แตตน้มพุ )ล เอนออ่ น : ขณะกำ�ลงั ศกึ ษางานจติ กรรมฝาผนัง (ฮูป

เด่น และเกดิ การจดจ�ำในสงั คม

Art and Cultural Research-KKU # 6th 1

บทความนจี้ ึงเปน็ ความพยายามที่จะศึกษาและนำ� เสนอมุมมอง หลกั คดิ
และกระบวนการสรา้ งงานของศิลปนิ ทม่ี รี ากเหงา้ ความเป็นพ้ืนบ้านอีสาน ผสมผสาน
กับทักษะความรู้ และศิลปะแบบรว่ มสมัย นำ� เสนอผา่ นงานจติ กรรม ผ่านการกล่นั
กรอง ประสบการณ์ ทีซ่ มึ ซบั มาต้งั แต่วยั เยาว ์ และสังเคราะหอ์ อกมาเปน็ ผลงานศิลปะ
ท่ีสามารถก้าวข้ามผ่านเส้นแบ่งเขตแดนระหว่างศิลปกรรมพ้ืนบ้านกับศิลปกรรมร่วม
สมยั ไดอ้ ย่างไมเ่ คอะเขิน

รปู แบบงาน ตนุพล เอนออ่ น เทศแท้อนิลคงปวถนคิน่ินคิดิ ใ น ตจ ปขตินา้ัจรพุ พจกลบุเรจรันเา้อมตนทผอ้อไี่สดงอ่มกถ้นาูกรกสระะทแอ้ สนคถา่ งึนสิยภมาขวอะงขวอัตงถศสุ ิลมปยั ะใปหรมะเ่จขำ้า�
รูปแบบทางจิตรกรรม เขาท�ำข้นึ เพ่อื แทนสรรพสงิ่ ต่างๆ ท่ีต้องการส่ือ มอีสาแานทมนีหทลี่ จงนเหทลำ�อืใหน้ศ้อลิยปลงะไทป่มี ทีคุกวขาณมเะปน็ เอกลกั ษณ์ ประจำ�ทอ้ งถน่ิ
ประสบการณ์ตามทศั นะสว่ นตวั มีการประดิษฐส์ ร้าง 3 แบบ คือ “รปู แบบประดษิ ฐ์”เชน่ กแาสรดรงะขบอาบยเสขใีตนขสอว่ งนรูปลระ่าเองยี ลดักทษุกณส่วะนทมไ่ี ดลี ร้ ักบั ษอณิทธะิพแบลจนารกาบฮูปตแัดตเส้ม้น
ภาพทวิ ทัศน ์ ภาพสตั ว์ ตน้ ไม ้ ภเู ขา ผนื นำ้� ลว้ นถกู สร้างขึน้ เพอื่ ใหส้ ามารถสัมผสั
เขา้ ใจและงา่ ยตอ่ การรบั รขู้ องผดู้ ู “รูปแบบสรา้ งขนึ้ ใหม่” เช่น การยอ่ สว่ นใหเ้ ลก็ กวา่
ความจรงิ เพอ่ื บรรจุสว่ นประกอบภาพให้พอแกก่ ารเล่าเรอื่ ง และแสดงออก รปู แบบลด
ทอน เป็นรปู แบบเชงิ สญั ลกั ษณ์ เพ่ือส่อื ความหมายแทนสง่ิ ซง่ึ เป็นรูปธรรม สื่อใหเ้ ห็น
ถึงความงามในลักษณะประดิษฐ์ท่ีเป็นธรรมดาสามัญ
วธิ พี ื้นฐานการเขียนภาพมลี ักษณะ 2 มติ ิ ทศั นธาตุถกู น�ำมาใช้เพอ่ื การ
แสดงออก และสอ่ื ความหมาย เชน่ การใช้เส้น ใหค้ วามสำ� คญั ของเสน้ รปู นอก และ
เส้นรายละเอียดภายในแยกส่วนที่เปน็ รปู กับพ้ืนให้เดน่ ชัด ผสานกบั การใช้สีวรรณะ
เยน็ และหรอื วรรณะรอ้ น เพื่อเนน้ หรอื ให้เกิดความเด่นชดั ดงึ ดูดสายตา ส่ือใหเ้ กดิ
อารมณค์ วามรูส้ กึ เชิงสัญลกั ษณ์ทม่ี ีความหมายตรง และมีนยั แฝง การระบายสีบน
พืน้ เรียบเพ่ือแสดงองค์ประกอบกลุ่มภาพและรปู ภาพ และตดั เสน้ แสดงขอบเขตของ
องคป์ ระกอบ กลุม่ ภาพ และตวั ภาพตา่ งๆ เน่อื งจากภาพจิตรกรรม เป็นการพรรณนา
เนือ้ เรอ่ื งดว้ ยภาพมลี ักษณะ 2 มิติ ไม่ตอ้ งค�ำนงึ ถงึ ความมดื ความสว่าง แหล่งทีม่ าของ
แสง ตวั ภาพแยกจากส่วนทเี่ ปน็ พน้ื หลงั เพราะสชี ว่ ยทำ� ให้เกิดการจ�ำแนกหรือแยกส่วน
รปู และพื้นใหป้ รากฏตอ่ สายตากำ� หนดขอบเขตของภาพไดอ้ ย่างชัดเจน การระบายสี
ในสว่ นละเอียดทกุ สว่ นมีลักษณะแบนราบ ตัดเสน้ แสดงขอบเขตของรปู รา่ ง สว่ นต่าง
ๆ ของรูปภาพอืน่ ๆ ล้วนใช้กรรมวิธีดงั กล่าว การจัดองค์ประกอบน�ำตัวภาพขนาดเลก็
ใหญ่ อยรู่ ว่ มกัน ผลก็คอื ตวั ภาพขนาดใหญ่ มกั ปรากฏคุณสมบัตทิ ี่สมั ผสั จากการมอง
เห็นท�ำให้เกิดความรสู้ กึ “เบาลอย” (Less Visual) ซึ่งเปน็ สภาพไรน้ ำ�้ หนกั ทางสายตา
แต่ไมส่ ามารถจะมนี ้�ำหนกั หรอื รสู้ ึกเหมือนกดทบั หรือเกดิ ความอดึ อดั ขน้ึ มาในภาพ
เหลา่ น้นั
การจัดองคป์ ระกอบทางจติ รกรรมของ “ตนพุ ล เอนออ่ น” สะทอ้ นแนวคดิ ความ
รู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ สะท้อนความอิสระดา้ นการ
แสดงออกทีเ่ รียบงา่ ยไม่เคร่งครดั แสดงออกทางความรคู้ วามเข้าใจตามรสนยิ ม และ
ทักษะของเขา ขณะเดยี วกนั เขาไดพ้ ยายามคดั สรรศิลปะแบบอีสานประเพณมี าปรับ
ใชเ้ ท่าที่จ�ำเปน็ ตอ่ การแสดงออก

Art and Cultural Research-KKU # 6th 2

สรุป          
ตนพุ ล เอนอ่อน เปน็ คนรนุ่ ใหม่ ทตี่ ระหนกั และเหน็ คุณค่า ความหมายของวัฒนธรรมพน้ื บ้านอีสาน เขากลายเป็นตัวแทน
ของคนรุ่นหลงั ทีไ่ ดร้ บั การสงั่ สมองค์ความรู้ทางวฒั นธรรมพนื้ บ้านอสี าน งานจติ กรรมของเขาแตล่ ะ่ ชิ้น ถกู สร้างข้ึนจากภาพร่างซึ่ง
เกิดจากการแสวงหาองคค์ วามร้ภู มู ปิ ญั ญาจากประสบการณต์ รงจากครอบครัว สภาพแวดลอ้ ม และ บริบททางสังคมในยุคปัจจบุ ัน
ลักษณะร่วมที่ส�ำคัญในชุดผลงานคือการน�ำวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสานมาบูรณาการเข้ากับแนวคิดและการแสดงออกแบบร่วมสมัย
ได้อย่างสนกุ สนาน น่าทงึ่ และแยบยล แฝงไปดว้ ยความคิดทต่ี อ้ งการบอกเล่า เร่ืองราวทปี่ รากฏจรงิ ในสงั คมแบบร่วมสมัย ในเชิง
เสยี ดสี ลอ้ เลียน โดยมกี ารคลีค่ ลายรูปทรง ม่งุ เนน้ ลกั ษณะทางกายภาพในตวั หนงั แต่ละตวั ให้สามารถแสดงออกถึงเนื้อหาเรื่องราว
รวมไปถึงอารมณ์ความร้สู กึ ทเ่ี กิดจากทัศนะธาตทุ ี่ปรากฏในทกุ ช้ินงาน ล้วนแลว้ แตเ่ ปน็ เทคนิควธิ ีการท่ผี ่านกระบวนการคดิ อยา่ ง
ละเอยี ด และถูกน�ำไปใชอ้ ยา่ งคุ้มคา่ ในการแสดงนทิ รรศการของเขา แตล่ ะครั้ง เปน็ การใชพ้ นื้ ทขี่ องสังคมอยา่ งเปน็ ประโยชขนแ์ ละ
คุ้มคา่ บนความตระหนกั รูใ้ นศลิ ปะ และสำ� นกึ ในคณุ คา่ ของวัฒนธรรม งานจติ กรรมของเขาไดเ้ นน้ ย�ำ้ ถงึ เสรีภาพในการแสดงออก
อย่างเปน็ รปู ธรรม
จากความรู้สำ� นึกในคณุ ค่าความหมายของเปน็ ศิลปิน งานจติ กรรมของเขาจงึ ดูราวเปน็ การประณีประนอมอย่างมากกบั
ภูมปิ ัญญาของบรรพชน ตวั ละครจากฮูปแตม้ ในงานจติ กรรมของเขาแตล่ ะตัวมิได้ถูกสร้างขน้ึ เพื่อหกั ลา้ งหรอื ทับถมต่อวฒั นธรรม
ดั้งเดิมท่สี รา้ งสมกันมาแต่โบราณ หากแตเ่ ป็นการต่อยอด และขยายกรอบอนั จ�ำกัดของประเพณเี ดิมให้กว้างออกทง้ั มิตทิ างศลิ ปะ
และมติ ิทางวฒั นธรรม ถอื ได้วา่ เป็นการปรับเปล่ียนอย่างเปน็ ธรรมชาตแิ ละเป็นการอนรุ กั ษอ์ ย่างเหมาะสมแกย่ ุคสมัย
เอกสารอา้ งอิง
ไพโรจน์ สโมสร.จติ กรรมฝาผนงั อสี าน.กรงุ เทพ: อมรนิ ทร์ปริ้นติง้ กรุ็ป,2532
ศนู ยว์ ฒั นธรรมอสี าน มหาวิทยาลยั ขอนแก่น,2532
https://www.gotoknow.org/posts/212761

Art and Cultural Research-KKU # 6th 3


Click to View FlipBook Version