The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สร้างความรู้ความเข้าใจพ.ร.บ.ป่าชุมชนพ.ศ.2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สร้างความรู้ความเข้าใจพ.ร.บ.ป่าชุมชนพ.ศ.2563

สร้างความรู้ความเข้าใจพ.ร.บ.ป่าชุมชนพ.ศ.2563

สร้าง ความเข้าใจเบอื้ งต้น

กฎหมายว่าด้วยป่ าชุมชน

ปรับปรุงคร้ังท่ี 1

ประชารัฐ
จดั การร่วม

ป่ าชุมชน เกอื้ กูล

คนอยู่กบั ป่ า สมดุล ยงั่ ยนื

พระราชบญั ญตั ิป่ าชุมชน พ.ศ. 2562

คานา

กรมป่ าไมด้ าเนินการส่งเสริมให้ชุมชนเขา้ มามีส่วนร่วมกบั รัฐ ในการ
บริหารจดั การพ้ืนท่ีป่ าที่อยใู่ กลช้ ุมชนในรูปแบบ “ป่ าชุมชน” มาเป็ นเวลายาวนาน
ภายใตพ้ ระราชบญั ญตั ิป่ าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 พระราชบญั ญตั ิป่ าไม้ พทุ ธศกั ราช
2484 ซ่ึงยงั มีขอ้ จากัดหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเร่ืองของสิทธิและ
หน้าท่ีของคณะกรรมการและสมาชิกป่ าชุมชนในการบริหารจดั การป่ าชุมชน
ตามกฎหมาย

ต่อมาในยุครัฐบาล คสช. ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ์
จนั ทร์โอชา) ไดม้ ีนโยบายท่ีจะรักษาความมนั่ คงของฐานทรัพยากรและสร้างสมดุล
ระหว่างการอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์อย่างยัง่ ยืน โดยกาหนดให้มีการ
“ขยายป่ าชุมชน” ให้ครอบคลุมท้งั ประเทศและรัฐบาลมีนโยบายดา้ นการปฏิรูป
ประเทศ เร่งรัดการออกกฎหมายป่ าชุมชน เพ่ือให้มีกฎหมายเฉพาะรองรับ
การบริหารจดั การป่ าชุมชน เพ่อื เป็นกลไกในการส่งเสริมสร้างแรงจูงใจให้พ่ีนอ้ ง
ประชาชนได้มีส่วนร่วมกับรัฐในการอนุรักษ์ ฟ้ื นฟู จดั การ บารุงรักษา และ
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่ าไม้และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยง่ั ยืน
ดงั น้ัน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (นายวราวุธ
ศิลปอาชา) ได้มอบนโยบายให้เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ปฏิบัติภารกิจโดยเน้นการ
มีส่วนร่วมของพ่ีน้องประชาชน เพ่ือให้รัฐได้ป่ า ประชามีที่ทากิน และสร้างความสุข
ให้กับพี่น้องประชาชน ซ่ึงพระราชบัญญัติป่ าชุมชน พ.ศ. 2562 ได้ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 136 ตอนที่ 71ก หนา้ 71 ลงวนั ที่ 29 พฤษภาคม 2562

ดงั น้นั เพอ่ื สร้างความรู้ ความเขา้ ใจ ใหก้ บั พนี่ อ้ งประชาชนและเจา้ หนา้ ที่
กรมป่ าไม้ จึงได้จัดทาเอกสารสร้างความเข้าใจเบ้ืองต้น “กฎหมายว่าด้วย
ป่ าชุมชน” เพื่อเผยแพร่ใหป้ ระชาชน และผสู้ นใจ ไดเ้ ขา้ ใจถึงเจตนารมณ์ในการ
ออกกฎหมายป่ าชุมชน โดยผูจ้ ดั ทาหวงั เป็ นอยา่ งยิ่งวา่ จะเป็ นประโยชน์สาหรับ
พน่ี อ้ งประชาชนต่อไป

(นายอรรถพล เจริญชนั ษา)
อธิบดีกรมป่ าไม้

สารบญั 1
2
ปัญหาการดาเนนิ งานป่ าชุมชน 4
28 ปี เส้นทางการเดนิ ทางของ พ.ร.บ. ป่ าชุมชน พ.ศ.2562 7
เหตุผลความจาเป็ นในการตรากฎหมายป่ าชุมชน 8
หลกั การและเหตผุ ล 9
องค์ประกอบของ พระราชบญั ญตั ปิ ่ าชุมชน พ.ศ. 2562 10
เจตนารมณ์ของกฎหมาย 11
ป่ าชุมชน คอื ? 12
โครงสร้างการบริหารและดาเนินงานป่ าชุมชน 14
คณะกรรมการนโยบายป่ าชุมชน 16
คณะกรรมการป่ าชุมชนประจาจงั หวดั 17
คณะกรรมการจดั การป่ าชุมชน 18
สมาชิกป่ าชุมชน 20
เจ้าหน้าทปี่ ่ าชุมชน 21
เครือข่ายป่ าชุมชน 22
องค์กรภาคประชาสังคม 24
พนกั งานเจ้าหน้าที่ 25
พนื้ ทที่ สี่ ามารถขอจดั ต้งั ป่ าชุมชนได้ 26
วตั ถุประสงค์ของการจดั ต้งั ป่ าชุมชน 27
การขอจดั ต้งั ป่ าชุมชน และสถานภาพป่ าชุมชน 28
ข้นั ตอนการจดั ต้งั ป่ าชุมชนและการกาหนดขนาด 30
กรอบการใช้ประโยชน์จากผลผลติ และบริการป่ าชุมชน 31
ข้อห้ามกระทาการในป่ าชุมชน 32
การศึกษาค้นคว้า วจิ ยั ในป่ าชุมชน 33
ไม้ทรงคณุ ค่า 34
บทลงโทษ 35
ป่ าชุมชนทจ่ี ดั ต้งั ตามกฎหมายป่ าไม้เดมิ 36
สิ่งทป่ี ่ าชุมชนต้องดาเนินการตามพ.ร.บ.ป่ าชุมชน 37
การเพกิ ถอนป่ าชุมชน 38
เงนิ ค่าปรับ/เงนิ รายได้/ทรัพย์สินส่วนกลาง 42
กฎหมายลาดบั รองตาม พ.ร.บ. ป่ าชุมชน พ.ศ. 2562
คานยิ ม

ปัญหาการดาเนินงานป่ าชุมชน

ทอ่ี าศัยอานาจตาม พ.ร.บ.ป่ าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 และ พ.ร.บ.ป่ าไม้ พทุ ธศักราช 2484

 ผู้ได้รับอนุญาตโครงการป่ าชุมชนตามกฎหมาย
คือพนักงานเจ้าหน้าที่ คณะกรรมการป่ าชุมชน
เป็ นผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าท่ี
โครงการป่ าชุมชนมีระยะเวลาเร่ิมต้นและสิ้นสุด
ต้องต่ออายุโครงการเพม่ิ ภาระให้ชุมชนและเรื่อง
งบประมาณ
ขาดแรงจูงใจในการจัดต้งั ป่ าชุมชน

 การบริหารจัดการป่ าชุมชนโดยคณะกรรมการ
ป่ าชุมชนกระทาโดยไม่มีกฎหมายรองรับ จึงมขี ้อจากดั
หลายประการ
ประชาชนร่วมดูแลป่ า แต่การใช้ประโยชน์จากป่ า
บางประการ ยงั มีข้อจากดั จึงเกดิ ความคลางแคลงใจ
กบั เจ้าหน้าทรี่ ัฐ ขาดแรงจูงใจในความร่วมมือ

การใช้กฎหมายป่ าไม้เดิมทอี่ ยู่ ซ่ึงเป็ นกฎหมาย
ควบคุม มาใช้เป็ นเคร่ืองมอื ในการส่งเสริม จึงมีข้อจากดั
หลายประการ
กฎหมายในปัจจุบัน ยงั ไม่ได้เปิ ดโอกาสในเรื่องของ
สิทธิทเ่ี ป็ นธรรมในการบริหารจัดการป่ า เช่น สิทธิ
การใช้และพฒั นาแหล่งนา้ จากป่ าชุมชน เพอื่ การ
อุปโภคบริโภค
การตีความของกฎหมายป่ าไม้ ยงั มีข้อขัดแย้ง
ระหว่างเจ้าหน้าทขี่ องรัฐและชุมชน เช่น กจิ กรรม
การสร้างฝายถาวร การจัดทาประปาภูเขา เป็ นต้น

-1-

-2-

-3-

-4-

-5-



หลกั การและเหตุผล

หลกั การ

ให้มกี ฎหมายว่าด้วยป่ าชุมชน

เหตุผล

โดยทเ่ี ป็ นการสมควรส่งเสริมให้ชุมชนได้ร่วมกบั รัฐในการอนุรักษ์ ฟื้ นฟู
จัดการ บารุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
และความหลากหลายทางชีวภาพ อย่างสมดุลและยงั่ ยนื ในรูปแบบของ

ป่ าชุมชน เพอ่ื ให้ชุมชนสามารถจัดการป่ าชุมชนและได้ประโยชน์จาก
ป่ าชุมชน อนั จะส่งผลให้ชุมชนดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม
และความหลากหลาย ทางชีวภาพของประเทศให้มคี วามสมบูรณ์และยงั่ ยนื

จงึ จาเป็ นต้องตรา
พระราชบญั ญัตปิ ่ าชุมชน พ.ศ. 2562

-7-

องค์ประกอบของ พระราชบญั ญตั ปิ ่ าชุมชน พ.ศ. 2562

8 หมวด 104 มาตรา

 บทนา
 หมวด 1 บททั่วไป
 หมวด 2 คณะกรรมการนโยบายป่ าชุมชน
 หมวด 3 คณะกรรมการป่ าชุมชนประจาจงั หวดั
 หมวด 4 การจดั ต้งั ป่ าชุมชน
 หมวด 5 การจดั การป่ าชุมชน
 หมวด 6 การควบคุมดูแลป่ าชุมชน
 หมวด 7 การเพกิ ถอนป่ าชุมชน
 หมวด 8 บทกาหนดโทษ
 บทเฉพาะกาล

-8-

เจตนารมณ์ของกฎหมาย

มุ่งหมายให้บุคคลและชุมชนได้ประโยชน์จากป่ าชุมชน เกิดเจตคติ
ในการดูแลรักษาและจัดการป่ าชุมชนร่ วมกับรัฐ เพื่อป้ องกันการตัดไม้
โดยผิดกฎหมายและการบุกรุ กทาลายพื้นท่ีป่ า เพ่ือรั กษาและฟื้ นฟู
ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพในป่ า
ให้อยู่ในสภาพท่ีสมบูรณ์และคงอยู่เป็ นมรดกทางธรรมชาติของประเทศ และ
ของมนุษยชาติสืบไป และมุ่งหมายเพอื่ กาหนดสาระแห่งสิทธิของบุคคลและ
ชุ ม ช น ใ น ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ฟื้ น ฟู จั ด ก า ร บ า รุ ง รั ก ษ า ต ล อ ด จ น
ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทาง
ชีวภาพ อย่างสมดุลและยง่ั ยนื ตามทรี่ ัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยรับรอง

มาตรา 3

-9-

ป่ าชุมชน คอื ?

ป่ านอกเขตป่ าอนุรักษ์หรือพืน้ ทอ่ี ่ืนของรัฐนอกเขต
ป่ าอนุ รั กษ์ ที่ได้ รั บอนุ มัติให้ จัดต้ังเป็ นป่ าชุ มชน
โดยชุ มชนร่ วมกับรัฐในการอนุรักษ์ ฟื้ นฟู จัดการ
บารุงรักษา ตลอดจนใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
ส่ิงแวดล้อม และความหลากหลาย ทางชีวภาพในป่ าชุมชน
อย่างสมดุลและยงั่ ยนื ตามพระราชบญั ญตั นิ ี้

มาตรา 4

- 10 -

โครงสร้างการบริหารและดาเนินงานป่ าชุมชน

มคี ณะกรรมการ 3 ระดบั
• คณะกรรมการนโยบายป่ าชุมชน (มาตรา 9)
• คณะกรรมการป่ าชุมชนประจาจังหวดั (มาตรา 23)
• คณะกรรมการจดั การป่ าชุมชน (มาตรา 44)

สิ่งทด่ี ขี ึน้

• คณะกรรมการท้งั 3 คณะทาหน้าทตี่ ้ังแต่ระดบั ปฏบิ ตั ิการในการดาเนินการ
จดั การป่ าชุมชนให้เป็ นไปตามวตั ถุประสงค์ของป่ าชุมชนและแผนจัดการ
ป่ าชุมชนทค่ี ณะกรรมการป่ าชุมชนประจาจังหวดั อนุมตั ิ จนถงึ ระดับนโยบาย
เพอ่ื ทาหน้าทเี่ สนอความเหน็ ต่อคณะรัฐมนตรี ซ่ึงอานาจหน้าที่ ของคณะ
กรรมการท้งั 3 คณะ มคี วามเกยี่ วข้องเชื่อมโยงกนั และมกี ารตรวจสอบ
ถ่วงดุลอานาจของคณะกรรมการท้งั 3 คณะอกี ด้วย

• เป็ นการกระจายอานาจในการบริหารจดั การให้สอดคล้องกบั ความต้องการ
ของแต่ละพนื้ ที่

- 11 -

คณะกรรมการนโยบายป่ าชุมชน

• รองนายกรัฐมนตรี ประธาน

• รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รองประธาน

• ปลดั กระทรวงกลาโหม

• ปลดั กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม

• เลขาธิการสานักงานการปฏิรูปทด่ี ินเพอ่ื เกษตรกรรม

• เลขาธิการสานักงานทรัพยากรนา้ แห่งชาติ

• อธิบดกี รมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง

• อธิบดกี รมทด่ี นิ

• อธิบดกี รมธนารักษ์

• อธิบดกี รมพฒั นาทด่ี ิน กรรมการ
• อธิบดีกรมพฒั นาสังคมและสวสั ดิการ

• อธิบดกี รมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

• อธิบดกี รมส่งเสริมสหกรณ์

• ผ้ทู รงคุณวุฒิ 8 คน ซ่ึงแต่งต้ังจาก...

+ ผ้แู ทนองค์กรภาคประชาสังคม 2 คน

+ ผ้ทู มี่ คี วามรู้ เช่ียวชาญด้านทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดล้อม 2 คน

+ ผ้แู ทนประธานเครือข่ายป่ าชุมชนระดบั จังหวดั 4 คน

• อธิบดกี รมป่ าไม้ กรรมการและเลขานุการ

• อธิบดีกรมป่ าไม้ แต่งต้งั ผ้ชู ่วยเลขานุการได้ตามความจาเป็ น

รวมคณะกรรมการ 22 ท่าน (ภาครัฐ 14 : ภาคประชาชน 8) (มาตรา 9)

- 12 -

คณะกรรมการนโยบายป่ าชุมชน

เสนอความเหน็ ให้ความเหน็ ชอบบัญชีรายช่ือ

ต่อคณะรัฐมนตรี กรรมการผ้ทู รงคุณวฒุ ิ

ทกุ ประเดน็ ทเ่ี กย่ี วข้อง ในคณะกรรมการ

ป่ าชุมชนประจาจังหวดั

เสนอแนะในการ หน้าท่ีและอานาจ
ตราพระราชกฤษฎกี า

และออกกฎกระทรวง (มาตรา 16)

กาหนดระเบยี บ พจิ ารณาอุทธรณ์
เพอ่ื ปฏิบัตกิ าร เรื่องทเ่ี กยี่ วข้อง
ตามพระราชบญั ญตั ินี้

แต่งต้ังคณะอนุกรรมการ
เพอื่ พจิ ารณาหรือปฏบิ ตั ิงาน

อย่างหน่ึงอย่างใดแทน
(มาตรา 21)

- 13 -

คณะกรรมการป่ าชุมชนประจาจังหวดั

o ผู้ว่าราชการจังหวดั หรือรองผ้วู ่าราชการ ประธาน

ทไี่ ด้รับมอบหมาย

o ผู้แทนกระทรวงกลาโหม

o ผ้อู านวยการสานักจัดการทรัพยากรป่ าไม้แห่งท้องท่ี

o อยั การจังหวดั

o ผ้อู านวยการสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจังหวดั

o ปลดั จังหวดั

o นายกองค์การบริหารส่วนจังหวดั กรรมการ

o ประธานเครือข่ายป่ าชุมชนระดบั จังหวดั

o ผ้ซู ึ่งผ้วู ่าราชการจังหวดั แต่งต้ังจากผ้แู ทน

• ผ้บู ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1 คน

• ข้าราชการหรือพนักงานของหน่วยงานอน่ื ทเี่ กยี่ วข้องของรัฐ 2 คน

• ผ้ทู รงคุณวุฒิซ่ึงประธานกรรมการแต่งต้งั อกี 7 คน

• ข้าราชการกรมป่ าไม้ซึ่งผ้วู ่าราชการจังหวดั เลขานุการ
แต่งต้งั 1 คน ผู้ช่วยเลขานุการ

• ข้าราชการ ซึ่งผ้วู ่าราชการจังหวดั
แต่งต้ัง 2 คน

รวมคณะกรรมการ 18 ท่าน (ภาครัฐ 8 : ภาคประชาชน 10) (มาตรา 23)

- 14 -

คณะกรรมการป่ าชุมชนประจาจงั หวดั

หน้าท่ีและอานาจ (มาตรา 26)

- พจิ ารณาคาขอการจดั ต้งั ป่ าชุมชน ขยายเขตป่ าชุมชน
หรือเพกิ ถอนป่ าชุมชน
- อนุมตั ิแผนจดั การป่ าชุมชน เหน็ ชอบ/ควบคุมดูแล
ข้อบงั คบั ป่ าชุมชน รวมท้งั ตดิ ตามประเมนิ ผลการจัดการ
ป่ าชุมชนของคณะกรรมการจดั การป่ าชุมชน

- ถอดถอนกรรมการจดั การป่ าชุมชน

- แต่งต้งั และถอดถอนเจ้าหน้าทป่ี ่ าชุมชน

- พจิ ารณาอทุ ธรณ์มตกิ ารให้พ้นจากการเป็ นสมาชิก
ป่ าชุมชน
- ให้คาแนะนาปรึกษาต่อคณะกรรมการจดั การป่ าชุมชน
ในการจัดการป่ าชุมชน

- 15 -

คณะกรรมการจดั การป่ าชุมชน

ผู้มีรายชื่ออยู่ในบัญชีคาขอจดั ต้งั ป่ าชุมชน
ตามมาตรา 33 (3) เป็ นคณะกรรมการจัดการป่ าชุมชน

(มาตรา 42)

คณะกรรมการจดั การป่ าชุมชน มีหน้าทแี่ ละอานาจ (มาตรา 44)

• ร่วมมอื กบั พนักงานเจ้าหน้าทใ่ี นการจัดให้มหี ลกั เขต ป้ ายหรือเคร่ืองหมายอ่ืน
• ออกข้อบงั คับเกยี่ วกบั การจัดการป่ าชุมชน หลกั เกณฑ์การรับบุคคลเป็ นสมาชิกป่ าชุมชน และ

การจัดการทรัพย์สินส่วนกลางของป่ าชุมชน
• ดูแลรักษาป่ าชุมชน บารุงและฟื้ นฟูป่ าชุมชน ส่งเสริมการศึกษาเรียนรู้ และสร้างจิตสานึก

เกยี่ วกบั การอนุรักษ์และฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และความหลากหลายทาง
ชีวภาพในป่ าชุมชน
• ดูแลรักษาทรัพย์สินส่วนกลางของป่ าชุมชน รวมท้งั จัดทาบัญชีทรัพย์สินส่วนกลางของป่ า
ชุมชนตามหลกั เกณฑ์ทอี่ ธิบดกี าหนด และรายงานให้คณะกรรมการป่ าชุมชนประจาจังหวดั
ทราบทุกปี
• ดูแลให้สมาชิกป่ าชุมชนปฏบิ ตั ิหน้าทท่ี ก่ี าหนดตามพระราชบัญญตั ินี้
• สั่งให้ผ้หู น่ึงผ้ใู ดทฝ่ี ่ าฝื นหรือไม่ปฏบิ ตั ติ ามข้อบังคบั ออกจากป่ าชุมชน หรือให้กระทาการหรือ
งดเว้นกระทาการใด ๆ ในเขตป่ าชุมชน เพอื่ ให้เป็ นไปตามข้อบังคบั ตามพระราชบัญญตั ินี้
• ไกล่เกลย่ี หรือประนีประนอมเม่อื เกดิ ความขดั แย้งในการจัดการป่ าชุมชน
• ช่วยเหลอื พนักงานเจ้าหน้าทใ่ี นกรณที มี่ ีการจับกมุ ปราบปรามผ้กู ระทาความผดิ
• มมี ตริ ับบุคคลเป็ นสมาชิกป่ าชุมชน หรือมมี ตดิ ้วยคะแนนเสียงจานวนไม่น้อยกว่าสามในสี่
ให้สมาชิกป่ าชุมชนพ้นจากการเป็ นสมาชิกป่ าชุมชน
• ดาเนินการตามทเ่ี ห็นสมควรเพอ่ื ป้ องกนั หรือบรรเทาความเสียหายแก่ป่ าชุมชน

- 16 -

สมาชิกป่ าชุมชน...คอื ใคร?

สมาชิกของป่ าชุมชนทไ่ี ด้จัดต้งั
ตามพระราชบญั ญตั นิ ี้

(มาตรา 4)

สมาชิกป่ าชุมชนซ่ึงได้รับการเสนอชื่อ
โดยคณะกรรมการจดั การป่ าชุมชน
เข้าร่วมเป็ น “เจ้าหน้าทปี่ ่ าชุมชน”

(มาตรา 27)

- 17-

เจ้าหน้าทปี่ ่ าชุมชน

ผ้ซู ่ึงคณะกรรมการป่ าชุมชน
ประจาจงั หวดั พจิ ารณาแต่งต้งั จาก

 เจ้าหน้าทขี่ องกรมป่ าไม้หรือหน่วยงานของ
รัฐที่เกย่ี วข้อง

 สมาชิกป่ าชุมชนซ่ึงได้รับการเสนอชื่อโดย
คณะกรรมการจัดการป่ าชุมชน เพ่ือให้
ปฏบิ ตั ิการตามพระราชบญั ญ(ตัมาินตี้ รา 27)

ส่ิงที่ดขี นึ้

- เปิ ดโอกาสให้ภาคประชาชน (สมาชิกป่ าชุมชน) เข้ามามีส่วนร่วม
ดาเนินงานเป็ นเจ้าหน้าทป่ี ่ าชุมชน

- 18 -

เจ้าหน้าทปี่ ่ าชุมชน

หน้าทแ่ี ละอานาจ

ตรวจสอบพนื้ ทแี่ ละตรวจตราดูแลการดาเนินการใช้ประโยชน์
จากผลผลติ และบริการป่ าชุมชนของสมาชิกป่ าชุมชนและ
บุคคลทมี่ ใิ ช่สมาชิกป่ าชุมชน และการดาเนินกจิ การต่าง ๆ ในป่ าชุมชน

แนะนา ให้ความรู้ และสร้างจติ สานึกแก่บุคคลในชุมชนและ
บุคคลทอี่ ยู่รอบพนื้ ที่ ป่ าชุมชนในการดูแลรักษาและอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ
ในป่ าชุมชน รวมท้งั รักษาภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ขนบธรรมเนียม
และวฒั นธรรมประเพณใี นท้องถน่ิ

ป้ องกนั หรือบรรเทาความเสียหายแก่ป่ าชุมชน
สนับสนุนการดาเนินงานของคณะกรรมการจดั การป่ าชุมชน

ให้เป็ นไปตามพระราชบัญญตั นิ ี้
รายงานคณะกรรมการป่ าชุมชนประจาจังหวดั เมอื่ ปรากฏว่า

มกี รณจี ะต้อง เพกิ ถอนป่ าชุมชนท้งั หมดหรือบางส่วน

(มาตรา 64)

- 19 -

เครือข่ายป่ าชุมชน

การรวมตัวกันของคณะกรรมการจัดการป่ าชุมชนหรือ
สมาชิกป่ าชุมชนของป่ าชุมชนต่าง ๆ โดยมีเป้ าหมาย
ร่วมกัน เพ่ือเรียนรู้ สร้างความเข้าใจ และแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์ เพื่อนาไปสู่การจัดการป่ าชุมชนร่วมกัน
อย่างยง่ั ยนื และได้มกี ารจดแจ้งการเป็ นเครือข่ายป่ าชุมชน
ต่อกรมป่ าไม้ตามระเบยี บที่อธิบดกี าหนด

(มาตรา 4)

ผู้แทนประธานเครือข่าย ประธานเครือข่าย
ป่ าชุมชนระดบั จังหวดั ป่ าชุมชนในแต่ละจังหวดั
จานวน 4 คน (จาก 4 ภาค) ร่วมเป็ นคณะกรรมการ
ร่วมเป็ นคณะกรรมการ ป่ าชุมชนประจาจงั หวดั

นโยบายป่ าชุมชน

- 20 -

องค์กรภาคประชาสังคม

องค์กรท่ีได้จดทะเบยี นเป็ นนิตบิ ุคคลท่ีมี
วตั ถุประสงค์ด้านการคุ้มครองส่ิงแวดล้อมและ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ หรือองค์กรอนื่ ทไ่ี ม่ได้
เป็ นนิตบิ ุคคล แต่มีผลงานด้านการคุ้มครอง
สิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างต่อเน่ืองเป็ นที่ประจักษ์ ท้ังนี้ โดยมไิ ด้มกี ารหา
ผลกาไรหรือรายได้มาแบ่งปันกนั และได้มีการ
จดแจ้งเป็ นองค์กรภาคประชาสังคมต่อกรมป่ าไม้

ตามระเบยี บท่อี ธิบดกี าหนด (มาตรา 4)

ผู้แทนองค์กร ผู้แทนองค์กร
ภาคประชาสังคม ภาคประชาสังคม
จานวน 2 คน ร่วมเป็ น จานวนไม่เกนิ 2 คน
คณะกรรมการนโยบาย ร่วมเป็ นคณะกรรมการ
ป่ าชุมชนประจาจังหวดั
ป่ าชุมชน

- 21 -

พนักงานเจ้าหน้าท่ี

ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งต้ังให้ปฏบิ ตั ิการ
ตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ (มาตรา 4)

หน้าท่ีและอานาจ

(1) ร่วมกบั คณะกรรมการจัดการป่ าชุมชนในการจัดให้มีหลกั เขต ป้ าย หรือเคร่ืองหมายอนื่
ตามมาตรา 49 (มาตรา 44(1))

(2) ก่นสร้าง แผ้วถาง เผาป่ า ขดุ หาแร่ เพอื่ ประโยชน์ในการบารุงรักษาและป้ องกนั หรือ
บรรเทาความเสียหายแก่ป่ าชุมชน (มาตรา 63(2))

(3) การศึกษา ค้นคว้า วจิ ัย หรือสารวจความหลากหลายทางชีวภาพ ต้องแจ้งให้
คณะกรรมการป่ าชุมชนประจาจังหวดั ทราบและต้องรายงานผลการศึกษาให้
คณะกรรมการฯ ทราบ (มาตรา 66 วรรคสอง)

(4) ตรวจสอบและตดิ ตามผลการดาเนินการเกยี่ วกบั ป่ าชุมชนและการปฏบิ ัติการ
ตามพ.ร.บ.นี้ และในกรณที พี่ บว่าคณะกรรมการจัดการป่ าชุมชนฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบัติ
ตามพ.ร.บ. นี้ หรือระเบียบหรือข้อบงั คบั ทอ่ี อกตามพ.ร.บ. นี้ ให้รายงานผลต่ออธิบดี
โดยมิชักช้า (มาตรา 67(1))

(5) สั่งให้ผ้หู น่ึงผ้ใู ดออกจากป่ าชุมชน หรือให้งดเว้นการกระทาใด ๆ ในป่ าชุมชน
ในกรณที มี่ ีข้อเทจ็ จริงปรากฏหรือมเี หตุอนั ควรสงสัยว่ามกี ารกระทาความผดิ
ตามพ.ร.บ. นี้ (มาตรา 67(2))

(6) ค้นบุคคลหรือยานพาหนะ ในกรณที ม่ี เี หตุอนั ควรเช่ือว่ามีกระทาความผดิ ตามพ.ร.บ. นี้
(มาตรา 67(3))

- 22 -

พนักงานเจ้าหน้าท่ี

หน้าทแี่ ละอานาจ

(7) ยดึ หรืออายดั ทรัพย์สินทใ่ี ช้หรือได้มาจากการกระทาความผดิ ตามพ.ร.บ. นีห้ รือหลกั ฐาน
ทเี่ กย่ี วข้องกบั การกระทาความผดิ ตามพ.ร.บ. นี้ เพอื่ ประโยชน์ในการตรวจในการ
ตรวจสอบและดาเนินคดี (มาตรา 67(4))

(8) ให้พนักงานเจ้าหน้าทเ่ี ป็ นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 72)
(9) ให้พนักงานเจ้าหน้าทเ่ี ป็ นพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจตามประมวลกฎหมายวธิ ี

พจิ ารณาความอาญา (มาตรา 73)
(10) ให้พนักงานเจ้าหน้าทม่ี ีคาสั่งลงโทษปรับทางปกครอง ต้องคานึงถึงพฤติการณ์แห่งการ

กระทาความเสียหายทเ่ี กดิ จากการกระทาน้ัน ตลอดจนความหนักเบาของโทษท่ีจะใช้
กบั ผ้ถู ูกลงโทษ (มาตรา 91)
(11) ในกรณที ผ่ี ้ถู ูกลงโทษปรับทางปกครองไม่ชาระค่าปรับทางปกครอง ให้พนักงาน
เจ้าหน้าทม่ี ีอานาจฟ้ องคดตี ่อศาลทม่ี เี ขตอานาจในการพจิ ารณาคดีอาญา
(มาตรา 93)

- 23 -

พนื้ ทที่ ส่ี ามารถขอจัดต้งั ป่ าชุมชนได้ (หมวด 4)

พืน้ ท่ีป่ าซึ่งอยู่นอกเขตป่ าอนุรักษ์ตามกฎหมาย (ป่ าอนุรักษ์
ตามกฎหมาย ได้แก่ อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่ า
เขตห้ามล่าสัตว์ป่ า หรือเขตพนื้ ทอ่ี นื่ ใดทม่ี คี ุณค่าทางธรรมชาติ
ห รื อ คุ ณ ค่ า อ่ืน อัน ค ว ร แ ก่ ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ห รื อ รั ก ษ า คุณ ภ า พ
สิ่งแวดล้อมตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง) (มาตรา 4)
การจดั ต้งั ป่ าชุมชนในพนื้ ทีอ่ นื่ ของรัฐ ให้เป็ นไปตามท่ี
กาหนด ในพระราชกฤษฎกี า (มาตรา 8)

ป่ าชุมชนแบ่งเป็ น 2 บริเวณ (มาตรา 33 (5))
 บริเวณเพอื่ การอนุรักษ์
 บริเวณเพอื่ การใช้ประโยชน์
 หรือบริเวณเพอ่ื การอนุรักษ์เพยี งอย่างเดยี ว

- 24 -

วตั ถุประสงค์ของการจดั ต้ังป่ าชุมชน (มาตรา 6)

1 การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และความ
หลากหลายทางชีวภาพ

2 การฟื้ นฟูพนื้ ที่ป่ าในเขตป่ าชุมชนโดยการปลูกป่ าทดแทน
3 การเสริมสร้างความร่วมมือทุกภาคส่วนในการจดั การ

ป่ าชุมชน

4 การส่งเสริมวฒั นธรรมประเพณที หี่ ลากหลายของชุมชน
ในการอนุรักษ์ การฟื้ นฟู การพฒั นา การควบคุมดูแล
และการใช้ทรัพยากรธรรมชาตใิ นป่ าชุมชน

5 การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาตใิ นป่ าชุมชน
อย่างสมดุลและยง่ั ยนื

- 25 -

การขอจัดต้งั ป่ าชุมชน และสถานภาพป่ าชุมชน

 หลกั เกณฑ์และวธิ ีการในการขอจดั ต้งั ป่ าชุมชน (มาตรา 32)
 ชุมชนท้องทีใ่ ดที่อยู่ในอาเภอเดยี วกนั กบั พนื้ ที่ป่ าซึ่งอย่นู อกเขต
ป่ าอนุรักษ์ และมีความสามารถดูแลรักษาป่ าน้ัน
 บุคคลซึ่งมอี ายุต้งั แต่ 18 ปี บริบูรณ์ขนึ้ ไป มีภูมลิ าเนาในท้องท่ี
ไม่น้อยกว่า 5 ปี
 จานวนต้งั แต่ 50 คนขนึ้ ไป

 อธิบดปี ระกาศการอนุมตั จิ ดั ต้งั ป่ าชุมชนในราชกจิ จานุเบกษา
(มาตรา 40)

สิ่งที่ดขี นึ้

• มกี ารปิ ดประกาศคาขอจัดต้งั ป่ าชุมชนและรายงานผลการตรวจสอบ พนื้ ท่ี เปิ ดเผย
และการประชาสัมพนั ธ์ดาเนินการเพอ่ื เผยแพร่ เพอื่ ให้หน่วยงานของรัฐและบุคคล
มีสิทธิทาหนังสือแสดงข้อคัดค้านหรือความเห็นเกย่ี วกบั การจัดต้งั ป่ าชุมชนได้

• สถานะของป่ าชุมชน ไม่มีการกาหนดวนั สิ้นสุด หากมกี ารกระทาผดิ ภายในป่ าชุมชน
อธิบดีมอี านาจสั่งเพกิ ถอนป่ าชุมชน

- 26 -

ข้ันตอนการจัดต้งั ป่ าชุมชนและการกาหนดขนาด

ข้นั ตอนการจัดต้งั ป่ าชุมชน

1.คาขอจดั ต้งั ป่ าชุมชน 6. อธิบดกี รมป่ าไม้ ประกาศ
การจดั ต้งั ป่ าชุมชน
2. ยน่ื คาขอจดั ต้งั ในราชกจิ จานุเบกษา
ป่ าชุมชนต่อ
5. อธิบดกี รมป่ าไม้ เห็นชอบ
ผู้ว่าราชการจงั หวดั กบั มตขิ องคณะกรรมการ
หรือคณะกรรมการ ป่ าชุมชนประจาจงั หวดั
ป่ าชุมชนประจาจงั หวดั
4. คณะกรรมการป่ าชุมชน
3. สานักจดั การทรัพยากร ประจาจงั หวดั พจิ ารณาอนุมัติ
ป่ าไม้แห่งท้องท่ี
แผนและมีมตใิ ห้
ดาเนินการตรวจสอบ จดั ต้งั ป่ าชุมชน

การกาหนดขนาดพนื้ ทป่ี ่ าชุมชน

การกาหนดขนาดของพืน้ ท่ีและสัดส่วนการใช้ประโยชน์ภายในพื้นที่

ป่ าชุมชนให้คานึงถึงสภาพภูมิประเทศ ขนาดของชุมชน และศักยภาพของ

ชุมชนทมี่ คี วามสามารถในการจดั การป่ าชุมชนด้วย (มาตรา 31)

- 27 -

กรอบการใช้ประโยชน์จากผลผลติ และบริการป่ าชุมชน (มาตรา 50)

การใช้ประโยชน์ บริเวณ บริเวณ เงือ่ นไข
เพอ่ื การ เพอ่ื การใช้
1. การท่องเทยี่ วเชิงอนุรักษ์ อนุรักษ์ ประโยชน์ - ตามระเบยี บ
โดยชุมชน / พกั ผ่อนหย่อนใจ คณะกรรมการนโยบาย
2. เกบ็ หาของป่ า ป่ าชุมชน

3. การใช้ประโยชน์จากไม้เพอื่ การ - ตามระเบียบ
ดารงชีพ การใช้สอย และกจิ กรรม คณะกรรมการนโยบาย
สาธารณะประโยชน์ ภายในชุมชน ป่ าชุมชน

4. การใช้ประโยชน์จากไม้ทเ่ี กดิ ขนึ้ - ตามระเบียบ
ตามธรรมชาตใิ นป่ าชุมชนเพอ่ื คณะกรรมการนโยบาย
บรรเทาความเดอื ดร้อน เสียหาย ป่ าชุมชน
อนั เนอื่ งจากประสบเหตภุ ยั พบิ ตั ิ
สาธารณะ หรือมเี หตุจาเป็ น - สอดคล้องกบั แผนจดั การ
เพอื่ ช่วยเหลอื ราษฎรเป็ นกรณีพเิ ศษ ป่ าชุมชนทคี่ ณะกรรมการ
ต้องได้รับอนุญาตเป็ นหนังสือจาก ป่ าชุมชนประจาจงั หวดั อนุมตั ิ
คณะกรรมการนโยบายป่ าชุมชน
ประจาจงั หวดั - ตามระเบยี บ
5. การใช้ประโยชน์จากทรัพยากร คณะกรรมการนโยบาย
อนื่ (เช่น นา้ ) ป่ าชุมชนประจาจงั หวดั

6. ส่งเสริมการศึกษาเรียนรู้และ - ตามระเบยี บ
สร้างจติ สานึกเกย่ี วกบั คณะกรรมการนโยบาย
การอนุรักษ์และฟื้ นฟู ป่ าชุมชน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
ส่ิงแวดล้อม - แผนจดั การป่ าชุมชนทไ่ี ด้รับ
อนุมตั จิ ากคณะกรรมการป่ า
ชุมชนประจาจงั หวดั

- 28 -

กรอบการใช้ประโยชน์จากผลผลติ และบริการป่ าชุมชน (มาตรา 50)

บุคคลทม่ี ใิ ช่สมาชิกป่ าชุมชนมสี ิทธเิ ข้าป่ าชุมชน เพอ่ื การศึกษาเรียนรู้
เกยี่ วกบั การอนุรักษ์และฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม พกั ผ่อน
หย่อนใจ และเกบ็ หาของป่ าได้เฉพาะเท่าทกี่ าหนดในข้อบงั คบั เกยี่ วกบั
การจดั การป่ าชุมชนตามมาตรา 53

สิ่งทด่ี ขี นึ้

• การใช้ประโยชน์จากผลผลติ และบริการป่ าชุมชน เป็ นไปอย่างสมดุลและ
ยงั่ ยนื ไม่ทาลายความหลากหลายทางชีวภาพ หรือส่งผลกระทบต่อ
ส่ิงแวดล้อมในป่ าชุมชน และให้เป็ นไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงอื่ นไข
ตามระเบียบทค่ี ณะกรรมการนโยบายกาหนด

• ชุมชนมสี ิทธิในการใช้ประโยชน์จากผลผลติ และบริหารจากป่ าชุมชน
 การเกบ็ หาของป่ า
 การใช้ประโยชน์จากไม้ให้ทาได้ในบริเวณเพอ่ื การใช้ประโยชน์ โดยต้อง
ไม่ใช้ประโยชน์จากไม้ทรงคุณค่าทเี่ กดิ ขนึ้ ตามธรรมชาติ และให้ทาได้
ตามความจาเป็ นเพยี งเฉพาะ เพอ่ื ใช้สอยในครัวเรือนของสมาชิก
ป่ าชุมชน หรือใช้ในกจิ กรรมสาธารณะภายในชุมชนน้ัน
 การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอน่ื ในป่ าชุมชนให้ทาได้
ตามความจาเป็ นต่อการอปุ โภคบริโภคในครัวเรือนของสมาชิกป่ าชุมชน
หรือใช้ในกจิ กรรมสาธารณะภายในชุมชนน้ัน
 บรรดาไม้และของป่ าทไี่ ด้มาจากป่ าชุมชนตามแผนจัดการป่ าชุมชน
ทค่ี ณะกรรมการป่ าชุมชนประจาจังหวดั อนุมตั ิ หรือตามหลกั เกณฑ์ที่
พระราชบัญญตั ินีก้ าหนดไว้ ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม ค่าภาคหลวง
หรือค่าใช้จ่ายในการบารุงป่ า (มาตรา 54)
- 29 -

ข้อห้ามกระทาการในป่ าชุมชน (มาตรา 63)

1 ห้ามยดึ ถอื ครอบครอง หรือใช้เป็ นทอ่ี ยู่อาศัย
หรือทท่ี ากนิ

2 ห้ามบุคคลใดก่นสร้าง แผ้วถาง เผาป่ า ทาไม้ เก็บหา
ของป่ า ขุดหาแร่ ล่าสัตว์ป่ าสงวนหรือ สัตว์ป่ าคุ้มครอง
หรือกระทาการด้วยประการใดๆ อันเป็ นการเส่ือมเสียแก่
สภาพป่ าชุมชน เว้นแต่เป็ นการกระทาของ พนักงาน
เจ้าหน้าที่ กรรมการจัดการป่ าชุมชน เจ้าหน่ีป่ าชุมชน
สมาชิกป่ าชุมชน ตามแผนการจดั การป่ าชุมชน

3 ห้ามใช้ประโยชน์จากไม้ในบริเวณเพอ่ื การอนุรักษ์

4 ก่อสร้างสิ่งปลูกสร้าง เว้นแต่เป็ นการก่อสร้าง
สิ่งปลูกสร้างทจ่ี าเป็ นเพอื่ ประโยชน์ในการปฏบิ ตั ิ
หน้าทขี่ องคณะกรรมการจดั การป่ าชุมชน
- 30 -

การศึกษาค้นคว้า วจิ ยั ในป่ าชุมชน

ผู้ทจ่ี ะเข้าไปกระทาการในป่ าชุมชน เพอ่ื การศึกษา ค้นคว้า

วจิ ยั หรือสารวจความหลากหลายทางชีวภาพ ต้องได้รับ

อนุญาตเป็ นหนังสือจากคณะกรรมการป่ าชุมชนประจา

จังหวดั โดยในการอนุญาตอาจกาหนดให้มกี ารแบ่งปัน

ผลประโยชน์จากการศึกษา ค้นคว้า วจิ ยั หรือสารวจน้ัน

ให้แก่ผู้ทเี่ กย่ี วข้องด้วยกไ็ ด้ (มาตรา 66)

สิ่งทด่ี ขี ึน้

• เป็ นการกระจายอานาจสู่ระดบั พนื้ ท่ี การบริหารจดั การ
• เป็ นไปตามความต้องการและเหมาะสมในแต่ละพนื้ ท่จี งั หวดั
• จงั หวดั ได้ทราบและใช้ประโยชน์ข้อมูลทางวชิ าการ

- 31 -

ไม้ทรงคุณค่า

ไม้หวงห้ามตามกฎหมายว่าด้วยป่ าไม้
และให้หมายความรวมถึงไม้อน่ื ใดทค่ี วรค่า
แก่การอนุรักษ์ให้คงอยู่ต่อไปตามลกั ษณะ

หรือชนิดทกี่ าหนดในกฎกระทรวง
(มาตรา 4)

การใช้ประโยชน์จากไม้ภายในป่ าชุมชน
ให้ทาได้ในบริเวณเพอื่ การใช้ประโยชน์
โดยต้องไม่ใช้ประโยชน์จากไม้ทรงคุณค่า
ทเ่ี กดิ ขนึ้ ตามธรรมชาติ

(มาตรา 50)

- 32 -

บทลงโทษ

บทกาหนดโทษสาหรับผู้กระทาการฝ่ าฝื นในป่ าชุมชน
(มาตรา 94)

 ผู้ใดฝ่ าฝื นมาตรา 63 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ 5 ปี หรือ
ปรับไม่เกนิ 100,000 บาท หรือท้งั จาท้ังปรับ

 ถ้าเป็ นการกระทาในบริเวณเพอื่ การอนุรักษ์หรือกระทา
แก่ไม้ทรงคุณค่าที่เกดิ ขนึ้ ตามธรรมชาติ ผ้กู ระทาความผดิ
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ 10 ปี หรือปรับไม่เกนิ
200,000 บาท หรือท้ังจาท้งั ปรับ

การริบทรัพย์สินท่ีได้มาหรือมีไว้เป็ นความผิด หรือใช้
ในการกระทาความผิด (มาตรา 95)

 บรรดาไม้หรือของป่ าที่ได้มา หรือมไี ว้เป็ นความผิด หรือ
ทรัพย์สินทใ่ี ช้ในการกระทาผดิ ตามพระราชบัญญัตนิ ี้
ให้ริบเสียท้ังสิ้นไม่ว่าจะมีผ้ถู ูกลงโทษตามคาพพิ ากษา
หรือไม่กต็ าม

- 33 -

ป่ าชุมชนทจี่ ดั ต้งั ตามกฎหมายป่ าไม้เดมิ
ได้รับการรับรองตาม พ.ร.บ.ฉบบั นี้

พืน้ ที่ป่ าในความรับผิดชอบของกรมป่ าไม้ ท่ีมีการจัดต้ัง
ป่ าชุมชนแล้วตามกฎหมายว่าด้วยป่ าไม้ กฎหมายว่าด้วยป่ าสงวน
แห่งชาติ รวมถึงพืน้ ท่ีป่ าท่ีอยู่ในพืน้ ที่อ่ืนของรัฐ โดยได้จัดต้ังก่อน
วนั ท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และยังมีอายุโครงการอยู่ในวันก่อน
วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้ บังคับ ให้ถือว่าได้รับอนุมัติจัดต้ังเป็ น
ป่ าชุมชนโดยพระราชบัญญตั นิ ี้ (มาตรา 99, มาตรา 100)
 ให้สมาชิกป่ าชุมชนและ คณะกรรมการจัดการป่ าชุมชนของ

ป่ าชุมชนที่ได้รับอนุมัตใิ ห้จดั ต้ังตามแนวทางของกรมป่ าไม้ เป็ น
สมาชิกและคณะกรรมการจัดการป่ าชุมชนตาม พรบ. นี้
(มาตรา 101)
 ให้คณะกรรมการจัดการป่ าชุมชนเสนอแผนจัดการป่ าชุมชน
ต่อคณะกรรมการป่ าชุมชนประจาจังหวัดภายใน 2 ปี นับแต่
ระเบียบว่าด้วยการจัดทาแผนจัดการป่ าชุมชนตามมาตรา 17
มีผลบังคบั ใช้ (มาตรา 102)

- 34 -

สิ่งทป่ี ่ าชุมชนตามมาตรา 99 และ
มาตรา 100 ต้องดาเนินการตามพ.ร.บ.ป่ าชุมชน

1.รายชื่อสมาชิก พ.ร.บ. 5. เสนอชื่อสมาชิก
ป่ าชุมชนและ ป่ าชุมชน ป่ าชุมชน
คณะกรรมการจดั การ พ.ศ.2562
เพอ่ื แต่งต้งั เป็ น
ป่ าชุมชน เจ้าหน้าทปี่ ่ าชุมชน

มาตรา 42 มาตรา 27

2.เสนอแผนการ 4. แบ่งบริเวณ
จัดการป่ าชุมชน เพอ่ื การอนุรักษ์/
เพอื่ การใช้ประโยชน์
ภายใน 2 ปี
มาตรา 33 (5)
มาตรา 102

3.จดั ทาข้อบังคบั
ชุมชน

ภายใน 2 ปี

มาตรา 17 วรรค 2

- 35 -

การเพกิ ถอนป่ าชุมชน

• อธิบดมี ีอานาจส่ังเพกิ ถอนป่ าชุมชนท้ังแปลงหรือแต่บางส่วนได้มี
กรณดี งั ต่อไปนี้ (มาตรา 78)
 คณะกรรมการจดั การป่ าชุมชนขอให้เพกิ ถอนป่ าชุมชน
ตามมาตรา 48
 คณะกรรมการจดั การป่ าชุมชนทอดทงิ้ ไม่จดั การฟื้ นฟู
ป่ าชุมชนน้ันต่อไป
 คณะกรรมการจดั การป่ าชุมชนไม่ปฏิบัตติ าม
พระราชบัญญตั นิ ี้ หรือระเบียบ หรือข้อบงั คบั ทอ่ี อกตาม
พระราชบญั ญตั นิ ี้ อนั จะเป็ นเหตุให้ป่ าชุมชนได้รับความ
เสียหาย หรือมเี หตุไม่ควรไว้วางใจให้จดั การป่ าชุมชนต่อไป
 เมื่อมเี หตุผลความจาเป็ นทางด้านกจิ การเพอื่ ความมนั่ คง
ของประเทศ โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรี

• ป่ าชุมชนท่ีถูกเพิกถอน อาจมีการนาพืน้ ท่ีดังกล่าว มาขอจัดต้ัง
ป่ าชุมชนใหม่อีกก็ได้ ท้ังนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการ
นโยบายกาหนด (มาตรา 81)

- 36 -

เงินค่าปรับ/เงินรายได้ /ทรัพย์สินส่ วนกลาง

เงินค่าปรับทไ่ี ด้รับตามพระราชบญั ญัตินี้ อนั เกดิ จาก ร้อยละ 50
การกระทาความผดิ ในป่ าชุมชน ให้หักไว้เป็ นค่าใช้จ่าย
ของเงนิ ค่าปรับ
ในการจดั การป่ าชุมชนน้ันเป็ นจานวนร้อยละ50 ของ
เงนิ ค่าปรับดังกล่าวส่วนทเ่ี หลอื ให้นาส่งเป็ นรายได้แผ่นดิน นาส่งเป็ นรายได้
แผ่นดนิ
(มาตรา 55)

เงนิ ค่าปรับ เงนิ ทมี่ ีผ้บู ริจาค เงนิ สนับสนุนจากรัฐบาล
และเงนิ รายได้อน่ื ๆ ให้ตกเป็ นของทรัพย์สินส่วนกลางของป่ าชุมชน

(มาตรา 56)

เกบ็ รักษาไว้ ให้คณะกรรมการนโยบาย
ใช้จ่ายในกจิ กรรมการจัดการ ป่ าชุมชนมอี านาจกาหนดอตั รา
ป่ าชุมชน ตามหลกั เกณฑ์และ
วธิ กี ารทคี่ ณะกรรมการนโยบาย และวางระเบียบ
เกยี่ วกบั การเกบ็ รายได้
ป่ าชุมชนกาหนด ค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทน หรือ
ค่าบริการ เนื่องในการ
ใช้ประโยชน์จากป่ าชุมชน

ส่ิงทด่ี ขี นึ้

ทาให้มีรายได้ ซ่ึงเป็ นทรัพย์สินส่วนกลางโดยเกบ็ รักษาไว้ใช้จ่ายในกจิ กรรมการ

จัดการป่ าชุมชน (มาตรา 56)

- 37 -

กฎหมายลาดบั รองตาม พ.ร.บ. ป่ าชุมชน

พระราชกฤษฎกี า (1 ฉบับ)
• พระราชกฤษฎกี า ว่าด้วยการจัดต้งั ป่ าชุมชนในพนื้ ทอี่ น่ื ของรัฐ

พ.ศ. .... (มาตรา 8)

กฎกระทรวง (2 ฉบบั )
• กฎกระทรวงกาหนดพนื้ ทใ่ี ห้เป็ นเขตป่ าอนุรักษ์ พ.ศ. ….

(มาตรา 4)
• กฎกระทรวงกาหนดไม้ทรงคุณค่า พ.ศ. ....(มาตรา 4)

ระเบียบคณะกรรมการสรรหา (1 ฉบับ)
• ว่าด้วยหลกั เกณฑ์ วธิ ีการสรรหา และการเสนอรายชื่อบุคคล

เป็ นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการนโยบายป่ าชุมชน
พ.ศ. …. (มาตรา 12)

ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (2 ฉบบั )
• เรื่องแต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติป่ าชุมชน

พ.ศ. 2562 (มาตรา 4)
• ว่าด้วยการกาหนดรูปแบบบตั รประจาตวั กรรมการจดั การ

ป่ าชุมชน เจ้าหน้าท่ปี ่ าชุมชน และพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม
กฎหมายว่าด้วยป่ าชุมชน พ.ศ. .... (มาตรา 71)

- 38 -

กฎหมายลาดบั รองตาม พ.ร.บ. ป่ าชุมชน

ระเบียบกรมป่ าไม้ (8 ฉบับ)
• ว่าด้วยการจดแจ้งเป็ นเครือข่ายป่ าชุมชนระดบั จงั หวดั พ.ศ. 2562

(มาตรา 4)
• ว่าด้วยการจดแจ้งเป็ นองค์กรภาคประชาสังคม พ.ศ. 2562 (มาตรา 4)
• ว่าด้วยการจดั ทาแผนท่ีแสดงแนวเขตป่ าชุมชน พ.ศ. .... (มาตรา 35)
• ว่าด้วยการดูแลรักษาและจดั ทาบญั ชีทรัพย์สินส่วนกลางของ

ป่ าชุมชน พ.ศ. .... (มาตรา 44)
• ว่าด้วยการจดั ทาหลกั เขต ป้ าย หรือเครื่องหมายอนื่ เพอ่ื แสดงแนวเขต

ป่ าชุมชนบริเวณเพอื่ การอนุรักษ์ และบริเวณเพอื่ การใช้ประโยชน์
พ.ศ. .... (มาตรา 49)
• ว่าด้วยหลกั เกณฑ์การกาหนดเงนิ ค่าปรับทไ่ี ด้รับตามพระราชบัญญตั นิ ี้
อนั เกดิ จากการกระทาความผดิ ในป่ าชุมชนพ.ศ.....(มาตรา 55)
• ว่าด้วยหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ การดาเนินการแก่ทรัพย์สินทต่ี กเป็ นของ
แผ่นดนิ พ.ศ. .... (มาตรา 69)
• ว่าด้วยหลกั เกณฑ์และวธิ ีการจดั การทรัพย์สินส่วนกลางของ
ป่ าชุมชนทถี่ ูกเพกิ ถอน พ.ศ. .... (มาตรา 80)

ประกาศคณะกรรมการนโยบายป่ าชุมชน (1 ฉบับ)
• ว่าด้วยการกาหนดหลกั เกณฑ์และวธิ ีการกาหนดอตั ราการลงโทษปรับ

ทางปกครอง พ.ศ. .... (มาตรา 91)

- 39 -

กฎหมายลาดบั รองตาม พ.ร.บ. ป่ าชุมชน

ระเบยี บประธานคณะกรรมการนโยบายป่ าชุมชน (1 ฉบบั )

• ว่าด้วยหลกั เกณฑ์และวธิ ีการในการจ่ายเบยี้ ประชุมค่าพาหนะ ค่าเบีย้ เลยี้ ง
ค่าเช่าทพ่ี กั และค่าใช้จ่ายอย่างอนื่ ของคณะกรรมการนโยบายป่ าชุมชน
คณะกรรมการป่ าชุมชนประจาจงั หวดั และคณะอนุกรรมการ
พ.ศ. .... (มาตรา 20)

ระเบียบคณะกรรมการนโยบายป่ าชุมชน (17 ฉบบั )

1. ว่าด้วยการจัดทาแผนจัดการป่ าชุมชน พ.ศ. .... (มาตรา 17)
2. ว่าด้วยการปกครอง ดูแลบารุงรักษา ใช้ประโยชน์จากไม้ และใช้ประโยชน์

ในพนื้ ทปี่ ่ าชุมชน พ.ศ. .... (มาตรา 18)
3. ว่าด้วยหลกั เกณฑ์ วธิ กี ารได้มา และการแต่งต้ังผู้บริหารองค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่นและเจ้าหน้าทขี่ องหน่วยงานของรัฐเป็ นกรรมการใน
คณะกรรมการป่ าชุมชนประจาจงั หวดั พ.ศ. .... (มาตรา 24)
4. ว่าด้วยการตรวจสอบ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การป่ าชุมชนและการ
จัดทารายงานผลการจัดการป่ าชุมชนในจงั หวดั พ.ศ. .... (มาตรา 26)
5. ว่าด้วยการกาหนดคุณสมบตั ิและลกั ษณะต้องห้ามของเจ้าหน้าทป่ี ่ าชุมชน
พ.ศ. .... (มาตรา 28)
6. ว่าด้วยการกาหนดขนาดของพนื้ ทปี่ ่ าชุมชนและสัดส่วนการใช้ประโยชน์
ภายในพนื้ ทป่ี ่ าชุมชน พ.ศ. .... (มาตรา 31)
7. ว่าด้วยหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงือ่ นไขในการจดั ต้ังและขยายเขตป่ าชุมชน
พ.ศ. .... (มาตรา 32)
8. ว่าด้วยการจดั ทารายงานผลการตรวจสอบคาขอจดั ต้งั ป่ าชุมชน แผนทแ่ี สดง
แนวเขตของป่ าชุมชน และความเห็นเกย่ี วกบั ความเหมาะสมในการจดั ต้ัง
ป่ าชุมชน พ.ศ. .... (มาตรา 37)

- 40 -

กฎหมายลาดบั รองตาม พ.ร.บ. ป่ าชุมชน

ระเบยี บคณะกรรมการนโยบายป่ าชุมชน (17 ฉบบั )

9. ว่าด้วยประกาศการอนุมตั จิ ัดต้งั ป่ าชุมชน พ.ศ. .... (มาตรา 40)
10. ว่าด้วยสมาชิกป่ าชุมชนและกรรมการจดั การป่ าชุมชน พ.ศ. .... (มาตรา 42)
11. ว่าด้วยการใช้ประโยชน์จากผลผลติ และบริการป่ าชุมชน พ.ศ. ....

(มาตรา 50(2))
12. ว่าด้วยการห้ามกระทาการอน่ื ใดอนั เกย่ี วกบั การใช้ประโยชน์จากป่ าชุมชน

เพอื่ ส่งเสริมการศึกษาเรียนรู้และสร้างจติ สานึกเกย่ี วกบั การอนุรักษ์และ
ฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในป่ าชุมชน รวมท้งั การท่องเทยี่ ว
เชิงอนุรักษ์โดยชุมชน พ.ศ. .... (มาตรา 51)
13. ว่าด้วยการใช้ประโยชน์จากไม้ในป่ าชุมชน เพอื่ บรรเทาความเดือดร้อน
เสียหายอนั เน่ืองมาจากประสบเหตุภัยพบิ ัติสาธารณะหรือมเี หตุจาเป็ น
เพอื่ ช่วยเหลอื ราษฎรเป็ นกรณพี เิ ศษ พ.ศ. .... (มาตรา 52)
14. ว่าด้วยการเรียกเกบ็ ค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทน หรือค่าบริการ จากบุคคล
ทม่ี ใิ ช่สมาชิกป่ าชุมชนเนื่องในการใช้ประโยชน์จากป่ าชุมชน พ.ศ. ....
(มาตรา 56)
15. ว่าด้วยการเข้าไปกระทาการใด ๆ เพอื่ การศึกษา ค้นคว้า วจิ ยั หรือสารวจ
ความหลากหลายทางชีวภาพในป่ าชุมชน พ.ศ. .... (มาตรา 66)
16. ว่าด้วยการขอจดั ต้งั ป่ าชุมชนทถ่ี ูกเพกิ ถอน พ.ศ. .... (มาตรา 81)
17. ว่าด้วยการกาหนดหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ เกย่ี วกบั หน่วยงานของรัฐที่ปกครอง
ดูแลพนื้ ทไี่ ม่ยนิ ยอมให้จดั ต้งั เป็ นป่ าชุมชนต่อไป พ.ศ. .... (มาตรา 100)

- 41 -

คานิยม

ขอกราบขอบพระคุณผู้มสี ่วนร่วมในการผลกั ดนั พ.ร.บ. ป่ าชุมชน พ.ศ. 2562
คณะรัฐมนตรี (พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี, นายวราวุธ ศิลปอาชา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม, พลเอก สุรศักด์ิ กาญจนรัตน์
อดตี รมว.ทส.)
คณะกรรมการขับเคลอื่ นและเร่งรัดการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาล (นายกอบศักด์ิ ภูตระกลู
รัฐมนตรีประจาสานกั นายกรัฐมนตรี ประธานฯ)
สภาขบั เคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ (สปท.), สภาปฏริ ูปแห่งชาติ (สปช.), สภานติ บิ ญั ญตั แิ ห่งชาติ
(สนช. สมยั ปี พ.ศ. 2550) คณะกรรมาธิการพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. ป่ าชุมชน พ.ศ. .... (พลเรือเอกวลั ลภ
เกดิ ผลประธานฯ)
คณะกรรมาธิการการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม สภานิตบิ ัญญตั แิ ห่งชาติ
(พลโท ชัยยุทธ พร้อมสุข ประธานฯ)
คณะอนุกรรมมาธิการการพจิ ารณาร่างพระราชบญั ญตั ปิ ่ าชุมชนในคณะกรรมาธิการการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม สภานิตบิ ัญญตั แิ ห่งชาติ (พลเรือเอกวลั ลภเกดิ ผลประธานฯ)
คณะอนุกรรมาธิการขับเคลอื่ นการปฏิรูปทรัพยากรธรรมชาติ ในคณะกรรมาธิการขับเคลอ่ื น
การปฏริ ูปประเทศด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สปท. (นางมง่ิ ขวญั วชิ ยารังสฤษด์ิ ประธานฯ)
คณะทางานขบั เคลอื่ น (ร่าง) พ.ร.บ.ป่ าชุมชน พ.ศ. ... (พลเอก จารุเกยี รติ ชัยวงษ์ ประธานคณะทางาน)
คณะกรรมการกฤษฎกี า (คณะพเิ ศษ) (ดร. บวรศักด์ิ อวุ รรณโณ ประธานฯ)
คณะอนุกรรมการพจิ ารณาปรับปรุงและพฒั นากฎหมายท่ีดนิ ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม (ดร.บัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ ประธานฯ)
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม (นายจตุพร บุรุษพฒั น์ ปลดั กระทรวงทรัพยากร
ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม) และคณะ
กรมป่ าไม้ (นายอรรถพล เจริญชันษา อธิบดกี รมป่ าไม้, รองอธิบดกี รมป่ าทุกท่าน) และคณะ
อดตี ผู้บริหารทส. และ ปม.(นายวจิ ารย์ สิมาฉายา นายธีรภทั ร ประยรู สิทธิ นางสาวสุทธิลกั ษณ์ ระววิ รรณ
นายชลธิศ สุรัสวดี นายประลองดารงค์ไทย นายจเรศักด์ิ นันตะวงษ์ นายโกมล แพรกทอง)และท่านอน่ื ๆ
คณะวนศาสตร์ (ผศ.ดร. ขวญั ชัย ดวงสถาพร อนุกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ทางบก สภานิตบิ ัญญตั แิ ห่งชาติ )
คณะกรรมการการพฒั นา ปรับปรุง แก้ไขเพม่ิ เตมิ กฎหมายว่าด้วยการป่ าไม้
และสานักกฎหมาย กรมป่ าไม้
เครือข่ายป่ าชุมชนทั่วประเทศ
ข้าราชการ พนกั งาน และผู้ที่มสี ่วนเกย่ี วข้องทุกท่านทีม่ ไิ ด้เอ่ยนาม

นางนันทนา บุณยานนั ต์ ผู้อานวยการสานักจดั การป่ าชุมชน
และคณะทางานฯ สานักจดั การป่ าชุมชน กรมป่ าไม้

คณะผู้จดั ทา

จัดทาโดย สานักจัดการป่ าชุมชน กรมป่ าไม้
61 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
โทร 0 2561 4292-3 ต่อ 5651, 5639

ทป่ี รึกษา นายอรรถพล เจริญชันษา อธิบดกี รมป่ าไม้
นายปรมินทร์ วงศ์สุวฒั น์ รองอธิบดกี รมป่ าไม้
นายสมศักด์ิ สรรพโกศลกุล รองอธิบดีกรมป่ าไม้

บรรณาธิการ/เรียบเรียง นางนันทนา บุณยานันต์ ผู้อานวยการสานักจัดการป่ าชุมชน
คณะทางาน นายพชิ ัย เอกศิริพงษ์ ผ้อู านวยการส่วนนโยบายและกฎหมายป่ าชุมชน
นายวรากร เกษมพนั ธ์กลุ นักวชิ าการป่ าไม้ชานาญการ
นางสาวอมรรัตน์ สะสีสังข์ นักวชิ าการป่ าไม้ปฏิบัติการ
นางสาวหทยั ชนก ชอบผล นิติกร
นางสาวพรศิริ นิธิเศรษฐ์ นักวชิ าการป่ าไม้
นายพฒั นดล แสงคู่วงษ์ นักวชิ าการเผยแพร่

ปี ทป่ี รับปรุง 2563

สอบถามข้อมูลเพมิ่ เตมิ ดาวน์โหลด
สานักจดั การป่ าชุมชน กรมป่ าไม้ พ.ร.บ. ป่ าชุมชน พ.ศ. 2562
0-2561-4292-3 ต่อ 5651, 5639


Click to View FlipBook Version