The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการใช้ระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศเชิงเลขในสำนักงานที่ดิน (ปี 2562)

กองเทคโนโลยีทำแผนที่ (KM ปี 2562)

คำนำ

องคค์ วามรู้ “คู่มือการใช้งานระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศเชิงเลข ในสานักงานที่ดิน”
เป็นองค์ความรู้ที่ได้รับการคัดเลือกจาก คณะกรรมการจัดการความรู้ของกรมท่ีดิน ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ พัฒนาระบบการออกเอกสารสิทธใิ ห้เป็นมาตรฐาน
เดียวกนั ทัว่ ประเทศ

ท้ังนี้ เพื่อให้สานักงานที่ดินและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง สามารถนาองค์ความรู้เกี่ยวกับ
การใช้งานระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศเชิงเลข (DMC) ด้วยโปรแกรมสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ไปใช้งานในภารกิจต่างๆ ของสานักงานที่ดิน เพื่อให้เกิดประโยชน์และสามารถนาไปใช้ในการบรหิ าร
จัดการขอ้ มูลในสานักงานทดี่ นิ ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ

กองเทคโนโลยที าแผนที่
กองฝึกอบรม
กรมทีด่ นิ กระทรวงมหาดไทย



สารบญั

บทที่ ๑ ความเปน็ มา หน้า
บทท่ี ๒ ความรู้เก่ียวกบั ระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ ๑

- ระวางแผนท่ีรูปถา่ ยทางอากาศเชงิ เลข (DMC) ๓
- ข้ันตอนการสร้างระวางแผนที่รูปถา่ ยทางอากาศ ในรปู แบบดิจิทลั ๖
บทที่ ๓ การใช้งานระวางแผนท่ีรปู ถ่ายทางอากาศเชงิ เลขด้วยโปรแกรม Quantum GIS ๑๑
- การใชง้ านโปรแกรม Quantum GIS ๑๑
- การติดตั้งโปรแกรม (Download and Installation Program) ๑๒
- สว่ นประกอบของโปรแกรม QGIS ๑๙
- การกาหนดระบบพิกดั อ้างอิง (Coordinate Reference Systems : CRS) ๒๗
- การนาเข้าขอ้ มลู ระวางแผนท่ีรปู ถ่ายทางอากาศเชงิ เลขดว้ ยโปรแกรม QGIS ๓๔
บทที่ ๔ การนาระวางแผนทร่ี ูปถา่ ยทางอากาศเชิงเลขไปใชป้ ระโยชน์ในสานกั งานท่ีดนิ ๓๗
- การนาระวางแผนท่ีรปู ถา่ ยทางอากาศเชิงเลข มาใช้กับงานด้านรังวดั ๓๗
- การจดั ทารปู แบบแผนที่ หรือการทา Layout ๕๒
บทที่ ๕ บทสรุป ๗๑

ภาคผนวก
ระเบียบและหนังสือราชการที่เกยี่ วข้อง
- ระเบยี บกรมที่ดนิ ว่าด้วยการสรา้ งและการใชร้ ะวางแผนที่ พ.ศ. ๒๕๔๗
- หนังสอื กรมทด่ี นิ ดว่ นท่ีสุด ท่ี มท ๐๕๑๖.๕/ว ๒๐๙๒๗ ลงวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๖๐
เรื่อง มาตรการป้องกนั การออกหนงั สือแสดงสทิ ธิในทด่ี ินโดยไมช่ อบด้วยกฎหมาย

สารบญั ภาพ

ภาพที่ ๑ ชดุ กลอ งถายภาพทางอากาศเชิงเลข (DMC) หนา
ภาพที่ ๒ ตัวอยางภาพถายทางอากาศสีเชงิ เลข GSD ๔๘ เซนตเิ มตร ๔
ภาพที่ ๓ ตวั อยา งระวางแผนท่ีรูปถายทางอากาศเชงิ เลข (DMC) มาตราสว น ๑:๔,๐๐๐ ๕
ภาพที่ ๔ แสดงตาํ แหนงหมุดบังคับภาพภาคพ้นื ดนิ (GCP) ที่ไดวางแผนและกําหนดหมดุ ๕
ภาพที่ ๕ หนาตา งโปรแกรม ERDAS IMAGINE แสดงคาํ สงั่ LPS ที่ใชใ นการทํางาน ๖
ภาพที่ ๖ แสดงหนาตา งการคํานวณปรับแกความคลาดเคล่ือนทางตําแหนง ๗

ของหมุดบังคับภาพภาคพนื้ ดินและหมดุ โยงยดึ
ภาพท่ี ๗ แสดงลายนาํ้ ที่ปรากฏบนขอ มูลระวางแผนท่ีรปู ถา ยทางอากาศเชงิ เลข ๑๐

มาตราสวน ๑:๔,๐๐๐

บทท่ี ๑

ความเปนมา

กรมท่ดี นิ มีหนาท่ีหลักที่สําคัญในการออกเอกสารสิทธิท่ีดินใหกับประชาชนตั้งแต ป พ.ศ. ๒๔๔๔
ดว ยวธิ กี ารรงั วัดทางภาคพ้นื ดิน แตไมส ามารถดาํ เนนิ การใหทันกับความตองการของประชาชน เพราะตองใช
ระยะเวลายาวนานมากจึงจะสามารถออกโฉนดท่ีดินใหแลวเสร็จท่ัวประเทศได กรมที่ดินจึงไดนํารูปถาย
ทางอากาศมาใชในการทาํ แผนท่สี ําหรบั การออกโฉนดที่ดิน โดยจัดทําเปนระวางแผนที่รูปถายทางอากาศ
มาตราสวน ๑:๔,๐๐๐ แตดวยความเจริญทางดานเศรษฐกิจและสังคม ประชาชนมีความตองการ
เอกสารสิทธิเพิ่มข้ึน กรมที่ดินจึงไดจัดทําโครงการเดินสํารวจเพื่อออกหนังสือรับรองการทําประโยชน
(น.ส. ๓ ก.) โดยใชรูปถายทางอากาศมาสรางเปนระวางรูปถายทางอากาศ มาตราสวน ๑:๕,๐๐๐
เพือ่ ใชใ นการออกหนังสือรับรองการทําประโยชน (น.ส. ๓ ก.) ท่ัวประเทศ แมกรมท่ีดินจะไดแกไขปญหา
โดยการออกหนงั สือรับรองการทําประโยชนไวแลวเกือบทั่วประเทศ แตหนังสือรับรองการทําประโยชน
ก็ยังคงเปน เอกสารท่ีไมม ีความสมบรู ณเทียบเทาโฉนดที่ดิน

ในป พ.ศ. ๒๕๒๘ กรมที่ดิน จึงไดจัดทําโครงการพัฒนากรมที่ดินและเรงรัดการออกโฉนด
ที่ดินท่ัวประเทศ (Land Tilting Project : LTP) ใหแลวเสร็จภายใน ๒๐ ป โดยใชระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม
ทดแทนระบบพิกัดฉาก ๒๙ ศูนยกําเนิดเดิม เพ่ือใหระวางแผนที่ของกรมที่ดินเปนระบบสากล สามารถใช
งานไดสอดคลองกับระบบแผนท่ีท่ีหนวยงานตางๆ ใชกันอยูทั่วไป โดยมีการสรางระวางแผนที่รูปถาย
ทางอากาศ ๒ มาตราสวน ในระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม คือ มาตราสวน ๑:๔,๐๐๐ ใชในเขตชนบท
(Rural) และมาตราสวน ๑:๑,๐๐๐ ใชในเขตชุมชน (Urban) จากน้ันกระบวนการจัดสรางระวางแผนท่ี
รูปถายทางอากาศไดมกี ารพฒั นามาอยา งตอ เนอ่ื งตามววิ ัฒนาการของเทคโนโลยีทางดานการทําแผนที่
จนกระท่งั เขาสูก ระบวนการจัดสรางระวางแผนที่ฯ ดวยระบบ Digital Photogrammetry ซึ่งผลผลิต
ที่ไดเปน ระวางแผนท่ีรปู ถายทางอากาศเชงิ เลข ท่ีจดั เกบ็ ในรูปแบบดิจิทัลไฟล

กรมท่ีดิน ไดดําเนินโครงการศูนยขอมูลท่ีดินและแผนที่แหงชาติ โดยมีวัตถุประสงค เพ่ือจัด
ระบบงานขอมูลท่ีดินและแผนท่ีรูปแปลงท่ีดินใหอยูในรูปฐานขอมูลในระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) ใหเปน
มาตรฐาน สําหรับใชใ นการจัดทําแผนที่แนวเขตการใชที่ดินใหเกิดความชัดเจน โดยมีแผนงานที่เก่ียวของ
กับงานสรางระวางแผนที่รปู ถายทางอากาศ คอื แผนงานจัดทาํ แผนท่ีฐาน มาตราสว น 1:4,000 ครอบคลุม
พื้นท่ีทั่วประเทศ ซ่ึงกรมท่ีดินไดรับการสนับสนุนการบินถายภาพทางอากาศ จากกรมแผนท่ีทหาร
กองบัญชาการกองทัพไทย ในการบินถายภาพเพ่ือนําขอมูลภาพถายทางอากาศเชิงเลข ท่ีไดจากการบันทึก
ดวยกลองถายภาพทางอากาศเชิงเลข (Digital Mapping Cameras : DMC) มาใชในการจัดสราง
ระวางแผนท่ีรูปถา ยทางอากาศเชงิ เลข มาตราสว น 1:4,000

๒

-2-

ในป พ.ศ. 2561 กรมที่ดิน โดยกองเทคโนโลยีทําแผนท่ี ไดดําเนินการจัดสรางระวางแผนท่ี
รปู ถายทางอากาศเชิงเลข (DMC) มาตราสวน 1:4,000 โดยวิธี Ortho Rectification ครอบคลุมพ้ืนท่ี
ทวั่ ประเทศ และสงใชในราชการสํานักงานที่ดิน ตามโครงการจัดทําและสงขอมูลระวางแผนที่ภาพถาย
ทางอากาศเชิงเลข (DMC) มาตราสวน 1:4,000 ในรูปแบบดิจิทัลไฟล ใหสํานักงานที่ดินจังหวัด
ทวั่ ประเทศ เพื่อใหขอมูลระวางแผนท่ีรูปถายทางอากาศเชิงเลข (DMC) สามารถนําไปใชในราชการ
ของสํานักงานท่ีดิน สนับสนุนมาตรการของกรมที่ดิน ท่ีไดกําหนดแนวทางและมาตรการปองกันการออก
หนงั สอื แสดงสิทธใิ นทีด่ ินโดยไมชอบดวยกฎหมาย อีกท้ังเปนการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
ขอมลู ในสาํ นกั งานท่ดี นิ ไดอยางมีประสทิ ธิภาพ สะดวก และรวดเรว็ ยิง่ ขึ้น

บทที่ ๒

ความรเู กยี่ วกบั ระวางแผนที่รูปถายทางอากาศ

กองเทคโนโลยีทําแผนท่ี ไดดําเนินการจัดสรางระวางรูปถายทางอากาศ ระวางแผนที่รูปถาย
ทางอากาศ เพื่อสงใชในราชการสาํ นักงานที่ดินทั่วประเทศ โดยระวางแผนท่ีรูปถายทางอากาศจะมี
การสงใชทง้ั ระวางแผนท่ีรปู ถา ยทางอากาศแบบขาวดํา ระวางแผนที่รูปถายทางอากาศจากขอมูลภาพถาย
ทางอากาศ (MOAC) และระวางแผนท่ีรูปถายทางอากาศเชิงเลข จากขอมูลภาพถายทางอากาศเชิงเลข
(DMC) ซ่ึงในบทนี้ จะกลาวถึงระวางแผนที่รูปถายทางอากาศเชิงเลข (DMC) มาตราสวน ๑:๔,๐๐๐
ที่สง ใชในราชการใหกบั สํานักงานท่ีดนิ ทัว่ ประเทศ โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้
๑. ระวางแผนที่รูปถา ยทางอากาศเชิงเลข (DMC)

ระวางแผนที่รูปถายทางอากาศเชิงเลข เปนระวางแผนที่รูปถายทางอากาศ ในรูปแบบ
ดิจิทัลไฟล ผลิตจากภาพถายทางอากาศสีเชิงเลขท่ีบินถายภาพดวยกลองถายภาพทางอากาศเชงิ เลข
(Digital Mapping Cameras : DMC) ความละเอียดของจุดภาพ (Ground Sampling Distance : GSD)
๔๘ เซนติเมตร บินถายภาพชวงป พ.ศ. ๒๕๕๔ – พ.ศ. ๒๕๖๑ มาจัดสรางเปนระวางแผนที่รปู ถาย
ทางอากาศเชิงเลข มาตราสวน ๑:๔,๐๐๐ ครอบคลุมพ้ืนท่ีท่ัวประเทศ ยกเวนพ้ืนท่ีหวงหาม ปกปด
และเขตพื้นทชี่ ายแดนเพอ่ื ความม่นั คง โดยแบงพ้ืนท่ดี ําเนินการตามโครงการ ดงั นี้

 โครงการศูนยขอมูลที่ดินและแผนท่ีแหงชาติ (ระยะที่ ๑) ครอบคลุมพื้นที่ภาคเหนือ
จํานวน ๑๕ จงั หวัด และภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จาํ นวน ๒๐ จงั หวดั

 โครงการศูนยขอมูลที่ดินและแผนที่แหงชาติ (ระยะที่ ๒) ครอบคลุมพ้นื ที่ภาคกลาง
จาํ นวน ๒๐ จงั หวัด ภาคตะวันออก จํานวน ๗ จังหวัด และภาคใต จาํ นวน ๑๕ จงั หวัด

ในการบินถายภาพใชกลองถายภาพทางอากาศเชิงเลข (DMC) ซึ่งเปนเทคโนโลยีท่ีไดพัฒนา
ความสามารถของกลองใหมีระบบท่ีมีความฉลาดและซับซอนมากยิ่งข้ึน กลาวคือ สามารถบันทึกภาพถาย
ทางอากาศสําหรับทําแผนที่ที่มีความละเอียดถูกตองสูงในระบบเชิงเลข โดยเฉพาะไดพัฒนาระบบอุปกรณ
บันทึกภาพที่มีความละเอียดสูง ระบบการจัดการการบิน ระบบหาคาพิกัดโดยรับสัญญาณจากดาวเทียม
(GPS) และหนวยตรวจวดั ความเคลื่อนไหวภายใน (IMU) เพื่อชวยในการนําหน ตลอดจนกระบวนการ
บันทึกภาพและการจัดการดวยระบบคอมพิวเตอรในขณะบินถายภาพทางอากาศ อีกทั้งยังมีอุปกรณ
ที่ชวยในการทาํ ใหขอมูลภาพมีความถูกตองสูงในขณะบินถาย (Forward Motion Compensation)
ซ่งึ จะถูกติดตงั้ อยบู นอากาศยานขณะบนิ ถายภาพ โดยกลอง DMC ท่ีใชถา ยภาพมคี ุณลกั ษณะ ดังนี้

๔

-4-

๑. กลอง DMC I : ภาพ ๑ เฟรม มีขนาดเทากับ ๑๓,๘๒๔ x ๗,๖๘๐ pixels ความยาวโฟกัส
เทา กบั ๑๒๐ มลิ ลเิ มตร และความละเอยี ดของจดุ ภาพเทากบั ๑๒ ไมครอน

๒. กลอ ง DMC II : ภาพ ๑ เฟรม มีขนาดเทากับ ๑๑,๒๐๐ x ๑๒,๐๙๖ pixels ความยาว
โฟกสั เทา กับ ๙๒ มิลลเิ มตร และความละเอียดของจดุ ภาพเทากบั ๗.๒ ไมครอน

๓. กลอง DMC III : ภาพ ๑ เฟรม มขี นาดเทา กับ ๑๔,๕๙๒ x ๒๕,๗๒๘ pixels ความยาว
โฟกสั เทา กับ ๙๒ มิลลิเมตร และความละเอียดของจุดภาพเทา กบั ๓.๙ ไมครอน

ภาพท่ี ๑ ชุดกลอ งถา ยภาพทางอากาศเชิงเลข (DMC)
กรมที่ดิน ไดนําภาพถายทางอากาศเชิงเลข (DMC) ความละเอียดของจุดภาพ (Ground
Sampling Distance : GSD) ๔๘ เซนติเมตร มาใชใ นการสรา งระวางแผนที่รูปถายทางอากาศเชิงเลข
(DMC) มาตราสวน ๑:๔,๐๐๐ โดยผานกระบวนการรังวัดดวยภาพดิจิทัล (Digital Photogrammetry)
และดัดแกความคลาดเคล่ือนทางตําแหนงท้ังทางราบและทางดิ่ง โดยใชเกณฑมาตรฐานในการตรวจสอบ
คือ เกณฑมาตรฐานความถูกตองเชิงตําแหนง NSSDA เกณฑมาตรฐานความถูกตองเชิงตําแหนง ASPRS
และระเบยี บกรมที่ดนิ วา ดว ยการสรา งและการใชระวางแผนท่ี พ.ศ. ๒๕๔๗
ผลผลิตท่ีได เปนระวางแผนท่ีรูปถายทางอากาศเชิงเลขที่นํามาตัดระวางโดยใชชื่อและ
หมายเลขระวางแผนท่ีตามสารบัญระวางแผนท่ี ๑:๔,๐๐๐ ของกรมท่ีดิน ในรูปแบบดิจิทัลไฟล เพ่ือสงใช
ในราชการกรมท่ีดนิ และสนบั สนนุ ภารกิจอ่นื ๆ ตามความเหมาะสม ซงึ่ ระวางแผนที่รูปถายทางอากาศ
เชงิ เลข ๑ ระวาง ครอบคลมุ พ้นื ที่จรงิ ขนาด ๒ x ๒ ตารางกโิ ลเมตร

- 5 ๕- 
ภาพที่ ๒ ตวั อยางภาพถายทางอากาศสเี ชงิ เลข GSD ๔๘ เซนตเิ มตร
ภาพที่ ๓ ตัวอยา งระวางแผนทีร่ ูปถายทางอากาศเชิงเลข (DMC) มาตราสว น ๑:๔,๐๐๐

๖

-6-

๒. ข้นั ตอนการสรางระวางแผนท่ีรปู ถายทางอากาศ ในรปู แบบดิจิทัล
การสรางระวางแผนที่รปู ถา ยทางอากาศ มาตราสวน ๑:๔,๐๐๐ ในรูปแบบดิจิทัล มีข้ันตอน

ดําเนินการโดยสังเขป ดังนี้
๒.๑ การเตรยี มงาน
๒.๑.๑การจดั เตรียมขอมูล
การจัดเตรียมขอมูล เปนการเตรียมขอมูลตามขอบเขตบล็อกภาพถาย ที่ได

กําหนดไว โดยมขี อ มูลท่ตี อ งใชในกระบวนการสรางระวางแผนที่รูปถายทางอากาศ คือ ขอมูลภาพถาย
ทางอากาศเชิงเลข (DMC) ทไ่ี ดจ ากการบนิ ถายทางอากาศดวยกลองถายภาพทางอากาศเชิงเลข (DMC)
และคา พารามเิ ตอรต างๆ สําหรบั ใชใ นการคํานวณปรับแกคาพกิ ัด

๒.๑.๒ การกําหนดหมุดบังคบั ภาพภาคพน้ื ดิน (Ground Control Point)
การกาํ หนดหมดุ บังคบั ภาพภาคพื้นดนิ เปนข้ันตอนของการวางแผนและกําหนด

ตาํ แหนงของหมุดบังคับภาพภาคพื้นดิน ซ่ึงจะตองเปนตาํ แหนงที่เห็นเดนชัดบนภาพถายทางอากาศ
และสามารถช้ีชัดไดบนภาคพ้ืนดิน รวมท้ังเขาถึงตําแหนงไดสะดวก โดยในการกําหนดตาํ แหนงของ
หมุดบังคับภาพภาคพื้นดิน ตอ งวางแผนใหค รอบคลุมเพียงพอและเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศและ
ขนาดของบล็อกงาน

จากนนั้ ทาํ การรังวัดหมุดบังคับภาพภาคพื้นดินท่ีไดกําหนดไว โดยเปนคาพิกัด
(X, Y, Z) ที่ไดจากการรังวัดดวยเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม (GPS) ในพื้นที่จริง สําหรับนําไปใช
ในขน้ั ตอนตอ ไป

ภาพที่ ๔ แสดงตาํ แหนง หมดุ บงั คับภาพภาคพนื้ ดิน (GCP) ท่ไี ดวางแผนและกาํ หนดหมดุ

๗

-7-

๒.๒ การรังวัดดว ยภาพดจิ ทิ ัลและคํานวณปรับแกคา พิกัด
๒.๒.๑การจัดภาพภายใน (Interior Orientation) และการจัดภาพภายนอก

(Exterior Orientation)
การจัดภาพภายในและการจัดภาพภายนอก เปนข้ันตอนของการใสรายละเอียด

ขอมูลคาเร่ิมตนใหกับบล็อกงาน ดวยโปรแกรม ERDAS IMAGINE โดยใชคําสั่ง LPS เพื่อปรับคาทาง
คณิตศาสตรข องภาพ โดยมีรายละเอียด ดงั นี้

 กาํ หนดคุณสมบัติเริ่มตนใหกับบล็อกงาน ไดแก ระบบพิกัด (Projection)
และพนื้ หลกั ฐาน (Datum)

 คาพารามิเตอรในการทํา Interior Orientation ประกอบดวย ชนิดของกลอง
ความยาวโฟกัสของกลอง (Focal Length) ความละเอียดจุดภาพ (Geometric Resolution) และ
ความสงู บนิ

 คาพารามิเตอรในการทํา Exterior Orientation ประกอบดวย คา X, Y, Z
Omega, Phi, Kappa

ภาพที่ ๕ หนาตางโปรแกรม ERDAS IMAGINE แสดงคําสงั่ LPS ทใ่ี ชในการทํางาน
๒.๒.๒การรังวัดหมุดบังคับภาพภาคพ้ืนดินและหมุดโยงยึด (Ground Control Point

and Tie Point)
การรังวดั หมุดบงั คับภาพภาคพื้นดนิ เปน ขั้นตอนของการรังวัดหมุดบังคับภาพ

ภาคพนื้ ดิน (GCP) บนภาพถายทางอากาศเชิงเลข ซ่ึงมาจากคาพิกัด (X, Y, Z) ท่ีไดจากการรังวัดดวย
เคร่อื งรบั สัญญาณดาวเทยี ม (GPS) ในพ้ืนทจ่ี ริง นาํ มารังวัดในตําแหนง เดียวกันบนภาพถายทางอากาศ
เชงิ เลข เพ่อื เปน การขยายหมุดควบคุมที่ไดจากการรังวัดหมุดบังคับภาพภาคพ้ืนดินใหกระจายครอบคลุม
ทุกๆ ภาพถาย และทาํ การรังวัดหมุดโยงยึด (Tie Point) ซ่ึงเปนหมุดบังคับภาพชนิดหนึ่งที่ไมทราบ
คา พิกดั ในระบบพิกดั ภาคพื้นดิน และมตี ําแหนงเดน ชดั บนภาพถา ยทางอากาศ โดยไมตองทําการรังวัด
ในภาคสนาม ซ่ึงจะปรากฏอยูบนสวนซอนดานหนาในแนวบินเดียวกัน (Overlap) และสวนซอนดานขาง
ระหวา งแนวบิน (Sidelap) โดยในทางทฤษฎีกําหนดใหใน ๑ ภาพ ตอ งมีหมุดโยงยดึ อยา งนอ ย ๙ หมุด

๘

-8-

๒.๓ การคํานวณปรับแกโครงขายสามเหลย่ี มทางอากาศ (Block Adjustment)
การคํานวณปรับแกโครงขายสามเหลี่ยมทางอากาศ (Block Adjustment)

เปนการปรับแกโดยใชคาพิกัดของหมุดบังคับภาพภาคพ้ืนดินในการคํานวณอางอิง ทาํ ใหการรังวัด
หมุดบังคับภาพที่ไมทราบคาพิกัด กลายเปนหมุดบังคับภาพท่ีมีคาพิกัด โดยมีเกณฑในการปรับแก
ความคลาดเคลื่อนทางตําแหนงท้ังทางราบและทางด่ิงของหมุดบังคับภาพภาคพ้ืนดินและหมุดโยงยึด
คือ

 คา ความคลาดเคล่ือนรวมของบล็อกงาน (Total Image UnitWeight RMSE)
มีคา ไมเกนิ ๐.๕ จดุ ภาพ (Pixels)

 คาความคลาดเคลื่อนรวมของหมุดบงั คบั ภาพ (Control Point RMSE) ทั้งแกน X
และ Y มคี าไมเ กนิ ๑ เมตร สว นแกน Z มคี าไมเกิน ๒ เมตร

ภาพที่ ๖ แสดงหนา ตา งการคํานวณปรบั แกความคลาดเคลอ่ื นทางตําแหนง
ของหมุดบังคบั ภาพภาคพ้ืนดนิ และหมุดโยงยึด

๒.๔ การปรับแกแบบจาํ ลองระดับความสูงภูมิประเทศเชิงเลข (Digital Elevation
Model : DEM)

แบบจําลองระดับความสูงภูมิประเทศเชิงเลข (Digital Elevation Model) คือ
กระบวนการรังวัดความสูงที่เปนตัวแทนของภูมิประเทศและมีความสําคัญอยางมากกับความถูกตอง
ทางตาํ แหนงของภาพถา ยออรโ ท โดยเปน การนาํ คาระดับไปคํานวณปรับแกความสูงตํ่าของภูมิประเทศ
บนภาพถายทางอากาศ ดวยการรังวัดบนโมเดลสามมิติ ทําใหไดคาพิกัดภูมิศาสตรพรอมทั้งคาระดับ
ที่มีความละเอียดถูกตองสูง และสามารถนําไปใชในการสรางแบบจําลองระดับความสูงภูมิประเทศเชิงเลข
ไดเปน อยางดี โดยมชี ว งหา ง (Interval) ๓๐ เมตร

๙

-9-

๒.๕ การจดั ทําแผนที่รปู ถายทางอากาศสี (Orthophoto)
การจัดทาํ แผนท่รี ูปถา ยทางอากาศสี เปนการนําภาพถายทางอากาศสีที่ผานการดําเนินการ

ในขัน้ ตอนท่ี ๒.๑ – ๒.๔ มาประมวลผลรวมกัน เพื่อขจัดความคลาดเคลื่อนทางตําแหนง ซึ่งผลผลิตที่ได
เปน แผนท่ีรูปถายทางอากาศสี หรือภาพถายออรโท ในระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม บนพ้ืนหลักฐาน Indian
1975 จากนัน้ ทําการตรวจสอบคุณภาพสี และรอยตอระหวางแนวบินของแผนท่ีรูปถายทางอากาศสี
(Orthophoto)

๒.๖ การตอแผนทร่ี ปู ถายทางอากาศสี (Mosaic)
การตอแผนท่ีรปู ถา ยทางอากาศสี เปนการนาํ แผนที่รูปถายทางอากาศสีหลายๆ รูป

มาตอใหเปนผืนเดียวกัน โดยอาศัยเสนแนวตอภาพถาย (Seamlines) ซ่ึงเปนเสนแบงขอบเขตพน้ื ที่
ที่ตองการบนแผนท่ีรูปถายทางอากาศสีแตละรูปที่นาํ มาตอกัน ซ่ึงในบล็อกงานจะมีแผนที่รูปถาย
ทางอากาศสีอยางนอย ๒ รูปข้ึนไป ท่ีมีสวนซอนกันของพื้นท่ี ดังน้ัน ในข้ันตอนน้ีจะเปนการเลือกรูป
ทีม่ คี วามคมชดั ไมมีสิง่ บดบัง โดยพืน้ ท่ที ไี่ ดจากแตละรูปจะถูกนํามาประกอบเปนรูปตอเนื่องกันโดยไม
เหน็ รอยตอ จากนั้นจะทาํ การปรับสีแผนท่ีรูปถายทางอากาศสี (Color Corrections) และตัดระวาง
แผนที่รูปถายทางอากาศสี (Subset) ในมาตราสวน ๑:๔,๐๐๐ โดยใชชื่อตามแผนที่ภูมิประเทศ
๑:๕๐,๐๐๐ ชุด L 7017 ของกรมแผนทที่ หาร

๒.๖.๑การปรบั สขี องแผนทร่ี ูปถายทางอากาศสี (Color Corrections)
เน่ืองจากแผนที่รูปถายทางอากาศสี จะมีปญหาเกยี่ วกับแสงสะทอน ซึ่งเกิดจาก

ตําแหนงของกลอ งกับแสงสะทอนจากดวงอาทิตย ทําใหแผนที่รูปถายฯ มีลักษณะสวางมากในบางบริเวณ
หรืออาจมืดทึบในบางบริเวณ การปรับสีของแผนที่รูปถายฯ จะเปนการคํานวณคาของโทนสีใหมี
ความใกลเ คียงกันโดยอาศยั คา เฉลย่ี บริเวณรอบขา ง ทําใหสีของภาพมีความสมาํ่ เสมอและชัดเจนยิ่งข้นึ

๒.๖.๒การตดั ระวางแผนทีร่ ูปถายทางอากาศสี (Subset) ในมาตราสวน ๑:๔,๐๐๐
การตัดระวางแผนที่รูปถายทางอากาศสี เปนการนําสารบัญมาตราสวน

๑:๔,๐๐๐ มาครอบตัดบนแผนทีร่ ูปถายทางอากาศสี เพ่อื ใหไ ดระวางแผนท่ีรูปถายทางอากาศสี ที่มีขนาด
๒ x ๒ ตารางกิโลเมตร โดยใชช อ่ื ตามแผนทภ่ี มู ิประเทศ ๑:๕๐,๐๐๐ ชดุ L 7017 ของกรมแผนทีท่ หาร

๒.๗ การตรวจสอบความถูกตองของระวางแผนท่ีรปู ถา ยทางอากาศสี
ในการตรวจสอบความถูกตองของระวางแผนท่ีรูปถายทางอากาศสี จะใชคา Root

Mean Square Error (RMSE) ซ่ึงเปนคารากที่สองของคาเฉล่ียกาํ ลังสองของคาความตา งระหวา ง
หมดุ ตรวจสอบ (Check Point) ที่ไดจากการรังวัดคาพิกัดโดยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียม
แบบจลน (RTK GNSS Network) ในพื้นที่จริง กับคาพิกัดบนระวางแผนท่ีรูปถายทางอากาศสี ณ ตําแหนง
เดียวกนั โดยใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานความถูกตองเชิงตาํ แหนง NSSDA (National Standard
for Spatial Data Accuracy) ของคณะกรรมการขอมูลภูมิศาสตรระดับรฐั บาลกลางสหรฐั อเมริกา
(Federal Geographic Data Committee : FGDC) และมาตรฐานความถูกตองเชิงตาํ แหนงของ

 ๑๐ 

- 10 -

สมาคมโฟโตแกรมเมตรีและการรับรูจากระยะไกลแหงอเมริกา (American Society of Photogrammetry
and Remote Sensing : ASPRS)

๒.๘ การลงลายนา้ํ และบบี อดั ขอมูล (Watermarks and Compress Files)
ระวางแผนที่รปู ถายทางอากาศทจี่ ดั สรา งข้ึนและสงใชใ นราชการใหกับสํานักงานที่ดิน

จะอยูในรปู แบบดิจิทัลไฟล ดังนน้ั จึงมีข้นั ตอนของการลงลายนํ้าและบีบอัดขอมูล เพ่ืองายตอการติดตาม
แหลงขอมลู และสะดวกในการสงไฟลขอมลู

๒.๘.๑การลงลายนํา้ (Watermarks)
การลงลายนํา้ มี ๒ รูปแบบ คือ แบบมองเห็น (Visible Watermarks) และ

แบบมองไมเ ห็น (Invisible Watermarks) การลงลายนํ้าจะทําใหสามารถติดตามแหลงที่มาของขอมูล
ในภายหลังได สําหรับลายนํ้าของระวางแผนที่รูปถายทางอากาศเชิงเลขจะปรากฏเปนตราสัญลักษณ
ของกรมทีด่ นิ และรหสั ของแตล ะสํานกั งานทด่ี ินหรือผูข อรับบรกิ าร

ภาพท่ี ๗ แสดงลายน้ําทป่ี รากฏบนขอมลู ระวางแผนที่รูปถายทางอากาศเชิงเลข มาตราสวน ๑:๔,๐๐๐
๒.๘.๒การบีบอดั ขอมลู (Compress Files)
ระวางแผนท่ีรูปถายทางอากาศท่ีจัดสรางขึ้นในรูปแบบดิจิทัล จะมีไฟลภาพ

ขนาดใหญ สบื เนือ่ งจากกลอ งทใี่ ชในการถายภาพมคี วามละเอยี ดสูง ทําใหภ าพมีความคมชดั สงผลตอขนาด
ของไฟลภ าพ ดังนั้น การบีบอัดขอมูลจึงเปนการลดขนาดของไฟลภาพ เพื่อใหสะดวกตอการนําไปใชงาน
และการสงไฟลขอ มูลใหกับสํานกั งานทด่ี ิน โดยเปนไฟลภ าพสกุล .Sid

บทท่ี ๓

การใชงานระวางแผนที่รูปถา ยทางอากาศเชงิ เลข
ดว ยโปรแกรม Quantum GIS (QGIS)

การใชงานระวางแผนท่ีรูปถา ยทางอากาศเชิงเลข ในรูปแบบดิจิทัล (.Sid) สามารถใชงาน
ผานทางโปรแกรม GIS เชน QGIS, ArcMap, Erdas Imagine เปนตน สําหรับในคูมือเลมนี้ จะนําเสนอ
เก่ียวกับการใชง านระวางแผนที่รปู ถายทางอากาศเชิงเลข ดว ยโปรแกรม QGIS ซ่ึงมรี ายละเอียด ดงั น้ี
๑. การใชง านโปรแกรม Quantum GIS

Quantum GIS หรอื QGIS เปน โปรแกรม Desktop GIS ประเภทหนึ่งท่ีมีประสิทธิภาพ
ในการนํามาใชจัดการขอมูลปริภูมิ จัดอยูในกลุมซอฟตแวรรหัสเปด (Free and Open Source
Software : FOSS) ท่ีใชงานงาย ลักษณะการใชงานเปนแบบ Graphic User Interface ซงึ่ สะดวก
ตอ การใชงาน ไมวา จะเปนการเรยี กใชข อมูลภาพ ขอ มลู ตาราง การแสดงผลตาราง การแสดงผลกราฟ
ตลอดจนสามารถสืบคนขอมูล วิเคราะหขอมูลและนาํ เสนอขอมูลในรูปแบบแผนที่ สามารถเรยี กใช
ขอมูลเวกเตอร ราสเตอร ในรปู แบบทเี่ ปนมาตรฐานแพรหลาย เชน ShapeFile และ GeoTIFF QGIS
สามารถแกไข Shape File Format ได ซึ่งเปนท่ีตองการมากในเวลานี้ QGIS พัฒนาบนพื้นฐานของ Qt
ที่เปนไลบราล่ีสําหรับ Graphic User Interface (GUI) ท่ีใชงานไดทั้ง UNIX, Windows และ Mac
การพัฒนาใชภาษา C++ เปนหลัก นอกจากนั้น QGIS ยังเชื่อมตอกับ Geospatial RDBMS เชน
PostGIS/PostgreSQL สามารถอานและเขียนฟเจอรท่ีจัดเก็บใน PostGIS ไดโดยตรง สามารถเช่ือมตอกับ
GRASS ได ทําใหสามารถเรียกดูขอมูลท่ีจัดเก็บใน GRASS โดยตรง และสามารถเรียกใชฟงกชันตางๆ
ของ GRASS ได สนบั สนุนการวิเคราะหเชิงพื้นท่ี (Spatial Data) และขอมูลตาราง (Attribute Data)
สามารถจัดการขอมูลไดงาย โดยใชเคร่ืองมือตาม GUI ที่กําหนด และ Version ท่ีเลือกใชน้ีคือ Quantum
GIS Version 2.18.18 Las Palmas

 ๑๒ 

- 12 -

๒. การติดตั้งโปรแกรม (Download and Installation Program)
โปรแกรม Quantum GIS สามารถติดต้ังไดบนระบบปฏิบัติการ Window, MacOS X,

Linux และ Android โดยควรตรวจสอบคณุ สมบตั ขิ องเคร่ืองคอมพวิ เตอรกอนทาํ การตดิ ตั้ง
๑. คลิกขวาท่ี Explorer เลือกคาํ สงั่ System
๒. ดชู นดิ ของระบบปฏบิ ัตกิ าร เชน Window 64 bit, 32 bit หรอื Mac หรอื Linux

12

จากนั้น ในการติดตัง้ โปรแกรม เขา ไปที่ Website : https://qgis.org/en/site/
๓. กดทแี่ ถบ FOR USERS

3

 ๑๓ 

- 13 -

๔. คลิกที่ Download QGIS

4

๕. กดท่ีแถบ ALL RELEASES
๖. จากน้นั กด here ดานหลัง Older releases of QGIS are available

5
6

 ๑๔ 

- 14 -

๗. เลือกระบบปฏิบัติการของเคร่ืองคอมพิวเตอร เชน Window 64 bit, 32 bit หรือ Mac
หรอื Linux (สาํ หรบั ในตัวอยา งเปนคอมพวิ เตอร 64 bit)

7

๘. เลือกดาวนโหลด Version ของโปรแกรมตามจาํ นวน bit ของคอมพิวเตอรที่ใชงาน
(แนะนํา Version 2.18.18)

8

 ๑๕ 

- 15 -

๙. จากนั้น ดับเบิ้ลคลิกไฟลที่ดาวนโหลดมา QGISOSGeo4W2.18.181Setupx86_64
(Version 2.18.18 สาํ หรับคอมพิวเตอร 64 bit) จะปรากฏหนาตา งดงั รูป แลวกดปมุ Next

9

๑๐. จะปรากฏหนาตางเง่ือนไขเก่ียวกับ License ใหกดปุม I Agree เพือ่ ยอมรับเงื่อนไข

10

 ๑๖ 

- 16 -

๑๑. จะปรากฏหนาตา งแสดงพื้นที่ในการจดั เกบ็ โปรแกรม ใหกดปมุ Next

11

๑๒. จะปรากฏหนา ตางแสดงการเลือกติดต้งั โปรแกรม QGIS ใหก ดปุม Install

12

 ๑๗ 

- 17 -

๑๓. รอจนกวาโปรแกรมจะติดตั้งเสร็จ

13

๑๔. เมอ่ื สิ้นสุดการติดต้งั โปรแกรม จะปรากฏหนาตา งดังรปู ใหกดปมุ Finish

14

 ๑- ๘18 -
๑๕. เม่ือทําการติดตั้งโปรแกรมเรียบรอยแลว ที่หนา Desktop จะแสดงโฟลเดอร
QGIS 2.18 ใหด บั เบิ้ลคลิกทีโ่ ฟลเดอรนี้

15

๑๖. เมื่อเปดโฟลเดอรข้ึนมา จะปรากฏโปรแกรมท่ีทําการติดต้ัง ในการเริ่มตนการใชงาน
ใหดบั เบ้ิลคลกิ ที่ QGIS Desktop 2.18.18

16

จะปรากฏหนาเร่มิ ตนของโปรแกรม QGIS

 ๑๙ 

- 19 -

๓. สวนประกอบของโปรแกรม QGIS
ในหนา เรมิ่ ตนของโปรแกรม จะมีสวนประกอบของโปรแกรมในหนาจอหลัก ประกอบดวย

Menu Bar, Tools Bar, Layer, Browser, Map Display, Map Coordinate, Map Scale และ
Project Properties ซ่ึงทุกรายการน้ีสามารถเคลื่อนยาย เปล่ียนขนาดตามความเหมาะสมตอการใชงาน
เพอ่ื อาํ นวยความสะดวกแกผูใชงาน

แถบเมนู Menu Bar

แถบเครอ่ื งมือ Tools Bar

เมนูจัดการไฟล (Project Toolbar)

Browser หนา ตางแสดงขอมลู
Map Display
ประกอบไปดวยการสรา งโครงการใหม เปด โครงการเกาที่ไดบันทกึ ไว บนั ทึกโครงการและสงออกเพื่อ
ทําแผนท่ี

ชน้ั ขอ มูล คา พิกัด แถบมาตราสว น ระบบพกิ ดั
Layer Map Coordinate Map Scale Project Properties

แถบเมนู (Menu Bar) คือ แถบเมนูท่ีแสดงคําสัง่ ท้ังหมดของโปรแกรม การเรียกใชงานแถบเมนู ทําไดโดย
การเลือ่ นเมาสม าวางทีช่ อ่ื เมนทู ีต่ อ งการเปด แลวเลอ่ื นเมาสไ ปตามรายการคําสั่ง เมื่อตองการใชคําส่ังใดๆ
ใหค ลิกไปท่ีคําสง่ั นั้น โปรแกรมกจ็ ะทาํ การเรียกใชงานคาํ ส่งั นั้นๆ

แถบเครื่องมือ (Tools Bar) คือ แถบเครื่องมือท่ีแสดงเปนสัญลักษณ (Icon) ใชแทนคําสั่งตางๆ
ซงึ่ แถบเครอ่ื งมือท่ีโปรแกรมไดจ ดั เตรยี มไวใ หน้นั มอี ยหู ลายกลุมดว ยกัน ดังนี้

 ๒๐ 

- 20 -

เมนูไฟลเ อกสาร (File Toolbars) เปน กลมุ ของเครื่องมอื สําหรับจดั การเอกสาร

ประกอบไปดวย เคร่ืองมือการสรางโครงการใหม การเปดโครงการเกาที่ไดบันทึกไว
การบนั ทกึ โครงการ และการสง ออกเพอ่ื ทําแผนท่ี

Icon ฟง กชัน การใชง าน

New การสรางเอกสารโครงการใหม

Open การเปดเอกสารโครงการท่มี ีอยูเดมิ

Save การบนั ทึกโครงการ

Save As การบนั ทกึ โครงการเปน อีกช่ือหน่ึง

New Print Composer การสรางแผนทใี่ หมเพื่อการพิมพ

Composer Manager เปนสวนของหนาจอเล็กๆ สําหรับใหผูใชงานสามารถ
จัดการกับ Layer/Composer ที่สรางขึ้นได ไดแก
การเรยี ก Layout มาแสดง การลบและสรา ง Layout
หรอื การเปล่ยี นชอ่ื ใหกบั Layout

เมนูจัดการมุมมองแผนท่ี (Map Navigation Toolbars) เปนกลุมของเคร่ืองมือ
ในการกวาด ยอ ขยายแผนที่ ซงึ่ จะควบคุมการแสดงผลของแผนที่ เชน การขยายแผนที่ การเล่ือนแผนท่ี
การขยายเต็มจอ หรอื การยอนกลับไปมมุ มองเดิม เปน ตน

 ๒๑ 

- 21 -

Icon ฟง กชนั การใชงาน

Touch Zoom and Pan ใชค ลกิ บรเิ วณทต่ี องการ ใหกลายเปนจุดศูนยกลางของแผนที่
โดยยงั คงรกั ษามาตราสว นเดิมไว

Pan Map ใชเ ลือ่ นแผนท่ีไปดานอ่ืนๆ โดยยังคงรักษามาตราสวนเดิม
ไว

Pan Map to Selection ใชเลือ่ นแผนทีไ่ ปยังขอ มลู ที่เลือกไว โดยยังคงรักษามาตราสวน
เดมิ

Zoom In ใชข ยายมาตราสว นใหใหญข้ึน ดว ยการคลกิ บรเิ วณทีต่ อ งการ
ขยาย จะขยายทลี ะเทาตวั หรอื ใชวิธีลากกรอบส่ีเหล่ียมผืนผา
เพอ่ื ขยายแผนที่ใหม ีขนาดพอดกี รอบ

Zoom Out ใชยอมาตราสวนใหเล็กลง ดวยการคลิกบริเวณที่ตองการ
ยอ โดยจะยอ ทลี ะครึ่งหนง่ึ

Zoom to Native Pixel ใชเปลีย่ นมาตราสว นใหค วามละเอียดขอมูลราสเตอรที่เปดอยู
Resolution เทากบั ความละเอยี ดของหนา จอ (ภาพจะไมแ ตก)

Zoom Full เปลย่ี นมมุ มองเปนสวนที่มองเห็นขอ มูลทกุ ชน้ั ไดครบทง้ั หมด

Zoom to Selection เลื่อนไปยังขอมูลที่เลือกไวและเปลี่ยนมาตราสวน ใหเห็น
Zoom to Layer ขอมูลท่เี ลือกไวท ้ังหมดพอดี
Zoom Last เปล่ยี นมุมมองเปนสวนที่มองเห็นขอมูลช้ันท่ีเลือกไดครบ
ท้งั หมด

กลับไปมมุ มองกอนหนา

Zoom Next กลบั ไปมุมมองหลัง

New Bookmark การสรา งมาตราสวนท่ตี าํ แหนง ใดๆ ในแผนท่ี
Show Bookmarks การกลับไปยังตําแหนงท่ีสรางมาตราสวนที่ตาํ แหนงใดๆ
Refresh ในแผนทีไ่ ว
การเคลียรคาใหเปน ปจ จบุ ัน

 ๒๒ 

- 22 -

เมนแู สดงรายละเอยี ด (Attribute Toolbars) เปนกลุมของเครื่องมือ ในการเรียกดู
คุณสมบตั ิขอ มลู ในตาราง การวัดและการให Label บน Balloon เปนตน

Icon ฟง กชนั การใชง าน
Identify Features คาํ สั่งในการดูขอมูลบรรยายของจดุ เสน รูปปด ท่ีคลิกเลอื ก

Run Feature Action คําส่งั การดาํ เนินการทํางานขอมลู

Select Features by คาํ ส่ังในการเลือกขอมลู
Area/Radius คาํ สั่งการเลือกใชก ารแสดงขอมูล
Select feature using คําสงั่ ยกเลกิ การเลือกขอมูลจากทุกชั้นขอมูล
an expression
Deselect Features
from All Layers

Open Attribute Table คาํ สั่งในการเปดตารางคุณลักษณะชดุ ขอมูลทง้ั หมด

Open Field Calculator คาํ สั่งในการเปดตารางคาํ บรรยายของชดุ ขอ มลู ท้งั หมด

Show Statistical คําส่ังในการคํานวณคาของตารางคุณลกั ษณะชดุ ขอมลู
summary

Measure Line การวัดระยะทางในแผนท่ี

Map Tips คาํ สงั่ ในการนาํ ขอมลู ในตารางแสดงผลแผนที่ ในลักษณะ
ของ Balloon

Text Annotation กลมุ เคร่ืองมือในการสรา ง ปรับปรงุ และแกไ ขกลอ งขอความ

 ๒๓ 

- 23 -

เมนูแกไ ขขอมูล (Digitizing Toolbars) เปนกลุมของเคร่ืองมือ สําหรับสราง แกไข
ปรับปรุงขอมูลเชิงเสน จะใชสาํ หรับแกไขขอมูล เชน การเพิ่มขอมูล การเลอ่ื นขอมลู การแกไขขอ มลู
การลบขอ มูล การตดั ขอมูล การสําเนาขอ มลู การวางขอมูลสําเนา

Icon ฟงกชัน การใชงาน
Current Edits คาํ สงั่ เลอื กแกไขขอ มลู ปจ จุบนั
Toggle editing
Save Layer Edits คาํ สั่งเร่มิ เขาสู การปรับปรงุ แกไ ข หรือสรา งขอมูล
Add Feature
Add circular string คาํ ส่ังการบันทึกชั้นขอมลู ทแ่ี กไข
Move Feature
Node Tool คําส่งั การนาํ เขา ขอมลู
Delete Selected
Cut Feature คําส่ังในการสรางเสนโคง
Copy Feature คําสั่งในการยายตําแหนงที่เลือกทั้งหมดของจุด เสน
Paste Feature หรือรปู ปด
คําสง่ั ในการยา ย Node ของจุด เสน หรือรูปปด เพ่ือแกไข
รปู รา งของ Feature
คําสั่งในการลบ จดุ เสน หรือรปู ปด ที่ไดเ ลอื กไว
คาํ สงั่ ในการลบและจดั เก็บในหนวยความจํา เพ่ือรอการนํา
ไปวางของจดุ เสน หรือรูปปด ทีไ่ ดเ ลือกไว
คาํ สง่ั ในการทาํ สําเนา จุด เสน หรือรปู ปด ทไ่ี ดเ ลือกไว
คาํ สั่งในการวาง คําสั่งในการลบ จุด เสน หรือรูปปด
ทีไ่ ดเ ลือกไว จากสําเนาทีเ่ กบ็ ไวใ นหนวยความจาํ

 ๒๔ 

- 24 -

เมนจู ัดการชนั้ ขอ มูล (Manage Layer Toolbar) เปนกลุมของเคร่ืองมือ แสดงคําส่ัง
ของโปรแกรม สาํ หรับเพิม่ จัดการ สรา ง ขอมลู เชงิ พืน้ ทีท่ ั้งทเี่ ปน ขอมลู เชงิ เสน และขอมูลเชิงภาพ การเรียก
ใชง านแถบเมนู ทาํ ไดโดยการเลื่อนเมาสมาวางที่ชื่อเมนูท่ีตองการเปด แลวเล่อื นเมาสไปตามรายการ
คําส่งั เม่อื ตองการใชคาํ สั่งใดๆ ใหคลิกไปท่คี าํ ส่ังน้ัน โปรแกรมก็จะทาํ การเรียกใชงานคาํ สั่งนั้น ๆ

Icon ฟง กชัน การใชง าน
Add Vector Layer การเพ่มิ ขอ มูลเชงิ เสน ในรปู แบบการจดั เกบ็ Format ตางๆ

Add Raster Layer การเพ่ิมขอมูลภาพเชิงตัวเลข ในรูปแบบการจัดเกบ็ Format ตางๆ

Add SpatialLite Layer การเพิ่มขอมลู เชิงเสน จากฐานขอ มลู เชงิ พนื้ ท่ี SpatialLite

Add PostGIS Layers การเพ่ิมขอ มูลเชงิ เสน จากฐานขอมูลเชิงพน้ื ท่ี PostGIS

Add Oracle GeoRaster การเพมิ่ ขอมูลชนิด Oracle GeoRaster
Layer

Add WCS Layer การเพิ่มขอมลู ชนิด WCS

Add WFS Layer การเพ่มิ ขอ มูลชนิด WFS

Add Delimited Text การนาํ เขา ขอ มูลพิกัดจากเอกสาร
Layer

Add/Edit Virtual Layer การเพม่ิ /แกไขชน้ั ขอมลู Virtual

New Shape File Layer การสรา ง Shape File ใหม

Create New GPX การสรา ง GPX Layer ใหม
Layer

Add Oracle GeoRaster การนาํ เขา GeoRaster Layer จากฐานขอ มูล Oracle
Layer

- 2 ๒5๕- 
หนา ตางแสดงชน้ั ขอมลู (Layer Windows) คือ หนาตางแสดงช้ันขอมูล ที่ใชในการเรียงลําดับการแสดง
ช้ันขอ มูล โดยทํางานเหมอื นการซอนแผนใสขอมลู แผนทผี่ านเคร่ืองฉาย ซ่ึงเปนขอมูลเชิงพ้ืนที่ ทั้งที่เปน
ขอมูลเชิงเสน และขอ มลู เชิงภาพ

 -๒2๖6 -

หนาตางแสดงผลลัพธ (Map Display) คือ หนาตางแสดงผลลัพธของชั้นขอมูลที่เรียงซอนกัน
เปรียบเสมอื นภาพฉายที่แสดงผลจากการซอนแผนใสขอมูลแผนที่ผานเคร่ืองฉาย ซึ่งเปนขอมูลเชิงพ้ืนที่
ทั้งทีเ่ ปน ขอมลู เชงิ เสน และขอมูลเชิงภาพ
มาตราสวนแผนที่ (Map Scale) คอื อตั ราสว นระหวา งระยะทางที่ยอสวนมาลงในแผนท่ีกับระยะทางจริง
ในภมู ิประเทศ มาตราสวนจะชวยใหผูใชทราบวา แผนท่ีน้ันๆ ยอสวนมาจากสภาพในภูมิประเทศจริง
ในอตั ราสวนเทา ใด
ระบบพิกัด (Project Properties) คือ พิกัดหรือตําแหนงอางอิงทางภูมิศาสตร แสดงผลในรูปแบบ
มาตรฐานรหัสพ้ืนหลักฐานแผนท่ี และการฉายแผนท่ี เชน EPSG:24047 คือ ระบบพิกัด Indian 1975
ยู ที เอ็ม โซน 47N

 ๒๗ 

- 27 -

๔. การกําหนดระบบพิกัดอางอิง (Coordinate Reference Systems : CRS)
เมือ่ เร่มิ การใชงานโปรแกรม QGIS ควรกําหนดระบบพิกัดอางอิงเริ่มตนใหกับโปรแกรมกอน

เพื่อความถกู ตอ งในการแสดงผลของขอมูล สําหรับขอมูลระวางแผนท่ีรูปถายทางอากาศเชิงเลข มีระบบ
พิกัดฉาก ยู ที เอ็ม พื้นหลักฐาน Indian 1975 หรือรหัสมาตรฐาน EPSG:24047 มีขั้นตอนวิธีการ
กาํ หนดคา ดงั น้ี

๑. เปดโปรแกรม QGIS จะปรากฏหนาเรมิ่ ตนของโปรแกรม

1

 ๒๘ 

- 28 -

๒. ไปทีแ่ ถบ Menu Bar กดเลอื กที่ Settings จากนัน้ เลือกท่ี Options…



๓. จะปรากฏหนาตา ง Option ขึ้นมา เลือกแถบ CRS
๔. กดท่คี าํ สั่ง Selected CRS




 ๒๙ 

- 29 -

๕. เลอื กระบบพิกดั อางอิงทตี่ องการ หรือพิมพรหสั มาตรฐานในชอ ง Filter

๖. กด OK







 -๓3๐0 -
๗. ทาํ เครอื่ งหมายหนา Use a default CRS แลวกดที่คําสัง่ Selected CRS



๘. เลอื กระบบพิกดั อางอิงท่ตี องการ หรอื พิมพร หสั มาตรฐานในชอง Filter
๙. กด OK






 ๓๑ 

- 31 -

๑๐. กด OK

๑๐

๑๑. ไปทแ่ี ถบ Menu Bar กดเลอื กที่ Project จากนนั้ เลือกท่ี Project Properties…

1๑

 ๓๒ 

- 32 -

๑๒. จะปรากฏหนา ตา ง Project Properties ขึ้นมา เลือกแถบ CRS
๑๓. ทาํ เครื่องหมายดา นหนา Enable 'on the fly' CRS transformation (OTF)

1๓
1๒

๑๔. เลอื กระบบพิกดั อางอิงท่ตี องการ หรอื พิมพร หัสมาตรฐานในชอ ง Filter

๑๕. กด OK  ๓๓ 

- 33 -

1๔

1๔
1๕

 ๓๔ 

- 34 -

๕. การนําเขาขอมลู ระวางแผนท่ีรูปถา ยทางอากาศเชิงเลขดวยโปรแกรม QGIS
การนาํ เขา ขอ มลู ระวางแผนท่ีรูปถายทางอากาศเชิงเลขดวยโปรแกรม QGIS เปนการนําเขา

หรอื เพ่มิ ชนั้ ขอมูลในแผนที่ ซ่ึงโปรแกรม QGIS สามารถรองรับการนําเขาขอมูลไดหลายประเภท เชน
ขอมูลเชิงเสน (Vector) ขอมูลภาพเชิงตัวเลข (Raster) ขอมูลพิกัดจากเอกสาร (Delimited Text) เปนตน
สําหรบั ในหวั ขอนี้จะเปน วธิ ีการนาํ เขา ขอมลู ระวางแผนที่รูปถายทางอากาศเชิงเลข ซึ่งเปนขอมูลประเภท
ขอมูลภาพเชิงตัวเลข (Raster) ทก่ี องเทคโนโลยีทําแผนที่ จัดสงใหสํานักงานที่ดิน ตามโครงการจัดทํา
และสงขอมูลระวางแผนท่ีภาพถายทางอากาศเชิงเลข (DMC) มาตราสวน ๑:๔,๐๐๐ ในรูปแบบดิจิทัลไฟล
ใหส ํานกั งานท่ดี นิ จงั หวดั ท่วั ประเทศ โดยมีขน้ั ตอน ดงั นี้

๑. ในหนาตา งเรม่ิ ตน ของโปรแกรม ไปท่ีแถบ Tools Bar ในสวนของเมนูจัดการชั้นขอมูล
กดเลือกฟง กชัน Add Raster Layer หรอื

1

๒. จะปรากฏหนาตาง Open a GDAL Supported Raster Data Source เลือกไฟลภาพ
ที่ตอ งการจะนําเขา ซึง่ สามารถเลอื กชนั้ ขอ มลู ภาพไดหลายนามสกุล เชน *.TIFF, *.JPG, *.SID, *.ECW เปนตน

 ๓๕ 

- 35 -

๓. กด Open

2

3

๔. ชัน้ ขอ มูลระวางแผนท่ีรูปถายทางอากาศเชิงเลข จะแสดงผลในสวนของหนาตางแสดงผล
(Map Display) ซง่ึ สามารถดูคาพิกัดตําแหนงของภาพไดท่ีสวนของ Map Coordinate และมาตราสวน
ของแผนทไ่ี ดในสวนของ Map Scale บริเวณมุมดานลาง

4

๕. จากนน้ั ทาํ การจัดเก็บขอมูลไวเปน Project เพื่อสามารถกลับมาเปดขอมูลสําหรับใชงาน
ในคร้งั ตอไป โดยไปทแี่ ถบเมนู Project เลือก Save as

-๓3๖6 -



๖. เลือกทจ่ี ัดเกบ็ ไฟลขอมลู ตงั้ ช่ือไฟล แลว กด Save



เมือ่ เสรจ็ สน้ิ ข้นั ตอนการนาํ เขาขอ มูลระวางแผนท่ีรูปถายทางอากาศเชิงเลขดวยโปรแกรม
QGIS จะได Project ท่มี ชี น้ั ขอ มลู ระวางแผนท่ีรปู ถายทางอากาศเชงิ เลข เพื่อนาํ ไปใชงานดา นอื่นๆ ตอไป

บทที่ ๔
การนําระวางแผนที่รูปถายทางอากาศเชิงเลข

ไปใชประโยชนใ นสํานักงานท่ดี นิ

การนาํ ระวางแผนที่รปู ถายทางอากาศเชิงเลข ไปใชประโยชนใ นสํานักงานท่ีดิน เปนการประยุกต
ใชระวางแผนที่ฯ กับงานดานตา งๆ ของสํานกั งานทีด่ นิ ซงึ่ ขอมูลระวางแผนที่ฯ เปนขอมูลภาพเชิงเลข
หรือแบบราสเตอร ที่มขี ัน้ ตอนการนําเขาขอมูลดังท่ีไดกลาวไวในบทท่ี ๓ สําหรับในบทน้ีจะเปนตัวอยาง
การนาํ ขอมลู ระวางแผนท่ฯี ไปใชงานรวมกับขอมูลของสํานักงานที่ดิน ไดแก ขอมูลท่ีไดจากโปรแกรม
DOLCAD การจัดทาํ รปู แผนที่ และการสง ออกขอ มลู โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี
๑. การนาํ ระวางแผนท่ีรูปถา ยทางอากาศเชงิ เลข มาใชกับงานดานรังวัด

ในหัวขอน้ีจะเปนตัวอยางการนําขอมูลท่ีไดจากโปรแกรม DOLCAD มานําเขาในโปรแกรม
QGIS เพือ่ เปดใชงานรวมกบั ขอมูลระวางแผนท่รี ปู ถา ยทางอากาศเชิงเลข โดยมีข้ันตอนการดําเนินงาน
ดงั นี้

๑.๑ การสงออกขอ มูลจากโปรแกรม DOLCAD เปน Shape Files
๑. เปดโปรแกรมคาํ นวณรงั วดั (DOLCAD) ขึ้นมา



๒. กดคน หางาน  -๓3๘8 -
๓. จากน้ัน กด จะปรากฏหนาตาง SVCPINF002 (คนหางานรังวดั ) ขึ้นมา




๔. เลือกงานทต่ี องการ
๕. จากนน้ั กด




- 39๓๙- 
๖. จะปรากฏงานท่ีตองการขนึ้ มา จากน้นั กดฟงกช ัน นาํ เขา /สงออก

๖๖

๗. จะปรากฏหนาตาง SVCPINF003 (นําเขา/สงออก ขอมูล) ขึ้นมา จากนั้น
กด



-๔4๐0 -

วนั ท่ีรบั เรือ่ ง ๘. จะปรากฏหนา ตา งสงออกขอมูลงานรังวัด กดทําเคร่ืองหมายหนา ลําดับท่ีรับเร่ือง_
๙. จากน้ัน กด




๑๐. เลือกที่เกบ็ Shape File
๑๑. จากนั้น กด Save

๑๐

๑๑

- 4 1๔๑- 
๑๒. เม่ือทําการสงออกขอมูลรูปแบบ Shape File เสร็จเรียบรอยแลว กด OK
จากน้นั ออกจากโปรแกรม DOLCAD

๑๒

จะไดขอมูลในรูปแบบ Shape File ที่ไดจากโปรแกรม DOLCAD เปนที่เรียบรอย
ตอไป จะเปนการนาํ เขา ขอ มูล ดวยโปรแกรม QGIS

 -๔4๒2 -
๑.๒ การนาํ เขา ขอ มลู ในรูปแบบขอมูลเชิงเสน (Vector) กับขอมูลระวางแผนที่รูปถาย
ทางอากาศเชิงเลข ดวยโปรแกรม QGIS

ในตวั อยางจะเปนขอมูล Shape File ท่ีไดจากโปรแกรม DOLCAD ตามหวั ขอ ๑.๑
๑. เปดโปรแกรม QGIS ไปท่แี ถบ Project กดเลือกท่ี New



๒. ไปท่แี ถบ Tools Bar กดเลือกฟง กชนั Add Raster Layer
๓. จะปรากฏหนาตาง Open a GDAL Supported Raster Data Source ใหเลือก
ไฟลภาพระวางแผนท่ีรูปถา ยทางอากาศเชงิ เลข (Raster) ทตี่ อ งการ
๔. กด Open





-4๔3๓-
๕. ตรวจสอบดูวา อยูในพิกัดฉากอางอิงที่ตองการหรือไม โดยไปท่ีแถบระบบพิกัด
(มุมลางขวา) ถา ไมใช ใหคลิกทตี่ ําแหนง น้ี
๖. ทําเครอ่ื งหมายหนา Enable 'on the fly' CRS transformation (OTF)
๗. เลอื กพิกัดฉากอางอิงที่ตองการ สําหรับขอมูลระวางแผนที่รูปถายฯ มีระบบพิกัด
เปน
๘. กด OK





๘๕

แถบระบบพกิ ัด จะเปล่ยี นจาก .................. เปน....................................
ระวางแผนที่รูปถายฯ จะแสดงผลในหนาตางแผนท่ี ในระบบพิกัด ยู ที เอ็ม Indian 1975 จากน้ัน
จะเปน การนําเขาขอ มลู Shape File ท่ีไดจ าก DOLCAD

-๔4๔4-
๙. ไปท่ีแถบ Tools Bar กดเลือกฟง กช นั Add vector layer
๑๐. จะปรากฏหนาตา ง Add vector layer ขน้ึ มา ใหท าํ เคร่ืองหมายท่หี นา File
และเลอื ก Encoding ท่ตี องการ (เลอื ก TIS620 หรอื UTF8 เพอ่ื ใหอา นภาษาไทยได)
๑๑. จากน้ัน กด Browse


๑๐
๑๐๑๑๐๐
๑๑๑๑๑๑๑๑

๑๒. จะปรากฏหนาตาง Open an OGR Supported Vector Layer เลือก Shape
File ท่ีตอ งการ (ในกรณนี ้ีเลอื กเปน รูปปด Polygon)

๑๓. จากน้ัน กด Open

๑๒

๑๓

- 4 5๔๕- 
๑๔. กลับมาที่หนา ตาง Add vector layer จากนัน้ กด Open

๑๔

๑๕. จะไดรูปแปลงท่ีดินเปนรูปปด Polygon ซอนบนระวางแผนที่รูปถายทางอากาศ
เชิงเลข ดงั ภาพ

๑๕


Click to View FlipBook Version