The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ประเภทหนังสือ (ปี 2562)

กองการพิมพ์

Keywords: ด้านทั่วไป

กระบวนก�รผลติ สอ่ื สง่ิ พิมพ
ประเภทหนงั สอื

กองก�รพมิ พ กรมที่ดนิ



ค�ำ น�ำ

หนังสือ จัดว่าป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีความจำ�เป็น เพื่อสื่อให้ผู้อ่าน
เข้าใจถึงความหมาย ความรู้ ทั้งศาสตร์และวิชาการต่างๆ ได้อย่างถูก
ต้องและยังสามารถเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารได้อย่างแพร่หลายกว่าสื่อ
ชนิดอื่น ซึ่งหนังสือแบ่งเป็นหลายประเภทตามลักษณะการใช้งาน และ
มีกระบวนการขั้นตอนการผลิตที่หลากหลายด้วยวิธีต่างๆ มากมาย เพื่อ
ให้หนังสือนั้นมีความถูกต้องสมบูรณ์
กองการพิมพ์ ซึ่งเป็นหน่วยงานสนับสนุนด้านภารกิจหลักของ
กรมที่ดิน ที่มุ่งเน้นพัฒนาและเพิ่มความสามารถในการปฏิบัติงานด้วย
เทคโนโลยีที่ทันสมัยอยู่เสมอ เพื่อตอบสนองความต้องการของหน่วยงาน
ภายในกรมที่ดินและประชาชน จึงมีแนวคิดในการจัดทำ� “กระบวนการ
ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือ” เพื่อใช้เป็นคู่มือการให้ความรู้ เพื่อ
เพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานและบริหารจัดการความรู้ของบุคลากรใน
หน่วยงาน และเป็นแนวทางการจัดทำ�หนังสือให้ถูกต้องและสมบูรณ์
เป็นประโยชน์กับผู้ปฏิบัติงานและสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ของ
กรมที่ดิน



ส�รบัญ หน�้
1
การผลิตสอ่ื ส่ิงพมิ พ์ประเภทหนังสอื 1
บทบาทของสือ่ ส่งิ พมิ พ ์ 2
ประเภทของสือ่ สิ่งพมิ พ ์ 8
โปรแกรมทีใ่ ช้ในการผลิตส่อื สงิ่ พิมพ์ 12
ระบบสสี าำ หรับงานพมิ พ ์ 15
หลกั การออกแบบสอ่ื สงิ่ พมิ พ ์ 20
กระบวนการผลติ สือ่ สงิ่ พมิ พ ์
- กระบวนการกอ่ นการพมิ พ์
- กระบวนการพิมพ์
- กระบวนการหลังการพมิ พ์



1

ก�รผลิตสอ่ื สิง่ พมิ พป์ ระเภทหนงั สอื

ส่อื สิ่งพิมพ ์ มคี วามสำาคญั ในปัจจบุ นั มากไมว่ ่าจะเปน็ หน่วยงาน
ภาครัฐ และเอกชน ตลอดจนสถาบันการศึกษาต่างๆ ก็นาำ ส่อื สิง่ พิมพม์ า
ชว่ ยให้เกดิ ความราบร่ืนในการทาำ งานเพ่ือเผยแพร่ขอ้ มูล ข่าวสาร และ
ความรู้สารสนเทศทีส่ ำาคัญให้กบั ทกุ คน เพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชน์ในการสื่อสาร
ไปในทิศทางเดยี วกัน ในสงั คมไทยมีสือ่ ส่ิงพมิ พห์ ลายแบบหลายลกั ษณะ
มีท้ังที่พิมพ์ในวงจำากัดและที่พิมพ์แพร่หลายทั่วไปตามความต้องการ
ของสังคมและจดุ มงุ่ หมายของผู้ผลติ ยง่ิ ในอนาคตอันใกล้นีป้ ระเทศไทย
กำาลงั กา้ วส่กู ารเปน็ ประเทศในกลุ่มอุตสาหกรรม ทาำ ใหป้ ระชาชนมีความ
ตอ้ งการทจี่ ะรับรขู้ ่าวสารท่ดี ี ที่ถกู ตอ้ ง กวา้ งขวาง และมีประสิทธิภาพ
ในบรรดาสอ่ื ต่างๆ ท่นี ำาเสนอขอ้ มลู ในปัจจุบัน ส่ือสิ่งพิมพน์ ับเป็นสอ่ื ที่
สำาคัญส่ือหน่งึ ท่ีสามารถตอบสนองความตอ้ งการเหล่านน้ั ได้ สอื่ สิง่ พิมพ์
ทำาหนา้ ท่เี ปน็ สอื่ มวลชนชนดิ หนงึ่ ซง่ึ มีความสาำ คญั ไม่แพส้ ่อื อนื่ ๆ

บทบ�ทของสอ่ื ส่งิ พมิ พ์

สอื่ สงิ่ พมิ พม์ บี ทบ�ท ดังตอ่ ไปนี้
1. บทบาทของส่อื ส่ิงพมิ พใ์ นงานส่ือมวลชน สอ่ื ส่งิ พิมพ์มีความ
สาำ คญั ในดา้ นการนำาเสนอขอ้ มูล ขา่ วสาร สาระ และความบนั เทงิ ซึ่ง
เม่อื งานส่ือมวลชนต้องเผยแพร่จงึ ต้องผลติ สอื่ สิ่งพมิ พ์ เช่น หนงั สอื พิมพ ์
วารสาร นติ ยสาร เป็นต้น
2. บทบาทสอ่ื ส่งิ พมิ พใ์ นสถานศกึ ษา ส่อื สิ่งพมิ พ์ถกู นำาไปใชใ้ น
สถานศกึ ษาโดยทว่ั ไป ซง่ึ ทำาให้ผู้เรียนผสู้ อนเข้าใจเนื้อหามากขึน้ เช่น
หนงั สือ ตาำ รา แบบเรยี น แบบฝก หดั สามารถพัฒนาไดเ้ ปน็ เนือ้ หาใน

2

ระบบเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ ได้
3. บทบาทของสือ่ ส่งิ พมิ พใ์ นงานด้านธุรกจิ สื่อสิง่ พิมพท์ ่ีถกู นำาไปใช้
ในงานธุรกิจประเภทตา่ งๆ เชน่ งานโฆษณา ไดแ้ ก ่ การผลติ หวั จดหมาย
ซองจดหมาย ใบเสรจ็ รบั เงิน ใบส่งของ โฆษณาหน้าเดียว นามบตั ร
เป็นตน้
4. บทบาทของสื่อส่ิงพมิ พใ์ นงานธนาคารงานดา้ นการธนาคาร ซง่ึ
รวมถงึ งานการเงนิ และงานทีเ่ ก่ียวกับหลกั ฐานทางกฎหมาย ไดน้ ำาสื่อ
สิ่งพมิ พ์หลายๆ ประเภทมาใช้ในการดำาเนินงาน เช่น ใบนาำ ฝาก ใบถอน
ธนบตั ร เชค็ ธนาคาร ต๋ัวแลกเงนิ และหนงั สอื เดินทาง
5. บทบาทของสอ่ื ส่ิงพิมพใ์ นห้างสรรพสินค้า และรา้ นค้าปลกี สอ่ื
สิ่งพิมพท์ ท่ี างหา้ งสรรพสินคา้ หรอื รา้ นคา้ ปลกี ใชใ้ นการดำาเนินธรุ กิจ
ไดแ้ ก่ ใบปดิ โฆษณาตา่ งๆ ใบปลิว แผน่ พบั จุลสาร

ประเภทของส่ือสงิ่ พิมพ์

ส่อื สงิ่ พิมพส์ �ม�รถแบง่ ออกไดเ้ ปน 4 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. สอ่ื ส่ิงพิมพป์ ระเภท หนังสอื พมิ พ ์ (Newspapers)
2. สอ่ื สิง่ พิมพป์ ระเภท นติ ยสารและวารสาร (Magazines and
Journals)
3. สอ่ื สิง่ พมิ พป์ ระเภท หนังสอื (Book)
4. สื่อสิ่งพิมพเ์ ฉพาะกจิ ตา่ งๆ เชน่ ใบปลวิ (Leaf lets), แผ่นพับ
(Folders), เอกสารเล่มเล็กหรอื จุลสาร (Booklets หรอื
Pamphlets) และ จดหมายข่าว (News letters)

3
1. สอ่ื สง่ิ พิมพ์ประเภท หนงั สือพมิ พ์ (Newspapers)
หนังสอื พมิ พเ์ ปน็ ส่ือสิ่งพิมพ์ทีเ่ ปน็ ส่อื มวลชนประเภทหนงึ่ ซ่งึ มี
ลกั ษณะเฉพาะตัว คือ มเี น้ือหาเนน้ หนักในเร่ืองของการรายงานขา่ ว และ
เหตุการณ์สำ�หรับคนทั่วไป มีความหลากหลายในเนื้อหา ไม่เน้นเฉพาะ
เรื่องใดเรื่องหนึ่ง นอกจากนี้หนังสือพิมพ์จะต้องพิมพ์เป็นรายประจำ�
แน่นอนสม่ำ�เสมอ อาจเป็นรายวันหรือรายสัปดาห์ก็ได้ และพิมพ์เผย
แพร่ส่สู าธารณชนจำ�นวนมากๆ เปดิ โอกาสใหค้ นซอ้ื อ่านได้ ปจั จบุ ันนีม้ ี
หนังสอื พิมพ์รายวนั ภาษาไทยอยหู่ ลายฉบับ เช่น ไทยรัฐ เดลนิ ิวส์ คนชดั
ลึก มตชิ น ข่าวสด สยามกีฬารายวัน ฯลฯ ส่วนหนงั สือพิมพภ์ าษาองั กฤษ
ได้แก่ บางกอกโพสต์ เดอะเนชั่น ฯลฯ นอกจากนี้ยงั มหี นงั สอื พมิ พ์
ประเภทธุรกจิ อกี หลายฉบับ เช่น ฐานเศรษฐกจิ ประชาชาตธิ รุ กจิ ผู้
จดั การ ฯลฯ และยังมีหนงั สอื พิมพใ์ นสว่ นภมู ิภาคที่พมิ พเ์ ผยแพรเ่ ฉพาะ
ในบางจงั หวดั อีกเป็นจ�ำ นวนมาก

4

2. สอ่ื สง่ิ พมิ พป์ ระเภทนติ ยสารและวารสาร (Magazines and Journals)
นิตยสารและวารสารเป็นหนังสือท่ีมีระยะเวลาออกเป็นรายคาบไว้
แนน่ อน เชน่ รายสัปดาห์ รายปักษ์ (ครง่ึ เดือน) รายเดอื น ราย 3 เดอื น
เปน็ ต้น
นิตยสาร (Magazines) มีลักษณะต่างจากสิ่งพิมพ์อื่นๆ คือ เน้น
หนักทางด้านเสนอบทความ สารคดี และข้อเขียนต่าง ๆ ที่ให้ความรู้
ความบันเทิงกับผู้อ่านโดยทั่วไป มีการจัดหน้าและรูปเล่มที่สวยงาม ใน
ประเทศไทยมีนิตยสารอยู่มากมายหลายฉบับ ทั้งนิตยสารที่ให้ความรู้
ความบันเทิงเฉพาะด้านแตกต่างกันไป เช่น เศรษฐกิจ การเมือง ศิลปะ
วัฒนธรรม ธุรกิจ การท่องเที่ยว บันเทิง สุขภาพ กีฬา ตลอดจนนิตยสาร
ที่ออกมาเพื่อผู้อ่านเฉพาะวัย ได้แก่ นิตยสารสำ�หรับเด็ก ผู้ใหญ่ ผู้ชาย ผู้
หญิง ฯลฯ นิตยสารและวารสารที่จัดว่ามีประโยชน์มากต่องานส่งเสริม
และเผยแพร่ คือ นิตยสารประเภทธุรกิจ การค้า อุตสาหกรรม นิตยสาร
วิชาชีพ เช่น ธุรกิจเกษตร อุตสาหกรรมไทย ใกล้หมอ ชีวิตและสุขภาพ
เป็นต้น
วารสาร (Journals) ต่างจากนิตยสารตรงที่วารสารมักจะป็น
สิ่งพิมพ์ทางวิชาการของหน่วยงานต่างๆ ซึ่งจัดพิมพ์โดยสถาบัน สมาคม
หน่วยงานของรัฐ และเอกชน เนื่องจากวารสารเป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้ความ
รู้เฉพาะด้านจึงมักมีผู้สนใจเฉพาะกลุ่มเท่านั้น และบางฉบับไม่มีการ
จำ�หน่ายแพร่หลายโดยทั่วไปต้องสั่งซื้อจากหน่วยงานนั้นๆ หรือบาง
หน่วยงานก็พิมพ์เพื่อเผยแพร่ในรูปแบบของการให้เปล่า

5
3. สอื่ สิ่งพิมพป์ ระเภท หนงั สือ (Book)
หนังสือ คือ สิ่งพิมพ์ที่เย็บรวมกันเป็นเล่มที่มีความหนาและมี
ขนาดตา่ งๆ กัน ไม่มกี �ำ หนดออกแน่นอน และไม่ต่อเนอื่ งกัน แสดงเนอ้ื หา
วิชาการในศาสตร์ความรู้ต่างๆ เพื่อสื่อให้ผู้อ่านเข้าใจความหมาย ด้วย
ความรู้ที่เป็นจริงจึงเป็นส่ือสิ่งพิมพ์ท่ีเน้นความรู้อย่างถูกต้องและมีความ
สมบูรณใ์ นตวั เอง หนังสอื แบ่งออกเปน็ หลายประเภทตามแตล่ กั ษณะของ
เนื้อหา เช่น หนังสอื นิยาย หนงั สอื เรียน หนงั สือวิชาการ สารคดี หนังสอื
เพลง หนงั สอื การต์ ูน บทกวีนพิ นธ์ หนงั สือเป็นสง่ิ พมิ พท์ ี่มีผ้สู นใจเฉพาะ
กลุม่ เช่นเดียวกับหนงั สอื วารสาร เช่น กลุม่ นักเรียน นกั ศกึ ษาหรือกลุ่ม
อาชีพทีม่ คี วามสนใจเฉพาะด้าน ยกเว้นแตห่ นงั สอื ทีเ่ น้นหนักไปทางดา้ น
บนั เทิง สว่ นใหญห่ นังสือจะมจี �ำ นวนพิมพไ์ มม่ ากนักขึน้ อยู่กบั การนำ�ไปใช้
งาน

6
4. สอื่ สง่ิ พิมพ์เฉพาะกจิ
เป็นหนังสือพิมพ์ที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้ในกิจการใดกิจการหนึ่งโดย
เฉพาะ เช่น การโฆษณาประชาสัมพันธ์ โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านต่างๆ
ซึ่งอาจเปน็ สงิ่ พมิ พท์ ก่ี ล่าวมาแลว้ ใน 3 ชนิดแรกท่ีผลิตขน้ึ เฉพาะเพ่ือใชใ้ น
งานใดงานหน่ึง แต่ในทนี่ จี้ ะขอเนน้ เฉพาะ ส่งิ พิมพใ์ นรปู แบบอน่ื ๆ ทน่ี อก
เหนือไปจากสิ่งพมิ พ์ 3 แบบที่กล่าวมาแลว้ คอื
1. แผน่ ปลิวหรอื ใบปลิว (Leaflets, Handbill) เปน็ สื่อส่ิงพิมพใ์ บ
เดียว ทเี่ นน้ การประกาศหรือโฆษณา มกั มขี นาด A4 เพือ่ งา่ ยในการแจก
จา่ ย ลกั ษณะการแสดงเนอื้ หาเปน็ ขอ้ ความทผี่ ูอ้ า่ นอ่านแล้วเข้าใจง่าย
2. แผน่ พับ (Folder) เป็นสอ่ื สง่ิ พิมพท์ ผ่ี ลิตโดยเน้นการน�ำ เสนอ
เนือ้ หา ซงึ่ เน้ือหาทนี่ ำ�เสนอน้นั เป็นเนอ้ื หา ท่สี รปุ ใจความส�ำ คญั ลกั ษณะ
มกี ารพับเป็นรูปเลม่ ต่างๆ
3. เอกสารเย็บเล่ม (Brochures) เป็นสอ่ื ส่งิ พมิ พ์ที่มลี ักษณะเปน็
สมุดเลม่ เลก็ ๆ เยบ็ รวมกันเป็นเลม่ บางๆ สีสันน่าอา่ น ใช้เผยแพร่ แนะนำ�
มีเนอ้ื หาละเอียดข้นึ จากแผ่นพับ
4. จุลสาร (Booklets หรอื Pamphlet) เป็นสอ่ื ส่งิ พิมพเ์ อกสาร
ท่เี ยบ็ เลม่ เช่นเดียวกนั มีปกหน้ามเี นอื้ หาให้รายละเอยี ดเกี่ยวกับนโยบาย
ของหน่วยงาน และคู่มือการปฏบิ ตั งิ านในหัวข้อเรื่องใดเรือ่ งหนง่ึ อาจเป็น
เอกสารทีใ่ ชใ้ นการเรยี นการสอนและการศกึ ษารายบคุ คลกไ็ ด้ สำ�หรบั
จุลสารทเ่ี รียกว่า Pamphlets เป็นจุลสารชนดิ หน่ึงท่รี วมกันหลายๆ หนา้
แต่ไม่เย็บเล่ม
5. จดหมายเวียน (Circular letters) เป็นสือ่ สิ่งพิมพท์ ี่มีลกั ษณะ
เช่นเดยี วกันกับแผน่ ปลวิ ใชส้ ำ�หรับแจง้ ให้ทราบข่าวเฉพาะเร่ือง หรอื
ชักจงู ใจสน้ั ๆ เช่น รายกจิ กรรมต่างๆ หรือขา่ วความร้ใู หมๆ่

7
6. หนังสือพมิ พฝ์ าผนงั (Wall papers) เป็นหนงั สือพิมพ์ทีท่ าำ
เป็นแผ่นๆ ไว้ติดบนกำาแพงหรอื ทีบ่ อร์ด ใหผ้ ้สู นใจอ่าน มีเพียงแผ่นเดยี ว
เนอ้ื หาประกอบไปด้วยข่าว การพาดหัวข่าว เปน็ ต้น
7. โปสเตอร ์ (Posters) เปน็ สอื่ สิ่งพิมพโ์ ฆษณาโดยใชป้ ิดตามสถาน
ทต่ี า่ งๆ มีลักษณะเป็นกระดาษเพยี งแผน่ เดยี ว มีขอ้ ความหรอื รูปภาพ
ประกอบช่วยส่อื ความหมายในการบอกขา่ ว ชกั จงู ใจ หรือดึงดูดความ
สนใจเพื่อรณรงค์ในเร่ืองต่าง ๆ

8

โปรแกรมที่ใช้ในก�รผลติ สื่อสิ่งพิมพ์

ปัจจุบันนี้มีโปรแกรมสำาเร็จรูปท่ีนำามาใช้ในการผลิตสื่อส่ิงพิมพ์
มากมายที่ได้รับความนิยมนำามาใช้ในการออกแบบหรือจัดหน้าสื่อสิ่งพิมพ์
ทาำ การผลติ สื่อสงิ่ พมิ พใ์ หม้ คี วามนา่ สนใจมากขน้ึ ซงึ่ ในหัวขอ้ นี้จะกล่าว
ถึงโปรแกรมท่ไี ดร้ ับความนยิ มในการผลิตสง่ิ พมิ พ์เท่านั้น โดยมโี ปรแกรม
ตา่ งๆ ดงั น้ี
1. โปรแกรมไมโครซอฟต์เวริ ด์ (Microsoft Word)

โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดเป็นโปรแกรมที่ผลิตโดยบริษัท
ไมโครซอฟต์ โดยผลิตรุ่น 2.0 มาก่อน จากนั้นพัฒนาเป็นรุ่น 6.0 ซึ่ง
ทำางานบนระบบวินโดวส์ 3.1 ต่อมามีการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง
ต่างๆ โดยมีการพัฒนาโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดให้รองรับการใช้งาน
บนระบบปฏิบัติงานต่างๆ ซึ่งโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดเป็นโปรแกรม
ที่ช่วยในการจัดการสิ่งพิมพ์ หน่วยงานต่างๆ มักจะนำาโปรแกรมนี้ไปใช้
ในเอกสาร รายงานต่างๆ มากมาย

9

2. โปรแกรมโฟโต้ช้อพ (Adobe Photoshop)

เป็นโปรแกรมสำาหรับจัดการกับภาพหรืองานกราฟิกท่ีต้องการ
ความละเอยี ดสงู เหมาะสาำ หรบั งานออกแบบทัว่ ไป เชน่ โปสเตอร ์ โบรชัวร์
ออกแบบหน้าปกหนงั สือ งานท่เี นน้ การทาำ งานเกย่ี วกบั ภาพเปน็ หลกั ไม่
วา่ จะเปน็ ภาพถ่ายจากกลอ้ งดจิ ติ อลหรือภาพที่ไดม้ าจาก Photostock
เป็นโปรแกรมตั้งต้นสำาหรับจัดการกราฟฟิคและเป็นโปรแกรมที่ได้รับ
ความนิยมสูงในการแต่งภาพ สามารถเปิดไฟล์รูปได้หลากหลาย เช่น
JPEG, TIFF, DNG, Traga, BMP, PICT นอกจากนี้ยังสามารถตกแต่งสี
ให้กับรูปภาพคมชัดขึ้นเพื่อนำาไปใช้กับโปรแกรมอื่นๆไม่เหมาะกับการนำา
มาออกแบบหนังสือเป็นเล่มโดยตรง ถึงแม้ว่าจะทำาได้ก็ตาม

10
3. โปรแกรม Illustrator

เปน็ โปรแกรมทชี่ ว่ ยในการสร้างภาพกราฟกิ แบบเวกเตอรเ์ พอ่ื ใช้ใน
การประกอบข้อความทีไ่ ดจ้ ากการพมิ พโ์ ดยโปรแกรม Ms – word เหมาะ
สำาหรบั งานออกแบบทว่ั ไป ไมว่ า่ จะเปน็ โปสเตอร์ โบรชัวร ์ หน้าปก
หนังสอื กล่องบรรจุภณั ฑ์ตา่ งๆ การทำางานส่วนใหญจ่ ะทำาใน Illustrator
เปน็ หลกั ในทน่ี ้ีแนะนาำ ใหต้ กแตง่ ภาพใหเ้ สร็จเรยี บรอ้ ยใน Photoshop
เสรจ็ แล้วคอ่ ยนาำ ภาพเขา้ มาใช้ (Place) ใน Illustrator อกี ทหี น่งึ
4. โปรแกรม Page Maker

11
เปน็ โปรแกรมประเภท Desktop Publishing หรอื โปรแกรม
สำาหรบั งานออกแบบสื่อสิ่งพมิ พ์ตา่ งๆ เชน่ หนังสอื แผน่ พบั ประกาศ
กระดาษหวั จดหมาย ฯลฯ ลักษณะการทาำ งานของโปรแกรมจะคลา้ ยกับ
การตัดปะ หรือจัดภาพกบั ข้อความเข้าด้วยกนั ภาพหรอื ข้อความส่วน
ใหญจ่ ะสรา้ งในโปรแกรมอนื่ แล้วนำาเข้ามาจดั เข้าดว้ ยกนั ใน PageMaker
อกี ท ี จะวา่ ไปแล้วหน้าทีห่ ลกั ของโปรแกรมน้กี ็คือการจดั หนา้ จัดภาพและ
ข้อความเขา้ ดว้ ยกันให้เปน็ สิ่งพมิ พ์ทสี่ มบูรณ ์
5. โปรแกรม Adobe InDesign

เป็นโปรแกรมสำาหรบั นกั ออกแบบสอ่ื สิง่ พมิ พ ์ ไมว่ า่ จะเปน็ นิตยสาร
โบชัวร ์ ปกหนังสอื หรืองานพมิ พอ์ ื่นๆ ก็ทาำ ได้งา่ ย เหมาะสาำ หรับการ
ออกแบบงานหนังสือที่เป็นลักษณะเล่มมีจำานวนหน้าท่ีเยอะลักษณะการ
ใช้งานจะเป็นในลักษณะ“จัดหน้าหนังสือ”มากกว่า“ออกแบบกราฟฟิค”
ภาพและกราฟฟคิ ทใี่ ช้มกั จะตกแต่งแล้วเสร็จมาจาก Photoshop/Illus-
trator แล้วค่อยนาำ มาวางใน InDesign เพ่อื จัดรูปเลม่ หนังสอื อีกตอ่ หนึ่ง

12

ระบบสสี ำ�หรับง�นพิมพ์

งานพิมพ์ส่วนใหญ่มักประสบปัญหาเรื่องสีของงานพิมพ์จริงท่ี
พิมพ์จากเครื่องพิมพ์ระบบออฟเซ็ทแล้วสีบางสีในภาพพิมพ์ผิดเพี้ยนไป
จากภาพทเ่ี หน็ บนจอคอมพิวเตอร์เวลาเราออกแบบ ดงั น้ันการตง้ั คา่ สใี น
ไฟล์ให้ถูกต้องและเหมาะสมกับชน้ิ งานจึงเป็นเรอ่ื งทส่ี ำาคญั มาก เพราะ
นอกจากในเรื่องของความสวยงามแล้วนั้นอีกจุดที่สำาคัญคือการแสดงผล
ทถ่ี ูกตอ้ งไมผ่ ิดเพยี้ นไปจากสที ่ตี ้องการ
1. ระบบสี RGB (อ�ร์จบี )ี

ระบบส ี RGB เป็นระบบสขี องแสง ซึง่ เกิดจากการหกั เหของแสง
ผ่านแท่งแก้วปริซมึ จะเกิดแถบสีท่ีเรยี กวา่ สีรุ้ง ซึ่งแยกสีตามทสี่ ายตา
มองเหน็ ได ้ 7 สี คือ แดง แสด เหลือง เขยี ว นำ้าเงิน คราม มว่ ง ซ่งึ เป็น
พลงั งานอยใู่ นรปู ของรงั ส ี ท่มี ีชว่ งคลน่ื ที่สายตา สามารถมองเห็นได ้ แสง
สีมว่ งมีความถี่คลืน่ สงู ทส่ี ุด คล่นื แสงทมี่ คี วามถ่ีสูงกวา่ แสงสมี ว่ ง เรยี กวา่
Ultra Violet (อุลตราไวโอเลต) และคล่นื แสงสแี ดง มคี วามถีค่ ล่นื ตาำ่ ทีส่ ดุ
คล่ืนแสงที่ต่ำากวา่ แสงสีแดงเรียกว่า InfraRed (อินฟราเรด) คล่นื แสงที่

13
มคี วามถี่สูงกวา่ สีม่วง และต�่ำ กวา่ สแี ดงนน้ั สายตาของมนุษย์ไมส่ ามารถ
รับได้ และเม่ือศึกษาดูแลว้ แสงสีท้งั หมดเกิดจากแสงสี 3 สี คือ Red (สี
แดง), Blue (สีน้�ำ เงนิ ), Green (สเี ขียว) ทั้งสามสถี ือเป็นแม่สขี องแสง เม่อื
นำ�มาฉายรวมกนั จะท�ำ ใหเ้ กิดสีใหม่ อกี 3 สี คือ สีแดง (Magenta) สฟี า้
(Cyan) และสเี หลอื ง (Yellow) และถา้ ฉายแสงสที ั้งหมดรวมกนั จะไดแ้ สง
สขี าว จากคณุ สมบตั ิของแสงนี้เราไดน้ ำ�มาใชป้ ระโยชน์ทั่วไปในการฉาย
ภาพยนตร์ การบนั ทึกภาพวดิ โี อ ภาพโทรทัศน์ การสร้างภาพเพ่อื การน�ำ
เสนอทางจอคอมพิวเตอร์ และการจดั แสงสใี นการแสดง เปน็ ตน้
2. ระบบสี CMYK (ซเี อ็มวายเค)

ระบบสี CMYK เป็นระบบสีชนิดทเ่ี ปน็ วัตถุ คือ สีแดง เหลือง
น�ำ้ เงิน แตไ่ มใ่ ชส่ นี ้�ำ เงนิ ท่เี ปน็ แมส่ วี ตั ถุธาตุ แม่สใี นระบบ CMYK เกิดจาก
การผสมกนั ของแมส่ ีของแสง หรอื ระบบสี RGB คือ
- แสงสีน้�ำ เงนิ + แสงสเี ขียว = Cyan (สฟี ้า)
- แสงสีนำ้�เงนิ + แสงสีแดง = Magenta (สแี ดง)
- แสงสแี ดง + แสงสีเขยี ว = Yellow (สเี หลือง)

14
สฟี า้ สีแดง สีเหลอื ง นี้นำ�มาใชใ้ นระบบการพมิ พ์ และมกี ารเพ่มิ
เตมิ สีดำ�เข้าไปเพือ่ ใหม้ นี �้ำ หนักเข้มขึ้นอีก เม่อื รวมสีดำ� (Black = K) เข้าไป
จึงมีสีส่ ี โดยทัว่ ไปจงึ เรยี กระบบการพิมพน์ ้ีว่าระบบการพิมพ์สสี่ ี (CMYK)
3. Pantone (เเพนโทน) /สพี เิ ศษ

Pantone เกิดข้ึนมาเพื่อใช้กำ�หนดสี และก�ำ จดั การเข้าใจผดิ กัน
ระหวา่ งโรงพิมพ์และนกั ออกแบบเรือ่ งสีของงานพมิ พ์ ส่วนค�ำ วา่ Pan-
tone คอื ชื่อบรษิ ทั ท่ที ำ�ธรุ กิจเกย่ี วกบั สีทเ่ี กี่ยวข้องกับงานพมิ พ์ทกุ ชนดิ
ท่ีต้องการความแม่นย�ำ ในการก�ำ หนดคา่ กอ่ นพิมพ์ Pantone ทน่ี ยิ มใช้
กนั ท่วั ไปคือ PANTONE SOLID COLOR (เพนโทน โซลิด คัลเลอร์) หรือ
เรยี กอกี อยา่ งหนง่ึ วา่ PANTONE SPOT COLOR (เพนโทน สปอต คลั เลอร)์
หรือสีพิเศษ สีของ Pantone นน้ั บางคนเข้าใจผดิ วา่ เกดิ จากการผสมของ
สี CMYK จึงทำ�ใหเ้ กิดสีพเิ ศษ แตท่ ี่จริงแลว้ นน้ั เกิดจากการผสมของสีอน่ื ที่
มเี ฉดทีแ่ ตกตา่ งกนั ออกไปเขา้ ดว้ ยกนั ไม่ใชเ่ พยี งแต่ CMYK เท่านั้นเพราะ
วา่ สีของ Pantone นน้ั ถกู ทำ�ขึน้ มาเพื่อทดแทนสที ่ี CMYK ไม่สามารถ
พมิ พไ์ ด้ โดยสี Pantone นนั้ จะถูกระบุเปน็ รหสั เชน่ Pantone 101c
เปน็ ต้น

15

ในการออกแบบนั้นผูอ้ อกแบบสามารถกาำ หนด Pantone โดยการ
บอกรหัสสีให้โรงพิมพ์ในการผสมสีเพ่ือเตรียมพิมพ์ได้เลยเพราะโรงพิมพ์
น้ันจะยดึ สีตาม Pantone เพอ่ื ให้ลูกค้าได้งานพมิ พส์ ที ตี่ อ้ งการและตรง
กนั อย่างแมน่ ยำา

หลักก�รออกแบบสอื่ สงิ่ พิมพ์

หลักการออกแบบ (principal of design) หมายถึง การนำาองค์
ประกอบมูลฐานมาจากหรือรวบรวมเข้าด้วยกันอย่างมีระบบในงาน
ออกแบบไม่ว่าเป็นตัวอักษรท่ีเป็นเน้ือหาภาพประกอบหรือแม้แต่พื้นที่
วา่ งๆ กต็ าม หลกั การออกแบบสอ่ื สง่ิ พมิ พ์ มีดงั นี้
1. คว�มสมดลุ (Balance)
สมดลุ คือ การกระจายอยา่ งท่ัวถึงของนาำ้ หนกั ในงานออกแบบส่ิง
พิมพ์ น้ำาหนักของส่วนประกอบต่างๆ เป็นน้ำาหนักที่สายตารู้สึกเมื่อมอง
ส่วนประกอบนั้นๆ ทุกส่วนบนเลย์เอ้าท์มีน้ำาหนักซึ่งรู้สึกได้จากขนาด
ความมดื หรอื ความสวา่ ง สแี ละความเข้มของส ี ความหนาและบางของ
เสน้ ความสมดุลในงานออกแบบสอ่ื สิ่งพิมพ ์ มี 2 ประเภท ไดแ้ ก ่
• ความสมดุลแบบสมมาตร (Symetrical or Formal Balance)
หมายถึง การจัดวางภาพโดยวางองค์ประกอบให้ซีกซ้ายและซีกขวามี
ลกั ษณะเหมอื นกนั ทกุ ประการ ความสมดลุ ในลกั ษณะนจี้ ะใหค้ วามรสู้ ึก
ท่ีเครง่ ครัดเปน็ ระเบยี บ บางครัง้ กเ็ รยี กว่า “สมดุลแท้” สามารถนาำ ไป
ใชใ้ นการออกแบบสอ่ื ส่งิ พิมพ์ทเ่ี ปน็ ทางการ เช่น เอกสารของหนว่ ยงาน
ราชการ จดหมายข่าว หนังสอื ตำารา แบบเรยี น เป็นตน้

16
• สมดลุ แบบอสมมาตร (Asymetrical or Informal Balance)
เป็นการจัดองค์ประกอบเพื่อให้ผู้ดูเกิดความรู้สึกว่าองค์ประกอบในซีก
ซ้ายและขวามีปริมาณที่เท่าๆ กันแม้ว่าลักษณะที่แท้จริงจะไม่เหมือน
กันก็ตามสมดุลในลักษณะนี้จะให้ความรู้สึกท่ีเป็นอิสระไม่เคร่งคัดบาง
คร้งั เรยี กความสมดุลแบบนว้ี า่ “สมดุลในความรู้สึก” สามารถนาํ ไปใช้
ออกแบบส่ือสิ่งพมิ พ์ที่เน้นความสวยงามหลากหลาย เช่น การจดั หน้า
นติ ยสาร หนงั สอื พมิ พ์ ใบปลวิ โปสเตอร์ เป็นต้น
การสรา้ งความสมดุล
• กำ�หนดจุดศนู ย์กลางของชิน้ งาน
• สว่ นประกอบเลก็ ๆ หลายชนิ้ สามารถสมดุลกบั สว่ นประกอบ
ใหญห่ น่งึ ชิ้น
• ใชร้ ูปรา่ งท่แี ปลกออกไปหนงึ่ หรอื สองช้นิ ร่วมกับรูปรา่ งทว่ั ๆ
ไป
• เว้นช่องว่างสขี าวให้มากรอบๆ คอลัมน์สเี ข้ม หรอื รปู ภาพมดื ๆ
• ตัวอักษรทีห่ นาหนกั ควรมีภาพสสี วา่ ง สดใสมาช่วยให้สว่างข้นึ
• ภาพถ่ายหรือภาพประกอบสีทบึ ควรวางตัวหนังสือชนิ้ เลก็ ๆ
หลายช้ินประกอบเข้าไป และเวน้ ช่องไฟสขี าวโดยรอบเยอะ ๆ
2. จงั หวะ (Rhythm)
ลักษณะของจังหวะในการจัดภาพ ไดแ้ ก่ การวางองค์ประกอบ
มูลฐานทางศิลปะให้มีระยะตําแหน่งขององค์ประกอบเป็นช่วงๆก่อให้เกิด
ความร้สู กึ เคลือ่ นไหวต่อเนือ่ งและความมที ิศทางแกผ่ ู้อ่าน การออกแบบ
สิง่ พมิ พ์ต้องมจี ังหวะ เช่น ช่องวา่ งในการพกั สายตาใหก้ บั ผอู้ ่านดว้ ยความ
สวยงาม และเอกลกั ษณท์ ่ีสําคัญของการจดั วางหน้าสื่อสิง่ พมิ พ์ (lay out)
กค็ อื การมีชอ่ งว่าง ที่เป็นแนวตรงของการแบ่งพ้นื ทบี่ นหน้ากระดาษท่ี

17
เรียกวา่ “การแบง่ คอลัมน”์
การสร้างจังหวะในงานออกแบบ
• วางองคป์ ระกอบเดิมซ�ำ้ กันและใหม้ ชี อ่ งไฟเท่ากัน
• วางองค์ประกอบเดมิ ในขนาดท่ใี หญ่ขึ้นเรอื่ ยๆ และขยายชอ่ งไฟ
ข้ึนให้รับกนั
• มีการกลับความหนาบางของตวั อักษร เชน่ ใหม้ ีตวั อกั ษร
บางเบา สลับกับตัวทบึ หนา
• วางองค์ประกอบเดิมในหลายๆ จดุ บนเลยเ์ อา้ ท์
• ถา้ มหี ลายหน้าอาจวางองคป์ ระกอบเดิมทจี่ ดุ เดยี วกนั บนทกุ ๆ
หนา้
3. การเนน้ (Emphasis)
การเน้นจุดแห่งความสนใจ หลักการเน้นจุดแห่งความสนใจใน
การออกแบบสือ่ สิง่ พมิ พ์ หมายถึง การสรา้ งจดุ แหง่ ความสนใจ (cen-
ter of interest) ใหเ้ กดิ ขึ้นในงานออกแบบ โดยการกำ�หนดบรเิ วณใด
บรเิ วณหนง่ึ ในภาพทีเ่ หมาะสมใหม้ ลี กั ษณะพเิ ศษกว่าบรเิ วณอนื่ เพ่ือใช้
เป็นเครื่องดึงความสนใจแก่ผู้อ่านวิธีกำ�หนดจุดแห่งความสนใจอย่างง่าย
โดยใชเ้ ทคนคิ แบง่ สามซ่งึ จะทาํ ให้เกดิ ตาํ แหนง่ จุดแห่งความสนใจ 4 จุด
ในภาพ ผ้อู อกแบบสามารถเลอื กได้ตามความเหมาะสม นอกจากนน้ั
ยงั สามารถกำ�หนดจดุ แหง่ ความสนใจ โดยอาศยั จดุ ท่ีเรยี กว่า “จุดรวม
สายตา” (optical center) ซ่งึ อย่ทู ่แี นวแกนกลาง เหนอื เส้นกลางหน้า
แนวนอนครง่ึ หนึง่ ในการวางตาํ แหน่งที่ตอ้ งการเน้น ควรอยบู่ นเสน้ “โกล
เดน พรอบพรอชนั ” (golden proportion) จะสามารถเร้าความสนใจ
จากผูด้ ไู ด้ดีท่สี ุด การเน้นจุดแหง่ ความสนใจยงั สามารถกระทาํ ได้อกี หลาย

18
ลกั ษณะ เช่น เนน้ ท่ขี นาดของตวั อักษร เนน้ รูปรา่ งของภาพประกอบ เน้น
ทส่ี โี ดยการใชส้ ีตดั กนั หรือตัวอกั ษรเจาะขาวบนพน้ื ทบึ รวมทั้ง เน้นโดย
ใช้เส้นชักนําสายตา เป็นต้น การจดั วางส่อื สิง่ พมิ พโ์ ดยเนน้ จุดแห่งความ
สนใจนิยมในการออกแบบสื่อส่ิงพิมพเ์ ฉพาะกิจประเภทโปสเตอร์ ใบปลวิ
เปน็ ตน้ การกำ�หนดจุดแห่งความสนใจควรให้มเี พยี งจดุ เดียวในภาพ การ
ทจ่ี ะอย่บู รเิ วณใดในหน้าสง่ิ พมิ พน์ นั้ ไม่มกี ฎเกณฑท์ ่ีตายตัว แตไ่ ม่ควรอยู่
บรเิ วณกง่ึ กลาง และในบรเิ วณชดิ ขอบมากเกนิ ไป
การท�ำ ใหเ้ กดิ จดุ สนใจ
• วางรูปภาพทีต่ ้องการเน้นใหก้ รอบภาพมรี ูปทรงแปลกออกไป
ท่ามกลางรูปทีม่ กี รอบสี่เหล่ียมและมีชอ่ งไฟเทา่ ๆ กัน
• ใช้เสน้ โคง้ เป็นรูปร่างของตัวอกั ษรทจี่ ะเนน้ ท่ามกลางตวั อักษร
ตรง ๆ
• ใชต้ ัวอกั ษรสหี รอื รูปแบบตวั อกั ษรทตี่ า่ งออกไปเม่อื ตอ้ งการเนน้
• ใชต้ วั อกั ษรขาวบนพืน้ สีสำ�หรบั สง่ิ ท่ีจะเน้น
• ใช้ตัวหนาสำ�หรับหัวข้อและตัวอกั ษรทบ่ี างลงส�ำ หรบั เนือ้ หา
4. เอกภาพ (Unity)
หลกั ความมีเอกภาพในการออกแบบสือ่ สง่ิ พิมพ์ หมายถึง การจดั
วางองค์ประกอบให้มีการรวมตัวเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันโดยไม่แตกแยก
กระจัดกระจาย งานออกแบบที่ขาดเอกภาพจะทําใหผ้ ู้อ่านเกิดความร้สู ึก
แปลกแยกและไม่นา่ สนใจ เทคนิคของการสร้างความมเี อกภาพใหก้ ับงาน
ออกแบบสื่อสง่ิ พิมพ์ เชน่ การนาํ รปู แบบรปู ทรงมาวางซ้อนทบั เกี่ยวเนอ่ื ง
กัน การซ้อนทับกันย่อมสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันให้เกิดขึ้นใน
ภาพได้, การใชร้ ูปร่าง รปู ทรง ทีม่ คี วามกลมกลืนกนั ทาํ ให้เกดิ เอกภาพ,

19
การใช้เส้นชักนําสายตาสู่จุดเดียวกันลักษณะของเส้นชักนําสายตารวมที่
สู่จุดเดียวกันย่อมทําให้ผู้อ่านรู้สึกว่ามีความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันหรือ
เกิดเอกภาพ การใชเ้ สน้ โยงเพอ่ื ทําใหเ้ กิดเอกภาพ รวมทง้ั การใชส้ ีวรรณะ
เดยี วกนั
การสรา้ งเอกภาพ
• ใช้ตวั อักษรเพยี งหนง่ึ หรือสองแบบตลอดชิ้นงาน ถ้าจะให้มกี าร
ตดั กันให้ใชข้ นาดท่ีแตกต่างกัน
• ใหม้ คี วามสม่�ำ เสมอในเรื่องแบบตัวอกั ษรขนาดของหัวข้อ
หัวขอ้ ยอ่ ย และข้อความ
• เลอื กภาพทมี่ โี ครงสคี ล้ายคลงึ กัน
• วางรปู ภาพและคอลมั นใ์ นเส้นกรดิ เดยี วกนั
• เลอื กใช้สีจากชุดสีเดียวกนั ตลอดท้งั งาน
• ให้มกี ารซำ้�กันของสี รูปร่างและพื้นผิวในท่ตี า่ งๆ ตลอดทัง้ งาน
5. ความมีสดั ส่วน
หลกั ความมสี ดั สว่ นในการออกแบบส่อื ส่ิงพมิ พ์ หมายถึง การจัด
วางองค์ประกอบโดยคํานึงถึงความสัมพันธ์ของขนาด รูปร่างขององค์
ประกอบ เชน่ ตวั อกั ษร รูปภาพประกอบ บนหน้ากระดาษส่ิงพิมพ์ ความ
สมั พันธร์ ะหว่างดา้ นกว้างและด้านยาวของสง่ิ พมิ พ์ รวมท้งั ความเหมาะ
สมของสัดสว่ น ขนาด รปู แบบ รูปเลม่ ของส่ือสง่ิ พิมพ์
6. ความเรียบงา่ ย
การวางองคป์ ระกอบในการจัดภาพ ควรเน้นทคี่ วามเรยี บง่ายไม่รก
รุงรัง เพราะแม้ว่านกั ออกแบบจะสามารถออกแบบใหผ้ ลงานส่ือส่งิ พมิ พ์
หรูหราสักเพียงใดก็ตามหากไม่สามารถสื่อความหมายได้ตามที่ต้องการ

20

แลว้ ก็นับเปน็ ความสูญเปลา่ นัน่ เอง ดงั นนั้ หลกั ความเรยี บงา่ ยของการ
ออกแบบสื่อส่ิงพมิ พก์ เ็ พอื่ ให้งา่ ยตอ่ การรับรู้ของผอู้ ่าน

กระบวนก�รผลิตส่ือสง่ิ พิมพ์

กระบวนการผลติ ส่ือส่งิ พมิ พ ์ คอื ข้นั ตอนและกรรมวธิ ใี นการผลติ
ส่งิ พิมพต์ า่ งๆ เช่น นามบตั ร โบรชวั ร์ หนังสอื วารสาร กลอ่ งบรรจุภัณฑ์
หรอื เอกสารสาำ คญั ๆ ต่างๆ เพ่ือให้ไดร้ ปู แบบและปริมาณตามความตอ้ ง
การของลกู คา้

กระบวนก�รผลติ ส่อื สง่ิ พมิ พ์ แบ่งออกเปน 3 ขัน้ ตอน ดงั นี้
1. กระบวนการกอ่ นการพิมพ ์ [Pre-Press Process]
2. กระบวนการพมิ พ์ [Press/Printing Process]
3. กระบวนการหลงั การพมิ พ ์ [After Press Process]
1. กระบวนก�รก่อนก�รพิมพ์ [Pre- Press Process]
ขั้นตอนดังกล่าวน้ีได้ถูกพัฒนามาอย่างต่อเน่ืองและต้ังแต่มีการ
นำาวิทยาการของคอมพิวเตอร์มาใช้ในการออกแบบส่ือสิ่งพิมพ์ก็ย่ิง
ทำาให้กระบวนการกอ่ นการผลติ มคี วามสะดวกรวดเรว็ และทนั สมยั มาก
ข้นึ ในข้นั ตอนนี้จะเร่ิมตง้ั แต่การจดั การในส่วนของ File งาน การทาำ ฟลิ ์ม
แยกสี การทำาเพลทแม่พมิ พ ์ รวมถึงขนั้ ตอนของการตรวจสอบ หรือการ
Proof งาน ซ่งึ แตล่ ะส่วนจะมรี ายละเอียดการจัดการดงั ตอ่ ไปนี้
ขนั้ ตอนของก�รจดั ก�ร File ง�น
1. การเตรียม File สาำ หรับส่งพิมพ์/การแปลงข้อมูลจาก File ลูก
ค้า รวมไปถงึ การออกแบบงาน การจดั การขอ้ มูล ใหพ้ รอ้ มสำาหรบั การ

21

พมิ พ การแปลงขอมูลใหเ ปนไฟลดิจิตอล [Digitalization] ในกรณีที่งาน
Artwork ทไ่ี ดร ับจากลูกคา มาเปนภาพลายเสน ภาพถาย ภาพวาด ฟลม
สไลด ฟล ม เนกาทีฟ เราจาํ เปน ตอ งแปลงภาพเหลา น้ใี หเ ปนขอมูลดจิ ติ อล
ซง่ึ เราสามารถทําไดโดยใชเคร่ืองสแกนเนอร [Computer scanner] จาก
นนั้ จึงนําไปจัดหนา ในเคร่อื งคอมพวิ เตอรโ ดยใช Software สําหรับการ
ออกแบบ เชน Adobe Illustrator, Photoshop, Indesign, Pagemaker
2. การตรวจสอบไฟลขอมูล [Preflight] เปน ขนั้ ตอนของการตรวจ
สอบความเรียบรอย และความถูกตอ งของไฟลง าน เชน ตรวจสอบวา
ไฟลภาพมคี รบหรอื ไม ความถูกตอ งของแบบตวั อกั ษรและขนาดของหนา
ช้ินงาน การเผ่อื ตัดตกเพียงพอหรือไม การกาํ หนดสีดวยคาทถ่ี กู ตอ งหรือ
ไม ฯลฯ ทั้งน้เี พอื่ ปอ งกนั ความผดิ พลาดท่อี าจจะเกิดขึ้น
3. การจดั วางหนาสําหรบั ทาํ แมพิมพ [Imposition] เปน ขน้ั ตอน
ของการนําชิ้นงานมาจดั วางใหพ อดกี บั ขนาดของแมพ มิ พ ซงึ่ โดยทั่วไป
แลว แมพ มิ พจ ะมขี นาดใหญก วาชิ้นงาน ดงั นั้นแมพมิ พช น้ิ หนึ่งจึงสามารถ
จดั วางช้นิ งานไดหลายช้นิ เชน จัดวางหนา วารสารได 8 หนา หรือวาง
ฉลากได 40 ชิ้น นอกจากนี้ยังรวมไปถงึ การวางตําแหนง หนา ทีถ่ กู ตอง
เม่ือนําไปพบั แลว หนาทีต่ องการจะเรียงตอ กันไดพ อดี
4. การทําปรูฟดิจิตอล [Digital Proofing] เปน ข้นั ตอนของการทาํ
ตัวอยา งงานพิมพข ้นึ กอ นทจ่ี ะเขา สูก ระบวนการพมิ พจ รงิ เพอื่ ตรวจสอบ
รายละเอียดตางๆ ตลอดจนสีสันของช้นิ งาน ซึ่งจะเปน การพิมพจากเครือ่ ง
คอมพวิ เตอร หรือ Inkjet Printer ขนาดใหญ และสามารถพิมพต วั อยา ง
งานออกมาใหมีขนาดและมีรูปแบบการจัดวางหนาไดใกลเคียงกับ
แมพ มิ พจริงได

22
การทําฟลมแยกสี [Process Film Making]
เปนข้ันตอนของการจัดทําฟลมแยกเปน สีตา งๆ สําหรบั ทาํ แมพมิ พ
1 ชุด โดยวิธกี ารทาํ ฟลม แยกสกี ค็ อื การแยกภาพในไฟลงานออกเปน ภาพ
สีโดดๆ ซึง่ จะอา งอิงหลักงาน 4 สี CMYK จากนน้ั ไฟลง านจะถกู สง ออก
เปน รูปแบบของโพสตสครปิ ต [PostScript File] แลวแปลงเปน ไฟล
ราสเตอร [Raster File] สงไปยังเคร่ืองยงิ ฟลม ซ่ึงเปนเครอ่ื ง Printer ที่
ใชลําแสงในการสรา งภาพแบบฮาลฟ โทน [Halftone] บนแผนฟลม ชนิด
ไวแสง จนไดฟ ลมทีม่ ีภาพขาว-ดํา ตามภาพของสแี ตล ะสที ี่แยกไว้

23
การทําเพลทแมพ มิ พ [Plate Making]
เปนขั้นตอนหลักๆของการนําฟลมที่ทําการแยกสีไวมาทาบ
บนแมพ ิมพทเี่ คลือบดว ยสารไวแสงหลงั จากนน้ั นําไปทาํ การฉายแสง สวน
ทีโ่ ดนแสงจะทําปฏกิ ิรยิ ากบั สารไวแสง เมอ่ื นาํ ไปลางนำ�้ ยากจ็ ะเกดิ ภาพ
ขน้ึ บนแมพ ิมพ เพือ่ นําไปใชในกระบวนการพมิ พในขั้นตอ ไป แตป่ ัจจบุ ัน
ได้ตัดกระบวนการออกฟลิ ม์ ไปแลว้ เรยี กว่า ระบบเพลท Ctp (com-
puter to plate) ระบบคอมพวิ เตอร์ทูเพลทนนั้ ท�ำ ให้การท�ำ งานมีความ
รวดเรว็ เพิ่มมากขน้ึ เพมิ่ อตั ราการผลิต และมีระบบการตรวจสอบทมี่ ี
ประสทิ ธิภาพ หากเป็นการทำ�เพลทในอดีตตอ้ งใช้แรงงานคอ่ นข้างเยอะ
ประสิทธิภาพในการทำ�งานก็ถือว่ายงั ไม่เปน็ มาตรฐาน แต่พอมีระบบการ
ออกเพลทตรงจากคอมพวิ เตอร์นนั้ ทำ�ให้ลดจ�ำ นวนการใช้คนลงไปได้
มาก และก็ทำ�ให้งานมคี ณุ ภาพมากขึ้น ด้วยเทคโนโลยที ที่ ันสมยั ทำ�ใหก้ าร
ผลติ งานพิมพไ์ มใ่ ช่เรื่องใหญอ่ กี ต่อไป

24
การทําปรูฟแทน / ปรูฟแมพ ิมพ [Plate Proofing]
เปน ขั้นตอนของการทําปรฟู งานขนึ้ มาเพื่อนาํ มาเปน ตวั อยางงาน
พิมพท่ีมีรายละเอียดและสีสันท่ีถูกตองเพ่ือนํามาเปรียบเทียบกับงาน
ในกระบวนการพิมพ ซง่ึ อาจเปนการผลิตจากเคร่อื งพมิ พจรงิ โดยสว น
ใหญข้ันตอนน้ีจะใชในงานประเภทท่ีตองการคุณภาพสูงอยางเชน
โบรชัวร นิตยสาร แคตตาลอ็ ก เปนตน

25
2. กระบวนการพิมพ์ (Press/Printing Process)
เม่อื ได้แมพ่ มิ พ์ทส่ี มบรู ณก์ เ็ รม่ิ เขา้ สกู่ ระบวนการพมิ พ์ กระบวนการ
พิมพ์มีความสำ�คัญมากชิ้นงานที่ออกมาดีหรือไม่ข้ึนอยู่กับการพิมพ์เป็น
หลกั ใหญ่ และจะพบว่าปัญหาสว่ นใหญ่ทเี่ กดิ ระหวา่ งลกู คา้ กับโรงพิมพ์มกั
มาจากการพมิ พ์ เชน่ สไี มเ่ หมอื น พมิ พเ์ หลอ่ื ม ข้อความไม่ชัด ฯลฯ ดังนน้ั
การควบคุมการพมิ พจ์ ึงเปน็ เร่อื งสำ�คัญ
การเตรียมพมิ พ์ (Print Preparation)
ได้แกก่ ารเตรยี มวสั ดใุ ชพ้ ิมพ์ เตรยี มชนิดของวสั ดุใหถ้ ูกตอ้ ง คำ�
นวนจำ�นวนที่ต้องการพมิ พ์ ท�ำ การตดั เจยี นขนาดวสั ดใุ ชพ้ ิมพ์ส�ำ หรบั เขา้
เคร่อื งพิมพ์ให้ถูกตอ้ ง เตรยี มหมึกทใ่ี ช้พมิ พ์ หากเป็นหมึกสีอน่ื ที่ไม่ใชแ่ ม่สี
ตอ้ งส่งั ผู้จำ�หนา่ ยหมึกจัดท�ำ ขน้ึ มาหรอื ผสมเตรียมไว้ ในขณะเดยี วกันก็
ต้องตรวจดูแม่พมิ พว์ า่ สมบรู ณ์หรอื ไม่ ศึกษาปรู๊ฟเพ่อื ปอ้ งกันปญั หาทีอ่ าจ
เกดิ ข้นึ หากเป็นการพิมพ์สองดา้ นใหจ้ บั คแู่ ม่พิมพใ์ หถ้ กู ตอ้ ง
การพิมพ์ (Printing)
หลักการพมิ พ์ในระบบตา่ งๆ มกั จะเป็นการพิมพ์ทลี ะสีลงบนวัสดุ
ใช้พิมพ์ แม่พมิ พท์ ท่ี ำ�ขึน้ กถ็ กู ทำ�สำ�หรับสแี ตล่ ะสี หลักการคร่าวๆ ของการ
พิมพ์โดยท่ัวไปจะมีระบบป้อนวัสดุใช้พิมพ์เข้าไปในเคร่ืองพิมพ์ผ่านการ
พิมพ์ทีละสีโดยการรับโอนภาพหมึกจากแม่พิมพ์ซึ่งรับหมึกมาจากระบบ
จา่ ยหมึกมากอ่ น เม่ือพมิ พ์เสร็จกส็ ่งวสั ดุใชพ้ มิ พไ์ ปเก็บพกั ไว้ เครื่องพมิ พ์
แตล่ ะเครอ่ื งอาจมีหน่วยพิมพ์ 1 สี 2 สี 4 สี หรอื มากกว่านั้น การพิมพ์
หลากสจี งึ อาจถกู นำ�เข้าเครอ่ื งพมิ พห์ ลายเทย่ี ว เชน่ งานพิมพ์ 4 สหี นา้
เดียว เม่อื พิมพบ์ นเครื่องที่มหี นว่ ยพมิ พ์สีเดียวตอ้ งพิมพท์ ง้ั หมด 4 เท่ยี ว
พิมพ์ เครือ่ งพิมพ์บางประเภทอาจมสี ว่ นตอ่ ท้ายหลงั จากผา่ นหน่วยพิมพ์

26
แล้ว เช่น มีหน่วยเคลือบผิวดว้ ยน�้ำ ยาเคลอื บ มีหน่วยอบแหง้ เพอ่ื ให้หมึก
แห้งเรว็ ข้ึน มีหนว่ ยพับ หน่วยตัดซอย หน่วยไดคทั ฯลฯ เพอื่ ลดขนั้ ตอน
การท�ำ งานหลงั การพมิ พ์ เม่ือผ่านการพมิ พค์ รบถ้วนแลว้ ต้องรอพักให้
หมึกแห้งสนิทจงึ นำ�ไปดำ�เนนิ การข้นั ตอนต่อไป

สำ�หรับการพิมพ์ระบบดิจิตอลจะไม่มีขบวนการทำ�ฟิล์มแยกสี
หรือแมพ่ มิ พ์ สามารถสง่ คำ�สงั่ พิมพโ์ ดยตรงจากเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ไดเ้ ลย
ท�ำ ให้ประหยดั ค่าใช้จา่ ยและเวลาท่ใี ชไ้ ปกับการทำ�แม่พิมพ์ แต่มีข้อเสยี
คอื ค่าพมิ พต์ อ่ แผ่นเทียบกับการพิมพแ์ บบปกติยงั สงู อยู่ หากพิมพจ์ ำ�นวน
มากจะท�ำ ใหต้ น้ ทนุ สงู กวา่ แบบปกติ

27
3. กระบวนการหลังการพมิ พ์ (After Press Process)
งานพิมพ์ที่พิมพ์เสร็จสิ้นแล้ว โดยทั่วไปยังไม่สมบูรณ์เป็นชิ้นงาน
ตามที่ตอ้ งการ จงึ ตอ้ งผา่ นกระบวนการหลงั การพมิ พ์กอ่ น แบ่งออกเป็น 4
ประเภท คือ
3.1. การตกแตง่ ผวิ ชน้ิ งาน
3.2. การขึ้นรปู
3.3. การท�ำ รปู เลม่
3.4. การบรรจุหบี ห่อ
3.1 การตกแตง่ ผิวชน้ิ งาน (Surface Decoration)
งานพิมพ์บางงานต้องการการเคลือบผิวเพ่ือจุดประสงค์ต่างๆกัน
เชน่ เพื่อป้องกนั การขดี ข่วน ป้องกนั ความชืน้ ต้องการความสวยงาม
เป็นต้น การตกแตง่ ผิวมดี ังน้ี
การเคลอื บผิว (Coating)
การเคลอื บ คอื การท�ำ ใหผ้ ิวหนา้ ของชน้ิ งานมีความแตกต่างไป
จากเดมิ เช่น จากเดิมที่ไมเ่ งากด็ เู งา จากทีด่ ูธรรมดาทกุ ส่วนก็ทำ�ให้เกดิ
ความเดน่ ในบางสว่ น หรอื การเคลอื บเพ่ือต้องการคุณสมบัติพิเศษๆ ซ่ึง
การเคลือบบนงานพิมพ์ถ้าแบ่งออกตามคุณลักษณะของส่ิงท่ีนำ�มาเคลือบ
สามารถแบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ สิ่งที่นำ�มาเคลือบเป็นสารเคมีหรือ
ของเหลว (aqueous coating) กจ็ ะเรียกวา่ เปน็ การปรับปรงุ ผิวหนา้ แบบ
การเคลอื บ (coating) แต่ถ้าสิ่งท่ีนำ�มาเคลือบเปน็ ฟลิ ม์ หรือแผ่นของแข็ง
ใชก้ ารยดึ ตดิ แบบกาวในตวั (sticker) หรอื ใช้กาวภายนอกแบบร้อนหรือ
เยน็ (hot/cold laminate) ก็จะเรยี กว่าเปน็ การปรับปรุงผวิ หนา้ แบบ
การเคลอื บแบบประกบติด (laminating) ซง่ึ จะเปน็ กระบวนการไหนก็

28
แลว้ แตเ่ ม่อื แหง้ ตวั แล้วจะเปน็ แผน่ ฟิลม์ ติดอยบู่ นผวิ หน้าของขนิ้ งาน แต่
ในวงการพิมพ์มักจะเรียกตามความเคยชนิ วา่ เป็น “การเคลือบ”
การเคลือบวอเตอร์เบส (water based coating)
เป็นการเคลือบผิวงานให้เกิดความเงาด้วยวานิชที่มีน้ำ�เป็นตัวทำ�
ละลาย เปน็ การเคลอื บที่จำ�กัดเฉพาะงานที่ผิวหน้าเป็นกระดาษ เพราะ
ตัวทำ�ละลายจะแห้งตัวและระเหยออกไปเหลือแต่ตัวเรซินท่ียึดเกาะกับ
ผิวหน้าโครงสร้างของกระดาษ และบางสว่ นจมลงไปในเนอ้ื กระดาษดู
ลักษณะการสะท้อนแสงบนผิวหน้างานไม่สมำ่�เสมอกันแต่จะให้ความเงา
ดูเปน็ ธรรมชาติ รวมทั้งเปน็ การเคลือบผวิ กระดาษเพอ่ื ป้องกนั การขัด
ถแู ละเสยี ดสีได้อกี ด้วย การเคลอื บส่วนใหญ่วตั ถปุ ระสงค์ คอื ต้องการ
ความสามารถในการปกปอ้ งและการเปลยี่ นแปลงคา่ ความเงา โดยคา่
ความเงาจะมากหรือน้อยขึ้นกับความสามารถในการสะท้อนแสงที่มา
ตกกระทบ ถา้ เป็นชิน้ งานทไ่ี มผ่ ่านการเคลือบสง่ ผลให้การสะทอ้ นแสงต�่ำ
ทิศทางเดินของแสงไม่เป็นระเบียบและแน่นอนส่งผลให้ค่าความเงาต่ำ�
ส่วนการเคลอื บดา้ น (matt-coated) คือ การเคลือบแลว้ ท�ำ ใหผ้ ิวหน้ามี
คา่ ความเรียบเพิม่ ขึ้นเม่อื เปรียบเทียบกับชน้ิ งานท่ีไม่เคลอื บ แตก่ ็ยงั มบี าง
ส่วนของผิวหน้าชั้นเคลือบท่ีไม่เรียบมีค่าความขรุขระก็ส่งผลให้แสงเกิด
การกระเจิงและสะท้อนบางสว่ นมาใสต่ าในรูปแบบทไี่ มม่ ที ศิ ทาง เราจงึ
มองเห็นชิน้ งานด้านๆ คล้ายกระจกฝา้ ค่าความเงาตำ�่ แต่ถ้าผ่านเคลือบ
เงา (matt-coated) จะสง่ ผลทำ�ให้ผิวหน้ามคี วามเรยี บสูง มุมตกกระทบ
ของแสงสะท้อนเป็นมุมเดียวกันหรือสะท้อนทิศทางแสงไปในแนวทิศทาง
เดยี วกันเขา้ ส่ตู าคลา้ ยกับกระจกเงา เรากจ็ ะเห็นวา่ ช้นิ งานมคี ่าความเงา
สงู

29
การเคลือบวานชิ เงา (glossy coating)
เป็นการเคลือบผิวกระดาษเพื่อปัองกันการขัดถูและเสียดสีรวมทั้ง
ใหเ้ กดิ ความเงา เพราะตวั วานิชทีใ่ ช้ไปเพิม่ คา่ การสะทอ้ นแสงท่มี าตกกระ
ทบบนชน้ิ งาน เกิดการสะท้อนแสงใส่ตาเวลามองมากข้ึน คา่ ความเงาก็
มากขึ้นกว่าเดมิ แต่ก็ยังจัดเป็นการเคลือบท่ใี ห้ความเงาไม่สงู มาก
การเคลือบวานชิ ดา้ น (matt coating)
เป็นการเคลือบผิวกระดาษเพ่ือปัองกันการขัดถูและเสียดสีด้วย
วานิชที่มีคุณสมบัติแห้งตัวแล้วลดการสะท้อนแสงท่ีตกกระทบบนงาน
พิมพ์ทำ�ให้เกดิ ความเงาลดลง แตใ่ นปัจจบุ ันงานบรรจุภัณฑบ์ างประเภท
ใช้การเคลอื บรูปแบบน้ีเพ่อื ให้ดูช้นิ งานดรู าคาแพงขนึ้
การเคลือบวานิชพรอ้ มกับการขัดเงา (glossy and calendar-
ing coating)
เป็นการเคลือบงานด้วยวานิชพร้อมกับการนำ�ไปขัดเงาด้วยลูกกล้ิง
ทง้ั แบบท่ีมีความรอ้ นและไม่มคี วามรอ้ น เพอื่ ใหต้ ัววานิชทเี่ คลือบเกดิ การ
ประสานตัวกนั และผิวหนา้ มคี วามเรยี บตัวเพ่ิมมากข้ึน สง่ ผลให้คุณสมบัติ
ในการสะทอ้ นแสงเพิม่ มากขนึ้ เกดิ ความเงาสูง งานประเภทกลอ่ งบรรจุ
ภณั ฑ์อาหาร ยา และเครื่องสำ�อางค์ นิยมเคลอื บแบบขดั เงาแบบนเ้ี พราะ
ตอ้ งการใหต้ ัวบรรจภุ ัณฑ์ดเู ดน่ มองเหน็ แล้วสะดดุ ตา
การเคลอื บวานิชยวู ี (glossy UV coating)
เปน็ การเคลอื บช้ินงานดว้ ยสารเคลือบที่แห้งตัวด้วยแสง อุลตร้า
ไวโอเล็ตให้ความเงางาม และคณุ สมบตั พิ เิ ศษกับงานพมิ พ์ นยิ มเคลือบบน
ปกนิตยสาร ฉลาก โบว์ชวั ร์ ค่มู อื อาหาร ขอ้ ดีของการเคลือบสารประเภท

30
น้ี คือ สามารถเคลือบลงบนวสั ดุไดห้ ลากหลาย เคลือบลงบนวสั ดุท่ีไมม่ ี
รพู รนุ หรอื มกี ารดดู ซึมได้ เพราะใชห้ ลกั การแหง้ ตัวของสารเคลือบให้ตัว
โครงสรา้ งโมเลกุลเป็นตัวยดึ กับผวิ หน้าของชิ้นงาน แตข่ อ้ จำ�กัดของการ
เคลือบยูวีคือถ้ามีการนำ�ไปใช้งานทางด้านบรรจุภัณฑ์แล้วมีการเคลือบ
เต็มแผ่นแล้วจะไมส่ ามารถพมิ พ์หรอื ตดิ กาวได้ ตอ้ งมีการเผ่ือเว้นพ้นื ทีด่ ัง
กล่าวไว้ตดิ กาวหรอื พมิ พ์วันหมดอายุ
เคลือบเงาเฉพาะจุด (Spot UV coating)
เป็นการเคลือบชิ้นงานด้วยสารเคลือบที่แห้งตัวด้วยแสง อลุ ตร้า
ไวโอเล็ต เมื่อแหง้ ตวั แล้วจะสะทอ้ นแสงได้มากข้นึ แตเ่ ป็นการเคลือบ
เฉพาะจุดท่ีต้องการ ไมไ่ ด้เคลือบเตม็ แผ่น วธิ กี ารเคลือบจะถ่ายทอดสาร
เคลอื บผา่ นแม่พิมพ์ เชน่ ระบบสกรนี ระบบออฟเซ็ต หรอื ระบบอนื่ ๆ ซ่ึง
นยิ มใชก้ ับงานทีต่ อ้ งการเน้นความเงาให้บางบริเวณของชิน้ งาน เชน่ โลโก้
ตวั อักษร ในบางครั้งจะใชค้ วบคูก่ บั ช้นิ งานที่ผา่ นการลามเิ นตกบั แผ่น
ฟิล์มด้านเพราะจะดูเด่นมากยิ่งข้ึนอีกท้ังสารเคลือบท่ีแห้งตัวด้วยแสงอุลต
รา้ ไวโอเลต็ สามารถยดึ เกาะบนวสั ดพุ ีวีซีได้ นอกจากการเคลือบเฉพาะ
จุดแบบเพ่ิมความเงา ยงั มกี ารเคลอื บเฉพาะจดุ ทสี่ ารเคลือบทใี่ ช้มกี าร
ปรบั ปรงุ หรือเตมิ วสั ดอุ ่นื ๆ เขา้ ไป เช่น เคลอื บด้านเฉพาะจดุ ผสมผงทราย
เพือ่ เคลือบทรายเฉพาะจุด ผสมผงการเพชรเพอื่ เคลอื บกากเพชรเฉพาะ
จุด ผสมผงเหลอื บมกุ เพอื่ เคลอื บมกุ เฉพาะจดุ หรือการเคลือบเฉพาะจุด
พรอ้ มกบั ใชเ้ ทคนิคการดนุ นนู เข้าไปผสม
เคลอื บพีวซี ีดา้ น (matt PVC film laminating)
เป็นการเคลือบท่ีเหมือนการเคลือบพีวีซีเงาแต่จะใช้ฟิล์มพีวีซีท่ีมี
ความเงาตำ�่ ผวิ ด้านหน้าของผิวฟิล์มมคี วามขรขุ ระหรือในตวั เน้ือฟิล์มพีวี

31
ซีขัดขวางทางเดินแสง แสงส่องผา่ นได้ไมด่ เี ปน็ ฝ้า แตเ่ ม่อื น�ำ ไปประกบตดิ
กบั ชนิ้ งานแลว้ ยงั สามารถมองผ่านทะลุถงึ ภาพพิมพ์ได้ ใหผ้ ลลพั ธ์ช้นิ งาน
มคี ่าความเงาลดลงนยิ มใชใ้ นปจั จบุ ันเพ่อื ใหช้ ้นิ งานดดู ี ดูแพง และในบาง
คร้งั ยังน�ำ ไปเคลอื บเงาแบบเฉพาะจดุ (Spot UV coating) เพื่อใหง้ านดู
มมี ติ ิเพิ่มมากขน้ึ เพราะจะโชว์สว่ นใหนก็จะเนน้ ท�ำ ใหเ้ งาดเู ดน่ สว่ นใหญ่
อยากให้เปน็ องคป์ ระกอบกท็ �ำ ใหด้ า้ นๆ ดแู สงดรอปลงชว่ ยให้ส่งิ ทีเ่ นน้ ดู
ชัดมากขึ้น
การเคลอื บพีวีซีเงา (gloss PVC film laminating)
เปน็ การเคลือบทไ่ี มใ่ ชส่ ารเคลือบเหลว แตเ่ ป็นการเคลือบผิวชิ้น
งานดว้ ยแผ่นฟลิ ม์ พีวีซีท่มี คี วามหนาและคุณสมบตั ิที่ตา่ งกนั แตส่ ว่ นใหญ่
เลอื กใชแ้ ผน่ ฟลิ ์มท่มี คี วามมันวาว เป็นการยดึ ตดิ ชนิ้ งานพมิ พ์ในรปู แบบ
การลามิเนตซ่ึงจะทำ�ให้งานที่ผ่านการประกบติดฟิล์มมีคุณสมบัติเด่นใน
เรื่องความคงทน ความเรียบ และความเงามากกวา่ การเคลือบแบบสาร
เคลือบเหลวประเภทอนื่ แตม่ ีข้อเสยี ในเรื่องตน้ ทุนจะสงู กว่า
เคลอื บโอพีพี (OPP film laminating)
เปน็ การเคลือบชน้ิ งานดว้ ยแผ่นฟิลม์ โอพีพี มกี ารประยุกต์ใชแ้ ทน
ฟิล์มพีวีซี เนื่องจากวัสดุพีวีซีมีการยืดหดตัวได้ง่าย และมีข้อห้ามกับ
การน�ำ ไปใช้กบั ผลิตภัณฑท์ ี่สัมผสั กบั อาหาร จงึ เปล่ียนมาใช้ฟิลม์ โอพพี ี
ผ่านการทากาวทแ่ี ห้งด้วยความร้อนแลว้ นำ�ไปประกบตดิ กบั ชน้ิ งาน เช่น
ถา้ น�ำ ไปประกบตดิ กับกระดาษก็ทำ�ใหก้ ระดาษมีความเหนียว แขง็ แรง
เพิม่ มากข้นึ และยังสามารถป้องกนั นำ้�ได้ โดยฟลิ ม์ โอพีพจี ะมีทง้ั แบบผิว
มนั วาว (glossy) และผิวดา้ น (matt) โดยจดุ เด่นของฟลิ ์มโอพพี ี คือ จะ
เรยี บและใหค้ ่าความเงาสงู กวา่ การเคลอื บวานชิ ยวู ี จึงเหมาะกับงานท่ี

32
ต้องการความทนทานมากขึ้นแต่จะมีต้นทนุ ในการผลิตทส่ี งู กวา่
3.2 การขนึ้ รูป (Forming)
ไดแ้ ก่ การตดั เจียน เชน่ งานท�ำ ฉลาก การขึ้นเสน้ ส�ำ หรับพับ การ
ปม๊ั เปน็ รปู ทรง/การไดคัท เช่นงานทำ�กล่อง งานเจาะหนา้ ต่างเป็นรูปตา่ งๆ
การพับ การม้วน เช่น งานทำ�กระปอ๋ ง การทากาวหรือท�ำ ให้ตดิ กัน เชน่
งานทำ�กลอ่ ง งานท�ำ ซอง การหุ้มกระดาษแข็ง เชน่ งานทำ�ปกแข็ง งานท�ำ
ฐานปฏทิ ิน
การรดี /ปมั๊ แผ่นฟอล์ย (Hot Stamping)
เป็นการปั๊มด้วยความร้อนให้แผ่นฟอล์ยไปติดบนช้ินงานเป็นรูป
ตามแบบปัม๊ มที งั้ การปั๊มฟอลย์ เงิน/ทอง ฟอล์ยสีต่างๆ ฟอลย์ ลวดลาย
ต่างๆ ฟอลย์ ฮาโลแกรม เปน็ ต้น
การปัม๊ นนู /ปัม๊ ลกึ (Embossing/Debossing)
คือ การปมั้ ใหช้ ิ้นงานนูนขนึ้ หรอื ลกึ ลงจากผิวเปน็ รปู ร่างตามแบบ
ปม๊ั เช่นการปัม๊ นนู ตวั อักษร สญั ลักษณ์
ป๊มั ทองเค
เป็นการป๊ัมแผ่นฟอยล์ด้วยความร้อนติดกับงานส่ิงพิมพ์ตามรูป
แบบที่ได้ทำ�แม่พิมพ์ไว้เพื่อเพิ่มความโดดเด่นให้กับชิ้นงาน ต้องอาศัย
ประสบการณแ์ ละความสามารถ การผลิตเปน็ ทน่ี ยิ ม เช่น การด์ แตง่ งาน
ประกาศนยี บตั ร นามบตั ร ปจั จบุ ันมีฟอยล์หลากหลายสีใหไ้ ด้เลือกใช้
การไดคทั
เป็นการเพิ่มความสวยงามให้กับงานพิมพ์ไม่ว่าจะเป็นงานพิมพ์

33

ด้วยระบบดิจิตอลหรืองานพิมพ์ออฟเซ็ทสามารถทำ�ได้ งานไดคัทเป็นการ
ปม๊ั กระดาษออกเป็นชิ้นงานในรูปแบบตา่ งๆ ข้ึนอยกู่ บั การออกแบบโดย
ใชใ้ บมีดดดั โคง้ งอเปน็ แมแ่ บบ (บลอ็ ค) แลว้ จงึ ปมั๊ ไดคัทตามรปู แบบ เชน่
ไดคัทรูปดาว ไดคัทมุมมนนามบัตร บตั รเข้างานหรอื ไดคัทการ์ด ปั๊ม
สต๊ิกเกอร์ งานกล่องกระดาษ ต้องใช้ประสบการณแ์ ละความชำ�นาญใน
การปรบั ต้งั เคร่อื ง เพ่ือใหไ้ ด้จงั หวะการไดคัทหรือการถ่ายเทน้ำ�หนักจาก
บลอ็ คสู่งานพมิ พใ์ หไ้ ดพ้ อดี แต่ไม่ใหก้ ระดาษแตกหรอื ฉกี ขาด

3.3 การท�ำ รปู เล่ม (Book Making)
เปน็ ขบวนการสำ�หรบั ท�ำ งานประเภท สมดุ หนงั สอื ปฏทิ ิน
กระดาษกอ้ น ฯลฯ มขี ้นั ตอนคือ
การตดั แบ่ง เพอื่ แบง่ งานพมิ พท์ ีซ่ �ำ้ กนั ในแผน่ เดยี วกนั
การพับ เพ่ือพับแผ่นพมิ พ์เปน็ หนา้ ยก
การเก็บเล่ม เพื่อเกบ็ รวมแผ่นพมิ พ์ที่พบั แล้ว/หน้ายกมาเรียงให ้
ครบเลม่ หนังสือ
การเขา้ เล่ม เพอื่ ทำ�ใหห้ นังสอื ยดึ ตดิ กนั เป็นเล่ม

การเขา้ เล่มมีหลายประเภท
การเยบ็ ก่ที ากาว การเยบ็ กีห่ ้มุ ปกแข็ง การเจาะรรู อ้ ยห่วง เมื่อผ่าน
การยึดเล่มติดกันก็นำ�ช้ินงานมาตัดเจียนขอบสามด้านให้เรียบเสมอกัน
และได้ขนาดที่ต้องการ (ยกเว้นงานท่ีเยบ็ กห่ี มุ้ ปกแข็งและงานท่เี จาะรรู อ้ ย
ห่วงจะผ่านการตดั เจียนกอ่ นเขา้ เล่ม)

เย็บมงุ หลังคา
กรรมวิธีการยึดเล่มหนังสือให้ติดกันโดยใช้ลวดเย็บที่สันหนังสือ

34
ด้วยเคร่อื งเยบ็ ปกตโิ รงพมิ พ์จะแนะนำาเยบ็ 2 จุด โดยมรี ะยะห่างกนั
พอประมาณเพอ่ื ไมใ่ หเ้ นอ้ื ในแตล่ ะแผ่นขยับไปมา
ไสสนั ท�ก�ว
กรรมวิธีในการยึดเล่มหนังสือให้ติดกันโดยการไสสันหนังสือด้วย
เลือ่ ยเหล็กเสร็จแลว้ ทากาวท่ีสัน นาำ ปกมาหมุ้ ติดกบั ตัวเลม่ ปจั จุบนั โรง
พิมพ์จะใช้เครอ่ื งไสสันทากาวอัตโนมัติ
เยบ็ กี่หมุ้ ปกแข็ง
กรรมวิธคี ลา้ ยกับเย็บก่ที ากาว ต่างกันตรงทมี่ ขี ัน้ ตอนการนำา
กระดาษแข็งหนามาหุ้มด้วยกระดาษบางที่มีภาพพิมพ์หรือกระดาษ/ผ้า
สำาหรบั ทาำ ปก แล้วจึงนำาปกมาติดกับตวั เลม่
3.4 ก�รบรรจุหบี หอ่ (Packing)
เม่ือได้ช้นิ งานสาำ เรจ็ ตามทต่ี อ้ งการ ทำาการตรวจสอบชน้ิ งาน แล้ว
บรรจุหีบหอ่ พรอ้ มส่งไปยงั จุดหมายปลายทางต่อไป

กระบวนการผลติ สอื่ ส่ิงพิมพ - การตกแตงผิวช้นิ งาน
- การขึน้ รปู
กองการพมิ พ กรมที่ดิน - การทำรปู เลม
- การบรรจุหีบหอ

พิมพด วยระบบ ข้นั ตอนหลงั พมิ พ
การพิมพอ อฟเซต

ข้ันตอนการทำแมพมิ พ ขนั้ ตอนการพมิ พ
(เพลท) ดวยระบบ

Computer to plate

- กรณงี านทีเ่ ปน ไวนลิ , - กรณงี านท่เี ปนหนงั สือ, ข้นั ตอนการทำแมพ มิ พ
สต๊กิ เกอร สงปริ้น โปสเตอร, แผนพบั , (เพลท)
เครอื่ ง Inkjet แบบฟอรมตาง ๆ
สงพมิ พร ะบบออฟเซต ฝา ยแมพิมพ/
จดั ทำเลยเอาท
-จ-ไสดัPฟงสsล,ผงกงาไAนารฟนiณC,ลทDีมIส่ี,d-ีอาท,าDมราาVpงตรDdเถfว,E,ริร-อHคMWงaaรoniับrdldyไDดr ive กรณีไมมีอารตเวิรค
-จัดทำอารตเวิรค
-ตรวจปรฟู อารตเวริ ค
-สง ปรฟู ใหเ จา ของงานตรวจ

สำนักงานท่ดี นิ /กอง/ กลมุ งานออกแบบ
หนวยงานภายใน และสรางสอ่ื สิ่งพมิ พ

กรมทีด่ นิ ตกลงสง่ั พมิ พ จัดทำอารต เวริ ค

สำนกั งานทด่ี ิน/กอง/ 35
หนว ยงานภายใน
ตกลงสง่ั พิมพ



บรรณานกุ รม

“การผลิตส่ือสงิ่ พมิ พ์” [ออนไลน์]. ได้จาก : http://pakjirapantim300.
blogspot.com/p/1_10.html [สบื คน้ เม่อื วันที่ 25 เมษายน 2562]
“ประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์” [ออนไลน์]. ได้จาก : http://grapmania.
blogspot.com/2010/02/pocket-book-newspapers-15-bro-
chure-8.html [สืบค้นเมื่อ วันที่ 25 เมษายน 2562]
“ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์” [ออนไลน์]. ได้จาก : https://
chonamat.wordpress.com/หน่วยที่-1-ความรู้เบื้อง-2/ [สืบค้นเมื่อ
วันที่ 2 พฤษภาคม 2562]
“ประเภทของโปรแกรมที่ใช้ในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์และการออกแบบ
จัดหน้าสื่อสิ่งพิมพ์” [ออนไลน์]. ได้จาก : https://sites.google.com/
site/indesignit16/hnwy-thi-1-khwam-ru-beuxng-tn-keiyw-kab-
sux-sing-phimph/1-3-prapheth-khxng-porkaerm-thi-chi-ni-kar-
phlit-sux-sing-phimph-laea-kar-xxkbaeb-cad-hna-sux-sing-
phimph [สืบค้นเมื่อ วันที่ 2 พฤษภาคม 2562]
“กระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์” [ออนไลน์]. ได้จาก : http://www.plan-
printing.co.th/know_process.html [สืบค้นเมื่อ วันที่ 2 พฤษภาคม
2562]
“ประเภทของการพิมพ์” [ออนไลน์]. ได้จาก : http://www.supreme-
print.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=538818912
[สืบค้นเมื่อ วันที่ 8 พฤษภาคม 2562]

“กระบวนงานผลิตสิ่งพิมพ์ด้วยระบบดิจิทัล” [ออนไลน์]. ได้จาก :
http://digital4publishing.blogspot.com/2016/03/blog-post.
html [สืบค้นเมื่อ วันที่ 23 พฤษภาคม 2562]
“ระบบสี สำ�หรับงานพิมพ์” [ออนไลน์]. ได้จาก : https://mindphp.
com/บทเรียนออนไลน์/photoshop/5164-5-system-color-print-
ing.html [สืบค้นเมื่อ วันที่ 24 พฤษภาคม 2562]
“ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับการผลิตสื่อส่ิงพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์”
[ออนไลน์]. ได้จาก : http://www.cvc.ac.th/cvc2011/files/
20100001_17050221210715.pdf [สบื คน้ เม่ือ วนั ท่ี 27 พฤษภาคม
2562]
“การเคลือบ” [ออนไลน์]. ได้จาก : (Coating Method) http://www.
thaiprint.org/2018/10/vol117/industrial-02/ [สืบค้นเมื่อ วันที่ 28
พฤษภาคม 2562]

บนั ทึกช่วยจำ�

................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

บนั ทึกช่วยจำ�

................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

บนั ทึกช่วยจำ�

................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

บนั ทึกช่วยจำ�

................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

$ER<I;$TE>G7V LgOY L*Vg @CV @
=ER_B9M;S*LYO

$O*$TE@CV @ $EC96Wg ;V


Click to View FlipBook Version