The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) สำหรับการบริหารจัดการที่ดิน (ปี 2564)

กองเทคโนโลยีทำแผนที่ (KM ปี 2564)

Keywords: ด้านการรังวัดและทำแผนที่

- 1444 -

4

4. เลอื ก สถานที่ของคณุ เลอื ก MAPS และ เลือก สรางแผนที่

5

5. คลิกแถบ แผนที่ท่ีไมมีชื่อ จากน้ัน ใหใสชื่อแผนท่ีของเราเขาไป ตัวอยางเชน ระวาง
1 : 4,000 จังหวดั ตราด แลวเลอื ก บนั ทึก

- 141545- 

6

6. เลือก นาํ เขา แลว ไปที่หนาตา ง เลอื กไฟลท่ีจะนาํ เขา จากนั้น เลอื ก

7

7. ทาํ การเลอื กไฟล .KML ท่จี ะนาํ เขา จากนน้ั เลือก Open

- 146 -

8

8. เมอ่ื นําเขาเสร็จเรยี บรอ ยแลว แผนทีข่ องเราก็จะถูกบนั ทกึ ลงใน Drive ใหโ ดยอตั โนมตั ิ
หลังจากนั้น จะไดแผนท่ีที่สามารถลิงกไปเปดที่ไหนก็ได และยังสามารถเปดไดใน
Smart Phone อีกดว ย
4.2 การคน หาระวางแผนที่ UTM ดวยโปรแกรม Google Earth
การคนหาระวางแผนที่ UTM ดวยโปรแกรม Google Earth นั้น เราสามารถคนหาได
จากสถานที่สาํ คัญ เชน วัด โรงเรียน และสถานที่ราชการ เปนตน เพื่อชวยเพ่ิมความสะดวกในการคนหา
ตาํ แหนงแปลงท่ีดนิ ของผทู ี่ตอ งการทราบขอ มลู แตไ มทราบวาท่ดี นิ ของตนอยูในระวางแผนที่ที่เทาไหร
จึงจาํ เปน ตอ งคน หาจากสถานท่สี าํ คญั มขี ั้นตอนการคนหา ดังนี้
ข้ันตอนการคน หาระวางแผนท่ี UTM จากสถานที่สาํ คัญ ดวยโปรแกรม Google Earth
หลังจากทไ่ี ดทําการแปลง .SHP ไฟลร ะวางแผนท่ี UTM ใหเปนไฟล .KML เรียบรอยแลว
จากน้นั ทําการเปดไฟลท่ีได ไฟลจะลิงกไปยังโปรแกรม Google Earth ท่ีไดทาํ การติดตั้งไวกอนหนา
เพือ่ ทาํ การคน หาระวางแผนท่ี UTM จากสถานท่ีสําคญั

- 147 -

1

1. ดบั เบ้ิลคลกิ เพ่ือเปด ไฟลท ่ีเปนนามสกลุ .KML

2

2. ท่ีหนาตางโปรแกรม Google Earth Pro จะปรากฏขอ มูลที่ไดทําการเปดข้ึนมา
ซ่งึ จะมีเสนสแี ดงท่ีแสดงถงึ ขอบเขตระวางแผนที่ UTM และมีขอ มลู รายละเอยี ดของช่ือระวาง

- 148 -

3

3. ท่ีชอง คนหา พิมพชื่อสถานที่หรือรายละเอียดที่ตองการ และเลือก คนหา จากน้ัน
คลกิ ท่ีแผนท่ีเพอ่ื ดูรายละเอียด จะสามารถทราบช่อื ระวางแผนที่ UTM ได
4.3 ภาพถา ยทางอากาศโดยอากาศยานไรค นขบั (Unmanned Aerial Vehicles : UAV)

ปจจุบันไดมีการนําอากาศยานไรคนขับ (Unmanned Aerial Vehicles : UAV) มาใชใน
การสาํ รวจและการสรา งแผนท่ีภาพถา ยทางอากาศเปนอยา งมาก โดยไดมีการพัฒนาระบบการทําแผนท่ี
จากอากาศยานไรคนขับ (UAV Photogrammetry) ข้นึ ทําใหการใชงานงาย สะดวกและมีความคลองตัว
มากข้ึน เม่ือเทียบกับวิธีการสํารวจดวยภาพถายทางอากาศแบบเดิม (Traditional Photogrammetry)
การนาํ อากาศยานไรคนขบั UAV มาใชใ นงานทางดา นการสาํ รวจและการสรางแผนทภ่ี าพถายทางอากาศน้ัน
นอกจากใชเ วลาและงบประมาณท่ีตํ่ากวาการถายภาพชนิดอื่น ๆ ยังสามารถใหผลลัพธหลายลักษณะที่มี
รายละเอียดความถกู ตองแมนยํา มีความสมบูรณ ความคมชัดและเปนปจจุบัน ตัวอยางของขอมูลท่ีได
จากอากาศยานไรค นขบั UAV ไดแก ขอ มูลแบบจําลองพื้นผิวเชิงเลข (Digital Surface Model : DSM)
แผนที่ภาพถายทางอากาศท่ีทําจากแบบจําลองพ้ืนผิวเชิงเลข (True Orthophoto) เสนช้ันความสูงของ
ภูมิประเทศ (Contour Line) และแบบจําลองสามมิติเชิงเลข (3D Texture Mesh Model) เปนตน
ซง่ึ ขอมูลที่ไดจ ากอากาศยานไรคนขับ UAV เหลานี้ ยงั สามารถนําไปใชง านทางดานวิศวกรรมได

-1149 -

ภาพถายทางอากาศที่ไดจากอากาศยานไรคนขับ UAV มีการนํามาใชกับงานสํารวจทางดาน
ทด่ี นิ ไดแ ก การตรวจสอบการเปลีย่ นแปลงของขอบเขตทีด่ ิน การเปรยี บเทียบขอมูลการใชประโยชนในท่ีดิน
เปนตน ซึ่งภาพถายทางอากาศที่ไดมาจากอากาศยานไรคนขับ UAV น้ัน มีความถูกตองและเปนปจจุบัน
ทําใหการปฏิบัตงิ านมีความสะดวก นอกจากน้ันยังมีความถูกตองแมนยําทางตําแหนง ทําใหสามารถนํามา
ใชงานกบั โปรแกรม QGIS (Quantum GIS) ไดเ ปน อยา งดี



บทท่ี 5

ปญหา อปุ สรรค และแนวทางแกไข

เนื่องจากโปรแกรม Quantum GIS (QGIS) มีคําสั่งการใชงานเปนภาษาอังกฤษ ทําใหเกิด
ปญ หาในการใชงานและเรียนรูพอสมควร สําหรับผูท่ีเร่ิมใชงานดาน GIS เร่ิมตน ดังน้ัน จึงควรหม่ันฝกฝน
และใชงานโปรแกรม QGIS เปน ประจํา เพอื่ ใหมีความเชี่ยวชาญในการใชง านโปรแกรมมากยิ่งขึน้
ปญ หา อุปสรรค ทีพ่ บเปนประจาํ จากการใชโ ปรแกรม Quantum GIS (QGIS)

5.1 Status Bar คอื สว นทีแ่ สดงตาํ แหนงปจจุบนั ท่ี Mouse pointer ชี้อยู ซึ่งแสดงมาตราสว น
และระบบพิกัดแผนที่ ในเคร่ืองคอมพิวเตอร PC หรือโนตบุกของผูใชงานบางคน ตัวเลขที่แสดงผลในแถบ
Status Bar นั้นเปนเลขไทย โดยจะทาํ การเปล่ียนใหเปนเลขอารบิก สามารถแกไขได ตามขั้นตอน
ดังตอไปน้ี

 152 

- 152 -

1

1. ไปที่ Search Windows พิมพ control panel เพอ่ื คน หา แลว เลอื กเปด หนาตา ง

2

2. จะปรากฏหนาตาง Control Panel เลือก Change date, time, or number formats

 153 

- 153 -

3

3. จะปรากฏหนาตา ง Region ไปทแ่ี ถบ Formats เลอื ก Additional settings…

4
5

4. จะปรากฏหนาตาง Customize Format ไปที่สวนของ Standard digits เลือกรูปแบบ
ตัวเลขท่ีเปนเลขอารบิก

- 1544 -

5. เลือก Apply และ เลือก OK

6

6. ที่หนาตาง Region ใหเลือก Apply และ เลือก OK เปนอันเสร็จสิ้นการแสดงผลตัวเลข
ในโปรแกรม QGIS โดยเปลย่ี นจากเลขไทยเปนเลขอารบิก สงั เกตไดจ าก Status Bar ในสว นของ Scale

- 155 -

5.2 การหายไปจากหนาตางหลักของหนาตางแสดง Browser และหนาตางแสดง Layers
ของโปรแกรม QGIS โดยการนําหนาตางแสดง Browser และหนาตางแสดง Layers กลับคืนมายัง
หนา ตางหลักของโปรแกรม QGIS สามารถแกไขได ตามขัน้ ตอนดงั ตอไปนี้

หนา ตา งแสดง Browser และ
หนาตา งแสดง Layers หายไป

- 1566 -

1

2

1. ที่ Menu Bar เลอื กคาํ สั่ง View
2. เลอื ก Panels และทําเครื่องหมาย  หนา Browser และ Layers

3

3. จากนน้ั หนาตางแสดง Browser และหนาตา งแสดง Layers ก็จะปรากฏข้ึนมา

- 157 -

5.3 ท่ีหนาตางคําส่ัง Layout ในการใชงานบางครั้ง อาจมีการหายไปของหนาตาง เขาถึง
เคร่ืองมือและคําส่ังตาง ๆ เชน Item, Undo History, Item Properties, Layout และ Guides
โดยการนําหนาตางเครอื่ งมือและคาํ สงั่ เหลา นีก้ ลบั คนื มา สามารถแกไขได ตามขั้นตอนดงั ตอ ไปนี้

หนา ตาง เครือ่ งมือ และ
คาํ สัง่ ตา ง ๆ หายไป

- 115588 -

คลกิ เมาสขวา ที่บริเวณน้ี

1

1. ใหเลอ่ื นเมาสไปทีแ่ ถบวางดานบน แลวคลกิ ขวา จะมีคาํ สง่ั Panels ปรากฏขึ้นมา

2

2. ทําเครื่องหมาย  หนาเครื่องมือและคาํ ส่ังตาง ๆ ก็จะปรากฏหนาตาง เคร่ืองมือ
และคาํ สั่งเหลา น้นั ขึ้นมา

- 1599 -

5.4 Select Transformation คือ การเลือกการแปลงระบบพื้นหลักฐานแผนท่ีของ Project
ในขั้นตอนนี้หนา ตา งจะปรากฏขึ้นมาตอเมอ่ื พื้นหลกั ฐานแผนทีข่ องผูใชงาน เลือกใชพื้นหลักฐานแผนที่
Indian 1975 อยู ก็จะปรากฏหนาตาง Select Transformation for Google Satellite ขึ้นมาใหเลือก
เมือ่ มีการนําเขา Web Map Service ท่ีเปนพื้นหลักฐานสากล หรือการสงออก (Export) ไฟล.SHP
เปนไฟล.KML ถาปรากฏหนาตางดังกลาว ใหผูใชงานเลือก Inverse of Popular Visualisation
PseudoMercator + Inverse of Indian 1975 to WGS 84 (2) + UTM zone 48N และดูท่ี Scope :
For military purposes จากน้นั เลอื ก OK



ภาคผนวก
เอกสารราชการท่ีเกีย่ วของ

 สญั ลักษณแ ละสีเสนแนวเขตที่ดินรัฐ เอกสารการปรับปรุงแนวเขตที่ดินของรัฐแบบบูรณาการ
มาตราสว น 1 : 4,000 (One Map) พ.ศ. 2559 โดยคณะกรรมการปรับปรุงแผนท่ีแนวเขตที่ดินของรัฐ
แบบบูรณาการ มาตราสวน 1 : 4,000 (One Map)



คณะผูจัดทาํ

องคความรู : การใชง านระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร (GIS) สาํ หรบั การบริหารจดั การท่ีดนิ
ทีป่ รึกษา
: 1. นายนิสติ จนั ทรสมวงศ อธบิ ดีกรมทดี่ นิ
คณะทาํ งาน 2. นายณรงค สืบตระกลู รองอธิบดีกรมทด่ี นิ
3. นายวราพงษ เกียรตนิ ิยมรงุ รักษาการในตาํ แหนง ท่ปี รกึ ษาดานประสทิ ธภิ าพ
4. นายเอกสทิ ธ์ิ ชนะสิทธ์ิ ผูบรหิ ารดานการจัดการความรูของกรมทด่ี นิ (CKO)
5. นางสพุ ินดา นาคบวั ท่ปี รกึ ษาดานวิศวกรรมสํารวจ
6. นายชยั ศรี ศุภกีรติโรจน ผอู ํานวยการกองเทคโนโลยที ําแผนที่
ผอู ํานวยการกองฝกอบรม
ผูเช่ียวชาญเฉพาะดานการทําแผนที่ภาพถาย

: กองเทคโนโลยที าํ แผนที่ ผอู ํานวยการสว นรงั วัดและมาตรฐานการวางโครง
1. นายวฒั นา จรูญธรรมพินิจ หมดุ หลกั ฐานแผนที่
2. นางดลพร กลั ยาณมณีกร นักวิชาการแผนที่ภาพถายชาํ นาญการพิเศษ
3. นายธวชั ลอถาวร นายชางรังวัดอาวุโส
4. นายทรงศักด์ิ จนั นวล นายชางรงั วัดอาวโุ ส
5. นายณรงคช ยั รัตนบรุ ี วิศวกรรังวดั ชาํ นาญการ
6. นายวทิ ยา บุญชุม วศิ วกรรังวดั ชาํ นาญการ
7. นายเฉลิมพล นุชสาย นายชา งรงั วัดชาํ นาญงาน
8. นายธีรชาติ กลับเนียม นายชา งรังวดั ชํานาญงาน
9. นายธิติ ธนคุ คามนิ นายชา งรงั วัดชาํ นาญงาน
10. นางสายใจ นาดี นายชา งรังวดั ชาํ นาญงาน
11. นายธรายศ ปยเธียรสวัสด์ิ วศิ วกรรังวัดปฏบิ ตั ิการ
12. นายวรท คงชชู ยั วิศวกรรังวดั ปฏบิ ัตกิ าร
13. นายวัชรินทร ทองทับ วิศวกรรงั วัดปฏิบัตกิ าร

: กองฝกอบรม หวั หนากลุม งานสง เสรมิ และพฒั นาการเรียนรู
1. นางวราภรณ แกวแฝก
2. นางปารดา พรหมประสทิ ธ์ิ นกั ทรัพยากรบคุ คลชาํ นาญการ
3. นางสาวกันยารัตน กรวทิ ยโยธนิ นักทรพั ยากรบคุ คลชาํ นาญการ
4. นางสาวรติกร กติ ตศิ ศกิ ลุ ธร นักทรพั ยากรบคุ คลปฏิบัติการ


Click to View FlipBook Version