The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการปฏิบั​ติงาน เรื่อง เทคนิคการฝึกอบรม (ปี 2556)

กองฝึกอบรม

Keywords: ด้านทั่วไป

คูมือการปฏิบัติงาน
เรื่อง เทคนิคการฝกอบรม

งานเอกสารวิชาการและพัฒนาการเรียนรู
กองฝกอบรม กรมที่ดิน
กระทรวงมหาดไทย

วา ง

คํานาํ

การฝกอบรมเปนการเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทํางานในดาน
ความรู ความเขาใจ ทักษะ และทัศนคติของผูเขารับการฝกอบรม
ใหส ามารถนาํ ไปปรบั ใชใ นการปฏบิ ตั งิ านจรงิ ไดเ ปน อยา งดี การสรา งภาวะ
การเรียนรูเพื่อเพิม่ พนู สิ่งตางๆ เหลานี้ สวนหนึ่งขึ้นอยูกับการประยุกต /
การเลือกใชเทคนิคและวิธีการฝกอบรมที่เหมาะสม อีกท้ังสอดคลองกับ
วัตถุประสงคของการฝกอบรม ซึ่งเปนเรื่องที่วิทยากรจะละเลยมิได
นอกจากนี้ นกั ทรัพยากรบุคคลผูมีหนาที่รบั ผิดชอบเกีย่ วกบั การพัฒนา
บคุ ลากรจาํ เปน ตอ งเรยี นรแู ละทาํ ความเขา ใจในเรอ่ื งดงั กลา วไดอ ยา งชดั เจน
ทั้งนี้ เพื่อสามารถกําหนดชื่อโครงการและการจัดเตรียมการฝกอบรมใน
ข้ันตอนตางๆ ไดอยางถูกตอง เหมาะสม ภายในระยะเวลาที่กาํ หนดใน
แตละโครงการฝกอบรม งานเอกสารวิชาการและพัฒนาการเรียนรู
จึงไดรวมรวบเนื้อหาเรือ่ ง เทคนิคการฝกอบรม ของ รองศาสตราจารย
วิจิตร อาวะกลุ นักวิชาการศึกษาทีม่ ีความเชี่ยวชาญในงานดา นนม้ี าเปน
หลักเพ่ือจัดทําเปนคูมือการปฏิบัติงานใหแกขาราชการกองฝกอบรมได
เรียนรู

งานเอกสารวิชาการและพฒั นาการเรียนรู กลุมงานวางแผน
และขอมูลการฝกอบรม หวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเลมนี้จะเปน
ประโยชนตอขาราชการกองฝกอบรมและผูที่สนใจ อันจะนําไปสูการ
ปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

มีนาคม ๒๕๕๖

วา ง

ความหมายของเทคนิคการฝกอบรม สารบญั
ประเภทของเทคนิคการฝกอบรม
หนา
● การบรรยายหรือการสอน ๑
● การระดมสมอง ๓
● การสัมมนา ๓
● การประชมุ ระดบั ผูนาํ หัวหนา ๔
● การประชมุ ๔
● การประชุมเพือ่ การบริหาร ๖
● การประชุมผูมีประสบการณ ๖
● การประชุมทางวิชาการ ๗
● การประชมุ ฟอรมั ๘
● การประชมุ เชิงปฏิบตั ิการ ๘
● การประชมุ กลุมยอย ๙
● การประชุมซินดิเคต ๙
● การชมุ นมุ ปาฐกถา ๑๐
● การอภิปราย ๑๑
● การอภิปรายแบบปุจฉาวิสชั นา ๑๓
● การอภิปรายกลุมยอย ๑๔
● การอภิปรายแบบซิมโพเซียม ๑๕
● การอภิปรายเปนคณะ ๑๕
๑๕
๑๖

● การสาธิต หนา
● การสาธิตวิธี ๑๗
● การสาธิตแบบแสดงผล ๑๗
● การศึกษาจากกรณีศึกษา ๑๗
● การแสดงบทบาทสมมติ ๑๘
● การศึกษาดูงานนอกสถานที่ ๑๙
● การใชกิจกรรมสําหรับการฝกอบรม ๑๙
● วอลคแรลลี่ ๒๐
๒๗
ภาคผนวก
● รูปแบบการจดั สถานที่ฝกอบรม ๓๗
● การเรียนรูของผูใหญ ๔๒

เทคนคิ การฝกอบรม ●

เทคนิคการฝกอบรม
(Techniques in Training)

การฝกอบรม (Training) หมายถึง กระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการทํางานเฉพาะดานของบคุ คล โดยมุงเพิม่ พนู ความรู (knowledge)
ทกั ษะ (skill) และทัศนคติ (attitude) อนั จะนําไปสูการยกมาตรฐานการ
ทาํ งานใหสงู ขึ้น ทําใหบุคคลมีความเจริญกาวหนาในหนาทีก่ ารงานและ
นําองคการไปสูเปาหมายที่กาํ หนดไว การฝกอบรมมีวัตถปุ ระสงคที่จะ
เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของผูเขารับการฝกอบรมใหเกิดความรู ความ
เขา ใจ เกดิ การเรยี นรจู นเกดิ การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรม การฝก อบรมนน้ั
จะประสบความสําเรจ็ ไดขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ เชน วิทยากร
เนื้อหาหลักสตู รฝกอบรม กลุมเปาหมายในการฝกอบรม เทคนิคการ
ฝกอบรม สถานที่ สิ่งอาํ นวยความสะดวก เครื่องมือเครือ่ งใชและวัสดุ
อปุ กรณ รวมท้ังโสตทัศนปู กรณ เปนตน และสวนสําคญั ยิ่งตอการ
ฝกอบรมประการหนึง่ ทีจ่ ะกลาวถึงในที่นี้ คือ เทคนิคการฝกอบรม

● ความหมายของเทคนิคการฝกอบรม

เทคนิคการฝกอบรมถือเปนเครื่องมือสําคัญในการพัฒนา
บคุ ลากร ซึ่งมีนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายไวตางๆ กัน ดังนี้

เทคนิคการฝกอบรม หมายถึง วิธีการสอนการอบรมในรปู แบบ
ตางๆ ที่จะทําใหผูเขารับการฝกอบรมเกิดการเรียนรู เกิดการ
เปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมทค่ี อ นขา งถาวรตามวตั ถปุ ระสงคข องการฝก อบรม
(วิจิตร อาวะกลุ ๒๕๔๐, ๘๘)

เทคนิคการฝกอบรม หมายถึง วิธีการถายทอดความรู ทักษะ
และทัศนคติเพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมไดเรียนรูมากที่สุดในเวลาจํากัด
(สมคิด บางโม ๒๕๕๑, ๘๕)



● เทคนคิ การฝก อบรม

เทคนิคการฝกอบรม หมายถึง วิธีการหรือเครื่องมือ หรือ
กิจกรรมที่ใชในการติดตอสื่อสาร และสื่อความหมายระหวางผูที่เปน
วิทยากรกับผูเขารับการอบรมหรือระหวางผูเขารับการอบรมดวยกันหรือ
ระหวางบุคคลอื่นที่เกี่ยวของกับการฝกอบรมในกระบวนการฝกอบรม
เพื่อกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบคุ คลดานความรู ทักษะ
และทัศนคติของผูเขารับการอบรมในระดับที่ตองการ เพื่อนําความรู
ทักษะและทัศนคติไปใชในการปฏิบัติงานใหบรรลุวัตถุประสงคอยางมี
ประสิทธิภาพ (วีระพันธ แกวรัตน ๒๕๕๕,๑)

ดงั นน้ั เทคนคิ การฝก อบรมแตล ะอยา งยอ มจะเหมาะกบั บางวชิ า
บางกลุม บางระดบั การศึกษา อายุ ฯลฯ วิทยากรผูสอนจาํ เปนตอง
เลือกใชเพื่อใหเกิดผลลพั ธทีด่ ีมากทีส่ ดุ ไมใชเคยสอนอยางไรไดผลหรือ
ไมไดผลก็ยงั ใชวิธีเดิม ไมใชวิธีการใหมๆ บาง เทคนิคการฝกอบรมมีความ
สําคัญตอการถายทอดความรูของวิทยากรซึ่งจะตองใชเทคนิควิธีการ
ตางๆ ประกอบกนั อนั จะเปน การสรางแรงจงู ใจใหเกิดการเรียนรูอยาง
มีประสิทธิภาพตรงตามวตั ถุประสงคของโครงการฝกอบรม แตผูเขารับ
การฝก อบรมสว นใหญไ มค อ ยสนใจตอ การรบั ความรเู พราะเปน ผใู หญแ ลว
ดังนั้นการศึกษาเทคนิคการฝกอบรมจึงเปนเรื่องจําเปนอยางยิ่ง
(นกั ทรพั ยากรบุคคลที่ทาํ หนาทีพ่ ัฒนาบุคลากรตองมีความรู ความเขาใจ
เกีย่ วกบั การเรียนรูของผูใหญเปนอันดับแรก ซึง่ ไดบรรจุไวในภาคผนวก)
นอกจากวิทยากรแลวนักทรัพยากรบุคคลผูมีหนาที่บริหารโครงการ
ฝกอบรมทุกระดับก็จําเปนตองมีความรูเก่ียวกับเทคนิคการฝกอบรมใน
รปู แบบตางๆ เพื่อจะไดนาํ มาประยุกตใชในการจดั การฝกอบรมไดอยาง
ถกู ตอง เหมาะสมและเกิดประโยชนอยางเต็มที่ มีผลดีกวาการฝกอบรม
ที่นาํ เทคนิคการฝกอบรมแบบเดียวมาใชเหมือนทว่ั ๆ ไป



เทคนคิ การฝกอบรม ●

ประเภทของเทคนิคการฝกอบรม

เทคนิคการฝกอบรมมีการจาํ แนกออกเปน ประเภทได ดังนี้

● การบรรยายหรือการสอน (Lecture)

เปนการสอนโดยอาศัยหลักความแตกตางของความรู โดย
ผูบรรยายมีความรูสงู กวาผูเขารับการฝกอบรม ผูสอนถายทอดความรู
ใหแกผูเขารับการฝกอบรมทางเดียว มีลักษณะการสอนแบบบอกเลา
ทางวิชาการ เปน การสื่อสารทางเดียว และเปนการเปลี่ยนแปลงความ
รูสึกนึกคิด ความเชือ่ เพือ่ ใหเกิดการยอมรับเรือ่ งราวโดยใชการจูงใจ
ความจริง เหตุผล หลกั การทฤษฎีและวิธีการตางๆ โดยจะตองมีเอกสาร
ประกอบการบรรยาย ตาํ รา การคนควาจากแหลงตางๆ รวมท้ังการใช
สือ่ ตางๆ ประกอบ เชน รูปภาพ PowerPoint ซีดี ดีวีดี เปนตน บางคร้ัง
อาจเปดโอกาสใหผูฟง ซกั ถาม

ขอดี ไดเนื้อหาวิชาตามหัวขอที่กําหนดครบถวน การเสนอ
เนื้อหาเปน ไปตามลาํ ดบั ผูเขารบั การฝกอบรมมีโอกาสซกั ถาม ไดเนื้อหา
วิชามากในเวลาจํากดั สามารถใชกับผูเขารบั การฝกอบรมจาํ นวนมากๆ
ถาวิทยากรเตรียมตัวมาดี บรรยายดีและมีสื่อประกอบจะไดรับความ
สนใจมาก สามารถควบคมุ เวลาใหเปนไปตามกาํ หนดไดงาย

ขอจํากดั เปน การสือ่ สารทางเดียวผูฟงอาจเบื่อหนาย ดงั น้ัน
วิทยากรตองมีความรูในเนื้อหาวิชาเปนอยางดีและมีความสามารถใน
การบรรยายไดดีดวย

สถานทีแ่ ละเวลา จัดหองแบบชั้นเรียน โดยวิทยากรอาจน่ัง
หรือยืนบรรยายก็ได แตไมควรใชเวลาเกิน ๓ ช่วั โมง



● เทคนคิ การฝกอบรม

● การระดมสมอง (Brain Storming)

เปนการประชมุ กลุมเลก็ ไมเกิน ๑๕ คน เปดโอกาสใหทุกคน
แสดงความคิดเห็นอยางเสรีโดยปราศจากขอจํากัดหรือหลักเกณฑใดๆ
และไมคาํ นึงวาจะถูกหรือผิด ดีหรือไมดี ความคิดหรือขอเสนอทุกอยาง
จะถูกจดไวแลวนําไปกลั่นกรองอีกช้ันหนึ่ง ดังน้ัน พอเริม่ ประชมุ ตองมี
การเลือกประธานและเลขานกุ ารของกลุมเสียกอน โดยใหผูเขารบั การ
ฝกอบรมทุกคนเสนอความคิดเห็นแลวชวยกันสรุป

ขอ ดี ผูเขารับการฝกอบรมมีสวนรวมโดยตรง ชวยกันคิด
ชวยกันเสนอ ทาํ ใหเกิดความคิดสรางสรรค สามารถแกไขปญ หาที่เผชิญ
อยูได ทําใหไดความคิดทีห่ ลากหลายในเวลาจาํ กดั สามารถสรางความ
สนใจของผูเขารบั การฝกอบรมไดดี มีบรรยากาศเปนกันเอง

ขอ จํากดั ไดความคิดเห็นจํานวนมากแตอาจมีคณุ คานอย และ
ตอ งจาํ กดั กลมุ ผเู ขา รบั การฝก อบรมเพอ่ื ใหท กุ คนไดร ว มแสดงความคดิ เหน็
ปญ หาที่นํามาระดมสมองควรเปน ปญ หาเดียว

สถานที่และเวลา จัดทีน่ ัง่ แบบตัวยู หรือแบบวงกลม หรือแบบ
ตัววี ใหเวลาแสดงความคิดเห็นไมเกิน ๑๕ นาที ใชเวลาทั้งหมดรวมทั้ง
สรปุ ไมควรเกิน ๑ ชว่ั โมง ๓๐ นาที

● การสัมมนา (Seminar)

ในพจนานุกรมใหเขียนไดทั้ง “ม” ๒ ตัว และตวั เดียว แตมัก
นิยมใช “สัมมนา” มากกวา “สัมนา” มีลกั ษณะคลายกับการประชุม
ซินดิเคต แตมีลักษณะของการพิจารณาปญหาทีก่ วางกวาการประชมุ
แบบซินดิเคต เชน “การสัมมนาการบริหารมหาวิทยาลยั ” แตถาเปนการ
ประชมุ แบบซินดิเคตจะมุงประชุมเพือ่ แกปญหาเปนจดุ เชน การประชมุ
ซินดิเคต เรื่อง “การบริหารมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร” หรือ



เทคนิคการฝก อบรม ●

“การบริหารงานของคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร” ซึง่ ใน
การพิจารณาปญหา ตลอดจนแนวทางแกไข จะแกไขดวยสภาพปญ หา
ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเพื่อมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเทาน้ัน
ใช้แก้ไขปัญหามหาวิทยาลัยอื่นไม่ได้ผล หรือการแก้ไขปัญหาของ
คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรก็เปน เรื่องของคณะเกษตร แม
คณะอื่นซึ่งอยูในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรก็จะนําผลของการแกไข
ปญหาแบบซินดิเคตของคณะเกษตรไปแกไขไมไดผลหรือไมตรงจุด
เทากบั คณะเกษตร จะเหน็ ไดวาเปนการพิจารณาโดยเฉพาะเจาะจงที่เปน
ปญ หาของหนวยงานนั้น โดยคนของหนวยงานนั้น

จึงพอสรุปไดวา การสัมมนา (seminar) เปน การประชุมของ
ผูที่ปฏิบัติงานอยางเดียวกันหรือคลายกันแลวพบปญหาที่เหมือนๆ กัน
และรวมกันแสดงความคิดเหน็ หาแนวทางปฏิบตั ิในการแกปญ หา ทุกคน
ทีไ่ ปรวมการสมั มนาตองชวยกันพูด ชวยกันแสดงความคิดเห็น ปกติจะ
บรรยายใหความรูพื้นฐานกอน แลวจึงแบงกลุมยอย จากนั้นนาํ ผลการ
อภิปรายของกลุมยอยเสนอที่ประชมุ ใหญ มีลักษณะการดําเนินงาน ดงั นี้

๑. ประชมุ สมาชิกทั้งหมด เพื่อรับฟงนโยบาย วตั ถุประสงค
มีการใหความรูที่เกี่ยวของแกผูเขารวมสัมมนา และเริ่มการบรรยาย
อภิปราย โดยผูทรงคุณวฒุ ิหรือวิทยากร

๒. อาจมีการแบงกลุมเพื่อพิจารณาแกไขปญหาเชนเดียวกับ
ซินดิเคต หรือไมมีการแบงกลุม เมื่อประชุมใหญแลวก็เลิกไป

๓. มีลักษณะเนนเพือ่ แลกเปลี่ยน เพิม่ พูนความรู เทคนิคใหมๆ
แกสมาชิก

๔. มีปญ หาทีก่ าํ หนดไวแนนอน และเปน ปญ หาคอนขางมีระดับ
การแกไขปญหาสงู ซึ่งตองรวมมือกันหลายฝาย



● เทคนคิ การฝกอบรม

๕. เมือ่ เสร็จการสมั มนา ก็จะพิมพสรปุ ผลการสมั มนา เพื่อให
ผูที่เกีย่ วของใชเปน แนวปฏิบตั ิ หรือเสนอหนวยงานเพื่อใหรับนโยบาย
และถือเปนแนวปฏิบัติในบางเรื่องทีส่ ามารถจะปฏิบัติได

ขอดี เปนการแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณ ผูเขารวม
สัมมนามีโอกาสมีสวนรวมมาก และผลสรุปของการสัมมนานําไปเปน
แนวทางแกปญหาไดดี

ขอ จาํ กดั ทป่ี รกึ ษากลมุ หรอื สมาชกิ บางคนอาจครอบงาํ ความคดิ
ของผูอื่นไดเพราะวยั วฒุ ิหรือคณุ วุฒิหรือตาํ แหนงหนาที่การงาน ถาเวลา
จาํ กดั รีบสรุปผลอาจไดขอสรุปที่ไมนาพอใจ

สถานทีแ่ ละเวลา จดั สถานที่ในรปู การประชุมใหญและประชมุ
กลุมยอย ใชเวลาประมาณ ๑ – ๓ วนั

● การประชมุ ระดบั ผูนําหัวหนา (Convention)

เปน การประชมุ อบรมเฉพาะระดับหัวหนา เชน หวั หนากลุม
หัวหนาฝาย/งาน ผูอาํ นวยการกอง หรือผูแทน ฯลฯ เพือ่ ถกแถลงหรือ
ปรึกษาหารือเพือ่ แกไขปญ หา อภิปรายแลกเปลยี่ นวิธีการทาํ งานทเี่ กิดขึ้น
ระหวางกลุมตางๆ ทีไ่ ดเชิญเขาประชมุ ตลอดจนทราบนโยบายหรือ
วัตถุประสงคที่อาจจะมีการเปลี่ยนแปลง หรือยังไมทราบใหไดทราบ
อยางทัว่ ถึง หวั หนาที่เขาประชุมเหลานี้จะกลบั ไปดาํ เนินการ หรือชี้แจง
ตอผูใตบงั คับบัญชาอีกตอหนึง่

● การประชมุ (Meeting)

การประชุมเปนวิธีหนึ่งของการฝกอบรมในหนวยงาน ธุรกิจ
ขนาดเล็กใหญ มกั จะใชการประชมุ เปน วิธีการฝกอบรม เชน รานจําหนาย
สินคาอาหาร เครื่องดื่ม ฯลฯ มักจะใชวิธีการประชุมเจาหนาทีห่ รือ
พนักงานเกี่ยวกับวิธีการทาํ งาน กฎ ระเบียบ ขอบังคับ มีอะไรก็จะมา
พูดมาบอกหรือ ชี้แจงทําความเขาใจในการประชุม ผูจัดการหรือเจาของ



เทคนคิ การฝกอบรม ●

มกั จะเปน ประธานทป่ี ระชมุ หรอื การอบรมนน้ั ๆ จะมเี รอ่ื งราว นโยบายใหม
กจ็ ะมาพดู ในทีป่ ระชุม บางคนมีขอเสนอแนะ ความคิดเหน็ ดีๆ กจ็ ะรบั มา
ปฏิบัติ สรุปเปน มติทีป่ ระชมุ ทีท่ ุกคนตองปฏิบัติหรือทาํ ตาม แมบางคน
ไมเห็นดวย ไมเชื่อ แตกต็ องปฏิบตั ิตามเพราะเปนมติที่ประชมุ บงั คับใหเขา
ทําตาม และเขามีสวนรับรูและเขาประชมุ ดวย

นอกจากนั้น เพื่อใหการฝกอบรมโดยการประชุมไดผลยิ่งขึ้น
ผูบริหารอาจใชบทบาทการบริหารงานเขาชวย โดยอาจใช กฎ ระเบียบ
เกณฑตางๆ บงั คบั รวมท้ังมีการใหรางวัลสําหรบั ผูทาํ งานไดผลดี และ
ลงโทษผูฝาฝน หรือทาํ ผิดระเบียบ กฎเกณฑ

การพจิ ารณาใหร างวลั ลงโทษ ตอ งใหเ กดิ ความถกู ตอ งเปน ธรรม
ยุติธรรม จึงจะไดผล อาจใชวิธีใหคะแนนจากหลายๆ อยางรวมกัน เชน

คะแนนจากผูบังคบั บญั ชา
คะแนนจากเพือ่ นรวมงาน
คะแนนจากผูอาวุโส ทํางานมานาน ก็จะเปนการเพิ่มขวัญ
กําลงั ใจแกผูอาวโุ ส สงเสริมการเคารพนับถือตามลาํ ดบั ช้ัน ฯลฯ เปน ตน

● การประชุมเพื่อการบริหาร

กลาวกนั วา “แมบานที่ดีตองหม่ันลบั มีด หวั หนาที่ดีตองหมนั่
พัฒนาลูกนอง” พัฒนาลกู นองดวยการอบรมใหเขาสัมมนา ศึกษาตอ
หรือใชการประชุมเปนเครื่องมือในการอบรมพัฒนาผูใตบังคับบัญชา
ดวยการประชุมบอยๆ ไมจําเปนตองประชุมครั้งละ ๒๐ - ๓๐ คน ถามี
เรือ่ งตองปรึกษาหารืออาจประชมุ เพียง ๓ – ๔ คน บางครั้งอาจใชเวลา
๕ - ๑๐ นาทีก็พอ หรือจะใชการดื่มกาแฟไปประชุมกันไปกไ็ ด สิง่ สาํ คัญ
คือ ใหขยันประชุมเสมอๆ หากมีปญหา ตองการการกลั่นกรอง
การตดั สินใจ การระดมความคิด



● เทคนคิ การฝก อบรม

บางคนใหความเห็นวา ทานควรจะประชุมผูบริหารหรือลกู นอง
ใกลชิดทกุ วนั ประชุมผูอํานวยการกองหรือหัวหนาฝายทุกอาทิตย และ
ประชุมทกุ คนทกุ เดือนหรือสองเดือน การรูจักใชวิธีการและเทคนิคของ
การประชุมและประชุมอยูเสมอๆ ก็จะทําใหไดรับประโยชนจากการ
บริหารที่มีสวนรวม

ประชมุ บอ ยๆ กส็ ามารถพฒั นาผใู ตบ งั คบั บญั ชาได ผใู ตบ งั คบั -
บญั ชาไดรับการอบรมบอยๆ กจ็ ะกลายเปนคนเฉลียวฉลาด ทํางานเกง
ทาํ งานเปน ขึ้นได

● การประชมุ ผมู ปี ระสบการณห รอื มคี วามรอบรใู นสาขาวชิ า
(Conference)

เปน การประชมุ เพื่อหาแนวทาง คําอธิบาย ขอยตุ ิ เรื่องบางเรือ่ ง
ที่ยังหาคําตอบไมได เชน การประชุมเรื่อง “บทบาทของวิทยากร
ฝกอบรม” “แนวทางการจดั หลกั สตู รนักบริหาร” ฯลฯ ผูเขารวมประชุม
มักเปนผูที่มีความรู หรือทํางานเกี่ยวของกับเรื่องน้ัน หรือเพื่อแถลง
ผลงานใหที่ประชมุ ทราบ เพือ่ ใหความรูเพิม่ เติมแกผูเขารวมประชมุ หรือ
เพื่อแลกเปลีย่ นความคิดเห็น ปรึกษาหารือ แลกเปลีย่ นประสบการณ
ของตนกับผูอื่นที่เขารวมประชุม

● การประชุมทางวิชาการ (Institute)

เปนเทคนิคการประชุมเพื่ออบรมทางวิชาการของสถาบัน
มหาวิทยาลัย หรือสถาบันการศึกษาผูเขารวมประชุม มักเปน ผูทีม่ ีความรู
เชีย่ วชาญ มีความสามารถในทางวิชาการ หรือประกอบอาชีพดานนั้นๆ
มกั จะประชุมกันเปนสาขาวิชาไป เพือ่ เปนการแลกเปลีย่ น/ถายเท แนะนาํ
ความรู หรือเทคนิคใหมๆ ในสาขาน้ันแกผูเขารวมการประชมุ และมกั
มีผลการวิจยั ศึกษาคนควาใหมๆ มาเสนอกันเปนสวนมาก และมกั จดั



เทคนิคการฝกอบรม ●

โดยวิทยาลยั มหาวิทยาลยั โดยเรือ่ งมกั เกีย่ วของกบั สาขาวิชาที่ศึกษา
คนควาวิจยั ของหนวยงาน วิทยาลยั มหาวิทยาลัยตางๆ

● การประชุมแบบฟอรัม (Forum)

การประชมุ แบบฟอรัม (forum) เปนเทคนิคทีใ่ ชกบั การประชมุ
กลุมใหญ วิทยากรจะเปนผูพดู ใหฟงแลวเปดโอกาสใหผูเขารวมประชุม
ไดสอบถาม/แสดงความคิดเหน็ และมีสวนรวมในการฝกอบรม โดยการ
ซักถามแสดงขอเท็จจริง ปรึกษาหารือ/แสดงความคิดเหน็ กับวิทยากร

ขอดี ผูเขารับการฝกอบรมมีโอกาสรวมแสดงความคิดเห็น
วิเคราะหปญ หา เปนการกระตุนใหผูเขารับการฝกอบรมตองเตรียมตวั ให
ดียิง่ ขึ้น และมีบรรยากาศเปน กันเอง

ขอ จํากัด เวลาอาจไมพอถาเปน เนื้อหาทีผ่ ูเขารับการฝกอบรม
สนใจกันทุกคน พิธีกรและวิทยากรตองมีความรู ความสามารถดี เพราะ
ผูเขารบั การฝกอบรมบางคนอาจไมกลาพดู /แสดงความคิดเหน็ หรือ
บางคนอาจพูดเรือ่ งนอกประเดน็

สถานทีแ่ ละเวลา จดั หองแบบช้ันเรียน หรือจัดเปนรปู ตวั ยู
เวลาทีใ่ ชไมควรเกิน ๓๐ - ๔๐ นาที

● การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ (Workshop)

เปนเทคนิคการประชุมที่ตองการใหผูเขารับการฝกอบรมเกิด

ประสบการณ และเนนหนักไปในการทีผ่ ูเขารับการฝกอบรมไดปฏิบัติจริง

อาจเปนการฝกใชเครือ่ งมือใหมๆ ประชุมเพือ่ ชวยกนั สรางคูมือ หรือ

ประชุมเพื่อสรางอุปกรณตางๆ เปน ตน การปฏิบัตินิยมใหรวมกันเปน

กลุมยอย ๆ มากกวาปฏิบัติเปนกลุมใหญหรือรายบุคคล เชน “การประชุม

เชิงปฏิบัติการการทาํ โปรแกรมคอมพิวเตอร” เปนตน คือ ตองการเนน

หรือมีชัว่ โมงทางการปฏิบตั ิมากกวาการบรรยายทวั่ ไป ซึ่งมีลกั ษณะการ

ดําเนินการ ดงั นี้ ๙

● เทคนคิ การฝกอบรม

ข้ันที่ ๑ บรรยายใหความรู เพื่อปูพื้นฐานใหเขาใจตรงกัน
ใชเวลาไมเกินรอยละ ๒๐ ของเวลาประชมุ

ขน้ั ที่ ๒ แบงกลุมยอยมอบหมายงานใหทํา
ข้นั ที่ ๓ ทุกกลุมลงมือปฏิบตั ิงานตามที่กําหนด
ขนั้ ที่ ๔ รายงานผลการปฏิบตั ิงานในทีป่ ระชุมใหญ
ข้ันที่ ๕ ถาเปนเอกสาร ใหรวบรวมจัดพิมพเปน เลม ถาเปน
วัตถุสิ่งของหรือเครื่องมืออาจเก็บไวที่ศูนยฝกอบรมหรือมอบใหผูเขารับ
การฝกอบรมนาํ ไปใชในหนวยงานของตน
ขอดี ผูเขารับการฝกอบรมมีโอกาสรวมในการประชุมทําให
ไมเบื่อหนาย
ขอจํากัด ผูเขารับการฝกอบรมตองทุมเทเวลาใหแกงานมาก
และเปน กิจกรรมทีใ่ ชงบประมาณมาก ในบางคร้ังตองใชอาคารสถานที่
และใชวัสดอุ ปุ กรณมาก
สถานที่และเวลา จัดแบบช้ันเรียนในการบรรยาย แลวจดั
เปน วงกลมหรือตัวยใู นการประชุมกลุมยอย หรือลกั ษณะอื่นตามความ
เหมาะสมของการปฏิบัติ ใชเวลา ๓ - ๕ วนั

● การประชุมกลุม ยอ ย (Buzz Session)

การประชมุ กลุมยอย (Buzz session) บางคร้ังเรียกวาบซั ซกรุป
(Buzz group) หรือฟลลิป ๖ - ๖ (Phillip ๖ – ๖) เปนการแบงผูเขารบั
การฝกอบรมเปนกลุมยอยจากกลุมใหญ กลุมยอยละ ๒ - ๖ คน เพื่อ
พิจารณาประเด็นปญ หา อาจเปนปญหาเดียวกันหรือตางกนั ในชวงเวลา
ทีก่ าํ หนด มีวิทยากรคอยชวยเหลือทกุ กลุม แตละกลุมตองเลือกประธาน
และเลขานุการของกลุมเพือ่ ดําเนินการ แลวชวยกนั วิเคราะหปญหาทีไ่ ด
รบั มอบหมาย นาํ ความคิดเห็นของกลุมเสนอตอทีป่ ระชุมใหญ สําหรบั

๑๐

เทคนคิ การฝกอบรม ●

การประชุมแบบฟลลิป ๖ - ๖ น้ัน เปน การจดั กลุมยอยอยางรวดเรว็
โดยผูเขารบั การฝกอบรมที่นงั่ อยูในหองประชมุ แถวหนา ๓ คน ยกเกาอี้
หนั กลบั ไปหาผูนงั่ แถวหลังตน ๓ คน รวมกลุมกันเปน ๖ คน ใหเวลา
ปรึกษากนั ๖ นาที แลวสลายกลุมกลับที่เดิม ซึง่ ถือเปนเทคนิคการ
ฝกอบรมโดยใชผูเขารับการฝกอบรมเปน ศนู ยกลางการเรียนรู

ขอดี เปดโอกาสใหทุกคนแสดงความคิดเห็น บรรยากาศ
เปนกนั เอง

ขอ จาํ กดั การประชมุ กลมุ ยอ ยในหอ งเดยี วกนั อาจทาํ ใหเ กดิ เสยี ง
รบกวนกัน ประธานที่เลือกไดอาจไมมีลกั ษณะผูนาํ ดําเนินการประชมุ
ไมดีทําใหผูรวมการประชมุ ขาดการแสดงความคิดเหน็ บางกลุมอาจได
ความคิดเหน็ นอย บางกลุมอาจใชเวลามากทําใหควบคมุ เวลาไดยาก

สถานที่และเวลา จัดที่นงั่ แบบวงกลมหรือสี่เหลีย่ ม เวลาแสดง
ความคิดเหน็ ไมควรเกิน ๓๐ นาที ใชเวลาทั้งหมดรวมท้ังแสดงความ
คิดเห็นและสรุปไมเกิน ๒ ชว่ั โมง หรือมากกวานั้น ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับ
จาํ นวนกลุมและขอปญหา

● การประชมุ ซินดิเคต (Syndicate)

เปน การประชมุ แบบหนึง่ ที่ใชเพื่อการอบรมพัฒนาบุคคล และ
แกไขปญหาที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงของหนวยงานหรือสถาบันแหงนั้น
โดยสมาชิกในหนวยงานนั้นมีลักษณะสาํ คญั ดงั นี้

๑. มีการใหความรูโดยวิทยากร หรือมีกิจกรรมปฏิบัติรวมกนั
ในเรือ่ งเดียวกนั เชน เรื่องปญหาการทาํ งาน ฯลฯ ผูเขารวมประชุมมี
ประสบการณและภูมิหลังในหนวยงานนั้นรวมกนั

๒. การแบงกลุมเพื่อแกไขปญหาในแตละเรื่องตามความสนใจ
ของสมาชิก หรือโดยผูดาํ เนินการ ประชุมพิจารณาจัดกลุมเอง ซึ่งกลุม

๑๑

● เทคนคิ การฝกอบรม

ซินดิเคตหนึ่งๆ ควรจะมีจาํ นวน ๖ - ๑๒ คน เพื่อใหมีโอกาสแสดงความ
คิดเหน็ ไดทั่วถึง แตละกลุมควรใหมีจํานวนใกลเคียงกนั อยาใหแตกตาง
กันมาก โดย

๒.๑ การกาํ หนดปญ หา คณะเจา หนา ทซ่ี ง่ึ ดาํ เนนิ การจะเปน
ผูกําหนดปญหาหรือใหที่ประชุมใหญชวยกําหนดปญหาแกกลุมใน
การพิจารณา

๒.๒ ถาผูรวมประชุมมีจํานวนมากหรือมีปญหาหลาย
เรือ่ งทีจ่ ะตองพิจารณา จะทาํ ใหการพิจารณาของกลุมซินดิเคตเปนไป
อยางลาชา กลุมซินดิเคตกลุมหนึง่ ๆ ควรจะไดรบั ปญ หาหรือเรือ่ งทีจ่ ะ
พิจารณาไมควรใหมากเกิน ๒ หวั ขอ

๒.๓ การพิจารณาปญหาขอขัดของหรือเรื่องภายในกลุม
ซินดิเคต ควรแยกประเดน็ เปน หัวขอ เพื่อสะดวกในการนําการอภิปราย
เขาสูการแกไขปญหาไดตรงจุด ดังนี้

๑) สภาพและขอบเขตของปญหา
๒) สาเหตหุ รือมลู เหตุที่ทําใหเกิดปญ หา
๓) แนวทางแกไขปญหา
๔) ขอเสนอแนะของกลุม (ถามี)
การพิจารณาตามขอ ๑, ๒, ๓ และ ๔ จะตองทาํ อยางละเอียดและ
กวางขวางมากทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะทําได ในระยะเวลาทีก่ าํ หนดให ในกรณีที่
จําเปนจะตองคนควาเอกสารหรือสัมภาษณบุคคลบางคนเพื่อใหได
ขอเทจ็ จริงบางประการประกอบการพิจารณา ประธานอาจมอบหมายให
สมาชิกแตละคนในกลุมไปดาํ เนินการได
๒.๔ กลมุ ควรมวี ทิ ยากรหรอื ผทู รงคณุ วฒุ คิ อยชว ยใหค วามรู
หรือขอเทจ็ จริงทีก่ ลุมอาจไมทราบ หรือในกรณีที่กลุมอาจเขาใจผิดและ

๑๒

เทคนิคการฝกอบรม ●

พิจารณาไมถูกตองตามขอเทจ็ จริง กลุมตองเลือกประธาน เลขานกุ าร
หรือตาํ แหนงอืน่ ตามความจาํ เปนเพือ่ ชวยดาํ เนินการประชุม ตลอดจน
รวบรวมขอยตุ ิหลังจากการพิจารณาของกลุมเพื่อนาํ เสนอทีป่ ระชุมใหญ

๓. มีการประชุมใหญหรือประชุมรวมภายหลังจากทุกกลุม
ซินดิเคตไดประชมุ เสร็จ เพื่อใหประธานหรือเลขานกุ ารของแตละกลุม
ไดรายงานผลการประชุมใหที่ประชุมใหญไดชวยแกไขเพิ่มเติมกอนที่จะ
รวมผลของทุกกลุม เพื่อเปนขอเสนอของทีป่ ระชมุ ทั้งหมด

● การชมุ นมุ ปาฐกถาหรอื การประชมุ ทางวชิ าการ (symposium)

เปนการบรรยายแบบมีวิทยากรหรือผูเชี่ยวชาญประมาณ
๒ – ๖ คน และบรรยายใหฟง ทีละคน การชุมนุมปาฐกถามีลกั ษณะคลาย
การอภปิ รายเปน คณะ แตเ นน หวั ขอ วชิ าเปน สาํ คญั มพี ธิ กี รเปน ผดู าํ เนนิ การ
อภิปรายและสรปุ การบรรยาย เมือ่ เสร็จสิ้นการบรรยายจะเปดโอกาสให
ผูฟงซกั ถามปญ หาตางๆ ได

ขอดี ทําใหผูเขารับการฝกอบรมไดรับความรูจากวิทยากร
หลายคนหลายดา น ไมน า เบอ่ื เพราะฟง จากวทิ ยากรหลายคน การบรรยาย
ใชเ วลาสน้ั ๆ ทาํ ใหไ ดเ นอ้ื หาตรงตามหวั ขอ วชิ า วธิ นี ส้ี ามารถใชก บั การ
ฝกอบรมที่มีจํานวนผูเขารับการฝกอบรมจาํ นวนมากๆ ได

ขอจาํ กัด วิทยากรแตละคนอาจบรรยายทัศนะแตกตางกัน
ออกไป ยากแกการสรุปใหตรงตามหัวขอวิชา ผูฟงอาจเบื่อหนาย
ถาวิทยากรบรรยายไมดี เพราะเปน การสื่อสารทางเดียว วิทยากรมีเวลา
จาํ กดั การบรรยายอาจไมชดั เจนพอ

สถานที่และเวลา จัดหองแบบชั้นเรียนโดยใหวิทยากรนั่ง
สูงกวาผูเขารบั การฝกอบรม พิธีกรนง่ั กลางควรใชเวลาไมเกิน ๓ ช่ัวโมง

๑๓

● เทคนคิ การฝก อบรม

● การอภิปราย (Discussion)

เปนเทคนิคการฝกอบรมเพื่อใหความรูโดยการแลกเปลี่ยน
ประสบการณของผูเขารวมการฝกอบรม สามารถแสดงความคิดเหน็ ได
อยางเสรี ขอยุติเปนประโยชนในการเพิ่มพูนความรู ความเขาใจ
ตลอดจนการเรียนรูที่กวางขวางตามวัตถุประสงคและกรอบที่กําหนด
โดยมีผูนําอภิปราย (Leading Discussion) ซึ่งตองมีความรู ความสามารถ
เปนอยางดี

ความรูที่เกิดจากประสบการณการทาํ งานในหนวยงาน ซึง่ มี
เทคนิครายละเอียดปลีกยอยที่แตละคนไดประสบมา ยอมมีคณุ คาตอ
การถายทอดแลกเปลี่ยนใหแกกันและกันของผูปฏิบัติงานเปนอยางยิ่ง
ซึ่งการอภิปรายเทานั้นที่จะสามารถดึงประสบการณ ความรู ความคิด
ออกมาจากตัวผูปฏิบัติงาน

การอภิปรายจึงมักใชกันกับกลุมที่มีความรูและประสบการณ
จาํ นวนระหวาง ๑๕ - ๒๐ คน ไมควรเกิน ๒๕ คน ขอมูลขาวสารจะ
มาจากผูนาํ อภิปราย และสวนมากภาคปฏิบัติ / ประสบการณจะมาจาก
ผูอภิปราย ผลการอภิปรายมักไมมีการลงคะแนนเสียง แตมีลักษณะ
สรุปขอเสนอแนะตางๆ จดบนั ทึก รวมท้ังการเกบ็ รักษาความทรงจาํ จาก
ถอยคาํ และการอภิปรายในกลุมไวเพื่อพัฒนาตนเอง

การนําอภิปรายจึงเปนการเรียนรูจากประสบการณรวมกันหรือ
จากประสบการณโดยเฉพาะของผูอื่นมาเปนสิ่งพัฒนาตนเองและพัฒนา
งานที่ตนทาํ ผูนําการประชมุ จึงตองมีความสามารถในการทีจ่ ะไมทําให
เกิดการขัดแยง และสามารถดึงประสบการณจากผูเขารวมประชมุ มาให
เกิดประโยชนไดมากที่สดุ เทาทีจ่ ะทําได

๑๔

เทคนคิ การฝกอบรม ●

● การอภิปรายแบบปจุ ฉาวิสัชนา (Colloquy)

เปนการอภิปรายปญหาที่มีลักษณะที่ผูอภิปรายมีฝายหนึ่ง
ถามปญหา ฝายหนึ่งตอบ อาจเปนฝายละ ๒ - ๓ คน ซึ่งผูตอบมักเปน
ผูเชี่ยวชาญ มีลักษณะเหมือนการพดู คุยกัน ไมเปน ทางการเหมือนการ
อภิปรายอยางอื่น มีลกั ษณะใหผูฟงไดมีสวนรวมมากๆ บรรยากาศเปน
กันเอง

● การอภิปรายกลุมยอย (Group Discussion)

เปน การประชมุ กลุมยอยต้ังแต ๖ – ๒๐ คน ในเรื่องที่กําหนดให
หรือเปนเรือ่ งที่นาสนใจ เพือ่ สรปุ ผลแนวทางแกปญ หา แสวงหาขอยตุ ิ
ภายใตการนาํ ของประธานกลุม มีเลขานกุ ารเปน ผูบันทึก และสรปุ ขอ
เสนอแนะ เหมาะกบั เรอ่ื งใหญท ม่ี หี วั ขอ ยอ ยทต่ี อ งการแกป ญ หาหลายเรอ่ื ง
เชน “ปญหาการทองเทีย่ ว” อาจแบงกลุมยอยพิจารณาในเรือ่ งของ

๑. เรื่องทีพ่ ักและโรงแรม
๒. การบริการนักทองเที่ยว
๓. สถานทีเ่ ทีย่ ว
๔. รานขายของทีร่ ะลึก
๕. ความปลอดภยั ของนกั ทองเที่ยว ฯลฯ

● การอภิปรายแบบซิมโพเซียม (Symposium)

การอภิปรายแบบนี้คลายกับการอภิปรายหมู โดยผูทรงคณุ วฒุ ิ
หลายคน วิธีการคือ ทกุ คนพูดเรื่องเดียวกนั แตแบงกันพูดคนละตอน
เชน ถาพูดเรือ่ ง “ออย” คนที่หนึง่ อาจพดู เรื่องพนั ธุออย คนที่สองพูด
เรื่องการปลูก คนทีส่ ามพูดเรื่องปุยและการเก็บเกี่ยว เปน ตน โดยมี
ผูดาํ เนินการอภิปราย (Moderator) เปนผูคอยเชือ่ มโยงและประสานเรื่อง
ใหผูฟง เขาใจดีขึ้น

๑๕

● เทคนคิ การฝกอบรม

การอภิปรายนี้จะทําให้ผู้ฟังไม่เบื่อเหมือนการบรรยายที่มี
ผูบรรยายคนเดียวตลอดเวลา หรือหากเปน การบรรยาย ๓ คน ถาให
บรรยายคนละ ๒ ชวั่ โมง จะตองใชเวลาถึง ๖ ช่ัวโมง แตถาเปนการ
อภิปรายแลวท้ัง ๓ คน อาจใชเวลาเพียง ๑.๕ - ๒ ช่ัวโมง เปน การตัด
การยืดเยื้อของเรื่อง และเวลาอบรมใหกระชับและสั้นเขา บางครั้งตองใช
เวลาอบรม ๗ วัน ก็อาจใชเพียง ๓ - ๕ วัน ประหยัด และไมนาเบื่อหนาย

● การอภิปรายเปนคณะหรือโดยผูทรงคุณวุฒิหลายคน
(Panel Discussion)

การอภิปรายที่มีผูอภิปรายระหวาง ๓ - ๔ คน รวมทั้งมีผูนํา
อภิปรายคอยสรุปและเชื่อมโยงเรื่องราวของวิทยากรแตละคนใหผูฟง
เขาใจดียิง่ ขึ้น โดยวิทยากรจะใหขอเทจ็ จริง ความคิดเหน็ ปญ หา อุปสรรค
และแนวทางแกไข

ขอดี ผูเขารับการฝกอบรมจะไดรับความคิดเหน็ ของผูอภิปราย
หลายคน ทาํ ใหเกิดการเรียนรูอยางกวางขวาง และการอภิปรายเปน
กิจกรรมทีด่ ึงดูดความสนใจไดดี ไมนาเบื่อหนาย มีบรรยากาศที่เปน
กนั เอง ผูฟงมีโอกาสซักถามได นอกจากนี้ยังเหมาะสําหรับการฝกอบรม
ทีม่ ีผูเขารบั การฝกอบรมจาํ นวนมากๆ ดวย

ขอจํากัด ผูอภิปรายเสนอความคิดเห็นไมเต็มที่เพราะระยะ
เวลาส้ัน ถาผูอภิปรายมีความรูนอยประสบการณนอยจะไมเกิดประโยชน
เทาทีค่ วร การควบคุมการอภิปรายและการรักษาเวลาทําไดยากบางคร้ัง
อภิปรายนอกเรื่องมากเกินไป ทาํ ใหเปน ภาระของพิธีกรในการควบคมุ
การอภิปราย

สถานที่และเวลา จัดหองแบบชั้นเรียน โดยจดั ทีน่ ่งั ใหวิทยากร
สูงกวาผูฟง เพือ่ จะไดเห็นผูฟง ชัดเจน และพิธีกรนัง่ กลาง ไมควรใชเวลา
เกิน ๓ ชวั่ โมง

๑๖

เทคนคิ การฝกอบรม ●

● การสาธิต (Demonstration)

เปนการแสดงใหผูเขารับการฝกอบรมไดเห็นการปฏิบัติจริง
ซึ่งการกระทาํ หรือปฏิบัติจริงจะมีลกั ษณะคลายการสอนงาน การสาธิต
นิยมใชกับหัวขอวิชาที่มีการปฏิบตั ิ เชน การฝกอบรมเกี่ยวกบั การใช
เครือ่ งมือหรืออปุ กรณตางๆ นาฏศิลป และขับรอง

● การสาธิตวิธี (Method Demonstration)

เปนการนําเอาของจริงมาแสดงวิธีทําใหผูเขารับการฝกอบรม
เหน็ กระบวนการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน วิธีการใชเครื่องมือตองจดั ให
ผูเขารับการฝกอบรมเห็นการทําอยางชัดเจน เหมาะกับกลุมเล็กๆ
เหมาะกบั งานทต่ี อ งปฏบิ ตั ิ ซง่ึ ใชก ารบรรยายไมไ ดผ ล หรอื อาจใชป ระกอบ
การบรรยาย การอภิปราย หลังจากน้ันควรมีการใหฝกปฏิบัติจริง
โดยการใชบทบาทสมมุติดวยก็ได

● การสาธิตแบบแสดงผล (Result Demonstration)

ตางกับการสาธิตวิธีทีไ่ มตองแสดงวิธี ข้ันตอนการทําใหเห็น

มีลักษณะการจูงใจใหดําเนินการโดยปฏิบัติตาม เชน การอบรม

การเลี้ยงปลา แลวนาํ ชมบอปลา หรือการทาํ ความสะอาดสถานที่ทีช่ ้ัน ๑

ของโรงเรียน ก็นําชมบริเวณดังกลาวเพื่อใหผูเขาอบรมไดเห็นวา

ที่วาสะอาดน้ัน สะอาดอยางไร เรียบรอยอยางไร เปน การไดทัศนศึกษา

ไปในตัวดวย

ขอ ดี เกิดความรู ความเขาใจไดเร็ว และมีความนาเชื่อถือสูง

เพิ่มทักษะของผูเขาอบรมไดดี ไมเบื่อหนาย สามารถปฏิบตั ิไดหลายครั้ง

ขอจาํ กดั ตองใชเวลาเตรียมการมาก เหมาะกบั การฝกอบรม

กลุมเล็กๆ วิทยากรตองมีความชํานาญจริงๆ และตองไมพลาด

สถานทีแ่ ละเวลา จัดทีน่ ่งั เปนรปู วงกลมหรือตวั ยู และเวลาที่ใช

ไมควรเกิน ๒ – ๓ ช่ัวโมง ๑๗

● เทคนิคการฝกอบรม

● การศึกษาจากกรณีศึกษา (Case Study)

เปนการศึกษาเรื่องราวที่รวบรวมจากเหตุการณที่เกิดขึ้นจริง
นาํ มาเขียนเปน เรื่อง เปลีย่ นชือ่ คน สถานที่ ทั้งนี้ เพื่อใหผูเขารับการ
ฝก อบรมตดั สนิ ใจแกป ญ หาตา งๆ ภายใตส ถานการณท ใ่ี กลเ คยี งความจรงิ
มากทีส่ ุด ทาํ ใหเกิดประสบการณทางออม โดยตองศึกษาถึงรายละเอียด
ลองวิเคราะหปญ หาวาเกิดจากอะไร จะแกอยางไร ตดั สินใจอยางไร
ภายใตการแนะนาํ ชวยเหลือจากวิทยากร อาจใชเทคนิคนี้สลับวิธีการอื่น
เชน การบรรยาย เมือ่ บรรยากาศเริ่มงวงเหงาหาวนอน ฯลฯ การศึกษา
กรณีศึกษาอาจใหศึกษาเปนรายบคุ คลหรือเปน กลุมเลก็ ๆ กไ็ ด

ขอดี ชวยใหผูเขารับการฝกอบรมไดวิเคราะหตัดสินปญหา
ในเรื่องที่เหมือนจริงและสามารถนําไปปรับใชกับการปฏิบัติงานได
กรณีศึกษาเปนกิจกรรมที่มีบรรยากาศเปนกันเองเพราะทุกคนมีโอกาส
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ

ขอจาํ กดั สมาชิกบางคนอาจครอบงําความคิดของผูอื่นเพราะ
บคุ ลิกภาพ วัยวฒุ ิหรือคุณวุฒิ กรณีศึกษาทีเ่ ปน เรือ่ งจริงหาไดยาก
โดยเฉพาะเรื่องที่เหมาะสมกับกลุมผูเขารับการฝกอบรมและเหมาะสม
กับเวลา การสรางกรณีศึกษาเปนงานที่ตองใชเวลาและงบประมาณ
ตอนสรุปผลกรณีศึกษาวิทยากรมักไมไดใหความสําคัญและรีบสรปุ จบ

สถานที่และเวลา จัดทีน่ ่งั แบบวงกลม หรือสีเ่ หลี่ยม หรือเปน
รูปตวั ยู และเวลาที่ใชไมควรเกิน ๑ - ๒ ชั่วโมง

๑๘

เทคนคิ การฝกอบรม ●

● การแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing)

เปนการใหผูเขารับการฝกอบรมแสดงบทบาทในสถานการณที่
เหมือนจริง อาจแบงเปน กลุมยอย โดยกําหนดโครงเรื่องและใหผูแสดง
คิดคําพดู ไปตามทองเรื่องและบทบาทที่กาํ หนด เสรจ็ แลวใหผูดูวิเคราะห
เสนอแนวทางแกป ญ หา วธิ นี เ้ี หมาะกบั กลมุ ทก่ี ลา แสดงออกและมวี ฒุ ภิ าวะ
เพียงพอที่จะวิเคราะหตรวจสอบและแกปญหา อาจใชเทคนิคอื่นๆ
ประกอบดวยก็ได

ขอ ดี กระตุนใหผูเขารับการฝกอบรมสนใจ ทําใหไดแนวทางที่
จะนาํ ไปแกปญ หาได และเปนกิจกรรมที่มีบรรยากาศเปนกันเอง

ขอจํากัด ผูเขารับการฝกอบรมบางคนไมชอบแสดงออก
บางคร้ังผูแสดงไมเขาใจบทบาททําใหไมสามารถแสดงไดตรงตามที่
กําหนด

สถานที่และเวลา จัดใหเหมาะกับสถานการณที่สมมติและ
ใหทกุ คนมองเหน็ การแสดงอยางทั่วถึง ควรใชเวลาประมาณ ๑๐ - ๓๐
นาที

● การศึกษาดงู านนอกสถานทีห่ รือทศั นศึกษา (Field Trip)

การนําผูเขารับการฝกอบรมไปศึกษายังสถานที่อื่นนอกเหนือ
ไปจากการสอนในสถานอบรมตามปกติ เพือ่ ใหเห็นของจริง สถานการณ
การปฏิบัติงานจริงในเรื่องที่อบรม ซึ่งผูจัดตองเตรียมการเปนอยางดี
โดยควรบอกหรือต้ังขอสังเกตในสิ่งที่จะไปดู เมื่อไปดูมาแลวอาจให
เขียนรายงานหรือจดั ใหมีการอภิปราย สรปุ ผล ทั้งนี้ เปน การเปลี่ยน
บรรยากาศและสรางความสัมพันธของกลุมอีกดวย ซึ่งมีข้ันตอนการ
ดําเนินการ ดงั นี้

๑๙

● เทคนิคการฝกอบรม

ขน้ั ที่ ๑ ประสานงานกับแหลงที่ดูงานในเรื่องวิธีการดูงานวา
ควรทําอยางไร

ข้นั ที่ ๒ แบงกลุมผูเขารบั การฝกอบรม มอบหวั ขอที่จะศึกษา
ดงู านใหรบั ผิดชอบ

ขัน้ ที่ ๓ ไปศึกษาดูงานตามกําหนดเวลา
ขั้นที่ ๔ เมื่อกลับมาแลวแตละกลุมสรุปรายงานหัวขอที่ดูงาน
พรอมเสนอแนวคิดในการนํามาปรับปรุงใชในหนวยงานของตนใหแก
ที่ประชุม
ขั้นที่ ๕ ทาํ รายงานการศึกษาดูงานเสนอ
ขอ ดี เพิ่มความรู ความเขาใจที่เหน็ จากการปฏิบัติจริง สราง
ความสนใจและกระตือรือรน สรางความสัมพันธระหวางผูเขารับการ
ฝกอบรม
ขอจํากดั ตองใชเวลาและเสียคาใชจายมาก ตองไดรับความ
รวมมือจากทกุ ฝายโดยเฉพาะเจาของสถานทีท่ ี่จะไปศึกษาดงู าน
สถานที่และเวลา ใชสถานทีจ่ ริง ใชเวลา ๑ - ๗ วนั

● การใชกิจกรรมสําหรับการฝกอบรม

ความหมายของกิจกรรม
กิ จ ก ร ร ม ห รื อ เ ก ม เ ป น เ ท ค นิ ค ก า ร ฝ ก อ บ ร ม ป ร ะ เ ภ ท เ น น
จดุ ศนู ยกลางการเรียนรูอยูทีผ่ ูเขารับการฝกอบรม โดยใหผูเขารบั การ
ฝกอบรมกระทําอยางใดอยางหนึ่งเพือ่ ใหเกิดการเรียนรูทางออม มิใช
กระทําเพื่อการเรียนรูโดยตรง เชน รองเพลง แสดงทาทางเลียนแบบ
รองเพลงประกอบทาทาง เลาเรื่องขาํ ขนั ปฏิบตั ิตามคาํ สั่ง ทายปญหา
การแสดงทาทางประกอบจังหวะ กรณีศึกษา การเลนกีฬา เปน ตน ท้ังนี้
ขึ้นอยูกบั วตั ถปุ ระสงค เปนการสอนทางออมโดยผูถกู สอนไมรูตัว

๒๐

เทคนิคการฝกอบรม ●

วัตถปุ ระสงคของกิจกรรม
กิจกรรมที่ใชในการฝกอบรมมีวตั ถุประสงคหลายประการ ดงั นี้
๑. เพอ่ื สรา งความคนุ เคยใหแ กผ เู ขา รบั การฝก อบรมเมอ่ื แรกพบ
๒. เพื่อสรางโอกาสใหทุกคนสนิทสนมกันเร็วขึ้นกวาที่จะได
ทาํ ความรูจักกนั เอง
๓. เพือ่ ผอนคลายความตึงเครียดในการฝกอบรม
๔. เพือ่ ใหเกิดการเรียนรู ทักษะ และทัศนคติตามวัตถปุ ระสงค
ของการฝกอบรม
๕. เพื่อสรางความบนั เทิงสนกุ สนานแกผูเขารับการฝกอบรม
๖. เพอ่ื สง เสรมิ ใหเ กดิ ความกลา แสดงออก กลา เสนอความคดิ เหน็
๗. เพื่อสรางทัศนคติทีด่ ีตอการฝกอบรม ตอวิทยากร และตอ
เพื่อนรวมการฝกอบรม

● ประเภทของกิจกรรม

กิจกรรมที่ใชในการฝกอบรมมีหลายประเภท เรียกตาม
วัตถปุ ระสงคบาง เรียกตามลักษณะของกิจกรรมบาง ดังนี้

๑. กิจกรรมละลายพฤติกรรม เปนกิจกรรมที่มุงเนนให
เกิดความรูจักคุนเคยกันโดยเรว็ สรางบรรยากาศแหงการเปดเผยตนเอง
ใหผูอื่นรูจกั กิจกรรมประเภทนี้ทาํ ไดหลายอยาง เชน เกมลารายชื่อ
เกมรวมกลุม เปน ตน นิยมใชเมือ่ เริม่ การฝกอบรม โดยการฝกอบรมน้ัน
จะมีสมาชิกมาจากหนวยงานตางๆ ซึง่ ไมรูจกั กันเลย หรือรูจกั กันบาง
เล็กนอย

๒. กจิ กรรมนนั ทนาการ เปน กจิ กรรมกลมุ ทท่ี กุ คนไดม สี ว นรว ม
มุงเนนความสนุกสนาน บนั เทิง และคลายเครียด อาจทําไดโดยการ
รองเพลง การละเลนพื้นเมือง กิจกรรมขําขนั การแสดงทาทางประกอบ

๒๑

● เทคนิคการฝก อบรม

หรือเลียนแบบ การเลนเกมสั้นๆ ซึ่งเปน การสรางเสริมความสัมพันธอนั ดี
ระหวางผูเขารับการฝกอบรมดวย สวนมากจะใชสลับกับการบรรยาย
วิทยากรตองมีทักษะในการนาํ กลุม

๓. กิจกรรมการเรียนรูท างออม เปน กิจกรรมที่มุงเนนใหเกิด
การเรียนรู เกิดความเขาใจ เกิดทกั ษะ และทัศนคติตางๆ อนั จะนําไปใช
ในการดาํ รงชีวิต กิจกรรมประเภทนี้จะเปนเกมทีใ่ ชความคิด ใชความ
รวมมือชวยเหลือกนั เชน เกมการแขงขันตางๆ ทีอ่ าศยั ความรวมมือ
รวมใจ หรือเปน กรณีศึกษา แบบสํารวจ การตอบคาํ ถาม การทายปญ หา
และการทดลองบางประการ

๔. กิจกรรมเขา จงั หวะ เปน กิจกรรมที่มุงฝกปฏิบัติใหรางกาย
และจิตใจตอบสนองใหสมั พันธกับจังหวะทีใ่ ชประกอบ เชน จงั หวะดนตรี
ปรบมือเปนจังหวะ เปน ตน การทาํ ใหเขาจงั หวะ จะทาํ ไดหลายแบบ เชน
ปรบมือ เดิน วิง่ แสดงทาทางตางๆ เตนราํ รองเพลง เปน ตน ท้ังนี้เปนการ
ฝกประสาทใหตื่นตัวอยูเสมอและเปนการผอนคลายความตึงเครียดจาก
การฝกอบรมไดดวย

๕. กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพของรา งกาย เปน กิจกรรม
ทีท่ ดสอบและสงเสริมความแข็งแรง ความสามารถของรางกาย ซึง่ จะ
หนกั ไปในทางกีฬา สงเสริมความเจริญของกลามเนื้อ การเคลื่อนไหว
และความยืดหยุนของขอตอตางๆ ของรางกาย มักใชกับการฝกอบรมที่
สมาชิกเปนวัยหนุมสาวหรือวยั รุน

๒๒

เทคนคิ การฝกอบรม ●

● กิจกรรมที่มีประสิทธิภาพ

ลกั ษณะของกิจกรรมที่มีประสิทธิภาพควรมีลกั ษณะดังนี้
๑. กิจกรรมที่ผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญหรือทุกคนมี
โอกาสเขารวมและมีโอกาสแสดงออกอยางทั่วถึง
๒. กิจกรรมที่มีสารประโยชนพรอมกับความสนุกสนาน
เพลิดเพลิน
๓. กิจกรรมทีม่ ีการแขงขัน เปนการแขงขันที่สรางสรรค
๔. กิจกรรมที่มีรปู แบบทีห่ ลากหลาย
๕. กิจกรรมที่สรางบรรยากาศที่ดี เปนกันเอง อบอุน
และเปนมิตร

● หลักการเลือกกิจกรรมประกอบการฝกอบรม

กิจกรรมมีมากมายหลายประเภทหลายรปู แบบ แตละกิจกรรม

ก็มีวตั ถุประสงคและใชทกั ษะแตกตางกัน ดังนั้น การเลือกกิจกรรมที่

เหมาะสมตอการฝกอบรมจึงจะเกิดประโยชนตอผูเขารับการฝกอบรม

หลักการเลือกกิจกรรมมีดังนี้

๑. ความเหมาะสม ตองเหมาะกับเพศและวัยของผูเขารบั การ

ฝกอบรม และเหมาะสมกบั สถานที่

๒. จดุ ประสงค ควรเปนกิจกรรมที่สงเสริมการเรียนรู ทักษะ

และทศั นคติ ตรงตามวัตถุประสงคของการฝกอบรม

๓. เวลา เปน กิจกรรมทีไ่ มใชเวลายาวนานมากนัก

๔. ผูรว มกิจกรรม เปน กิจกรรมทีท่ กุ คนหรือคนสวนใหญมี

โอกาสเขารวม

๕. ความนา สนใจ เปนกิจกรรมที่นาสนใจ นาเขารวม เขารวม

ไมยาก สนกุ สนาน และมีสภาพการแขงขัน

๖. สารประโยชน เปนกิจกรรมที่สามารถสรปุ สาระและแงคิด

ไดชดั เจน เห็นประโยชนจริง ๒๓

● เทคนิคการฝก อบรม

● องคประกอบของกิจกรรม

กิจกรรมมีองคประกอบ ดงั นี้
๑. ชื่อกิจกรรมหรือชื่อเกม
๒. วัตถปุ ระสงคของกิจกรรมตองชัดเจน
๓. ขนาดของกลุมหรือจํานวนผูเลนเกม ควรกําหนดจํานวนโดย
ประมาณ
๔. กําหนดเวลาทีใ่ ช
๕. สถานที่ ระบุใหชัดเจนวาภายในหรือภายนอกหองประชุม
๖. อปุ กรณหรือเครื่องมือที่ใชมีอะไรบาง
๗. ขั้นตอนการดําเนินกิจกรรม
๘. สรุปสาระสําคัญและประโยชนของกิจกรรม

● การแบงกลมุ เพือ่ การฝกอบรม

การแบงกลุมผูเขารับการฝกอบรมเพื่อเขารวมกิจกรรมจะชวย
ใหผูเขารบั การฝกอบรมมีโอกาสเขารวมกิจกรรมไดอยางทั่วถึง ทาํ ใหเกิด
สภาพการแขงขันไปในตวั กระตุนใหทกุ คนเขารวมกิจกรรมอยางเตม็ ที่
วิธีแบงกลุมทําไดหลายวิธีทีน่ ิยมมีดงั นี้

๑. แบงกลุมตามความสมัครใจโดยใหเลือกกันเอง ตาม
ขนาดกลุมทีต่ องการ เชน ๕ คนหรือ ๗ คน เปนตน

๒. แบง กลุมตามโตะ ทีน่ ่ังใกลๆ กนั เชน โตะแถวหนา ๓ คน
หันกลบั ไปหาโตะแถวหลัง ๓ คน รวมเปน กลุมละ ๖ คน เปนตน

๓. แบงกลมุ โดยวิธีนับ คือตองการแบงออกเปน ๗ กลุม กใ็ ห
ผูเขารบั การฝกอบรมนับ ๑ - ๗ พอนับถึง ๗ ก็ขึ้นตนนับ ๑ ใหม จนกวา
จะถึงคนสดุ ทาย แลวใหสมาชิกจบั กลุมตามหมายเลขที่ตนนบั

๒๔

เทคนิคการฝกอบรม ●

๔. แบงกลมุ ตามวันเกิด สามารถแบงได ๗ กลุม แตละกลุม
อาจมีจาํ นวนไมเทากนั

๕. แบง กลมุ โดยวิธีจบั สลาก กาํ หนดใหจบั กลุมตามชือ่ ตางๆ
เชน ชือ่ ดอกไม ชือ่ ปลา ชื่อนก ชือ่ ประเทศ ทําฉลากชื่อกลุมไวใหสมาชิก
แตละคนจับฉลาก ใครไดชื่อกลุมอะไรใหหาและจบั กลุมกันเอง

๖. แบง กลมุ ตามราศีเกิด สามารถแบงออกไดเปน ๑๒ กลุม
แตละกลุมอาจมีจาํ นวนไมเทากนั
พฤติกรรมหรือธรรมชาติของผเู ขารวมกิจกรรม

การจัดกิจกรรมนั้นนอกจากคํานึงถึงหลักตางๆ และความ
ปลอดภยั ของผูรวมกิจกรรมแลว ผูนาํ กิจกรรมควรจะไดทราบพฤติกรรม
ธรรมชาติโดยทัว่ ไปของผูเขารวมเลนกิจกรรมดวย ดังนี้

๑. ตองการชนะหรือมีสวนของชยั ชนะ
๒. เขาขางตนเองกอนเสมอหรือเขาขางกลุมของตนเองกอน
๓. พยายามทกุ วถิ ที างเพอ่ื ชยั ชนะ บางครง้ั อาจลมื กตกิ ามารยาท
๔. ชอบกิจกรรมทีท่ าทายและมีการแขงขันระหวางกลุม
๕. ไมอยากเสียหนา ไมอยากแพ
๖. อยากรจู กั ตนเองจากแบบสาํ รวจ แบบวจิ ยั หรอื แบบประเมนิ
๗. ชอบเปน ผูดูหรือผูกํากับมากกวาผูแสดง
๘. ไมอยากรวมกิจกรรมที่ซํ้าๆ หรือรูคําตอบอยูแลว

● ขัน้ ตอนการดาํ เนินกิจกรรม

การดาํ เนินกิจกรรมหรือเกม ควรเริม่ ดวยการแนะนาํ วิทยากร
หรือผูนาํ เกม แลวดําเนินเปน ข้ันตอน ดังนี้

๑. บอกชื่อเกมและอธิบายวัตถุประสงคของเกมหรือกิจกรรม
๒. ชี้แจงรายละเอียดการเลนและกติกา บางเกมตองสาธิต
ใหดกู อน

๒๕

● เทคนิคการฝก อบรม

๓. ขอความรวมมือจากผูเขารับการฝกอบรมใหรวมกิจกรรม
๔. เปดโอกาสใหซักถาม เพื่อความเขาใจ
๕. ลงมือเลนเกมโดยใหสัญญาณ และเมื่อหมดเวลาตองให
สัญญาณ เชน ใชนกหวีด เปน ตน
๖. ผูนาํ เกมสรปุ บางกรณีตองเฉลยคาํ ตอบ แลวเชือ่ มโยง
พฤติกรรมในการเลนเกมกับวตั ถุประสงคและประโยชนของเกม
๗. ผูนําเกมกลาวขอบคุณผูเขารวมเลนเกมและแสดงความ
ชื่นชมในผลงานของผูเขารวมเลนเกม

● การใชฐานกิจกรรม

เทคนิคการใชฐานกิจกรรมประยุกตมาจากกิจกรรมวอลคแรลลี่
แตไมตองมีการเดินแขงขนั กนั จริงๆ เพียงแตใชสถานทีก่ วางพอที่จะจัด
ฐานกิจกรรมไดหลายฐานครบตามทีต่ องการ หรือใชหองเรียนในอาคาร
เปน สถานทีจ่ ัดกิจกรรมแตละฐานก็ได

วิธีการ แบงผูเขารับการฝกอบรมออกเปนกลุม กลุมละ
๕ - ๘ คน ตามความเหมาะสม จัดฐานกิจกรรมตามจํานวนกลุมที่แบง
ในแตละฐานจัดกิจกรรมใหปฏิบัติโดยมีคําสั่งหรือลายแทงไวใหทุกฐาน
กาํ หนดเวลาทาํ กิจกรรมแตละฐาน จัดวิทยากรประจาํ ฐานไวดวยฐานละ
๑ - ๒ คน เพอ่ื แจง กตกิ าหรอื ชว ยเหลอื และเปน ผสู งั เกตพฤตกิ รรมของ
แตล ะกลมุ

กิจกรรมทีจ่ ัดไวในแตละฐานตองมุงใหเกิดความรู และทักษะ
ตามความมงุ หมายของโครงการฝก อบรมนน้ั ๆ ใหเ รม่ิ ทาํ กจิ กรรมพรอ มกนั
ทุกกลุมแลวหมุนเวียนกันไปจนครบทุกฐาน หรืออีกแบบหนึ่งใหทุก
กลุมเริม่ จากฐานที่ ๑ – ๒ – ๓ เรือ่ ยไปจนครบ เมือ่ เสรจ็ สิ้นการทาํ
กิจกรรมทุกฐานแลว ใหมีการประชมุ รายงาน และสรปุ ผลการทาํ
กิจกรรมทกุ กลุม หวั หนาวิทยากรสรุปอีกครั้ง

๒๖

เทคนิคการฝกอบรม ●

ขอดี ผูเขารับการฝกอบรมมีสวนรวมทํากิจกรรมทุกคน
บรรยากาศสนุกสนานทาทาย ไมนาเบื่อ เปนการฝกอบรมภาคสนาม

ขอจาํ กัด ตองใชสถานทีก่ วางขวาง ใชทีมวิทยากรหลายคน
ใชเวลาเตรียมการนาน

สถานทแ่ี ละเวลา ใชส นามกวา งทร่ี ม รน่ื หรอื หอ งเรยี นหลายหอ ง
ใชเวลา ๑ - ๒ วนั

● วอลค แรลลี่ (Walk Rally)

วอลคแรลลี่ (Walk Rally) หมายถึง กิจกรรมการเดินชุมนุม
แขง ขนั เพอ่ื ทาํ กจิ กรรมตา งๆ อยา งมเี ปา หมายชดั เจนและเนน การประยกุ ต
นาํ ไปใชในการทํางาน (สมชาติ กิจยรรยง 2540 : 75)

วอลคแรลลีเ่ ริม่ ใชครั้งแรกในบริษัท โซนี จาํ กัด ประเทศญี่ปุน
โดยใชฝกอบรมพนกั งานใหมีความสามคั คี เสียสละ มีความทุมเทในการ
ทํางาน ตอมาไดแพรหลายไปท่ัวประเทศญี่ปุน และมีการนําไปประยุกต
กับการขับรถในระยะทางไกลดวย

● ลกั ษณะของกิจกรรมวอลคแรลลี่

วอลคแรลลี่เปนกิจกรรมที่ผสมผสานกิจกรรมหลายชนิด
เขาดวยกัน เชน กิจกรรมละลายพฤติกรรม กิจกรรมกลุมสมั พันธ
กิจกรรมการเรียนรู เกมบริหาร ฯลฯ และอาศัยทักษะหลายทกั ษะในการ
จัดกิจกรรม โดยจัดผูเขารบั การฝกอบรมออกเปนกลุมๆ เดินแขงขันกัน
เปนระยะทางประมาณ ๑ – ๓ กิโลเมตร ระหวางทางจะมีฐาน (base)
หรือสถานี (station) หรือจุดใหทาํ กิจกรรม ๕ – ๘ ฐาน ทกุ ฐานจะมี
การใหคะแนน เมือ่ เดินครบทกุ ฐานแลวนาํ คะแนนมารวมกนั กลุมใดได
คะแนนมากทีส่ ดุ จะเปน ผูชนะ

๒๗

● เทคนคิ การฝกอบรม

ลกั ษณะกิจกรรมที่บรรจลุ งในฐานตาง ๆ ควรมีลกั ษณะ ดังนี้
๑. เปดโอกาสใหทุกคนไดมีสวนรวมทํากิจกรรม ทั้งการคิด
การพดู การกระทาํ และการแสดงออก
๒. เปดโอกาสใหสมาชิกกลุมไดแสดงบทบาทผูนํา ผูตาม
ผูชี้แนะอยางสมบรู ณ
๓. เนนความสัมพันธ ความสามัคคี ความคิดสรางสรรค
การชวยเหลือซึ่งกนั และกนั
๔. มีการประเมินผลทุกกิจกรรม

● องคประกอบของกิจกรรมวอลค แรลลี่

การจดั กิจกรรมวอลคแรลลี่ตองมีปจ จัย ๔ ประการ ดังตอไปนี้
๑. พื้นทีแ่ ละระยะทาง ถาจดั ตามรีสอรทจะดีมาก เลือกที่มี
ที่พักและระยะทางประมาณ ๑ – ๓ กิโลเมตร ซึง่ ควรเปน รปู ตวั ยหู รือ
วงกลม
๒. จดั ฐานกิจกรรม ๕ - ๑๐ ฐาน ตามความเหมาะสม ซึ่งใน
แตละฐานมีกิจกรรมใหปฏิบตั ิ
๓. ตองมีบคุ ลากร ประกอบดวยทีมวิทยากรและกลุมผูเขารบั
การฝกอบรม
ทีมวิทยากร อาจมีประมาณ ๕ - ๑๐ คน แลวแตจํานวน
ฐานทีท่ าํ กิจกรรม แตละฐานใชวิทยากร ๑ - ๒ คน มีหนาที่แจงกติกา
จับเวลา สังเกตพฤติกรรมและบันทึกไว
กลุม ผูเ ขา รบั การฝกอบรม กลุมละประมาณ ๖ - ๑๐ คน
ใหแบงหนาที่กันเปนประธาน เลขานุการ ผูสังเกตการณ ผูสรุปผล
นาํ เสนอทีป่ ระชุมใหญ
๔. กิจกรรมในแตละฐาน ควรเปน กิจกรรมที่ทาํ ใหเกิดความรู
ทักษะ และความคิดตามจุดมุงหมายของการฝกอบรมน้ันๆ

๒๘

เทคนิคการฝกอบรม ●

● ข้ันตอนการดําเนินกิจกรรมวอลคแรลลี่

ข้ันตอนการดาํ เนินกิจกรรมวอลคแรลลีอ่ าจดําเนินการได ดังนี้
๑. สาํ รวจพื้นที่หรือเตรียมพืน้ ที่ ไมควรมีระยะไกลเกินไป
ควรใชเวลาเดินไมเกิน ๓ - ๕ ชว่ั โมง ระยะทางไมเกิน ๑ - ๓ กิโลเมตร
มีรมไมใหความรมรื่นดวย
๒. จัดทําแผนผังการเดินทางหรือลายแทง เพื่อใหผูเขารบั
การฝกอบรมเดินไปตามจดุ ตางๆ ตามลาํ ดบั ๑-๒-๓ พรอมมีลกู ศรบอก
ทิศทางชัดเจน
๓. กําหนดกิจกรรมลงในแตละฐาน โดยคํานึงถึง
วตั ถุประสงคในการฝกอบรม เวลาทีป่ ฏิบัติจริง ประโยชนของผูเขารับ
การฝกอบรม ความพรอมของสถานที่และอุปกรณ
๔. จดั เตรียมทีมวิทยากร ปรึกษาหารือใหรูหนาทีแ่ ละแบง
หนาทีร่ ับผิดชอบใหชดั เจน นัดหมายกาํ หนดวนั เวลาทีจ่ ะปฏิบตั ิงาน
๕. จดั เตรยี มอปุ กรณส าํ หรบั กจิ กรรมแตล ะฐานใหพ รอ ม
เชน ลายแทง กระดาษ ปากกา สักหลาด แบบฟอรมบนั ทึกผลการทาํ
กิจกรรม เปนตน
๖. ดาํ เนินกิจกรรมตามลําดับ

(๑) เริม่ ดวยพิธีเปด (ถามี) และกิจกรรมละลายพฤติกรรม
(๒) แบงกลุมผูเขารบั การฝกอบรม ใหแตละกลุมกําหนด
ชือ่ ทีม สีประจาํ กลุม คําขวญั
(๓) ขี้แจงกติกาและการใหคะแนน
(๔) นัดหมายเวลา
(๕) ปลอยกลุมผูเขารวมกิจกรรมตามลําดับ

๒๙

● เทคนคิ การฝก อบรม

๗. แตล ะกลุม เสนอผลงานตอ ที่ประชุมใหญ เริม่ แรกตอง
กําหนดประเดน็ ทีจ่ ะนําเสนอกอน

ประเดน็ ที่จะนาํ เสนอ ไดแก
(๑) ปญหาของแตละกลุม
(๒) บรรยากาศและความรวมมือของสมาชิก
(๓) ผลทีไ่ ดรับโยงไปสูการทาํ งานจริง
เมื่อดําเนินกิจกรรมครบทุกกลุมแลวและนัดหมายเวลาไว
อยางชดั เจน กเ็ ริม่ การนําเสนอ
การนาํ เสนอ ควรมีขั้นตอน ดงั นี้
(๑) แนะนําชื่อกลุม สี คําขวัญประจํากลุม อาจมีการ
รองเพลงประจํากลุม
(๒) แนะนาํ ชื่อประธาน เลขานุการ และสมาชิกอืน่ ๆ
(๓) นาํ เสนอผลงานตามลาํ ดบั โดยมอี ปุ กรณห รอื สอ่ื ประกอบ
(๔) ใหขอเสนอแนะหรือความคิดเห็นเพิม่ เติม

● เทคนิคการจดั กิจกรรมลงในฐาน

กิจกรรมแตละฐานควรคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้
๑. กิจกรรมในฐานแรกๆ ไมควรใหมีการใชแรงมากนกั เพราะ
กลามเนื้อยงั ไมพรอม
๒. ควรมีกิจกรรมทีใ่ ชความคิด ความรวมมือ ความทาทาย
การแขงขันสลบั กันไปโดยตลอด
๓. ถาในกลุมมีชายและหญิงปนกัน กิจกรรมในฐานแรกๆ
ไมควรใหมีการสัมผสั มือหรือรางกายกนั เพราะอาจมีความขัดเขินและ
อาจถกู ตอตานได
๔. กิจกรรมทีด่ ีตองคาํ นึงถึงอายุ เพศ ความคุนเคยกันของ
ผูเขารบั การฝกอบรม ตลอดจนขอจาํ กดั อืน่ ๆ

๓๐

เทคนคิ การฝกอบรม ●

● ประโยชนของวอลค แรลลี่

วอลคแรลลีม่ ีประโยชนหลายรายการ ดังนี้
๑. เปนกิจกรรมที่เหมาะสําหรับใชฝกอบรมที่ตองการให
พนักงานเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ใชความรู ความคิดในการทํางาน
มีมนุษยสัมพันธทีด่ ี
๒. สงเสริมการเรียนรูและเพิ่มทักษะโดยยึดผูเรียนเปน
ศูนยกลาง มีโอกาสแสดงออกท้ังทางกายและทางความคิด
๓. เปนกิจกรรมที่มีจุดมุงหมายใหผูเขารวมกิจกรรมไดเรียนรู
การทํางานรวมกนั และการทํางานเปน ทีม
๔. เปนกิจกรรมพัฒนาบุคลากรภาคสนามที่ใหความสนุกสนาน
ตืน่ เตน ทาทาย มีการแขงขัน ไดลงมือปฏิบตั ิดวยตนเองรวมกบั ผูอืน่
ไมเบื่อหนายตอการฝกอบรม

● การสรุปผลกิจกรรมวอลค แรลลี่

เพื่อสะทอนใหเห็นปญหาและอุปสรรคตางๆ ในการทํางาน
รวมกนั มองเห็นการทาํ กิจกรรมรวมกันที่จะทาํ ใหผูรวมกิจกรรมมองเห็น
ตนเอง ยอมรับผูอืน่ อยางถกู ตอง การสรปุ ควรทาํ ดงั นี้

๑. ฉายวซี ดี ภี าพยอ นหลงั โดยบนั ทกึ ภาพกจิ กรรมของทกุ ฐานไว
แลวนาํ มาฉายใหผูเขารวมฝกอบรมดูพรอมกนั วิเคราะหและอภิปราย
รวมกนั ทั้งนี้ ตองมีการวางแผนไวต้ังแตตน

๒. ใหแตละกลุมนําเสนอขอสรุปวาแตละฐานไดประโยชนอะไร
บาง รวมท้ังการนําไปประยุกตใชในการทาํ งานจริง ปญ หา อุปสรรค
ตลอดจนแนวทางแกไข

๓. ใหวิทยากรประจําฐานสรุปการทํากิจกรรมของกลุม เชน
พฤติกรรมของกลุม ความรวมมือ ภาวะผูนาํ ผูตาม พลังของกลุม เปน ตน

๓๑

● เทคนิคการฝกอบรม
๔. ผูนําทีมวิทยากรสรุปภาพรวมทั้งหมดและใหความคิดเห็น

เพิม่ เติม โดยดาํ เนินการ ดังนี้
(๑) บอกแนวคิดและวตั ถุประสงคของกิจกรรมแตละฐาน
(๒) ชี้ใหเหน็ ปญหาและอปุ สรรคตางๆ ทีจ่ ะนําไปประยุกตใช
(๓) เชื่อมโยงแนวคิดของแตละกิจกรรมและพฤติกรรมของ

กลุมไปสูการทํางานจริง
(๔) ข้ันสรุปจบ สรุปรวมจากขอ (๑) – (๓) โดยสอดแทรก

หลักการหรือทฤษฎีทางวิชาการลงไปดวย
––––––––––––––––––––

๓๒

เทคนิคการฝก อบรม ●

สรปุ ทา ยบท

เทคนิคการฝกอบรมมีหลายวิธี การฝกอบรมที่มีประสิทธิภาพ
จะตองใชเทคนิคการฝกอบรมท่ีเนนความสําคัญของผูเขารับการอบรม
มากกวาวิทยากร ผูเขารบั การฝกอบรมจะไดคิด ไดปฏิบตั ิ และเกิด
ประสบการณดวยตนเองและใชกิจกรรมประกอบชวยดวย จะทําใหการ
ฝกอบรมมีชีวิตชีวา ไมนาเบือ่ การฝกอบรมตองคาํ นึงถึงการเรียนรูของ
ผูใหญดวย เพราะผูเขารบั การฝกอบรมไมใชนกั เรียนท่ัวไป การเรียนรู
ของผูใหญยอมแตกตางจากนกั เรียน

การเลือกเทคนิคการฝกอบรมตองใหเหมาะกับหัวขอวิชา
เหมาะกับผูเขารับการฝกอบรม จะทําใหการเรียนรูเปนไปตาม
วตั ถปุ ระสงคของการฝกอบรม ในการฝกอบรมครั้งหนึ่งๆ มักใชเทคนิค
การฝกอบรมหลายวิธีประกอบกันเสมอ ซึ่งเชือ่ กันวาสามารถเปลี่ยน
ความคิดและเปลี่ยนพฤติกรรมของผูเขารับการฝกอบรมไดวิธีหนึ่ง
แตตองสิ้นเปลืองคาใชจายมาก

___________________

๓๓

● เทคนคิ การฝกอบรม

เอกสารอา งอิง

กองฝกอบรม กรมทีด่ ิน. ๒๕๕๔. การจัดสถานที่ในการฝกอบรม.
กรุงเทพมหานคร : กองฝกอบรม.

รมย บุญประสาน. ๒๕๓๗. การพัฒนาการฝกอบรมบคุ ลากร.
กรุงเทพมหานคร : สถาบันพัฒนาผูบริหารการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ.

วิจิตร อาวะกุล. ๒๕๔๐. การฝกอบรม. กรุงเทพมหานคร : ศูนยหนังสือ
จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย.

วีระพนั ธ แกวรัตน. ๒๕๕๕. เทคนิคการฝกอบรม. (ออนไลน).
เขาถึงไดจาก : http://www.weerapun.com/techtraining.php

สมคิด บางโม. ๒๕๕๑. เทคนิคการฝกอบรมและการประชุม.
กรุงเทพมหานคร : บริษทั วิทยพัฒน จํากัด

๓๔

ภาคผนวก



เทคนิคการฝกอบรม ●

รูปแบบการจดั สถานที่ฝกอบรม

๑. การจัดที่น่ังแบบหองเรียน เหมาะสําหรบั การฝกอบรมแบบ
บรรยายหรือการอภิปราย ทีม่ ีผูเขารบั การฝกอบรมจํานวนไมมากนัก

วิทยากร

ผูเขาอบรม

๒. แบบวงกลม ใชไดกับเทคนิคการฝกอบรมที่ตองการให
สมาชิกไดอภิปราย หรือแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ รวมกัน เหมาะสาํ หรับ
ประชมุ กลุมยอย การสาธิต การระดมสมอง ที่มีผูเขารบั การฝกอบรม
จาํ นวนนอย หรือมีบุคคลเปน จาํ นวนมากแตจดั เปน วงกลมหลายๆ วง

ผูเขาอบรม

๓๗

● เทคนคิ การฝก อบรม
๓. แบบรูปตัวยู ใชไดกับเทคนิคการฝกอบรมที่ตองการให

สมาชิกไดแสดงความคิดเห็นรวมกัน หรือการบรรยายที่มีผูฟงจํานวน
ไมมากนักหรือประชุมกลุมยอย ซึ่งเปนรูปแบบที่งายตอการกระตุนให
ทุกคนมีสวนรวมและเห็นหนากนั ไดชัดเจน

ประธาน/พิธีกร/วิทยากร

ผูเขาอบรม

๔. แบบสี่เหลี่ยม ใชไดกับเทคนิคการฝกอบรมที่ตองการให
สมาชิกไดอภิปราย หรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมกนั ผูทีน่ งั่ หัวโตะจะ
มีความสาํ คัญมาก เหมาะกบั การประชมุ กลุมยอย การระดมสมองหรือ
การบรรยายที่มีกลุมบคุ คลจํานวนไมมาก

ประธาน/วิทยากร

ผูเขาอบรม

๓๘

เทคนคิ การฝก อบรม ●

๕. แบบบนเวที ใชในการสัมมนาที่มีการอภิปรายโดยวิทยากร
หลายคน และมีผูดําเนินการอภิปราย หรือเทคนิคอื่นๆ ทีต่ องการให
ผูเขาอบรมมองเหน็ ผูพูดไดอยางชัดเจน มกั จะจัดทีน่ ั่งบนเวทีหรือยกพื้นที่
สงู กวาผูฟง เล็กนอย เหมาะสําหรบั ผูเขารับการฝกอบรมจาํ นวนมาก

พิธีกร วิทยากร

ผูเขาอบรม

๓๙

● เทคนิคการฝกอบรม
๖. แบบรูปโคง ใชไดกับเทคนิคที่ตองการใหผูเขาอบรมเห็น

กระดาน หรือการแสดงโดยทวั่ ถึงกนั เหมาะกบั เทคนิคการฝกอบรมแบบ
สาธิต การแสดงบทบาทสมมติ การระดมสมอง ทีม่ ีผูเขารบั การฝกอบรม
จาํ นวนนอย

กระดาน / ทีส่ าธิต
พิธีกร / ผูเขียน

ผูเขาอบรม

๗. แบบรปู ตวั วี ใชประโยชนไดในลักษณะเดียวกับแบบรูปตวั ยู
ประธาน / พิธีกร / วิทยากร

ผูเขาอบรม

๔๐

เทคนิคการฝก อบรม ●

๘. แบบโรงภาพยนตร เปนแบบที่จุคนไดมากที่สุด และให
ผูเขาอบรมมองเห็นวิทยากรไดอยางทั่วถึง ที่น่ังของวิทยากรมักใหอยู
บนเวทียกพื้น เหมาะกับการบรรยาย การอภิปรายโดยผูทรงคณุ วุฒิ

ผูเขาอบรม

๔๑

● เทคนิคการฝกอบรม

การเรียนรขู องผใู หญ

การฝกอบรมนอกจากจะเปนการเพิ่มพูนความรูความสามารถ
ใหแกผูใหญหรือผูปฏิบตั ิงานแลว การเรียนรูของผูใหญยงั แตกตางจาก
เดก็ นกั เรียนโดยทัว่ ไป วิจิตร อาวะกุล ใหคาํ แนะนําวาการฝกอบรมผูใหญ
ควรคาํ นึกถึงสิง่ ตอไปนี้

๑. ผูใหญจะเรียนไดดีเมื่อมีความปรารถนาอยางแรงกลาที่จะ
เรียน

๒. ผูใหญจะเรียนเมื่อเผชิญกับปญ หาที่ตนแกไมได สิ่งทีเ่ รียน
เปน ประโยชน มีสาระ นําไปปฏิบัติในชีวิตจริงไดผล จะสนใจเฉพาะใน
สิง่ ที่เปน ประโยชนแกตน

๓. การเรียนรูของผูใหญตองการการเรียนที่มีลักษณะให
ลงมือปฏิบตั ิมากกวานงั่ ฟงบรรยายนานๆ หรือทองจาํ

๔. ผใู หญจ ะเรยี นไดม ากนอ ยเพยี งใดขน้ึ อยกู บั ประสบการณเ ดมิ
ชอบการสอนชาๆ ไมชอบเรว็ ไมชอบการจาํ การสอนสิง่ ใดทีส่ นใจจะจด
จะจาํ สิง่ ที่ไมสนใจจะไมจดและไมจาํ

๕. ประสบการณ พื้นฐานสติปญญา ปญหาดานสุขภาพ
อุปนิสยั มีผลตอการเรียนรูชาหรือเร็วของผูใหญ

๖. บรรยากาศของการเรียนรู การอบรม ตองมีลักษณะเปน
กันเอง อยาใหเปน ทางการ หรือมีลักษณะบงั คบั ขมขู หรือระเบียบเกิน
ความจําเปน ผูใหญจะไมชอบ และทําใหการฝกอบรมไมไดผล

๗. การสอนผูใหญควรใชวิธีการหลายๆ วิธี และใชวิธีการที่เขา
ชอบเพียงสองสามวิธีกพ็ อ การใชวิธีการมากเกินไป วิธีทีผ่ ูใหญไมชอบ

๔๒

เทคนคิ การฝก อบรม ●

หรือใชวิธีทีไ่ มเหมาะสมอาจไมไดผล
๘. ผูใหญตองการเรียนโดยการแนะนาํ แนะแนว จูงใจ ชมเชย

ใหกาํ ลังใจ ไมชอบระเบียบ ไมชอบการสอน เพราะกลัวเสียหนา การ
ประเมินผลควรทําเปนการลับ ใชวิธีสังเกตและจัดอันดับอยางลับๆ
เฉพาะผูสอนโดยไมเปดเผย

๙. การสอนผูใหญตองอดทน ใจเย็น ผูใหญไมชอบใหใคร
ไมเคารพนับถือ ไมชอบใหใครดูถกู เหยียดหยาม กาวราว แตขณะเดียวกนั
ผูใหญบางคนมักกาวราวแสดงกิริยาไมใหเกียรติและไมเคารพนับถือผูอื่น

๑๐. พยายามกระตุนและใหกําลังใจแกผูใหญโดยการให
คําชมเชย อยาใชการตําหนิ

สิง่ ที่เปน อุปสรรคตอ การเรียนรขู องผูใหญ

ผูใหญจะเรียนไมไดดีถามีกรณีตอไปนี้
๑. ผูใหญมีปมดอย
๒. เมื่อไดรบั การปฏิบัติไมเทาเทียมกนั
๓. เมือ่ ผูใหญขาดความอดทนในการเรียน
๔. เมือ่ ผูใหญมีความกังวลตอผลการเรียน
๕. เมือ่ ผูใหญขาดความสนใจในหวั ขอที่เรียนหรือเรื่องทีเ่ รียน
๖. เมอ่ื มเี หตรุ บกวนทางกายและจติ ใจ มปี ญ หาทางครอบครวั
๗. ไมพอใจการบรรยาย การอภิปราย หรือมีทัศนคติไมดีตอ

ผูบรรยาย ตอการฝกอบรม
๘. รางกายไมแข็งแรง มีปญ หาสุขภาพ
๙. ผูใหญมีปญหามากในเรื่องอาชีพ ครอบครวั
๑๐. การเรียนรูนี้อาจเปน โอกาสสุดทายในการศึกษาเลาเรียน

๔๓


Click to View FlipBook Version