The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โฮมสเตย์ : ความย้อนแย้ง เกิดจากใคร นิยามใหม่ ในภาพจำเดิม

บทความโดย ทศพล นทีวชิรมงคล
สาขาศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

โฮมสเตย์ : ความย้อนแย้ง เกิดจากใคร นิยามใหม่ ในภาพจำเดิม

โฮมสเตย์ : ความย้อนแย้ง เกิดจากใคร นิยามใหม่ ในภาพจำเดิม

บทความโดย ทศพล นทีวชิรมงคล
สาขาศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

โฮมสเตย์ : ความยอ้ นแยง้ เกดิ จากใคร นิยามใหม่ ในภาพจาเดมิ

การทอ่ งเท่ียวแบบ โฮมสเตย์ (Home Stay) ในปัจจบุ นั กาลงั ไดร้ บั ความนิยมอยา่ งมาก
กระแสการทอ่ งเท่ียวแบบโฮมเสตยท์ าใหช้ มุ ชนหลายแหง่ ท่ีมีเอกลกั ษณท์ างการดารงชีวติ ท่โี ดดเดน่
ทงั้ ทางดา้ นวฒั นธรรม การประกอบอาชีพ ชาตพิ นั ธุ์ ใชส้ ่งิ เหลา่ นีเ้ ป็นตน้ ทนุ ในการสรา้ งแรงดงึ ดดู
ใหน้ กั ทอ่ งเท่ยี วท่ีสนใจเรยี นรูว้ ถิ ีชีวิตและวฒั นธรรมไดเ้ ขา้ มาสมั ผสั และเป็นสว่ นหนง่ึ ในชมุ ชน

แตก่ ารทอ่ งเท่ียวแบบโฮมสเตยก์ ม็ ีความยอ้ นแยง้ ในตวั เอง นกั ทอ่ งเท่ยี วสว่ นหน่งึ ท่ีเท่ียวโฮม
สเตยค์ าดหวงั ท่ีจะไดเ้ หน็ และไดเ้ รยี นรูว้ ถิ ีชีวติ ของชมุ ชนหรอื ทอ้ งถ่ินนนั้ แบบภาพจาเดิมๆ ใน
ขณะเดยี วกนั นกั ทอ่ งเท่ียวเองยงั ยดึ ตดิ ความสะดวกสบายจากวถิ ีชีวิตแบบเดิมๆ จนอาจจะไป
ทาลายกฏหรอื นิยามของโฮมสเตย์ ในสว่ นของเจา้ บา้ นเองก็ตอ้ งพยายามรกั ษาภาพลกั ษณ์ วิถี
ชีวติ และชาติพนั ธเ์ พ่ือใหค้ งสภาพดงั้ เดมิ เพ่ือใหน้ กั ทอ่ งเท่ียวไดเ้ หน็ ในสงิ่ ท่ีตอ้ งการ ทงั้ ๆท่ีเจา้ บา้ น
เองกเ็ ป็นมนษุ ยท์ ่ตี อ้ งการความสะดวกสบายไมต่ า่ งจากนกั ทอ่ งเท่ียว ซง่ึ เป็นไปตามกลไกความ
เจรญิ ของโลกและความตอ้ งการพืน้ ฐานของมนษุ ย์ โฮมสเตยจ์ งึ อาจจะกลายเป็นเพียงสนิ คา้ อยา่ ง
หน่งึ ท่ีขายภาพจาเดิมๆ ของวิถีชีวติ ทอ้ งถ่ิน ชาตพิ นั ธ์ ทงั้ ๆท่ีในแงค่ วามเป็นจรงิ มสี ่ิงแปลกใหม่เขา้
มาผสมอยมู่ ากมาย จงึ อาจจะตอ้ งนิยามการทอ่ งเท่ียวโฮมสเตยใ์ หม่ เพ่ือใหไ้ ดเ้ หน็ ภาพจาท่แี ทจ้ รงิ

ภาพจา ท่ีทกุ คนนกึ ถงึ ได้ เม่ือพดู ถงึ การไปพกั แบบโฮมเสตย์ คอื การไดพ้ กั อาศยั รว่ มกบั
เจา้ ของบา้ น ในบา้ นแบบดงั้ เดมิ ของท่ีนนั้ ๆ โดยท่ไี มไดส้ รา้ งขนึ้ มาใหม่เพ่ือรองรบั นกั ทอ่ งเท่ียว แต่
เป็นการการตอ้ นรบั ดว้ ยความเป็นจรงิ ของเอกลกั ษณแ์ ละวฒั นธรรมของท่ีนนั้ ๆ ทงั้ ท่นี อนหมอนมงุ้
อาหารการกิน อาจจะไมจ่ าเป็นตอ้ งหรูหรา แตอ่ าจจะพเิ ศษกวา่ ชีวติ ประจาวนั เหมือนเจา้ บา้ นท่ี
ตอ้ นรบั เม่ือมีแขกมาเย่ียมเยอื นบา้ นตวั เอง นอกจากท่ีพกั อาศยั และอาหารแลว้ ยงั อาจจะไดพ้ ดู คยุ
กบั เจา้ ของบา้ น ไดแ้ ลกเปลีย่ นไดฟ้ ังเรอ่ื งราววถิ ีชีวิตของคนทอ้ งถ่ินนนั้ ๆ ซง่ึ ตรงกบั จดุ ประสงคท์ ่ผี ู้
ไปพกั ท่ตี อ้ งเรยี นรูว้ ิถีชีวิตและซมึ ซบั การบรรยากาศของเอกลกั ษณท์ ่ีนนั้ ๆ อยา่ งเขา้ ถงึ มากขนึ้

ณิชากร ณฐั ิเจรญิ ลาภ (2550) ไดใ้ หค้ วามหมายของโฮมสเตย์ ไวว้ า่ โฮมสเตย์ (Home Stay)
คอื การพกั อาศยั อยกู่ บั ชมุ ชนตามสถานท่ีตา่ งๆ เพ่ือสมั ผสั และเรยี นรูว้ ิถีชีวติ ความเป็นอยู่
วฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน สงั คม ประเพณี ศาสนา โดยนกั ทอ่ งเท่ียวตอ้ งอยภู่ ายใตก้ ฎเกณฑข์ องชมุ ชนท่ี

เขา้ ไปพกั อาศยั เพ่ือไม่ใหเ้ กิดปัญหาท่ีขดั ตอ่ วฒั นธรรม จารตี หรอื ความเช่ือของแตล่ ะชมุ ชน ส่ิง
สาคญั อีกอย่างท่ีนกั ทอ่ งเท่ียวควรรูส้ าหรบั การพกั ผอ่ นแบบ โฮมสเตย์ คอื นกั ทอ่ งเท่ียวอาจจะไม่
สามารถเลอื กไดว้ า่ จะพกั หอ้ งแบบใด ทานอาหารแบบไหน อีกทงั้ จะไมม่ ีสิ่งอานวยความสะดวกท่ี
เกินความจาเป็นอยา่ งเครอ่ื งปรบั อากาศ ทีวตี เู้ ยน็ เป็นตน้

การทอ่ งเท่ียว มใิ ชเ่ พยี งการเดินทางไปสถานท่ีอ่นื ๆ เพ่ือการพกั ผ่อนหยอ่ นใจเทา่ นนั้ "การ
ทอ่ งเท่ียว" ยงั ถือวา่ เป็นกิจกรรมทางสงั คมท่เี ก่ียวกบั การเดินทางเพ่ือไปสมั ผสั ส่งิ ท่แี ตกตา่ งจากการ
ดาเนินชีวติ และการทางานปกติ (สารณิ ีย์ ภาสยะวรรณ ,2554 )

พทุ ธศาสนิกชนมาทาบญุ กฐิน ท่ีวดั ในตาบลบา้ นโพน อาเภอคาม่วง จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ ซงึ เป็นชีวติ ปกติตามของชาวบา้ นไม่ไดจ้ ดั ขนึ้ เพ่ือรองรบั
นกั ทอ่ งเท่ียว

สานกั งานพฒั นาการทอ่ งเท่ียว กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกีฬา (2549) ไดใ้ ห้ คาจากดั
ความของโฮมสเตยม์ าตรฐานไทย ท่จี ะเขา้ รบั การประเมินเพ่อื คดั สรรโฮมสเตยม์ าตรฐานไทย ดงั นี้

1. บา้ นท่อี ยใู่ นชมุ ชนชนบทท่ีมีประชาชนในชมุ ชนเป็นเจา้ ของ และเจา้ ของบา้ นหรอื สมาชิกใน
ครอบครวั อาศยั อยปู่ ระจา หรอื ใชช้ ีวิตประจาวนั อยใู่ นบา้ นดงั กลา่ ว นอกจากนี้ บา้ นดงั กลา่ วตอ้ งมี
ความพรอ้ มในการเป็นโฮมสเตย์ กลา่ วคือ เจา้ ของบา้ นและสมาชิกในครอบครวั ตอ้ งถือวา่ การทา
โฮมสเตยเ์ ป็นเพยี งรายไดเ้ สรมิ นอกเหนือรายไดจ้ ากอาชีพหลกั ของครอบครวั เทา่ นนั้

2. มีพืน้ ท่ีใชส้ อยภายในบา้ นเหลือและไมไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชน์ สามารถนามาดดั แปลงให้
นกั ทอ่ งเท่ียวเขา้ พกั ได้ นกั ทอ่ งเท่ียวตอ้ งเขา้ พกั คา้ งแรมในบา้ นเดยี วกบั ท่ีเจา้ ของบา้ นอาศยั อยู่ โดย
มีโอกาสแลกเปล่ยี นเรยี นรูว้ ฒั นธรรมและวิถีชีวิตระหวา่ งกนั

3. สมาชิกในครอบครวั ตอ้ งมีความยนิ ดีและเตม็ ใจท่ีจะรบั นกั ทอ่ งเท่ยี วใหเ้ ขา้ มาพกั คา้ งแรมใน
บา้ น พรอ้ มทงั้ ถ่ายทอดวฒั นธรรมอนั ดงี ามของทอ้ งถ่ินนนั้ แก่นกั ทอ่ งเท่ียว

4. เจา้ ของบา้ นและสมาชิกในครอบครวั ใหค้ วามรว่ มมือกบั ชมุ ชนในการจดั การโฮมสเตยเ์ ป็น
อยา่ งดี บา้ นนนั้ ควรเป็นสมาชิกของกลมุ่ ชมรม หรอื สหกรณ์ ท่ีรว่ มกนั จดั การโฮมสเตยข์ องชมุ ชน
นนั้

โฮมสเตยเ์ ป็นการจดั ท่พี กั ของชาวบา้ นในชมุ ชนใหแ้ ก่นกั ทอ่ งเท่ียวโดยการเตม็ ใจใหบ้ รกิ ารท่ี
สามารถรองรบั สภาพทางกายภาพ ชมุ ชน ขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรมและวถิ ีชีวิต การ
จดั โฮมสเตยม์ งุ่ จดั ใหเ้ กิดการทอ่ งเท่ียวแบบย่งั ยืนโดยรกั ษาทรพั ยากรทอ่ งเท่ียวใหค้ งทนถาวรดว้ ย
การจดั การท่องเท่ียวเชิงนิเวศ ซง่ึ เนน้ การรกั ษาสมดลุ ของธรรมชาติ คานงึ ถึงขีดความสามารถใน
การรองรบั พืน้ ท่ีและชมุ ชนเอง มีความสมั พนั ธก์ บั วถิ ีชีวติ ตลอดจนการทอ่ งเท่ียวประเภทอ่นื อนั
เก่ียวขอ้ งกบั วฒั นธรรมและศลิ ปกรรม ประวตั ศิ าสตร์ โบราณคดี ธรรมชาติ เกษตรกรรมและ
สขุ ภาพ (รตั นาภรณ์ มหาศรานนท์ ,2545) การทอ่ งเท่ียวแบบโฮมสเตย์ ถือเป็นรูปแบบหนง่ึ ของ
การทอ่ งเท่ียวเชิงนิเวศ ซง่ึ สทุ ติ ยอ์ บอนุ่ (2541) ไดก้ ลา่ วถงึ การทอ่ งเท่ียวเชิงนิเวศไวว้ า่ เป็นการ
พฒั นาการทอ่ งเท่ียวอย่างย่งั ยืนและเป็นรูปแบบของการท่องเท่ียวท่ีชว่ ยสรา้ งจิตสานกึ ในการ

อนรุ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ มใหก้ บั คนในทอ้ งถ่ิน นกั ทอ่ งเท่ียว และผปู้ ระกอบการ

การจดั การแสดงการท่องเท่ียวแบบโฮมสเตย์ ท่ีเกิดจากความตอ้ งการของนกั ท่องเท่ียวท่ีอยากเห็นภาพวฒั นธรรมเดมิ และการกินอาหารตามความ
เคยชินของนกั ทอ่ งเท่ียว ท่ีมาเท่ียวโฮมสเตย์

เม่ือมีการสนบั สนนุ และประชาสมั พนั ธจ์ ากภาคสว่ นตา่ งๆ ทาใหก้ ารทอ่ งเท่ียวและพกั คา้ ง
คนื แบบโฮมสเตยเ์ ป็นไดเ้ ป็นท่ีรูจ้ กั และทาใหเ้ กิดกระแสนิยมจากนกั ทอ่ งเท่ียวหลากหลายกลมุ่
หลากหลายความตอ้ งการ ทาใหโ้ ฮมสเตย์ เรม่ิ มีระบบการจดั การเพ่ือรองรบั นกั ทอ่ งเท่ยี ว โดย
นกั ทอ่ งเท่ียวสว่ นหนง่ึ หรอื อาจจะเป็นสว่ นใหญ่ เพยี งตอ้ งการเปลยี่ นบรรยากาศการทอ่ งเท่ยี ว โดย
การเปลีย่ นจากพกั โรงแรมหรอื รสี อรท์ มาเลอื กพกั โฮมสเตยแ์ ทน แตย่ งั ยดึ ติดกบั ความสบายแบบท่ี
เคยเป็น ทาใหเ้ จา้ บา้ นเองตอ้ งจดั หาสิ่งท่ีนกั ทอ่ งเท่ียวตอ้ งการมารองรบั เพ่ือความพอใจของ
นกั ทอ่ งเท่ียว จนทงั้ สองฝ่ายลมื ไปวา่
นิยามของโฮมสเตยค์ อื อะไร? เราตอ้ งการอะไรจากโฮมสเตย?์

เอกสารอา้ งองิ
รตั นาภรณ์ มหาศรานนท์ .การวเิ คราะหค์ วามต้องการของนักทอ่ งเทยี่ วตอ่ การ
จดั โฮมสเตยใ์ นประเทศไทย.คณะมนษุ ยศ์ าสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี
.2545

ณิชากร ณฐั ิเจรญิ ลาภ .การจัดการธุรกิจโฮมสเตยข์ องชาวเขาในจังหวัดเชียงใหม่.ศิลปศา
สตรมหาบณั ฑิต(เศรษฐศาสตรก์ ารเมือง) มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ .2550

สานกั งานพฒั นาการทอ่ งเท่ียว กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกีฬา .
ท่ีมา.http://www.tripsthailand.com/th/thai_homestay.php.

สารณิ ีย์ ภาสยะวรรณ .การเมอื งของการสร้างภาพตวั แทนทางชาตพิ นั ธุใ์ นพนื้ ทกี่ าร
ทอ่ งเทย่ี ว : กรณีศกึ ษาโฮมสเตยช์ าวลาหู่ บ้านยะดู .ศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต(การพฒั นา
สงั คม) มหาวิทยาลยั เชียงใหม่.2554

.................................................................................................................................
บทความโดย นายทศพล นทีวชิรมงคล
575220004-3 สาขาวิจยั ศลิ ปและวฒั นธรรม
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่


Click to View FlipBook Version