The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงมหาดไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนปฏิบัติการดิจิทัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2563 - 2565 (ปี 2563)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงมหาดไทย

Keywords: ด้านทั่วไป

แผนปฏบิ ตั ิการดจิ ิทลั กระทรวงมหาดไทย
พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕

คาํ นํา

แผนปฏิบัติการดิจิทัลของกระทรวงมหาดไทยพ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 จัดทําข้ึนตามนโยบายของ
รัฐบาลที่มีนโยบายในการปฏิรูปประเทศไปสูการเปนประเทศท่ีขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม เพ่ือยกระดับประเทศไทย
ไปสูการเปน Thailand 4.0 และเปนไปตามพระราชกฤษฎีกา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการ
บานเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2) และสอดคลองกับนโยบายและแผนระดับชาติวาดวยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ
และสังคม (พ.ศ. 2561 – 2580) และแผนปฏิบัตกิ ารดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมระยะ 5 ป (พ.ศ. 2561
– 2565) เพื่อใชเปนกรอบและทิศทางในการดําเนินการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
ใหส อดรบั กับการขับเคล่ือนยุทธศาสตรของหนวยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทย และยุทธศาสตรการพัฒนา
ดิจิทัลของประเทศไทย ในระยะเวลาอีก 3 ปขางหนา ใหเกิดความเหมาะสมและสอดคลองกับผลของการ
ดําเนินการดานเทคโนโลยีสารสนเทศของกระทรวงมหาดไทยที่ผานมา ตลอดจนผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
ของเทคโนโลยแี ละปจจยั อน่ื ๆ ทเ่ี กีย่ วของในอนาคต

โดยแผนนี้ประกอบดวย วิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตรและแผนงานโครงการท่ีเก่ียวกับ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร โดยมุงที่จะประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสรางมาตรฐานการ
ใหบริการสารสนเทศภายในองคกร เพ่ือยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติราชการใหตอบสนองตอนโยบายรัฐบาล
อิเล็กทรอนิกส โดยการเรงพัฒนาสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหาร พัฒนาคุณภาพของการใหบริการ
ตลอดจนเพ่ิมศักยภาพของบุคลากร เพื่อปรับปรุงองคกรใหเปนองคกรท่ีมีขีดสมรรถนะสูงสามารถใหบริการ
ขอ มูลสารสนเทศและขาวสารใหแกหนวยงานภายในและภายนอก ตอลดจนประชาชนโดยทั่วไปไดอยางโปรงใส
รวดเร็ว และตรงกับความตองการมากยิ่งข้ึน รวมท้ัง เปนการเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการและการปฏิบัติ
ราชการใหเ ปนไปตามเปาหมายของกระทรวงมหาดไทยภายใตกรอบระยะเวลาตามแผนฉบับนี้

รา งแผนปฏิบัตกิ ารดจิ ทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔ ก

บทสรปุ ผูบริหาร

ความกาวหนาทางดานเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีที่มีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาจนสงผล
กระทบตอการพัฒนาประเทศ ทําใหรัฐบาลท่ีเขามาบริหารประเทศมีความจําเปนตองปรับตัวและปรับปรุง
กลไกภาครัฐ เพ่ือใหกลไกการบริหารของหนวยงานภาครัฐมีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองความตองการ
ของประชาชน เอื้อตอ การเสรมิ สรา งรากฐานท่ีเขม แขง็ ทัง้ ทางเศรษฐกจิ และสังคม เสริมสรางความมั่นคงในการ
พัฒนาประเทศและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน จากความกาวหนาดังกลาวทําใหเกิดการเปล่ียนแปลง
ที่สําคัญหลายดาน ดังเชนปจจุบันท่ีคอมพิวเตอรและระบบการสื่อสารที่เขามามีบทบาทตอชีวิตประจําวันของ
ประชาชนมากข้ึน มีการใชระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเพ่ือเชื่อมโยงการทํางานตางๆ การใชสารสนเทศในการ
ขับเคลื่อนการดําเนินธุรกิจอยางกวางขวาง การพัฒนาของคอมพิวเตอรที่ประยุกตใชเทคโนโลยีเสมือน อาทิ
หองสมุดเสมือนจริง หองเรียนเสมือนจริง สําหรับประเทศไทยการพัฒนาประเทศใหอยูบนฐานความรูและ
เทคโนโลยีท่ีทันสมัย การวิจัยพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนแรงขับเคล่ือนท่ีสําคัญในการพัฒนาประเทศ
การปรับเปล่ียนการผลิตจากการใชทรัพยากรธรรมชาติ เงินทุนและแรงงานที่มีประสิทธิภาพตํ่าไปสูการใชความรู
และความชาํ นาญดา นวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี แตในขณะเดียวกันความไมเทาเทียมกันในการเขาถึงเทคโนโลยี
ของประชาชน นับเปนชองโหวอันสงผลใหเกิดความเหลื่อมลํ้าในการพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร

ในการท่ีจะขับเคลื่อนประเทศใหมีความกาวหนาและพัฒนาอยางม่ันคง และสามารถแกปญหา
ความเหลื่อมล้ําของสังคม ซึ่งมีหลากหลายมิติ ท้ังดานการพัฒนาคุณภาพคน ดานการศึกษา ดานรายได ดาน
โอกาสทางสังคมและการไดรับสิทธิประโยชนตางๆ การใหบริการของภาครัฐ นอกจากนี้ยังรวมถึงความ
เหลื่อมลํ้าทางดิจิทัล (digital divide) หรือความแตกตางของชองวางระหวางผูที่สามารถเขาถึงและใช
ประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทัลกับผูท่ีเขาไมถึง ไมเขาใจ และไมสามารถใชประโยชนจากไอทีซี จึงสงผลให
หนวยงานภาครัฐจะตองเรงปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานใหมีความเขมแข็ง นาเชื่อถือ โปรงใส และ
ตรวจสอบได ซ่ึงในการพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มขีดสมรรถนะขององคกรนั้น จําเปนจะตอง
มุงเนนใหความสําคัญในเรื่องของการปรับเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติงานใหมีขีดสมรรถนะสูงและมีความทันสมัย
โดยการประยุกตใชเทคโนโลยีสมัยใหมมาสนับสนุนการปฏิบัติงานใหสามารถบริการประชาชนไดอยางรวดเร็ว
ทันตอสถานการณ เปน ไปตามนโยบายท่ีกําหนดเปาหมายการพัฒนาดวยการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชเปนเครื่องมือ
สําคัญของประเทศไทยเพ่ือมุงเปาสู “Thailand 4.0” เพ่ือใหทิศทางการพัฒนาดิจิทัลของประเทศไทยมีความ
ชัดเจนจึงไดกําหนดนโยบายและแผนระดับชาติวาดวยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ. 2561 –
2580) และแผนปฏิบัติการดานดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมระยะ 5 ป (พ.ศ. 2561 – 2565) โดยไดกําหนด
กรอบการปฏิบัติที่เปนรูปธรรมในระยะ 5 ป โดยมุงเนนการเปลี่ยนผานประเทศไปไปสูการเปนประเทศที่ขับเคลื่อน
และใชประโยชนจ ากเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลไดอ ยา งเต็มศักยภาพ หรือ “Digital Transformation” อันเปน การสราง
รากฐานการพัฒนาประเทศใหเปนประเทศที่ขับเคลื่อนการพัฒนาทั้งในมิติทางเศรษฐกิจและสังคมดวย
นวัตกรรม เพือ่ สรา งศกั ยภาพในการแขง ขนั ของประเทศและการยกระดบั คุณภาพชีวติ ของประชาชน

แผนปฏบิ ตั ิการดิจทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 ข

ในการนี้ เพื่อใหการดําเนินการเปนไปตามแนวนโยบายและแผนระดับชาติ กระทรวงมหาดไทย
เปนหนึ่งในหนวยงานที่ตองนํานโยบายดังกลาวไปขับเคล่ือนเพ่ือสูการปฏิบัติใหเปนรูปธรรม จึงไดดําเนินการ
ปรับปรุงแผนปฏิบัติการดิจิทัลของกระทรวงมหาดไทย ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2561 - 2564) ใหสอดคลองกับ
แผนปฏิบัติการดานดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมระยะ 5 ป (พ.ศ. 2561 – 2565) ภายใตนโยบายและแผน
ระดับชาติวาดวยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ. 2561 – 2580) และพระราชกฤษฎีกาวาดวย
หลักเกณทและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 เพ่ือจัดทําแผนปฏิบัติการดิจิทัล
กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2563 – 2565 สําหรับหนวยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทยไดใชเปนแนวทาง
ในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน ตลอดจนเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดและ
ประเมินผลการดําเนินงานและบริหารราชการใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการนี้ ไดมีการวิเคราะห
สภาพแวดลอม (SWOT Analysis) ทั้งสภาพแวดลอมภายนอกและสภาพแวดลอมภายใน เพื่อนําไปสูการกําหนด
จุดยืน วิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย ประเด็นยุทธศาสตร รวมทั้ง ไดมีการกําหนดเปาประสงค ตัวช้ีวัด ระดับ
เปาประสงค แผนงาน/โครงการของหนวยงานที่รบั ผิดชอบไว ดังนี้

3.1 จุดยืน (Positioning)

 ดานโครงสรา งพืน้ ฐานและบรู ณาการระบบงาน : มฐี านขอมลู และระบบโครงสรา งพื้นฐาน
ท่ีสําคญั ใหส ามารถทํางานรว มกนั ไดอ ยา งเปน เอกภาพ

 ดานการใหบ ริการประชาชน : ใหบ ริการภาคประชาชนดวยระบบเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีครอบคลุม
ทกุ พืน้ ท่งี ายตอ การเขา ถึงและรองรับเทคโนโลยีดจิ ิทัลสมัยใหม

 ดานกระบวนการการดําเนินงาน : ระบบงานมีประสิทธิภาพรองรับการปฏิบัติงานเพื่อการ
จัดการองคก รอยางครอบคลมุ และกาวไปสูองคกรประสทิ ธภิ าพสงู

 ดานศกั ยภาพบคุ ลากร : บุคลากรใชง านเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลอยางมีประสิทธภิ าพมีวจิ ารณญาณ

3.2 วสิ ยั ทศั น (Vision)

“เปนกระทรวงช้นั นาํ ท่ีมศี ักยภาพในการประยกุ ตและบรกิ ารภาคประชาชนดวยเทคโนโลยีดจิ ิทลั ”

3.3 พนั ธกจิ (Mission)

1. พัฒนาเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพื่อการบริการภาคประชาชน
2. พัฒนากระบวนการทาํ งานใหม ีประสทิ ธิภาพดวยเทคโนโลยดี จิ ิทลั
3. บูรณาการระบบงานและฐานขอมลู เพ่ือคุณภาพขอมลู หลัก

แผนปฏบิ ัตกิ ารดจิ ทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 ค

4. บริหารจดั การระบบโครงสรางพน้ื ฐานและความม่ันคงปลอดภยั สารสนเทศ
5. พฒั นาศยั ภาพบุคลากรสยู ุคเทคโนโลยีดิจิทัล

3.4 เปาหมาย (Goal)

ป 2565 เปนกระทรวงท่ีมศี กั ยภาพการบริการและการดําเนินการดวยเทคโนโลยดี จิ ิทลั ท่ีทันสมัย
 ดา นบรกิ ารภาคประชาชน : ป 2564 รอ ยละ 80 ของบรกิ ารภาคประชาชน สามารถ

เขาถึงไดดวยเทคโนโลยดี ิจทิ ลั
 ดานบรู ณาการขอมลู และระบบงาน : ป 2563 รอยละ 80 ของระบบงานและฐานขอ มูล

มคี วามสามารถในการทาํ งานรวมกนั ไดอยางบรู ณาการ
 ดา นบุคลากร : ป 2563 รอยละ 80 ของบคุ ลากรไดร ับการพัฒนายกระดับความสามารถ

ทางเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ตามแนวทางรัฐบาลดจิ ทิ ลั
 ดานเทคโนโลยีและโครงสรา งพน้ื ฐาน : ป 2564 รอ ยละ 100 ของหนวยงานสังกัด

กระทรวงมหาดไทยมีการจดั การดานความมัน่ คงปลอดภยั ท่ีสอดคลอ งตามขอบังคบั และ
กฏหมายดิจิทัล

3.5 ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issue)

 ยทุ ธศาสตรท่ี 1 การบูรณาการระบบงานและโครงสรางพน้ื ฐานกระทรวงมหาดไทย (Integration)
เปาประสงค : เพ่อื การบรู ณาการระบบงาน ฐานขอมลู และระบบโครงสรา งพื้นฐานที่สาํ คัญ
ใหสามารถทํางานรวมกันไดอยางเปนเอกภาพ มีภาพรวมในการพัฒนารวมกัน
ลดความซํ้าซอ นในการจัดหาและลงทุน
แผนงาน 1.1 การบูรณาการฐานขอมูลหลกั กระทรวงมหาดไทย
ตัวช้วี ดั : จาํ นวนระบบฐานขอ มูลทีส่ ามารถเชือ่ มตอและทํางานรวมกนั ได
แผนงาน 1.2 บรู ณาการระบบโครงสรา งพน้ื ฐานกระทรวงมหาดไทย
ตวั ช้วี ัด : จํานวนระบบโครงสรา งพนื้ ฐานทมี่ ีผลสําเร็จในการบูรณาการ
แผนงาน 1.3 การบูรณาการระบบ GIS
ตวั ช้วี ัด : จํานวนหนวยงานทรี่ วมในการบูรณาการและใชง านระบบ GIS กระทรวงมหาดไทย

 ยุทธศาสตรท ่ี 2 การยกระดับบรกิ ารประชาชนสูบ รกิ ารดจิ ิทัล (Digital Services)
เปาประสงค : กระทรวงมหาดไทยมบี รกิ ารภาคประชาชนดว ยระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล
ท่คี รอบคลมุ ทกุ พน้ื ท่ีและทุกบริการ
แผนงาน 2.1 ปรับปรุงระบบการบรกิ ารประชาชน
ตวั ช้ีวัด : 1. จํานวนบริการกระทรวงมหาดไทยทส่ี ามารถเขา ถึงไดจากเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล
2. ระดบั ความพงึ พอใจของผรู บั บริการ กระทรวงมหาดไทย

แผนปฏบิ ตั ิการดจิ ทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 ง

แผนงาน 2.2 การพฒั นางานบรกิ ารสูระบบดจิ ทิ ลั
ตัวช้ีวัด : 1. จาํ นวนบรกิ ารท่ีปรบั ปรงุ สฐู านบริการแบบดจิ ิทลั

2. ระดับความพึงพอใจของผูรบั บรกิ าร
 ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การปรับปรุงกระบวนการดาํ เนินการดว ยเทคโนโลยดี จิ ิทลั

(Smart Operations)
เปา ประสงค : มีระบบงานทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ รองรบั การปฏิบตั ิงานและถกู ใชเ พอ่ื การจดั การ

องคก รอยางครอบคลมุ
แผนงาน 3.1 พัฒนาระบบดจิ ิทัลเพื่อการเตรียมความพรอมการเผชิญเหตุ การบญั ชาการ

และบริหารความตอ เน่อื ง
ตัวชีว้ ัด : ระดับความสามารถและประสิทธภิ าพในการคาดการสถานการณและจัดการภยั พิบตั ิ
แผนงาน 3.2 ปรบั ปรงุ ระบบความปลอดภัยในการเขา ถึงขอมลู ตามมาตรฐานสากล
ตัวช้วี ดั : 1. ความสามารถในการจดั การดา นความมัน่ คงปลอดภยั ระบบสารสนเทศ

2. จํานวนเหตุบุกรกุ ดา นระบบสารสนเทศ
แผนงาน 3.3 การปรบั กรงุ กระบวนการบรหิ ารจดั การดานเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ตัวชีว้ ัด : มกี ระบวนการบรหิ ารบรกิ ารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่อี า งองิ ไดต าม

มาตรฐานสากล
 ยทุ ธศาสตรท่ี 4 การพฒั นาศักยภาพบคุ ลากรเพ่ือสรางสรรคและประยุกตใชงาน

เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ (Digital Competency and
Innovation)
เปา ประสงค : บุคลากรมีความสามารถในการประยกุ ตใ ชงานเทคโนโลยีสารสนเทศ และมี
คานยิ มในการใชง านเทคโนโลยอี ยางมีวิจารณญาณ และมอี งคความรูเพ่ือ
สรางสรรคนวตั กรรมดิจิทัล
แผนงาน 4.1 กจิ กรรมการสง นวตั กรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศเขา ประกวด
ตวั ช้ีวัด : จาํ นวนกจิ กรรมท่ีสง เสรมิ ดานการสรา งนวัตกรรมดิจิทลั กระทรวงมหาดไทย
แผนงาน 4.2 แผนพัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ตวั ชว้ี ดั : 1. รอ ยละของหลกั สตู รฝกอบรมทไ่ี ดจ ัดหรือสง บุคลากรเขา รบั การฝกอบรม
2. จํานวนบคุ ลากรที่สอบผานและไดป ระกาศนยี บตั รความเชี่ยวชาญ
แผนงาน 4.3 การพัฒนาระบบสนับสนนุ การเรียนรแู ละการจัดการองคค วามรูดว ย
เทคโนโลยีดิจทิ ลั
ตวั ช้ีวดั : จาํ นวนระบบเทคโนโลยดี จิ ิทลั สนับสนุนการเรียนรูและการจดั การองคค วามรู

แผนปฏบิ ตั ิการดจิ ทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 จ

สารบัญ หนา

คํานาํ ข
บทสรุปผูบริหาร

 บทท่ี 1 บทนาํ 1-1
1.1 วตั ถปุ ระสงค 1-2
1.2 กรอบการจดั ทําแผนปฏิบัติการดจิ ทิ ัล กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2563 - 2565 1-2
 บทท่ี 2 ขอมูลพืน้ ฐานและนโยบายท่ีเก่ยี วของกับแผนปฏบิ ัตกิ ารดิจทิ ัลของ 2-1
กระทรวงมหาดไทย
๒.๑ กรอบความเชอื่ มโยงนโยบาย แผน และยทุ ธศาสตรทีเ่ กี่ยวของ ๒-๑
2.๒ โครงสรางของกระทรวงมหาดไทย 2-๓๐
2.๓ อํานาจหนาที่ของกระทรวงมหาดไทย 2-3๑
2.๔ วสิ ยั ทศั น พันธกจิ และประเดน็ ยทุ ธศาสตรของกระทรวงมหาดไทย 2-7
 บทท่ี 3 การวิเคราะหสภาพแวดลอมของกระทรวงมหาดไทย 3-1
3.1 การวเิ คราะหสภาพแวดลอ มภายใน (Internal Environment 3-1
3.2 การวเิ คราะหสภาพแวดลอ มภายนอก (External Environment) 3-2
 บทที่ 4 แผนปฏบิ ตั ิการดิจทิ ัลของกระทรวงมหาดไทย 4-1
พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5
4.1 จุดยนื (Positioning) 4-๒
4.2 วสิ ัยทศั น (Vision) 4-๒
4.3 พนั ธกิจ (Mission) 4-๒
4.4 เปา หมาย (Goal) 4-2
4.5 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร (Strategic Issue) 4-๓
4.6 แผนภาพแสดงความเช่ือมโยงระหวางยทุ ธศาสตรท่ีเกี่ยวขอ งกบั 4-๔
กระทรวงมหาดไทย
4.7 แผนภาพแสดงความเชื่อมโยงระหวา งแผนปฏิบตั ิการดิจทิ ัลเพือ่ เศรษฐกจิ 4-๘
และสังคมกบั แผนปฏิบตั กิ ารดจิ ิทัลของกระทรวงมหาดไทย
4.8 แผนทีย่ ทุ ธศาสตร (Strategy Map) 4-๙
 บทที่ 5 รายละเอียดแผนปฏบิ ตั ิการดจิ ทิ ัลของกระทรวงมหาดไทย 5-1
พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5
5.1 ประเด็นยุทธศาสตรท ี่ 1 การบูรณาการระบบงานและโครงสรางพืน้ ฐาน 5-2
กระทรวงมหาดไทย (Integration)
5.2 ประเด็นยทุ ธศาสตรท ่ี 2 การยกระดบั บริการประชาชนสบู รกิ ารดิจทิ ลั 5-1๕
(Digital Services)
5.3 ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การปรบั ปรุงกระบวนการดาํ เนนิ การดวย 5-๒๒
เทคโนโลยดี ิจทิ ัล (Smart Operations)

แผนปฏิบัตกิ ารดจิ ทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 ฉ

5.4 ประเด็นยทุ ธศาสตรท ่ี 4 การพฒั นาศักยภาพบุคลากรเพ่ือสรา งสรรค 5-๓๓
และประยกุ ตใ ชง านเทคโนโลยดี จิ ิทัลอยางมปี ระสทิ ธิภาพ (Digital
Competency and Innovation) 6-1
6-1
 บทที่ 6 การนาํ แผนปฏิบัตกิ ารดิจทิ ลั ของกระทรวงมหาดไทยไปสูการปฏิบตั ิและ 6-3
การตดิ ตามประเมินผล

6.1 การนาํ แผนปฏบิ ตั กิ ารดจิ ิทลั ของกระทรวงมหาดไทยไปสกู ารปฏิบัติ
6.2 การติดตามประเมนิ ผล
คณะผูจ ดั ทํา

แผนปฏบิ ัตกิ ารดิจทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 ช

บทที่ 1

บทนาํ

กระทรวงมหาดไทย มีภารกิจเกี่ยวกับการบําบัดทุกขบํารุงสุข การรักษาความสงบเรียบรอยของ
ประชาชน การอํานวยความเปนธรรมของสังคม การสงเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการ
บริหารราชการสวนภูมภิ าค การปกครองทอ งที่ การสง เสรมิ การปกครองทองถ่ินและพฒั นาชุมชน การทะเบียน
ราษฎร ความมนั่ คงภายใน กิจการสาธารณภัย การพัฒนาเมอื ง และราชการอืน่ ตามที่มีกฎหมายกําหนดใหเปน
อาํ นาจหนาทขี่ องกระทรวงมหาดไทยหรือสว นราชการท่ีสงั กดั กระทรวงมหาดไทย

ในการปฏิบัติงานตามภารกิจดังกลาว กระทรวงมหาดไทยไดนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารเขามาประยุกตใชในการปฏิบัติราชการมาต้ังแตป พ.ศ. 2508 โดยเร่ิมจากการใหบริการสื่อสารใหกับ
หนวยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทยและสังกัดอ่ืนตามที่รองขอใหครอบคลุมพ้ืนท่ี 30 จังหวัดในภาคกลาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยกเวนภาคเหนือและภาคใต ทั้งนี้ไดมีการพัฒนามาอยางตอเน่ืองตามแนวนโยบายและ
เทคโนโลยที เ่ี ปลี่ยนแปลง จนกระท่งั ในปจ จบุ นั เทคโนโลยีไดมีอิทธิพลตอการดํารงชีวิตประจําวันของประชาชน
และการดําเนินงานของภาคธุรกจิ ภาครฐั และภาคประชาสงั คมทกุ ๆ องคก ร ดงั น้ัน เพือ่ ใหกระทรวงมหาดไทย
มเี ทคโนโลยีที่เหมาะสมและสอดคลอ งกบั ภารกจิ ในการใหบริการประชาชนและหนวยงานท่ีเกี่ยวของใหครอบคลุม
พ้นื ทท่ี ุกจงั หวัดใหมีความมนั่ คงปลอดภัย ทันสมัย มปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผล และเปนไปตามพระราชกฤษฎีกา
วา ดว ยหลักเกณฑและวธิ ีการบรหิ ารกิจการบานเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2) ที่กําหนดใหสวนราชการจัดทําแผนปฏิบัติ
ราชการของสว นราชการน้ัน โดยจดั ทาํ เปน แผนหา ป ซึง่ ตองสอดคลองกบั ยุทธศาสตรชาติ แผนแมบท แผนการ
ปฏริ ปู ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตลอดจนนโยบายของคณะรัฐมนตรีท่ีแถลงตอรัฐสภา
และแผนปฏิบตั ิการดานดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คมระยะ 5 ป (พ.ศ. 2561 – 2565) ที่อยูภายใตนโยบาย
และแผนระดับชาติวาดวยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ. 2561 – 2580) โดยขอใหเรงรัด
ปรับปรุงแผนของหนวยงานใหส อดคลองกับแผนปฏิบตั กิ ารดังกลาว ในการน้ี เพ่ือใหการดําเนินการเปนไปตาม
แนวนโยบายดงั กลาว กระทรวงมหาดไทยจงึ ไดท บทวนแผนปฏิบตั ิการดิจิทัลของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2561
– 2564 เพ่ือจัดทําแผนปฏิบัติการดิจิทัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2563 – 2565 โดยมุงเนนการจัดทําให
สอดคลองและตอบสนองตอนโยบายการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทย ท่ีไดมีการกําหนดเปาหมายการ
พัฒนาโดยการนาํ เทคโนโลยดี ิจิทัลมาใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาเพื่อมุงเปาสูไทยแลนด 4.0 และสอดคลองกับ
ทิศทางการพัฒนาดานดิจิทัลของประเทศไทยตามแนวทางที่กําหนดไวในแผนปฏิบัติการดานดิจิทัลเพ่ือ
เศรษฐกจิ และสงั คมระยะ 5 ป (พ.ศ. 2561 – 2565) ซ่ึงอยูภายใตนโยบายและแผนระดับระดับชาติวาดวย
การพัฒนาดิจทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2561 – 2580 ท่มี ีความสอดคลองกบั แผนการปฏิรูปประเทศ
ดานการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2561 - 2565 และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2560 ตลอดจนยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป เพ่ือสรางกลไกใหหนวยงานภาครัฐทุกหนวยงานบูรณาการการ
ทํางานรวมกันโดยใชเทคโนโลยีดิจิทัลและกลไกประชารัฐ ในการเรงการเปลี่ยนผานประเทศสูยุคเศรษฐกิจและ
สังคมดิจิทัล ซึ่งแผนดังกลาวน้ีจะเปนแผนที่มุงเนนการสงเสริมและสนับสนุนตอความสําเร็จตอเปาหมายตาม
ภารกิจที่กําหนดไวในแผนปฏิบัติการดิจิทัลของกระทรวงมหาดไทย ระยะ 3 ป (พ.ศ. 2563 - 2565) เพื่อให
กระทรวงมหาดไทยกาวไปสูวิสัยทัศนท่ีกําหนดไววา “เปนกระทรวงช้ันนําท่ีมีศักยภาพในการประยุกตและ
บรกิ ารภาคประชาชนดว ยเทคโนโลยดี จิ ิทัล”

แผนปฏิบตั กิ ารดิจทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 1-1

ประกอบกับกระทรวงมหาดไทยไดกําหนดวิสัยทัศน (Vision) ไววา “ประชาชนมีรากฐาน
การดํารงชีวิตและพัฒนาสูอนาคตไดอยางม่ันคงและสมดุลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ทั้งน้ี
ตามกรอบแนวทางการพัฒนาเพ่ือไปสูวิสัยทัศนท่ีกําหนดไว กระทรวงมหาดไทยมีทิศทางการพัฒนาท่ีชัดเจน
ทั้งระยะยาว และระยะส้ัน ตามแผนยุทธศาสตรที่กําหนดไว คือ แผนงานในภารกิจหลักของกระทรวงมหาดไทย
ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579) และแผนปฏิบัติราชการกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2563 – 2565
ตามลําดับ ซ่ึงแผนปฏิบัติราชการที่กําหนดไวเปนการกําหนดทิศทางและเปาหมายภายใตกรอบภารกิจหลัก
ของกระทรวงมหาดไทย แตยังไมไดมีการวิเคราะหแนวทางการปฏิบัติโดยการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชเพื่อ
การไปสูเปาหมายขององคกรอยางชัดเจน ดังน้ัน กระทรวงมหาดไทยจึงมีความจําเปนตองดําเนินการวิเคราะห
บริบทท่ีเก่ียวของกับการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาสนับสนุนภารกิจ เพื่อกําหนดทิศทางการพัฒนาดานดิจิทัลของ
กระทรวงมหาดไทยใหสอดคลองและเปนไปในทิศทางที่กําหนดไวขางตน ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ในฐานะเปนหนวยงานหลักท่ีรับผิดชอบจึงไดจัดทําแผนปฏิบัติการดิจิทัล
กระทรวงมหาดไทยฉบับน้ีขึ้น เพื่อใหหนวยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทยไดใชเปนกรอบและทิศทางในการ
ปฏบิ ัติงานในดา นดจิ ิทัลใหบรรลเุ ปาหมายตามวสิ ัยทัศนที่กําหนดไวไดอยางแทจ ริง โดยมวี ัตถปุ ระสงค ดังน้ี

1.1 วัตถปุ ระสงค

1) เพอื่ ศกึ ษา วเิ คราะห ขอมูลพื้นฐาน แนวนโยบายดา นดจิ ิทัลของรัฐบาล แผนยุทธศาสตรตางๆ
ที่เก่ียวขอ ง ทงั้ ในระดบั ชาติ และกระทรวงมหาดไทย เพือ่ ใชเปนแนวทางในการจัดทําแผนปฏิบัติการดิจิทัลของ
กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2563 - 2565

2) เพ่ือใหกระทรวงมหาดไทย มีกรอบทิศทางในการพัฒนาดานเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีเหมาะสม
และสอดคลอ งกบั ภารกจิ ของหนวยงาน

3) เพื่อกําหนดเปาหมายและตัวช้ีวัดการพัฒนาดานเทคโนโลยีดิจิทัล ที่สามารถติดตาม
ประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งานได และสอดสอดคลองกับนโยบายของกระทรวงมหาดไทย

4) เพื่อใหหนวยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทย ไดใชเปนกรอบทิศทางการพัฒนาดาน
เทคโนโลยดี จิ ิทัลรวมกัน

1.2 กรอบการจัดทําแผนปฏิบัตกิ ารดจิ ิทลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2563 - 2565

การจัดทําแผนปฏิบัติการดิจิทัล กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2563 - 2565 ประกอบดวย
สาระสําคัญ ดังตอไปน้ี

บทท่ี 1 บทนํา
บทที่ 2 ขอมลู พ้นื ฐาน และนโยบายท่ีเกี่ยวของกบั กระทรวงมหาดไทย
บทที่ 3 การวิเคราะหส ภาพแวดลอมของกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 4 แผนปฏิบตั กิ ารดิจิทลั ของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2563 - 2565
บทที่ 5 รายละเอยี ดแผนปฏบิ ัติการดิจิทัลของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2563 - 2565
บทท่ี 6 การนาํ แผนปฏบิ ัติการดิจทิ ลั ของกระทรวงมหาดไทยไปสกู ารปฏบิ ัติและการติดตาม

ประเมนิ ผล

แผนปฏบิ ตั ิการดจิ ทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 1-2

บทที่ 2

ขอมูลพนื้ ฐาน และนโยบายที่เกยี่ วของกับแผนปฏบิ ัตกิ ารดิจทิ ลั ของกระทรวงมหาดไทย

แนวทางการดําเนินงานปรับปรุงแผนปฏิบัติการดิจิทัลระยะ 3 ป (พ.ศ. 256 - 2564 ) ของ
กระทรวงมหาดไทย ไดใชแนวทางการจัดทําแผนเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารแบบบูรณาการมาเปน
กรอบในการปรับปรุงเพื่อจัดทําแผนปฏิบัติฉบับน้ี โดยเนื้อหาในบทน้ีเปนการเสนอสรุปผลการศึกษาภาพรวม
นโยบายและยุทธศาสตรที่มีผลตอการกําหนดยุทธศาสตรในดานเทคโนโลยีดิจิทัลของกระทรวงมหาดไทย
ซง่ึ จะประกอบดว ย วิสยั ทัศน พนั ธกจิ ประเดน็ ยุทธศาสตรและเปาประสงค ตัวชี้วัด ซึ่งขอมูลเหลานี้จะเปนการ
ชีใ้ หเปนถึงความเช่ือมโยงนโยบาย แผน และยุทธศาสตรที่เก่ียวของเพ่ือประโยชนในการวิเคราะห SWOT และ
การกําหนดยุทธศาสตรเทคโนโลยีสารสนเทศเบ้อื งตนของกระทรวงมหาดไทยตอไป ดงั แผนภาพน้ี

๒.๑ กรอบความเชอ่ื มโยงนโยบาย แผน และยทุ ธศาสตรท เ่ี กย่ี วของ

ยทุ ธศาสตรช าติ 20 ป
(พ.ศ. 2561 – 2580)

แผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรช าติ แผนปฏิรูปประเทศ
(พ.ศ. 2560 - 2564) (พ.ศ. 2561 – 2565)

แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ นโยบายและแผนระดบั ชาติ
ฉบับที่ 12 วาดว ยความมัน่ คงแหงชาติ

(พ.ศ. 2560 - 2564) (พ.ศ. 2563 - 2565)
นโยบายและแผนระดับชาติวาดว ย แผนปฏบิ ตั กิ ารดานดจิ ทิ ัล
การพฒั นาดิจทิ ัลเพือ่ เศรษฐกิจและสังคม เพอ่ื เศรษฐกิจและสงั คมระยะ 5 ป
(พ.ศ. 2561 - 2565)
(พ.ศ. 2561 - 2580)

แผนปฏิบตั ริ าชการกระทรวงมหาดไทย แผนปฏบิ ตั ิการดิจิทัลกระทรวงมหาดไทย
(พ.ศ. 2563 - 2565) (พ.ศ. 2563 - 2565)

แผนภาพ : กรอบความเช่ือมโยงนโยบาย แผน และยทุ ธศาสตรท ีเ่ ก่ยี วของ

แผนปฏิบัติการดิจทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-1

กรอบยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป
(พ.ศ. 2561 – 2580)

บริบทของโลกที่เปล่ียนแปลงไปทําใหเทคโนโลยีเขามามีบทบาทในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
กระบวนการผลิต การคา การบริการ และกระบวนการทางสังคมอื่นๆ รวมท้ังการทํางานของภาครัฐมากข้ึน
ทั้งในมิติการใหบริการประชาชน มิติการบริหารจัดการภาครัฐ และมิติการกําหนดนโยบาย จนสงผลใหรัฐบาล
ตองกําหนดนโยบายในการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชเปนเครื่องมือสําคัญในการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศ
โดยในบริบทของประเทศไทยเทคโนโลยีดิจิทัลสามารถตอบปญหาความทาทายท่ีประเทศกําลังเผชิญอยูหรือ
เพ่ิมโอกาสในการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม ดวยตระหนักถึงความทาทายและโอกาสดังกลาวรัฐบาลไดมี
การวางแผนและกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในระยะยาว พรอมท้ัง กําหนดแนวทางการพัฒนาของ
ทุกภาคสวนใหขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน จึงจําเปนจะตองกําหนดยุทธศาสตรชาติในระยะยาว เพื่อถายทอด
แนวทางการพัฒนาสูการปฏิบัติในแตละชวงเวลาอยางตอเนื่อง มีการบูรณาการและสรางความเขาใจถึงอนาคต
ของประเทศไทยรวมกัน และเกิดการรวมพลังของทุกภาคสวนในสังคมท้ังประชาชน เอกชน ประชาสังคม
ในการขับเคลื่อนการพัฒนาเพื่อการสรางและรักษาไวซ่ึงผลประโยชนแหงชาติเพื่อบรรลุวิสัยทัศน “ประเทศไทย
มีความมนั่ คง ม่งั คงั่ ยัง่ ยืน เปน ประเทศพัฒนาแลวดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
หรอื คตพิ จนประจําชาติ “ม่นั คง ม่ังคง่ั ย่งั ยนื ” เพื่อสนองตอบตอผลประโยชนแหงชาติ อันไดแก การมีเอกราช
อธิปไตย การดํารงอยูอยางม่ันคง และย่ังยืนของสถาบันหลักของชาติและประชาชนจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ
การอยูรวมกันในชาตอิ ยางสนั ติสขุ เปนปกแผน มีความมั่นคงทางสังคมทามกลางพหุสังคมและการมีเกียรติและ
ศกั ดิศ์ รีของความเปน มนุษยอยางเจริญเติบโตของชาติ ความเปนธรรมและความอยูดีมีสุขของประชาชน ความย่ังยืน
ของฐานทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม ความม่ันคงทางพลังงานและอาหาร ความสามารถในการรักษา
ผลประโยชนข องชาตภิ ายใตการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดลอมระหวางประเทศและการอยูรวมกันอยางสันติ
ประสานสอดคลองกันดานความมั่นคงในประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกอยางมีเกียรติและศักด์ิศรี
ดงั วสิ ยั ทัศนที่กาํ หนดไว ดงั น้ี

แผนปฏิบตั กิ ารดจิ ทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-2

เพื่อใหประเทศมีขีดความสามารถในการแขงขัน มีรายไดสูงอยูในกลุมประเทศพัฒนาแลว คนไทย
มีความสุข อยูดี กินดี สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเปนธรรม ซ่ึงยุทธศาสตรชาติท่ีจะใชเปนกรอบแนวทาง
การพัฒนาในระยะ ๒๐ ปต อ จากนไี้ ปจะประกอบดวย ๖ ยุทธศาสตร ไดแ ก

1) ยทุ ธศาสตรช าติดา นความม่ันคง
มีเปาหมายการพัฒนาท่ีสําคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เนนการบริหาร

จดั การสภาวะแวดลอมของประเทศใหม ีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราชอธิปไตย และมีความสงบเรียบรอยในทุกระดับ
ต้ังแตระดับชาติ สังคม ชุมชน มุงเนนการพัฒนาคน เคร่ืองมือเทคโนโลยี และระบบฐานขอมูลขนาดใหญใหมี
ความพรอมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติไดทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคูไปกับการ
ปอ งกันและแกไ ขปญ หาดานความม่นั คงทีม่ ีอยูใ นปจ จบุ ัน และทอี่ าจจะเกิดข้ึนในอนาคต ใชกลไกการแกไขปญหา
แบบบูรณาการทั้งกับสวนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองคกรที่ไมใชรัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบานและ
มิตรประเทศทั่วโลกบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล เพื่อเอื้ออํานวยประโยชนตอการดําเนินการของ
ยุทธศาสตรชาติดา นอ่ืนๆ ใหสามารถขับเคลอ่ื นไปไดตามทศิ ทางและเปาหมายท่ีกาํ หนด

2) ยุทธศาสตรชาติดา นการสรา งความสามารถในการแขงขัน
มีเปาหมายการพัฒนาท่ีมุงเนนการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติบนพื้นฐาน

แนวคิด 3 ประการ ไดแก
(1) “ตอยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหงาทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ วัฒนธรรม ประเพณี

วิถีชีวิต และจุดเดนทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมท้ัง ความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศ
ในดานอื่นๆ นํามาประยุกตผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อใหสอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและ
สงั คมโลกสมัยใหม

(2) “ปรับปจจุบัน” เพ่ือปูทางสูอนาคต ผานการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานของประเทศในมิติตางๆ
ทั้งโครงขายระบบคมนาคมและขนสง โครงสรางพ้ืนฐานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และดิจิทัล และการปรับ
สภาพแวดลอมใหเ อือ้ ตอ การพฒั นาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต และ

(3) “สรา งคณุ คา ใหมใ นอนาคต” ดวยการเพมิ่ ศักยภาพของผูประกอบการ พัฒนาคนรุนใหม
รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพ่ือตอบสนองตอความตองการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตรท่ีรองรับอนาคต
บนพื้นฐานของการตอ ยอดอดตี และปรับปจจุบัน พรอมทั้งการสงเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐใหประเทศไทย
สามารถสรางฐานรายไดและการจา งงานใหม ขยายโอกาสทางการคาและการลงทุนในเวทีโลก ควบคูไปกับการ
ยกระดบั รายไดแ ละการกินดีอยูดี รวมถึง การเพิ่มข้ึนของคนช้ันกลางและลดความเหลื่อมลํ้าของคนในประเทศ
ไดใ นคราวเดียวกนั

3) ยทุ ธศาสตรชาติดานการพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย
มีเปาหมายการพัฒนาท่ีสําคัญเพ่ือพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนคนดี เกง และมี

คุณภาพ โดยคนไทยมีความพรอมทั้ง กาย ใจ สติปญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบดานและมีสุขภาวะที่ดีในทุกชวงวัย
มีจิตสาธารณะรับผิดชอบตอสังคมและผูอ่ืน มัธยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเปนพลเมืองดี
ของชาติ มหี ลักคิดที่ถูกตอง มีทกั ษะที่จาํ เปน ในศตวรรษที่ 21 มีทกั ษะส่ือสารภาษาอังกฤษและภาษาท่ีสามและ
อนรุ ักษภาษาทอ งถน่ิ มีนสิ ยั รกั การเรียนรูแ ละการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต สูการเปนคนไทยท่ีมีทักษะสูง
เปนนวัตกร นักคิด ผปู ระกอบการ เกษตรกรยุคใหมและอ่ืนๆ โดยมสี มั มาชพี ตามความถนดั ของตนเอง

แผนปฏบิ ัติการดิจทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-3

4) ยทุ ธศาสตรชาติดา นการสรางโอกาสความเสมอภาคทางสังคม
มเี ปา หมายการพฒั นาทสี่ ําคัญท่ใี หความสําคัญกบั การดึงเอาพลังของภาคสวนตางๆ ท้ังภาคเอกชน

ประชาสังคม ชุมชนทองถ่ินมารวมขับเคล่ือน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการรวมคิดรวมทํา
เพื่อสวนรวม การกระจายอํานาจและความรับผิดชอบไปสูกลไกบริหารราชการแผนดินในระดับทองถิ่น
การเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพรอมของประชากรไทยทั้ง
ในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคมและสภาพแวดลอมใหเปนประชากรท่ีมีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเองและทํา
ประโยชนแกครอบครัว ชุมชน และสังคมใหนานท่ีสุด โดยรัฐใหหลักประกันการเขาถึงบริการและสวัสดิการที่มี
คณุ ภาพอยา งเปน ธรรมและท่วั ถงึ

5) ยทุ ธศาสตรชาติดานการสรางการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ิตท่ีเปน มติ รตอ ส่ิงแวดลอม
มีเปาหมายการพัฒนาที่สําคัญเพื่อนําไปสูการบรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ

ท้ังดานสงั คม เศรษฐกจิ สงิ่ แวดลอ ม ธรรมาภบิ าล และความเปนหนุ สว นความรวมมือระหวางกันท้ังภายในและ
ภายนอกประเทศอยางบูรณาการ ใชพนื้ ท่ีเปนตวั ตัง้ ในการกาํ หนดกลยุทธและแผนงาน และการใหทุกฝายท่ีเก่ียวของ
ไดเขามามีสวนรวมในแบบทางตรงใหมากที่สุดเทาท่ีจะเปนไปได โดยเปนการดําเนินการบนพื้นฐานการเติบโต
รว มกนั ไมวา จะเปนทางเศรษฐกจิ สิง่ แวดลอมและคุณภาพชวี ติ โดยใหค วามสําคญั กับการสรางสมดุลท้ัง 3 ดาน
อันจะนําไปสคู วามย่ังยืนเพอ่ื คนรุนตอไปอยา งแทจ ริง

6) ยทุ ธศาสตรชาติดานการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั
มีเปาหมายการพัฒนาที่สําคัญเพื่อปรับเปล่ียนภาครัฐท่ียึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อ

ประชาชนและประโยชนสวนรวม” โดยภาครัฐตองมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท
หนวยงานของรัฐที่ทําหนาท่ีในการกํากับหรือในการใหบริการในระบบเศรษฐกิจที่มีการแขงขัน มีสมรรถนะสูง
ยดึ หลักธรรมาภบิ าล ปรับวัฒนธรรมการทํางานใหมุงผลสัมฤทธิ์และผลประโยชนสวนรวม มีความทันสมัยและ
พรอ มท่จี ะปรับตวั ใหท ันตอ การเปลยี่ นแปลงของโลกอยูตลอดเวลา โดยเฉพาะอยางยิ่งการนํานวัตกรรม เทคโนโลยี
ขอมลู ขนาดใหญ ระบบการทํางานทเี่ ปน ดจิ ิทัลเขามาประยุกตใชอยางคุมคาและปฏิบัติงานเทียบไดกับมาตรฐานสากล
รวมทั้ง มีลักษณะเปดกวาง เชื่อมโยงถึงกันและเปดโอกาสใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมเพื่อตอบสนองความ
ตองการของประชาชนไดอ ยางสะดวก รวดเร็ว และโปรงใส โดยทุกภาคสวนในสังคมตองรวมกันปลูกฝงคานิยม
ความชื่อสัตยส จุ รติ ความมัธยัสถ และสรางจิตสํานึกในการปฏิเสธไมยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอยางส้ินเชิง
นอกจากนั้น กฎหมายตองมคี วามชัดเจน มีเพยี งเทาท่ีจําเปน มีความทันสมัย มีความเปนสากล มีประสิทธิภาพ
และนําไปสูการลดความเหล่ือมลํ้าและเอื้อตอการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหารท่ีมีประสิทธิภาพ
เปนธรรม ไมเ ลือกปฏิบตั แิ ละการอํานวยความยุติธรรมตามหลักนติ ิธรรม

แผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรชาติ
(พ.ศ. 2560 – 2564)

รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 กําหนดใหรัฐพึงจัดใหมียุทธศาสตรชาติเปนเปาหมาย
การพัฒนาประเทศอยางย่ังยืนตามหลักธรรมาภิบาลเพ่ือใชเปนกรอบในการจัดทําแผนตางๆ ใหสอดคลองและ
บูรณาการกันเพ่ือใหเกิดเปนพลังผลักดันรวมกันไปสูเปาหมายดังกลาว โดยใหเปนไปตามท่ีกําหนดในกฎหมาย

แผนปฏบิ ัตกิ ารดิจทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-4

วา ดว ยการจดั ทํายุทธศาสตรชาติและตอมาไดมีการตราพระราชบัญญัติการจัดทํายุทธศาสตรชาติ พ.ศ. 2560
โดยกําหนดใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตรชาติ เพ่ือรับผิดชอบในการจัดทํารางยุทธศาสตรชาติและ
ตอมาเม่ือวันท่ี 13 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ไดมีราชกิจจานุเบกษา เลม 135 ตอนที่ 82 ก ประกาศ เรื่อง
ยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) เพ่ือใหเปนไปตามที่กําหนดในพระราชบัญญัติการจัดทํายุทธศาสตรชาติ
พ.ศ. 2560 มาตรา 10 เมื่อมีพระบรมราชโองการประกาศใชยุทธศาสตรชาติแลว ใหคณะกรรมการจัดทํา
ยุทธศาสตรชาติแตละดานจัดทําแผนแมบทเพื่อบรรลุเปาหมายตามท่ีกําหนดไวในยุทธศาสตรชาติเสนอตอ
คณะกรรมการพจิ ารณาใหค วามเห็นชอบและเสนอตอคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบและประกาศในราชกิจจานุเบกษา
แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติเปนแผนแมบทเพ่ือบรรลุเปาหมายตามท่ีกําหนดไวในยุทธศาสตรชาติ มีท้ังส้ิน
23 ประเดน็ แผนแมบท ซึ่งจะมีผลผูกพันตอหนวยงานของรัฐท่ีเก่ียวของที่จะตองปฏิบัติให เปนไปตามนั้น รวมท้ัง
การจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณตองสอดคลองกับแผนแมบท ซึ่งจะนําไปสูการปฏิบัติเพ่ือให
ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนา
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพ่ือความสุขของคนไทยทุกคนภายในชวงเวลาดังกลาวไดกําหนด
แผนแมบ ทประเดน็ ตาง ๆ ไวตามรายละเอียด ดงั น้ี

1) แผนแมบทประเด็นความมั่นคง ถือเปนกรอบแนวทางการดําเนินการหลักท่ีจะนําไปสูจุดหมาย
ปลายทางในภาพรวมท่ีเปนรูปธรรมชัดเจนในระยะ ๒๐ ป ตามท่ียุทธศาสตรชาติดานความม่ันคงไดกําหนดเอาไว
ซึ่งก็คือ “ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข” โดยมีเปาหมายสําคัญประกอบดวยประชาชนอยูดีกินดีและ
มคี วามสุข บานเมืองมคี วามมน่ั คงในทุกมติ แิ ละทุกระดับกองทัพ หนวยงานดานความมั่นคงภาครัฐ ภาคเอกชนและ
ภาคประชาชนมีความพรอมในการปองกันและแกไขปญหาความม่ันคงประเทศไทยมีบทบาทดานความมั่นคงเปนที่
ช่ืนชมและไดรับการยอมรับโดยประชาคมระหวางประเทศและการบริหารจัดการความมั่นคงมีผลสําเร็จที่เปน
รปู ธรรมอยางมปี ระสิทธิภาพ ซง่ึ ประกอบดว ย 5 แผนยอ ย ไดแ ก

(1) การรักษาความสงบภายในประเทศ
(2) การปองกันและแกไขปญหาท่มี ีผลกระทบตอความมัน่ คง
(3) การพฒั นาศักยภาพของประเทศใหพ รอมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบตอความมั่นคงของชาติ
(4) การบูรณาการความรว มมือดานความมั่นคงกับอาเซียนและนานาชาติ รวมทัง้ องคกรภาครฐั

และมิใชภาครฐั
(5) การพฒั นากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองครวม
2) แผนแมบ ทประเด็นการตา งประเทศ ไดกําหนดกรอบนโยบายตางประเทศของไทยเพื่อใหทุก
สวนราชการสามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติท้ัง ๖ ดาน ในมิติการตางประเทศอยางบูรณาการและเปนเอกภาพ
โดยมีเปาหมายสําคัญคือ “การตางประเทศไทยมีเอกภาพทําใหประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน มีมาตรฐานสากล
และมเี กยี รติภูมิในประชาคมโลก ประกอบดวยเปาหมายและประเด็นสําคัญ ไดแก มีความม่ังค่ัง ย่ังยืน มีมาตรฐานสากล
มีสถานะและเกียรติภูมิและมีพลัง ซึ่งสื่อเจตนารมณวาการตางประเทศท่ีมีพลวัตจะชวยใหประเทศชาติและ
ประชาชนไทย ซงึ่ ประกอบดวยแผนยอ ย 5 แผน ดังน้ี
(1) ความรว มมอื ดา นเศรษฐกิจและความรว มมือเพ่ือการพัฒนาระหวา งประเทศ (มีความมั่งคง่ั

ย่งั ยืน)
(2) การพฒั นาที่สอดคลองกับมาตรฐานสากลและพันธกรณีระหวางประเทศ (มีมาตรฐานสากล)
(3) การสงเสรมิ สถานะและบทบาทของประเทศไทยในประชาคมโลก (มสี ถานะและเกียรตภิ ูมิ)

แผนปฏิบัตกิ ารดจิ ทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-5

(4) การตางประเทศมีเอกภาพและบูรณาการ (มีพลัง)
(5) ความรว มมือดานความมนั่ คงระหวา งประเทศ (มีความมั่นคง)
3) แผนแมบทประเด็นการเกษตร เปนประเด็นท่ีใหความสําคัญกับการปรับตัวจากการทําเกษตร
แบบด้ังเดิมไปเปนเกษตรอุตสาหกรรมการแปรรูปเกษตรท่ีมีมูลคาเพิ่มสูง การเพิ่มผลิตภาพการผลิตโดยอาศัย/
เทคโนโลยีและนวัตกรรมรวมถึงการใชประโยชนจากฐานทรัพยากรชีวภาพควบคูไปกับการสรางความมั่นคงและ
ความปลอดภัยอาหาร เพื่อเปนภาคการผลิตที่สรางรายไดและพัฒนาคุณภาพชีวิตใหกับเกษตรกรสามารถพึ่งพา
ตนเองได ซ่ึงมี ๖ แผนยอ ย ดังน้ี
(1) เกษตรอัตลักษณพ้ืนถ่ิน
(2) เกษตรปลอดภยั
(3) เกษตรชีวภาพ
(4) เกษตรแปรรปู
(5) เกษตรอจั ฉริยะ
(6) ระบบนเิ วศของภาคเกษตร
4) แผนแมบทประเด็นอุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคต เปนประเด็นท่ีใหความสําคัญกับ
การพัฒนาเปนองครวมและการสรางระบบนิเวศใหอุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคตไดเติบโต โดยเนนการ
สรา งรากฐานของอุตสาหกรรมและบรกิ ารและสรางสภาพแวดลอมท่ีเอ้ืออํานวยตอการพัฒนาของอุตสาหกรรม
และบริการ ทง้ั ดานบคุ ลากรและโครงสรางพ้ืนฐานที่จําเปนการพัฒนาตอยอดจากฐานอุตสาหกรรมและบริการเดิม
ที่มคี วามเขมแข็งและสรางโอกาสทุกอตุ สาหกรรมในการปรับตัวและสรางศกั ยภาพใหมใ นระยะตอไปจะเปนการ
สนับสนุนใหอุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคตไดเติบโตเปนเสาหลักของเศรษฐกิจไทยสรางมูลคาเพ่ิมดวย
เทคโนโลยีและนวัตกรรมของตนเอง ลดการพึ่งพาเทคโนโลยีและนวัตกรรมจากตางประเทศและเปนผูนําของ
อุตสาหกรรมและบริการที่ประเทศไทยมีศักยภาพในระดับภูมิภาคและระดับโลก ซงึ่ ประกอบดว ย ๖ แผนยอย ดงั นี้
(1) อตุ สาหกรรมชีวภาพ
(2) อุตสาหกรรมและบริการทางการแพทยครบวงจร
(3) อตุ สาหกรรมและบริการดิจิทัล ขอ มลู และปญญาประดิษฐ
(4) อุตสาหกรรมตอเนื่องจากการพฒั นาระบบคมนาคม
(5) อตุ สาหกรรมความม่ันคงของประเทศ
(6) ระบบนิเวศของอุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคต
5) แผนแมบทประเด็นการทองเที่ยว แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติประเด็นสรางความ
หลากหลายดานการทองเที่ยวจะใหความสําคัญกับการรักษาการเปนจุดหมายปลายทางของการทองเที่ยวระดับโลก
ท่เี ปนกลไกหลักในการชวยขบั เคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทย โดยจะตองพัฒนาการทองเที่ยวท้ังระบบ มุงเนน
นักทองเท่ียวกลุมคุณภาพ สรางความหลากหลายดานการทองเท่ียวใหสอดคลองกับความตองการของ
นักทองเท่ียว รวมถึงใหความสําคัญกับการพัฒนาการทองเท่ียวในสาขาที่มีศักยภาพแตยังคงรักษาจุดเดนของ
ประเทศดานขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมอัตลักษณความเปนไทย ตลอดจนใหคุณคากับส่ิงแวดลอม
ธรรมชาติไวได โดยมี 6 แผนยอ ย ดงั นี้

แผนปฏิบตั กิ ารดจิ ทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-6

(1) การทองเท่ียวเชิงสรางสรรคแ ละวัฒนธรรม
(2) การทองเท่ยี วเชงิ ธรุ กจิ
(3) การทองเทยี่ วเชิงสุขภาพความงามและแพทยแผนไทย
(4) การทองเทีย่ วสาํ ราญทางนาํ้
(5) การทองเที่ยวเชื่อมโยงภมู ิภาค
(6) การระบบนิเวศการทองเที่ยว
6) การพืน้ ทแี่ ละเมืองนา อยู ใหความสําคัญกับการพัฒนาเมืองใหเปนเมืองนาอยูอัจฉริยะท่ีสามารถ
รองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เปนที่อยูอาศัยลดความเหลื่อมลํ้าและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นท่ี
ทุกกลุม โดยผานความรวมมอื ระหวา งภาครฐั ภาคเอกชนและประชาชนในพ้นื ที่ ประกอบดว ย ๒ แผนยอย สรุปไดดังน้ี
(1) การพัฒนาเมอื งนาอยูอจั ฉริยะ
(2) การพฒั นาพนื้ ทเ่ี มืองพเิ ศษ
7) โครงสรางพื้นฐาน ระบบโลจิสติกสและดิจิทัล พัฒนาโครงสรางพื้นฐานของประเทศโดย
มุงเนนการขยายขีดความสามารถพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพของโครงสรางพื้นฐานดานการขนสงและ
ระบบโลจิสติกส พลังงาน ดิจิทัล วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสมัยใหม เพ่ือยกระดับผลิตภาพของภาคการผลิต
และบริการ ลดตนทุนการผลิตและบริการใหแขงขันไดในระดับสากล สนับสนุนใหเกิดความเช่ือมโยงกับอนุภูมิภาค
และภูมิภาคอยางเปนระบบ รวมถึงพัฒนาระบบการบริหารจัดการใหสามารถรองรับการเกิดภัยพิบัติ
ทางธรรมชาติและปรับตัวไดทันกับแนวโนมการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีในอนาคต โดยภายใตแผนแมบท
ดานโครงสรางพน้ื ฐาน ประกอบดวย 4 แผนยอ ย ไดแ ก
(1) ดา นคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส
(2) ดา นพลงั งาน
(3) ดานดจิ ิทลั
(4) ดา นวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีสมยั ใหม
8) การพัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผูประกอบการยุคใหมและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม
จะใหความาสําคัญกับการพัฒนาผูประกอบการไทยใหเปนผูประกอบการยุคใหมท่ีมีทักษะและจิตวิญญาณของ
การเปนผูประกอบการที่มีอัตลักษณชัดเจนมีความสามารถในการแขงขันและมีนวัตกรรมในการสรางรูปแบบ
ธุรกิจ นวัตกรรมของสินคาและบริการ และนวัตกรรมในกระบวนการผลิตสินคาและการใหบริการ ตลอดจน
มีทักษะในการใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัลและมีความสามารถในการเขาถึงตลาดท้ังในและ
ตางประเทศ โดยครอบคลุมการพัฒนาผูประกอบการรายใหญ กลาง เล็ก วิสาหกิจเริ่มตน วิสาหกิจชุมชนหรือ
วิสาหกิจเพ่ือสังคม รวมทั้ง เกษตรกรซึ่งแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติประเด็นพัฒนาเศรษฐกิจบนพ้ืนฐาน
ผูป ระกอบการยคุ ใหม ประกอบดว ย 5 แผนยอย ดังน้ี
(1) สรางผูป ระกอบการอัจริยะ
(2) สรา งโอกาสเขา ถึงบริการทางการเงิน
(3) สรา งโอกาสเขา ถึงตลาด
(4) สรา งโอกาสเขา ถึงขอมูล
(5) ปรับบทบาทและโอกาสเขาถงึ บริการภาครฐั

แผนปฏิบตั ิการดิจทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-7

9) เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จะใหความสําคัญกับการพัฒนาพ้ืนท่ีเพ่ือเปนตนแบบการ
พฒั นาเชิงพ้ืนที่ทส่ี มบูรณแบบ โดยกําหนดอุตสาหกรรมเปาหมายท่ีไดรับการสงเสริมเพ่ือใหเกิดการลงทุนอยาง
เปนรปู ธรรม สนับสนนุ การลงทนุ โครงสรางพื้นฐานและระบบสาธารณปู โภค เพ่ือเพิ่มศักยภาพรองรับการลงทุน
และการพัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจและการอํานวยความสะดวกตางๆ ในพ้ืนที่ รวมท้ัง การพัฒนาทรัพยากร
มนษุ ยและการจดั ระบบการสะสมเทคโนโลยี โดยแนวทางการพัฒนาและแผนการขับเคลื่อนนโยบายเขตพัฒนา
พเิ ศษภาคตะวันออก ประกอบดวย 6 แผนยอ ย ดงั น้ี

(1) พัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานและระบบสาธารณูปโภค
(2) พัมนาและสง เสริมอตุ สาหกรรมเปาหมาย
(3) พัฒนาและสงเสรมิ การทอ งเทย่ี ว
(4) พมั นาบคุ ลากรการศึกษา การวจิ ัย เทคโนโลยีและนวัตกรรม
(5) พฒั นาเมืองใหมอ ัจฉริยะนาอยูมหานครการบนิ ภาคตะวันออกและศูนยกลางการเงิน
(6) พฒั นาโครงสรางพน้ื ฐานดานดจิ ิทลั
10) การปรับเปล่ียนบนคานิยมและวัฒนธรรม ใหความสําคัญกับการปลูกฝงคานิยมวัฒนธรรม
ท่ีพึงประสงคการหลอหลอมคุณคาที่ดีมีคุณธรรมจริยธรรมมีระเบียบวินัย มีจิตสาธารณะท่ีคํานึงถึงการ
เปล่ียนแปลงของโลกยุคใหมและพฤติกรรมของมนุษยท่ีเปล่ียนไปในแตละชวง โดยมุงเนนใหสถาบันทางสังคม
รว มปลูกฝง คา นยิ มวฒั นธรรมท่พี งึ ประสงค โดยบูรณาการรวมระหวาง “ครอบครัว ชุมชน ศาสนา การศึกษา สื่อ
และภาคเอกชน” ในการหลอหลอมคนไทยใหมีคุณธรรมจริยธรรมในลักษณะท่ีเปน ‘วิถี’ การดําเนินชีวิตโดยตอง
วางรากฐานการพัฒนาคนใหมีความสมบูรณ เริ่มตั้งแตการพัฒนาคนใหมีสุขภาพกายและใจที่ดีบนพื้นฐานของ
การมสี ว นรว มของสถาบันสังคมและวัฒนธรรมที่เขมแข็ง ทั้งสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา ส่ือ
รวมทงั้ ชุมชน ประกอบดวย 3 แผนยอ ย ดังนี้
(1) การปลกู ฝงคุณธรรม จรยิ ธรรม คานยิ ม และการเสริมสรา งจติ สาธารณะและการเปน

พลเมืองท่ดี ี
(2) การสรางคา นิยมและวัฒนธรรมที่พึงประสงคจากภาคธุรกจิ
(3) การใชสื่อและสื่อสารมวลชนในการปลกู ฝงคา นยิ มและวัฒนธรรมของคนในสงั คม
11) การพฒั นาคนตลอดชวงชวี ิต ใหค วามสําคัญกับการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกชวงวัย ตั้งแต
ชว งการตง้ั ครรภ ปฐมวยั วยั เด็ก วัยรนุ วยั เรียน วัยผูใหญ วัยแรงงาน และวัยผูสูงอายุ เพ่ือสรางทรัพยากรมนุษย
ท่มี ีศักยภาพมีทกั ษะความรู เปน คนดีมวี ินัยเรยี นรไู ดด ว ยตนเองในทกุ ชวงวยั มคี วามรอบรทู างการเงินมีความสามารถ
ในการวางแผนชีวิตและการวางแผนทางการเงินท่ีเหมาะสมในแตละชวงวัย และความสามารถในการดํารงชีวิต
อยางมีคุณคา รวมถึง การพัฒนาและปรับทัศนคติใหคนทุกชวงวัยที่เคยกระทําผิดไดกลับมาใชชีวิตในสังคมได
อยา งสงบสุขและเปน กําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศ ประกอบดวย 4 แผนยอย ไดแ ก
(1) การพฒั นาเดก็ ตั้งแตชวงการตัง้ ครรภจ นถึงปฐมวยั
(2) การพัฒนาวัยเรยี น/วัยรุน
(3) การสง เสริมศยั กภาพผูสงู อายุ
(4) การพฒั นาและยกระดับศัยกภาพแรงงาน

แผนปฏบิ ตั กิ ารดจิ ทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-8

12) การพฒั นาการเรยี นรู ใหความสําคัญกับการเสริมสรางและยกระดับการพัฒนาการศึกษาและ
การเรยี นรใู นทุกระดับต้ังแตระดับปฐมวัยจนถึงการเรียนรูตลอดชีวิต โดยการพัฒนาระบบการเรียนรูท่ีตอบสนองตอ
การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 มีการออกแบบระบบการเรียนรูใหมการเปลี่ยนบทบาทครูการเพ่ิมประสิทธิภาพ
ระบบบริหารจัดการศึกษาและการพัฒนาระบบการเรียนรูตลอดชีวิตเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหสามารถกํากับการเรียนรู
ท่ีเหมาะสมกับตนเองไดอยางตอเน่ืองแมจะออกจากระบบการศึกษาแลว รวมทั้ง สรางสภาพแวดลอมที่เอื้อตอ
การสรางและพัฒนาเดก็ และเยาวชนทม่ี ีความสามารถพิเศษบนฐานพหุปญญา ประกอบดว ย 2 แผนยอ ย ไดแก

(1) ปฏริ ปู การเรยี นรทู ี่ตอบสนองตอการเปล่ยี นแปลงในศตวรรษที่ 21
(2) การตระหนักถึงพหุปญญาของมนุษยทห่ี ลากหลาย
13) การเสริมสรางใหคนไทยมีสุขภาวะที่ดี แผนแมบทการเสริมสรางใหคนไทยมีสุขภาวะท่ีดีให
ความสาํ คญั กับการเสรมิ สรางการจัดการสุขภาวะในทุกรูปแบบท่ีนําไปสูการมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะที่ดี
ไดด ว ยตนเอง พรอมท้ัง สนับสนุนใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการสรางเสริมใหคนไทยมีสุขภาวะที่ดีและมีทักษะ
ดานสุขภาวะที่เหมาะสม รวมถึง การพัฒนาระบบบริการสุขภาพท่ีทันสมัยสนับสนุนการสรางสุขภาวะที่ดี
ประกอบดวย 5 แผนยอย ไดแก
(1) การสรางความรอบรูดา นสุขภาวะและการปอ งกนั และควบคุมปจ จัยเส่ยี ง
(2) การสรางสภาพแวดลอมที่เอ้ือตอการมสี ขุ ภาวะที่ดโี ดยใชชุมชนเปน ฐาน
(3) การพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพท่ีทนั สมัยสนบั สนุนการสรา งสุขภาวะทดี่ ี
(4) การกระจายบริการสาธารณสขุ อยางทั่วถงึ และมคี ุณภาพ
(5) พฒั นาและสรางระบบรบั มอื ปรับตวั ตอโรคอบุ ัตใิ หมและโรคอบุ ตั ิซาที่เกิดจาก

การเปลีย่ นแปลงภมู ิอากาศ
14) แผนแมบทประเด็นศักยภาพการกีฬา แผนแมบทการพัฒนาศักยภาพการกีฬาในการสราง
คุณคาทางสังคมและพัฒนาประเทศใหความสําคัญกับการสงเสริมการใชกิจกรรมนันทนาการและกีฬาเปนเคร่ืองมือ
ในการเสริมสรา งสขุ ภาวะของประชาชนอยางครบวงจรและมีคุณภาพมาตรฐาน การสรางนิสัยรักกีฬาและมีนํ้าใจ
เปนนักกีฬาและการใชกีฬาและนันทนาการในการพัฒนาจิตใจ สรางความสามัคคีของคนในชาติ หลอหลอม
การเปนพลเมืองดีพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมทั้ง การพัฒนาทักษะดานกีฬาสูความเปนเลิศและกีฬาเพื่อการ
อาชีพในระดับนานาชาติในการสรางชื่อเสียงและเกียรติภูมิของประเทศชาติ เพ่ือรองรับอุตสาหกรรมกีฬา
ประกอบดว ย 3 แผนยอ ย ไดแก

(1) การสง เสริมการออกกําลงั กายและกฬี าขั้นพน้ื ฐานใหกลายเปน วถิ ีชวี ิตและการสงเสริมให
ประชาชนมีสว นรว มในกิจกรรมออกกาํ ลังกายกีฬาและนันทนาการ

(2) การสงเสริมการกีฬาเพ่ือพัฒนาสรู ะดับอาชีพ
(3) การพฒั นาบุคลากรดา นการกีฬาและนนั ทนาการ
15) แผนแมบทประเด็นการเสริมสรางพลังทางสังคม สงเสริมใหครอบครัวมีความรูและทักษะ
ในการวางแผนชีวิตใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของโลก พัฒนาสภาพแวดลอมที่เอ้ือตอการสรางครอบครัว
อบอุนเขมแข็งเนนการเตรียมคนและสังคมเชิงรุกใหประชาชนไทยมีการเตรียมการเพื่อยามสูงอายุในทุกมิติ โดย
ระดมกําลังจากประชากรทุกกลุม ทุกเพศ ทุกวัยและจากภาคสวนตางๆ ในทุกระดับไมวาจะเปนภาครัฐ ภาคเอกชน
ครอบครัว ชุมชน ทองถิ่น รวมเปนพลังในการขับเคล่ือนการพัฒนาสังคม พรอมกับการสงเสริมใหผูสูงอายุ

แผนปฏบิ ตั ิการดิจทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-9

เปนพลังสังคมดวยการถายทอดประสบการณและภูมิปญญา การพัฒนาสังคมดวยการปรับเปลี่ยนทัศนคติและ
บทบาทเพศ พฒั นาผูนําและอาสาสมัคร ประกอบดวย 4 แผนยอ ย ไดแ ก

(1) การสรา งสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการพัฒนาและเสริมสรา งศักยภาพมนุษย
(2) การเสริมสรา งทุนทางสงั คม
(3) การเตรียมสงั คมไทยใหพรอมทจ่ี ะรองรบั สังคมสูงวยั
(4) การเพม่ิ ขดี ความสามารถของชุมชนทองถ่ินในการพัฒนาการพ่งึ พาตนเองและการจัดการ

ตนเอง
16) แผนแมบ ทประเด็นการพัฒนาความเสมอภาคและสงเสริมเศรษฐกิจฐานราก พัฒนาเศรษฐกิจ
ฐานรากหรือเกษตรกร โดยคํานึงถึงความเหมาะสมกับศักยภาพของตนเอง ฐานทรัพยากรและบริบทของพื้นท่ี
และชุมชนทองถิ่น ยกระดับเกษตรกรใหกาวสูการเปนผูประกอบการในภาคการเกษตร โดยการสงเสริมใหเกษตรกร
ฐานรากสามารถเขา ถึงแหลงขอมูล ความรูดานการตลาดและเทคโนโลยีปรับระบบการบริหารจัดการที่ดินของรัฐ
เชอื่ มโยงกบั การพัฒนาแหลงนา้ํ กระจายการถอื ครองที่ดินโดยการปฏิรูประบบภาษีพัฒนาระบบขอมูลเขตปาและ
ท่ีดินใหชัดเจนเพ่ือแกไขปญหาความขัดแยงระหวางเขตพ้ืนท่ีปาทับซอนพื้นท่ีทํากินของประชาชน รับรองสิทธิ
ชุมชนในการเขาใชประโยชนท่ีดินและกระจายการถือครองที่ดินในขนาดท่ีเหมาะสมตอการประกอบอาชีพ
เพื่อใหเกิดความเปนธรรม ประกอบดวย 5 แผนยอ ย ไดแ ก

(1) การเพ่ิมขีดความสามารถการผลติ และการเปนผูประกอบการธุรกิจเกษตร รวมทั้งวิสาหกจิ
เพ่ือสังคม ดว ยความรู เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม

(2) ชอ งทางการตลาดเครอื ขายและกติกาที่ลดความเสียเปรยี บ
(3) การเขา ถึงทนุ
(4) การเขา ถึงทรัพยากรที่ดนิ และแหลงนา้ํ
(5) กลไกการขับเคล่ือนและบรหิ ารจดั การ
17) แผนแมบทประเด็นการสรางหลักประกันทางสังคม สรางหลักประกันทางสังคมที่ครอบคลุม
และเหมาะสมกับทุกเพศสภาวะและทุกกลุมประชากรตลอดชวงชีวิต โดยตองอาศัยระบบขอมูลประชากรท่ีทันสมัย
และเที่ยงตรงเพื่อสามารถพัฒนาระบบการจัดสวัสดิการ การใหบริการและคุมครองพิทักษสิทธิ์ใหครอบคลุมผูมี
รายไดนอยหรือประชากรท่ีมีความตองการเฉพาะดานไดอยางครอบคลุมและสอดคลองกับความตองการปราศจาก
ความเหลื่อมล้าํ ในดานคณุ ภาพ โดยในแผนแมบ ทนี้ ประกอบดว ย 5 แผนยอ ย ไดแก
(1) นโยบายและกลไกคุมครองแรงงาน
(2) ระบบสวสั ดิการและหลักประกันทางเศรษฐกิจ สังคม และสขุ ภาพ
(3) กลไกเพื่อสรา งความเสมอภาคทางการศึกษาและความรว มมือเพื่อลดความเหลือ่ มลํ้า

ทางการศึกษาในระดับพื้นที่
(4) มาตรการแบบเจาะจงกลุมเปาหมายเพอื่ แกปญหาเฉพาะกลุม
(5) ระบบและกลไกการคุมครองผูบริโภค
18) แผนแมบทประเด็นการสรางการเติบโตอยางยั่งยืน ใหความสําคัญกับการอนุรักษ ฟนฟู
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมเพื่อเปนรากฐานในการสรางการเติบโตทางดานเศรษฐกิจชีวภาพ ท้ังบนบก
และในทะเล ประกอบดว ย 5 แผนยอ ย ไดแ ก

แผนปฏบิ ตั ิการดิจทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-10

(1) การสรางการเตบิ โตอยา งย่ังยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว
(2) สรางการเติบโตอยา งยั่งยืนบนสงั คมเศรษฐกจิ ภาคทะเล
(3) สรางการเตบิ โตอยา งย่งั ยืนบนสงั คมทเ่ี ปนมิตรตอสภาพภูมอิ ากาศ
(4) จดั การมลพิษทม่ี ีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและสารเคมีในภาคเกษตรท้ังระบบใหเปน ไปตาม

มาตรฐานสากล
(5) ยกระดบั กระบวนทัศนเ พื่อกําหนดอนาคตประเทศ
19) แผนแมบทประเด็นการบริหารจัดการน้ําท้ังระบบ เปนเรื่องท่ีมีความสําคัญและสนับสนุน
การพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดลอม ซึ่งแผนแมบทภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติในระยะ 20 ป ประเด็น
การบริหารจัดการนา้ํ ทั้งระบบบเพ่ือสรา งความมน่ั คงดานน้ําของประเทศ ประกอบดวย 3 แผนยอย คอื
(1) พัฒนาการจดั การน้ําเชิงลุมนํา้ ท้ังระบบเพื่อเพิ่มความม่ันคงดา นนาํ้ ของประเทศ
(2) เพม่ิ ผลิตภาพของน้ําทั้งระบบในการใชนาํ้ อยางประหยัด รูค ณุ คา และสรา งมูลคาเพิ่มจาก

การใชน้ําใหทดั เทยี มกับระดับสากล
(3) อนุรักษและฟนฟูแมน าํ้ ลําคลองและแหลงน้าํ ธรรมชาติท่ัวประเทศ
20) แผนแมบทประเด็นการพัฒนาบริการประชาชนและการพัฒนาประสิทธิภาพภาครัฐ
มุงพัฒนาระบบอํานวยความสะดวกในการบริการภาครัฐการบูรณาการเช่ือมโยงภาครัฐและการบริหารจัดการ
การเงินการคลัง เพื่อใหการใชงบประมาณเกิดประโยชนสูงสุดและมีประสิทธิภาพ โดยการนําเทคโนโลยีดิจิทัล
มาประยุกตใชมีการปรับสมดุลภาครัฐ โดยการปรับขนาดของภาครัฐใหเหมาะสมกับภารกิจเสริมสรางบทบาท
ของภาคสวนอ่ืนๆ ตลอดจนสรางบุคลากรภาครัฐที่เปนคนดีมีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสํานึกและเปนคนเกง
มีความรู ความสามารถ ซึ่งประกอบดวย 5 แผนยอ ย ดงั น้ี
(1) การพฒั นาบริการประชาชน
(2) การบูรณาการเชื่อมโยงภาครัฐและการบรหิ ารจัดการการเงินการคลงั
(3) การปรบั สมดุลภาครัฐ
(4) การพัฒนาระบบบรหิ ารงานภาครัฐ
(5) การสรางและพฒั นาบุคลากรภาครฐั
21) แผนแมบ ทประเดน็ การตอตา นการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ ใหความสําคัญในการพัฒนา
กลไกและกระบวนการตอตานการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในสวนของการปองกันและการปราบปราม
โดยการสรา งจิตสาํ นึกและคานิยมใหทุกภาคสวนตื่นตัวและละอายตอการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ
สง เสริมสนับสนุนการเขา มามีสว นรวมของภาคีองคกร ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ชุมชนและประชาชนและ
เครือขายตางๆ ตลอดจนการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกตใช ซึ่งแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติประเด็น
การตอตานการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ ประกอบดวย 2 แผนยอย ดังน้ี
(1) การปองกนั การทุจริตและประพฤติมิชอบ
(2) การปราบปรามการทุจริต
22) แผนแมบทประเดน็ การพัฒนากฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม เนนการพัฒนากฎหมาย
ใหเหมาะสมกับบริบทตางๆ การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาตลอดจนการบังคับใชกฎหมายเปนไปดวยความ
โปรงใสและมีประสิทธิภาพสงเสริมและบริหารจัดการใหกระบวนการยุติธรรมมีความเสมอภาคความเทาเทียม

แผนปฏบิ ตั ิการดจิ ทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-11

กันและเกิดเปนธรรมในสังคม รวมท้ังมีการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกตใช ประกอบดวย 2
แผนยอย ดงั น้ี

(1) การพัฒนากฎหมาย
(2) การพัฒนากระบวนการยุติธรรรม
23) แผนแมบทประเด็นวิจัยและพัฒนานวัตกรรม เปนปจจัยสนับสนุนที่สําคัญในการดําเนินการ
ตามยุทธศาสตรชาติดานตางๆ เพื่อใหบรรลุวิสัยทัศนของประเทศไทยโดยประเทศไทยมีจุดแข็ง อาทิ ความ
หลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดลอม สภาพแวดลอมและกฎหมายท่ีเอ้ือตอการลงทุนดานโครงสรางพื้นฐาน
วิทยาศาสตรเ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรม ขณะท่ีมีความทา ทายในดานวิจยั พัฒนาและนวัตกรรมท่ีสําคัญ เชน การ
กําหนดโจทยการวิจัยที่ตอบความตองการของภาคการผลิตและบริการหรือปญหาของสังคม การบูรณาการ
หนวยงานดานการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมและการขาดแคลนบุคลากรนักวิจัย โดยแผนแมบทภายใต
ยทุ ธศาสตรช าติ เรื่องการวิจยั พฒั นาและนวัตกรรม ประกอบดวย 4 แผนยอ ย ไดแ ก
(1) ดานเศรษฐกิจ
(2) ดา นสังคม
(3) ดา นส่งิ แวดลอม
(4) ดา นองคความรูพนื้ ฐานและปจจยั สนับสนุนในการวจิ ยั พัฒนาและนวัตกรรม

แผนการปฏิรปู ประเทศ
(พ.ศ. 2561 – 2565)

1) ดา นการเมือง : ประชาชนมีความรูความเขาใจท่ีถูกตองเกี่ยวกับการปกครองในระบบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริยท รงเปน ประมขุ รูจกั ยอมรบั ความเห็นท่ีแตกตางพรรคการเมือง ดําเนินกิจกรรมโดยเปดเผย
ตรวจสอบได นักการเมืองปฏิบัติหนาที่ดวยความซ่ือสัตย สุจริต และแกไขปญหาความขัดแยงทางการเมือง
โดยสันตวิ ธิ ี

2) ดา นการบริหารราชการ : องคก รภาครัฐเปดกวางและเชอื่ มโยงขอ มูลกนั กะทัดรัดแตแข็งแรง
ทํางานเพื่อประชาชนโดยเชิงพ้ืนที่เปนหลัก จัดระบบบริหารและบริการใหเปนดิจิทัล จัดระบบบุคลากรใหมี
มาตรฐานกลาง มคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรมและสรา งวฒั นธรรมตอ ตานการทุจรติ

3) ดานกฎหมาย : ใหกฎหมายดีและเปนธรรมสอดคลองกับหลักนิติธรรมเปนเครื่องมือสงเสริม
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ประชาชนมีสวนรวมในกระบวนการกฎหมายอยางเหมาะสม มีความรูความเขาใจ
และสามารถเขา ถึงกฎหมายไดโ ดยงาย และมีการบังคบั ใชก ฎหมายอยา งถูกตอ งและเปนธรรม

4) ดานยุติธรรม : ใหทุกขั้นตอนมีการกําหนดระยะเวลาที่ชัดเจน มีกลไกชวยเหลือประชาชน
โดยเสมอภาค บังคับการตามกฎหมายอยางเครงครัด พัฒนาระบบสอบสวนคดีอาญาท่ีมีการตรวจสอบและถวงดุล
ระบบนติ ิวทิ ยาศาสตรม มี าตรฐาน และกระบวนการยุติธรรมมีประสิทธิภาพเอือ้ ตอการแขง ขนั ของประเทศ

5) ดานเศรษฐกิจ : มีผลิตภาพและความสามารถในการแขงขันในระดับประเทศสูงข้ึน มีการเติบโต
อยา งครอบคลุมทุกภาคสวนอยางยง่ั ยืน มงุ เนนการใชร ะบบมาตรฐานและนวัตกรรมในการพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศ ลดความเหล่อื มลาํ้ ทางเศรษฐกจิ ของประชาชน และสถาบันทางเศรษฐกจิ สมรรถนะสงู ขนึ้

แผนปฏบิ ัติการดจิ ทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-12

6) ดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม : ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดรับการรักษา
ฟนฟูและยั่งยืน เปนรากฐานในการพัฒนาประเทศ สรางความสมดุลระหวางการอนุรักษและการใชประโยชน
ทงั้ ทรพั ยากรทางบก (ปา ไมแ ละสตั วปา ดิน แร) ทางน้ํา ทางทะเลและชายฝงความหลากหลายทางชีวภาพและ
สิ่งแวดลอ ม

7) ดานสาธารณสุข : ระบบบริการปฐมภูมิมีความครอบคลุม ระบบสุขภาพของประเทศ
มเี อกภาพ กระจายอาํ นาจและความรับผิดชอบใหแตล ะพ้ืนที่ และประชาชนไทยมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตท่ีดี
ข้นึ หลักการสรา งนําซอ ม และผทู ่ีอาศัยในประเทศไทยมโี อกาสเทา เทียมในการเขา ถงึ บริการสาธารณสุขทีจ่ ําเปน

8) ดานส่ือสารมวลชน : เทคโนโลยีสารสนเทศ ดุลยภาพระหวางเสรีภาพของการทําหนาที่ของส่ือ
บนความรับผิดชอบกับการกํากับที่มีความชอบธรรมและการใชพ้ืนท่ีดิจิทัลเพื่อการสื่อสารอยางมีจรรยาบรรณ
การรับรูของประชาชนและส่ือเปนโรงเรียนของสังคมในการใหความรูแกประชาชน ปลูกฝงวัฒนธรรมของชาติ
และปลกู ฝง ทัศนคติทีด่ ี

9) ดานสงั คม : คนไทยมหี ลักประกนั ทางรายไดท ี่เพียงพอตอการดํารงชีวติ อยา งมคี ุณภาพปรบั เปลี่ยน
พฤติกรรมไปสูการที่จิตสาธารณะเพ่ิมขึ้น สังคมแหงโอกาสและไมแบงแยก ภาครัฐมีขอมูลและสารสนเทศดาน
สังคมทบี่ รู ณาการ และใหช มุ ชนท้ัองถิน่ มีความเขมแขง็ สามารถบริหารจัดการชมุ ชนไดดว ยตนเอง

10) ดานพลังงาน : ปรบั ปรุงโครงสรางการบริหารจัดการเพ่ือสรางความเชื่อม่ันและการยอมรับ
ของประชาชน สงเสริมดานเทคโนโลยีและการมีสวนรวมของประชาชนในการบริหารจัดการดานพลังงาน
มีธรรมาภิบาล มีการลงทุนโครงสรางพ้นื ฐานพลังงานและการลงทุนในอตุ สาหกรรมทีเ่ กยี่ วเนือ่ งกับดานพลงั งาน

11) ดานการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ : มีมาตรการควบคุม กํากับ
ติดตาม การบริหารจัดการของหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน มีการเปดเผยขอมูลขาวสารภาครัฐสามารถเขาถึง
และตรวจสอบได ยกระดบั การบังคับใชมาตรการทางวินัยมาตรการทางปกครอง เพื่อใหป ระเทศไทยปลอดทุจรติ

แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ
ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ไดถูกจดั ทําขนึ้ ในชวงเวลา
ของการปฏริ ปู ประเทศทามกลางสถานการณโ ลกที่เปลยี่ นแปลงอยางรวดเรว็ และเชือ่ มโยงกันใกลชิดกันมากขึ้น
โดยไดนอมนําหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเปนปรัชญานําทางในการพัฒนาประเทศตอเนื่องจาก
แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 9 - 11 เพ่ือเสริมสรางภูมิคุมกัน และชวยใหสังคมไทยสามารถยืนหยัดอยูไดอยางมั่นคง
เกิดภูมิคุมกันและมีการบริหารจัดการความเส่ียงอยางเหมาะสม สงผลใหการพัฒนาประเทศสูความสมดุล
และยงั่ ยืน

โดยแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 นี้ ไดจัดทําบนพื้นฐานของกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 -
2580) ซึ่งเปน แผนหลกั ของการพฒั นาประเทศ และเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development
Goals: SDGs) รวมทั้ง การปรับโครงสรางประเทศไทยไปสูประเทศไทย 4.0 ตลอดจนประเด็นการปฏิรูปประเทศ
นอกจากนน้ั ไดใ หค วามสาํ คัญกับการมีสว นรวมของภาคีการพัฒนาทุกภาคสวน ทั้งในระดับ กลุมอาชีพ ระดับภาค
และระดับประเทศในทกุ ขัน้ ตอนของแผนฯ อยา งกวา งขวางและตอ เนอ่ื ง

แผนปฏิบตั กิ ารดจิ ทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-13

วิสยั ทศั น
“ประเทศไทยมีความมน่ั คง มั่งคั่งย่ังยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง”

การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จึงเปนจุดเปล่ียนท่ีสําคัญในการเชื่อมตอกับ
ยุทธศาสตรชาติ 20 ป ในลักษณะการแปลงยุทธศาสตรระยะยาวสูการปฏิบัติ โดยในแตละยุทธศาสตรของ
แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ไดกําหนดประเด็นการพัฒนา พรอมท้ังแผนงาน/โครงการสําคัญท่ีตองดําเนินการ
ใหเหน็ ผลเปนรปู ธรรมในชวง 5 ปแรกของการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติ เพื่อเตรียมความพรอมคน สังคมและ
ระบบเศรษฐกิจของประเทศใหสามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงไดอยางเหมาะสม
ขณะเดียวกัน ยังไดกําหนดแนวคิดและกลไกการขับเคลื่อนและติดตามประเมินผลท่ีชัดเจน เพ่ือกํากับใหการ
พัฒนาเปนไปอยางมีทิศทางและเกิดประสิทธิภาพ นําไปสูการพัฒนาเพ่ือประโยชนสุขที่ยั่งยืนของสังคมไทย
ไดก ําหนดเปาหมายรวมไว โดยมีรายละเอยี ดดงั ตอไปน้ี

• คนไทยมีคุณลักษณะเปนคนไทยที่สมบูรณ มีวินัย มีทัศนคติ และพฤติกรรมตามบรรทัดฐาน
ที่ดีของสังคม มีความเปนพลเมืองต่ืนรู มีความสามารถในการปรับตัวไดอยางรู เทาทัน สถานการณ มีความ
รับผิดชอบและทาํ ประโยชนต อสวนรวม มสี ุขภาพกายและใจทีด่ ี มคี วามเจริญงอกงามทางจิตวิญญาณ มีวิถีชีวิต
ทพ่ี อเพยี งและมคี วามเปนไทย

• ความเหลื่อมลํ้าทางดานรายไดและความยากจนลดลง เศรษฐกิจฐานรากมีความเขมแข็ง
ประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเขาถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพและบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพอยางท่ัวถึง
และเปนธรรม กลุม ทีม่ ีรายไดต ํา่ สดุ รอยละ 40 มีรายไดเ พ่ิมขึน้ อยางนอย รอยละ 15

• ระบบเศรษฐกิจมีความเขมแข็งและแขงขันได โครงสรางเศรษฐกิจปรับสูเศรษฐกิจฐาน บริการ
และดิจิทัล มีผูประกอบการรุนใหมและเปนสังคมผูประกอบการ ผูประกอบการขนาด กลาง และขนาดเล็กที่
เขมแข็งสามารถใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลในการสรางสรรค คุณคาสินคาและบริการ มีระบบการผลิต
และใหบริการจากฐานรายไดเดิมท่ีมีมูลคาเพิ่มสูงข้ึน และมีการลงทุนในการผลิตและบริการฐานความรูช้ันสูงใหม ๆ
ทเ่ี ปนมติ รกับส่ิงแวดลอมและชุมชน รวมทั้ง กระจายฐานการผลิตและการใหบริการสูภูมิภาคเพ่ือลดความเหลื่อมลํ้า
โดยเศรษฐกิจไทยมเี สถียรภาพและมีอตั ราการขยายตวั เฉลี่ยรอยละ 5 ตอป และมีปจจัย สนับสนุน อาทิ ระบบโลจิสติกส
พลังงานและการลงทนุ วิจัยและพัฒนาท่ีเอื้อตอการขยายตวั ของภาคการผลิต และบรกิ าร

• ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดลอมสามารถสนับสนุนการเติบโตท่ีเปนมิตรกับ
ส่ิงแวดลอม มีความมั่นคงทางอาหาร พลังงานและนํ้าโดยเพ่ิมพื้นที่ปาไมใหไดรอยละ 40 ของพื้นท่ีประเทศ
เพ่ือรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ ลดการปลอยกาซเรือนกระจกในภาคพลังงานและขนสง ไมนอยกวารอยละ 7
ภายในป 2563 เทียบกับการปลอยในกรณีปกติ มีปริมาณหรือสัดสวนของขยะมูลฝอยที่ไดรับการจัดการอยาง
ถกู หลักสขุ าภบิ าลเพิ่มขึ้นและรกั ษาคณุ ภาพนํ้าและคุณภาพอากาศในพื้นที่วิกฤติใหอยูใ นเกณฑมาตรฐาน

• มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัย สามัคคี สรางภาพลักษณดีและเพิ่ม
ความเช่ือมั่นของนานาชาติตอประเทศไทย ความขัดแยงทางอุดมการณและความคิดในสังคมลดลง ปญหา
อาชญากรรมลดลง ปริมาณความสูญเสียจากภัยโจรสลัดและการลักลอบขนสง สนิ คาและคา มนษุ ยลดลง มีความ
พรอมท่ีปกปองประชาชนจากการกอการรายและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ประเทศไทยมีสวนรวมในการกําหนด
บรรทัดฐานระหวา งประเทศ เกดิ ความเชื่อมโยงการขนสงโลจสิ ติกส หว งโซม ลู คาเปน หุนสว นการพัฒนาท่ีสําคัญ

แผนปฏบิ ัตกิ ารดิจทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-14

ในอนุภูมิภาค ภูมิภาคและโลกและอัตราการเติบโตของมูลคาการลงทุนและการสงออกของไทยในอนุภูมิภาค
ภูมภิ าคและอาเซยี นสงู ขึน้

• มีระบบบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปรงใส ตรวจสอบได กระจาย
อาํ นาจและมีสว นรว มจากประชาชน บทบาทภาครฐั ในการใหบริการซึ่งภาคเอกชน ดําเนินการแทนไดดีกวา
ลดลง เพ่ิมการใชระบบดิจิทัลในการใหบริการ ปญหาคอรรัปช่ันลดลงและการบริหารจัดการขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินมีอิสระมากข้ึน โดยอันดับประสิทธิภาพภาครัฐท่ีจัดทําโดยสถาบันการจัดการนานาชาติ
และอันดับความยากงายในการดําเนินธุรกิจในประเทศดีขึ้น การใชจายภาครัฐและระบบงบประมาณ
มีประสิทธิภาพสูงฐานภาษีกวางข้ึนและดัชนีการรับรูการทุจริตดีข้ึน รวมถึงมีบุคลากรภาครัฐท่ีมีความรู
ความสามารถและปรับตวั ไดท ันกับยุคดิจิทลั เพ่มิ ขึ้น

โดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) มีท้ังหมด 6
ยุทธศาสตรตามกรอบของยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป และมีอีก 4 ยุทธศาสตรท่ีเปนปจจัยสนับสนุน รวม
ท้ังหมด 10 ยทุ ธศาสตร ซึง่ มรี ายละเอียดในแตละประเด็นยทุ ธศาสตร ดงั ตอ ไปน้ี

ยุทธศาสตรท ี่ 1 การเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย ทุนมนุษยของประเทศไทยยังมี
ปญหาในดานคุณภาพคนในแตละชวงวัย โดยผลลัพธทางการศึกษาของเด็กวัยเรียนคอนขางต่ํา การพัฒนาความรู
และทักษะของแรงงานไมตรงกับตลาดงาน ในขณะที่คนไทยจํานวนไมนอยยังไมสามารถคัดกรองและเลือกรับ
วัฒนธรรมไดอยางเหมาะสม ซ่ึงสงผลตอวิกฤตคานิยม ทัศนคติและพฤติกรรมในการดําเนินชีวิต การพัฒนา
ในระยะตอ ไปจึงตองใหความสําคัญกบั การวางรากฐานการพัฒนาคนใหมีความสมบูรณ เพ่ือใหคนไทยมีทัศนคติ
และพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม ไดรับการศึกษาท่ีมีคุณภาพสูงตามมาตรฐานสากลและสามารถ
เรียนรดู ว ยตนเองอยางตอเน่ืองมีสุขภาวะที่ดีขึ้นคนทุกชวงวัยมีทักษะความรู และความสามารถเพ่ิมขึ้น รวมท้ัง
สถาบันทางสังคมมีความเขมแข็งและมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศเพ่ิมข้ึน โดยมีแนวทางการพัฒนาท่ีสําคัญ
ประกอบดวย

1) ปรับเปลยี่ นคานยิ มคนไทยใหมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีวินัย จติ สาธารณะและพฤติกรรมที่พงึ ประสงค
2) พฒั นาศักยภาพคนใหม ที ักษะ ความรูและความสามารถในการดํารงชวี ติ อยางมีคุณคา
3) ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรตู ลอดชีวติ
4) ลดปจ จัยเสย่ี งดานสขุ ภาพและใหทุกภาคสวนคาํ นึงถงึ ผลกระทบตอสุขภาพ
5) เพิ่มประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการระบบสุขภาพภาครฐั และปรับระบบการเงนิ การคลังดา นสุขภาพ
6) พัฒนาระบบการดูแลและสรางสภาพแวดลอมท่ีเหมาะสมกบั สังคมสูงวยั
7) ผลักดันใหสถาบันทางสงั คมมสี วนรว มพัฒนาประเทศอยา งเขมแข็ง
ยุทธศาสตรที่ 2 การสรางความเปนธรรมและลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม การพัฒนาในชวงที่
ผา นมาทาํ ใหสังคมไทยกาวหนา ไปหลายดาน แตการแกป ญหาความเหลื่อมลํ้าและสรางความเปนธรรมในสังคมไทย
มีความคืบหนาชา ท้ังเรื่องความแตกตางของรายไดระหวางกลุมประชากร ความแตกตางของคุณภาพการบริการ
ภาครฐั รวมทั้งขอจาํ กดั ในการเขาถึงกระบวนการยุติธรรมและเทคโนโลยีของกลุมผูดอยโอกาสและกลุมท่ีอยูใน
พืน้ ท่หี างไกล ดังน้ัน การพัฒนาในระยะตอไปจึงจําเปนตองมุงลดปญหาความเหลื่อมล้ําดานรายไดของกลุมคน
ที่มีฐานะทางเศรษฐกิจสังคมท่ีแตกตางกัน แกไขปญหาความยากจน เพิ่มโอกาสการเขาถึงบริการพ้ืนฐานทาง

แผนปฏบิ ตั ิการดจิ ทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-15

สังคมของภาครัฐ รวมท้ังเพิ่มศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากใหมี ความเขมแข็ง เพื่อใหชุมชนพ่ึงพาตนเอง
และไดรับสว นแบง ผลประโยชนทางเศรษฐกจิ มากขึ้น โดยมีแนวทางการพัฒนาท่ีสาํ คญั ประกอบดว ย

1) การเพ่ิมโอกาสใหกับกลุมเปาหมายประชากรรอยละ 40 ท่ีมีรายไดตํ่าสุดสามารถเขาถึงบริการ
ที่มีคุณภาพของรัฐและมอี าชพี

2) การกระจายการใหบริการภาครัฐทั้งดานการศึกษา สาธารณสุขและสวัสดิการท่ีมีคุณภาพ
ใหค รอบคลุมและทัว่ ถงึ

3) เสริมสรางศักยภาพชุมชนการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการสรางความเขมแข็งการเงินฐานราก
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือใหชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเองไดมีสิทธิในการจัดการทุนที่ดินและ
ทรพั ยากรภายในชุมชน

ยุทธศาสตรท ่ี 3 การสรา งความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและแขงขันไดอยางยั่งยืน เศรษฐกิจไทย
ขยายตัวตาํ่ กวาศักยภาพอยางตอ เนื่องเปน เวลาหลายป ทัง้ จากผลกระทบของเศรษฐกิจโลกซบเซาและขอจํากัด
ภายในประเทศเองที่เปน อปุ สรรคตอการเพิ่มผลิตภาพและขดี ความสามารถในการแขงขัน รวมท้ังฐานเศรษฐกิจ
ภายในประเทศขยายตัวชา ซ่ึงการพัฒนา 5 ปตอจากนี้ไปจึงเนนใหเศรษฐกิจเติบโตไดตามศักยภาพและ
มีเสถียรภาพ ภาคสงออกมีการพัฒนาจนสามารถขยายตัวและเปนกลไกสําคัญใน การขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
ผลิตภาพการผลิตของประเทศเพิ่มข้ึน การลงทุนภาครัฐและเอกชนมีการขยายตัว อยางตอเน่ืองและมาจาก
ความรวมมือกันมากข้ึน ประชาชนและผูประกอบการเขาสูระบบภาษีมากข้ึนและประเทศไทยมีขีด
ความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจสูงข้ึน นอกจากน้ี ยังเนนใหเศรษฐกิจรายสาขามีการเติบโตอยาง
เขม แข็ง ภาคการเกษตรเนนเกษตรกรรมยงั่ ยืนและใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น มีการพัฒนาเมือง อุตสาหกรรม
นิเวศน การทองเท่ียวสามารถทํารายไดและแขงขันไดมากข้ึน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมมีบทบาทตอ
ระบบเศรษฐกิจมากขน้ึ ภาคการเงินมีประสทิ ธิภาพเพิม่ ขน้ึ โดยมีแนวทางการพัฒนาทีส่ ําคญั ประกอบดว ย

1) การบริหารจดั การเศรษฐกจิ สวนรวม ทง้ั ในดานการคลงั
2) การเสริมสรางและพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของภาคการผลิตและบริการ มุงเนน
การสรางความเชื่อมโยงของหวงโซมูลคาระหวางภาคเกษตร อุตสาหกรรมบริการ และการคาการลงทุนเพ่ือ
ยกระดบั ศกั ยภาพในการแขง ขนั ของประเทศ
ยุทธศาสตรท่ี 4 การเติบโตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน ปจจุบันสภาพ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอมกําลังเปน จดุ ออ นสําคญั ตอการรกั ษาฐานการผลิตและการใหบริการ รวมท้ัง
การดํารงชีวิตของคนไทย ซ่ึงปญหาดังกลาวเกิดจากการลดลงของพ้ืนท่ีปาไม ทรัพยากรดินเสื่อมโทรม ความ
หลากหลายทางชีวภาพถูกคุกคาม ความเสี่ยงในการขาดแคลนทรัพยากรนํ้าในอนาคต ปญหาสิ่งแวดลอมเพ่ิม
สูงข้ึนตามการขยายตัวของเศรษฐกิจและชุมชนเมือง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติมีความผันผวนและรุนแรงมากข้ึน และขอตกลงระหวางประเทศเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภมู อิ ากาศทวคี วามเขม ขน ซึ่งจะสงผลตอ แนวทางการพัฒนาประเทศในอนาคต ดังนั้น การพัฒนาในระยะตอไป
จึงมุงเนนการรักษาและฟนฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติ การสรางความมั่นคงดานน้ําและการบริหารจัดการ
ทรัพยากรนํ้าใหมีประสิทธิภาพ การสรางคุณภาพสิ่งแวดลอมท่ีดี ลดมลพิษ และลดผลกระทบตอสุขภาพของ
ประชาชนและระบบนเิ วศ การเพิ่มประสทิ ธิภาพการลดกาซเรือนกระจกและขีดความสามารถในการปรับตัวตอ

แผนปฏิบตั กิ ารดจิ ทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-16

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ เพ่ือลดความเส่ียงจากภัยพิบัติ
และลดความสญู เสียในชวี ติ และทรัพยสนิ ที่เกดิ จากสาธารณภยั โดยมแี นวทางการพฒั นาท่สี ําคญั ประกอบดว ย

1) การรักษาฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ สรางสมดุลของการอนุรักษและใชประโยชนอยางย่ังยืน
และเปน ธรรม

2) เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนํา้ เพ่ือใหเกิดความมน่ั คง สมดุลและยงั่ ยนื
3) การแกไ ขปญ หาวิกฤตสงิ่ แวดลอ ม
4) สงเสรมิ การผลติ และการบริโภคท่ีเปน มติ รกับสิง่ แวดลอ ม
5) สนับสนุนการลดการปลอยกาซเรือนกระจก ละเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวตอการ
เปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
6) การบริหารจัดการเพ่ือลดความเสย่ี งดานภยั พิบัติ
7) การพัฒนาระบบการบริหารจดั การและกลไกแกไ ขปญหาความขัดแยงดาน ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดลอ ม
8) การพัฒนาความรวมมือดานสง่ิ แวดลอ มระหวางประเทศ
ยุทธศาสตรท่ี 5 การเสริมสรางความมั่นคงแหงชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสูความมั่งคั่งและ
ยั่งยืน กระแสโลกาภิวัตนและความกาวหนาทางเทคโนโลยีในปจจุบัน มีแนวโนมสงผลกระทบตอความม่ันคง
และเสถียรภาพของประเทศไทยในหลายมิติ ทั้งภัยคุกคามภายนอกในเรื่องการขยายอิทธิพลและการเพ่ิม บทบาท
ของประเทศมหาอํานาจในภูมิภาคตาง ๆ ของโลกอาชญากรรมขามชาติและการกอการรายและภัยคุกคาม
ภายในประเทศ ไดแก ความเห็นตางทางความคิดและอุดมการณของคนในชาติ การสรางสถานการณในจังหวัด
ชายแดนภาคใตและการคุกคามทางเศรษฐกิจโดยอาชญากรรมคอมพิวเตอร ดังน้ัน การพัฒนาในระยะตอไป
จึงเนนในเรื่องการปกปองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริยใหเปนสถาบันหลักของประเทศ สังคมมีความ
สมานฉันท ประชาชนมีสวนรวมปองกันแกไขปญหาความมั่นคง ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใตมีความ
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน มีโอกาสในการศึกษาและการประกอบอาชีพที่สรางรายไดเพ่ิมข้ึน ประเทศไทยมี
ความสัมพันธและความรวมมือดานความมั่นคงกับนานาประเทศในการปองกันภัยคุกคามในรูปแบบตาง ๆ
ควบคูไปกับการรักษาผลประโยชนของชาติ มีความพรอมตอการรับมือภัยคุกคามท้ังภัยคุกคามทางทหารและ
ภัยคุกคามอื่น ๆ และแผนงานดานความม่ันคงมีการบูรณาการสอดคลองกับนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ ม โดยมแี นวทางการพฒั นาที่สําคัญ ประกอบดวย
1) การรักษาความมัน่ คงภายในเพ่ือใหเกิดความสงบในสังคมและธาํ รงคไวซ ่ึงสถาบันหลักของชาติ
2) การพัฒนาเสริมสรางศักยภาพการปองกนั ประเทศเพ่ือเตรยี มความพรอมในการรบั มอื ภยั คุกคาม
ทัง้ การทหารและภัยคุกคามอื่น ๆ
3) การสงเสริมความรวมมือกับตางประเทศดานความมั่นคง เพ่ือบูรณาการความรวมมือกับมิตร
ประเทศเพอื่ ผลประโยชนท างเศรษฐกิจ สังคมและการปอ งกนั ภัยคุกคามขา มชาติ
4) การรักษาความม่ันคงและผลประโยชนของชาติทางทะเลเพื่อคงไวซ่ึงอํานาจอธิปไตยและสิทธิ
อธปิ ไตยในเขตทะเล
5) การบริหารจัดการความม่ันคงเพื่อการพัฒนาเพ่ือใหเกิดความสอดคลองกันระหวางแผนงาน
ทเี่ กยี่ วของกบั ความมัน่ คงการพฒั นาภายใตการมสี ว นรวมของภาคประชาชน

แผนปฏบิ ตั กิ ารดิจทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-17

ยุทธศาสตรท่ี 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การปองกันการทุจริตประพฤติมิชอบและ
ธรรมาภิบาลในสังคมไทย ระบบการบริหารจัดการในภาครัฐท่ีขาดประสิทธิภาพเปนอุปสรรคท่ีสําคัญตอการ
พัฒนาประเทศมาอยางตอ เน่ือง ท้งั การใหบรกิ ารประชาชนยังไมไ ดมาตรฐานสากล การบังคับใชกฎหมายที่ขาด
ประสทิ ธภิ าพ การบรหิ ารจัดการและการใหบริการของทองถ่ินขาดความโปรงใส ระบบและกระบวนการยุติธรรม
ไมสามารถอํานวยความยตุ ิธรรมไดอยางเสมอภาคและเปนธรรม รวมทั้ง การทุจริตประพฤติมิชอบในสังคมไทย
การพัฒนาระยะตอไปจึงตองเรงปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐใหเกิดผลสัมฤทธ์ิอยางจริงจัง โดยมุงเนนในเร่ือง
การลดสัดสวนคาใชจายดานบุคลากรและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการใหบริการของภาครัฐ
รวมทั้ง ประสิทธิภาพการประกอบธุรกิจของประเทศ การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการท่ีดีขององคกร
ปกครองสว นทอ งถนิ่ การปรบั คะแนนดัชนกี ารรับรกู ารทุจริตใหอยูในระดับที่ดีข้ึนและการลดจํานวนการดําเนินคดี
กับผมู ิไดก ระทําความผดิ โดยมีแนวทางการพฒั นาที่สาํ คญั ประกอบดวย

1) ปรับปรุงโครงสรางหนวยงาน บทบาท ภารกิจและคุณภาพบุคลากรภาครัฐใหมีความโปรงใส
ทันสมัย คลองตัว มขี นาดทเ่ี หมาะสม เกดิ ความคุมคา

2) ปรับปรุงกระบวนการงบประมาณและสรางกลไกในการติดตามตรวจสอบการเงินการคลัง
ภาครัฐ เพ่อื ใหก ารจัดสรรและการใชจ า ยมีประสิทธภิ าพ

3) เพ่มิ ประสิทธิภาพและยกระดับการใหบริการสาธารณะใหไดมาตรฐานสากล เพ่ือใหประชาชน
และภาคธรุ กิจไดรบั บรกิ ารท่ีมีคุณภาพไดม าตรฐานและอํานวยความสะดวก ตรงตามความตอ งการ

4) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน เพื่อใหประชาชนไดรับ
การบริการอยางมปี ระสิทธภิ าพและทว่ั ถงึ

5) ปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ เพื่อใหสังคมไทยมีวินัย โปรงใสและ
ยุตธิ รรม

6) ปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมใหมีความทันสมัยเปนธรรมและสอดคลองกับ
ขอบงั คบั สากลหรือขอ ตกลงระหวางประเทศ

ยุทธศาสตรท ี่ 7 การพฒั นาโครงสรางพ้นื ฐานและระบบโลจสิ ตกิ ส ผา นมาการพัฒนาโครงสราง
พ้ืนฐานและระบบโลจิสติกสของประเทศประสบปญหาดานความตอเน่ืองในการดําเนินการและปญหาเชิง
ปริมาณคุณภาพและการบริหารจัดการการใหบริการท่ีสอดคลองกับมาตรฐานสากล ทําใหมีขอจํากัดในการ
สนับสนุนการพัฒนาประเทศใหมีประสิทธิภาพ ซึ่งการพัฒนาในระยะตอไปจึงมุงเนนในเรื่องการลดความเขม
ของการใชพ ลงั งานและลดตน ทุนโลจิสตกิ สของประเทศ การพัฒนาระบบขนสงทางรางและทางน้ํา เพ่ิมปริมาณ
การเดินทางดวยระบบขนสงสาธารณะในเขตเมืองและขยายขีดสามารถในการรองรับปริมาณผูโดยสารของ
ทา อากาศยานในกรุงเทพมหานครและทาอากาศยานในภูมิภาค การเพ่ิมความสามารถในการแขงขันดานโลจิสติกส
และการอํานวยความสะดวกทางการคา การพัฒนาดานพลังงานเพื่อเพ่ิมสัดสวนการใชพลังงานทดแทนตอ
ปรมิ าณการใชพลังงานขั้นสุดทายและลดการพ่ึงพากาซ ธรรมชาติในการผลิตไฟฟา การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล
และการพฒั นาดานสาธารณูปการ (น้ําประปา) โดยมแี นวทางการพัฒนาทส่ี าํ คญั ประกอบดว ย

1) การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานขนสง อาทิ พัฒนาระบบรถไฟใหเปนโครงขายหลักในการ
เดนิ ทางและขนสงของประเทศพฒั นาโครงขายถนน พัฒนาระบบขนสง ทางอากาศและพฒั นาระบบขนสงนํา้

2) การสนับสนุนการพัฒนาระบบขนสง อาทิ การพัฒนาอุตสาหกรรมตอเนื่องที่เกิดจากการ
ลงทุนดานโครงสรางพน้ื ฐานและพัฒนาการบรหิ ารจดั การในสาขาขนสง

แผนปฏิบัตกิ ารดิจทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-18

3) พฒั นาระบบโลจิสติกส อาทิ พัฒนาและยกระดับมาตรฐานระบบการบริหารจัดการโลจิสติกส
และโซอ ปุ ทานใหไ ดม าตรฐานสากลและพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการอาํ นวยความสะดวกทางการคา

4) พัฒนาดานพลังงาน อาทิ จัดหาพลังงานใหเพียงพอและสรางความมั่นคงในการผลิตพลังงาน
เพม่ิ ศักยภาพการบริหารจัดการ การผลิตและการใชพ ลังงานทดแทนและพลงั งานสะอาด

5) พัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล อาทิ พัฒนาและปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคมของประเทศ
ใหท่ัวถึงและมีประสทิ ธภิ าพและสง เสริมการใชเทคโนโลยีดจิ ิทลั ในการสรา งมูลคา เพ่มิ ทางธุรกจิ

6) พัฒนาระบบน้ําประปา อาทิ พัฒนาระบบนํ้าประปาใหครอบคลุมและท่ัวถึงและการบริหาร
จัดการการใชน้าํ อยา งมีประสทิ ธิภาพและการสรา งนวัตกรรม

ยุทธศาสตรท ่ี 8 การพัฒนาวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม การพัฒนาเศรษฐกิจ
ของประเทศไทยในชวงระยะเวลาที่ผานมาอาศัยการเพิ่มประสิทธิภาพจากปจจัยความไดเปรียบดานแรงงาน
ทรัพยากรธรรมชาติและการนําเขาเทคโนโลยสี ําเรจ็ รปู จากตา งประเทศมากกวา การสะสมองคความรูเพื่อพัฒนา
เทคโนโลยีของตนเอง ทําใหสวนแบงผลประโยชนทางดานเทคโนโลยีซึ่งมีมูลคาเพ่ิมสูงตกอยูกับประเทศผูเปน
เจาของเทคโนโลยี อีกท้ัง การลงทุนดานการวิจัยและพัฒนายังไมเพียงพอท่ีจะขับเคลื่อนประเทศสูสังคม
นวัตกรรมได ซ่ึงการพัฒนาจึงเนนในเร่ืองการเพิ่มความเขมแข็งดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศ
และการเพิ่มความสามารถในการประยุกตใชวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ือยกระดับความสามารถ
การแขงขันของภาคการผลิตและบริการและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยมีแนวทางการพัฒนาท่ีสําคัญ
ประกอบดว ย

1) เรงสง เสรมิ การลงทุนวจิ ัยและพฒั นาและผลักดันสกู ารใชป ระโยชนในเชิงพาณิชยและเชิงสงั คม
2) พัฒนาผูประกอบการใหเปน ผปู ระกอบการทางเทคโนโลยี
3) พัฒนาสภาวะแวดลอมของการพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม
ดานบุคลากรวิจัย
ยุทธศาสตรท่ี 9 การพัฒนาภาค เมือง และพ้ืนที่เศรษฐกิจ ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
ประเทศไทยตองใชประโยชนจากศักยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพื้นท่ีและการดําเนินยุทธศาสตรเชิงรุก
เพ่ือเสริมจุดเดนในระดับภาคและจังหวัดในการเปนฐานการผลิตและบริการท่ีสําคัญ ประกอบกับการขยายตัว
ของประชากรในเขตเมืองจะเปนโอกาสในการกระจายความเจริญและยกระดับรายไดของประชาชนโดยการ
พัฒนาเมืองใหเปนเมืองนาอยูและมีศักยภาพในการรองรับการคาการลงทุน รวมท้ัง ลดแรงกดดันจากการ
กระจุกตัวของการพัฒนาในกรุงเทพฯ และภาคกลางไปสูภูมิภาค นอกจากนี้ การเปนสวนหนึ่งของประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียนยังเปนโอกาสในการเปดพ้ืนที่เศรษฐกิจใหมบริเวณชายแดนเชื่อมโยงการคาการลงทุน
ในภมู ิภาคของไทยกบั ประเทศเพอื่ นบา นอกี ดว ย ดงั นั้น การพฒั นาจงึ มุง เนนในเร่ืองการลดชองวางรายไดระหวางภาค
และมีการกระจายรายไดท่ีเปนธรรมมากข้ึน การเพิ่มจํานวนเมืองศูนยกลางของจังหวัดเปนเมืองนาอยูสําหรับ
คนทกุ กลมุ ในสังคมพน้ื ที่ฐานเศรษฐกิจหลักมีระบบการผลิตที่มีประสิทธิภาพสูงและเปนมิตรตอส่ิงแวดลอมและ
การเพมิ่ มลู คา การลงทนุ ในพื้นทเี่ ศรษฐกิจใหมบ รเิ วณชายแดนโดยมีแนวทางการพฒั นาที่สาํ คัญ ประกอบดวย
1) การพัฒนาภาคเพื่อสรางโอกาสทางเศรษฐกิจใหกระจายตัวอยางท่ัวถึง พัฒนาภาคเหนือใหเปน
ฐานเศรษฐกิจสรางสรรคมูลคาสูง พัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือใหหลุดพนจากความยากจนสูเปาหมายการ
พ่งึ ตนเอง พัฒนาภาคกลางเปน ฐานเศรษฐกิจชนั้ นาํ พัฒนาภาคใตเปน ฐานการสรา งรายไดทหี่ ลากหลาย

แผนปฏิบตั กิ ารดิจทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-19

2) การพัฒนาเมอื ง อาทิ พฒั นาสภาพแวดลอมเมืองศูนยกลางของจังหวัดใหเปนเมืองนาอยู สงเสริม
การจดั การสิง่ แวดลอ มเมืองอยา งมีบรู ณาการภายใตก ารมีสวนรวมของสว นกลาง สวนทองถิ่น ภาคประชาสังคม
และภาคเอกชน พฒั นาระบบขนสง สาธารณะในเขตเมือง

3) การพฒั นาพนื้ ทเี่ ศรษฐกจิ อาทิ พฒั นาฟน ฟพู นื้ ทีบ่ รเิ วณชายฝงทะเลตะวันออกใหเปนฐานการ
ผลิตอุตสาหกรรมหลักของประเทศท่ีขยายตัวอยางมีสมดุล มีประสิทธิภาพ สอดคลองกับศักยภาพของพ้ืนท่ี พัฒนา
พนื้ ที่เศรษฐกิจใหมบริเวณชายแดนเปน ประตูเศรษฐกิจเชื่อมโยงกบั ประเทศเพือ่ นบานใหเ จรญิ เติบโตอยางยั่งยืน
และเกิดผลที่เปน รูปธรรม

ยุทธศาสตรที่ 10 ความรวมมือระหวางประเทศเพื่อการพัฒนา การพัฒนาความรวมมือ
ระหวา งประเทศของไทยในชว งแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยึดหลักคิดเสรี เปดเสรีและเปดโอกาส โดยมุงเนนการ
พัฒนาและขยายความรวมมือทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงและอื่น ๆ กับมิตรประเทศและเปนการ
ขับเคล่ือนตอเน่ืองจากการดําเนินการภายใตแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 11 โดยกําหนดเปนแนวทางการดําเนินนโยบาย
การคาและการลงทุนที่เสรี เปดกวางและเปนธรรม ดําเนินยุทธศาสตร เชิงรุกในการแสวงหาตลาดใหม ๆ สงเสริม
ใหผ ูประกอบการไทยไปลงทนุ ในตางประเทศ และสง เสรมิ ความรวมมือเพ่ือการพัฒนากับประเทศในอนุภูมิภาค
และภูมิภาครวมทั้งประเทศนอกภูมิภาค ดังน้ัน การพัฒนาจึงมุงเนนในเรื่องการมีเครือขายการเชื่อมโยงตามแนว
ระเบียงเศรษฐกิจท่ีครอบคลุมและมีการใชประโยชนไดเต็มศักยภาพ การเพิ่มระบบหวงโซมูลคาในอนุภูมิภาค
และภมู ิภาคอาเซยี นประเทศไทยเปนฐานเศรษฐกจิ การคาและการลงทุนทส่ี าํ คัญในภูมิภาคอนุภูมิภาค อาเซียน
และเอเชีย รวมท้ัง มีการพัฒนาสว นขยายจากแนวระเบียงเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคใหครอบคลุมภูมิภาคอาเซียน
เอเชียตะวันออก และเอเชียใตและประเทศไทยเปนหุนสวนการพัฒนาท่ีสําคัญท้ังในทุกระดับโดยมีแนวทาง
การพฒั นาท่สี ําคญั ประกอบดว ย

1) ขยายความรวมมือทางการคาและการลงทุนกับมิตรประเทศและแสวงหาตลาดใหมสําหรับ
สินคาและบริการของไทย

2) พัฒนาความเชื่อมโยงดานการคมนาคมขนสงโลจิสติกสและโทรคมนาคมในกรอบความ รวมมือ
อนุภูมิภาคภายใตแผนงาน GMS, ACMECS, IMT-GT, BIMSTEC, และ JDS และภูมิภาคอาเซียนเพ่ืออํานวย
ความสะดวกและลดตน ทุนดา นโลจิสตกิ ส

3) พัฒนาและสง เสรมิ ใหไทยเปนฐานของการประกอบธรุ กจิ การบริการ และการลงทุนท่ีโดดเดน
ในภูมภิ าค

4) สงเสรมิ การลงทุนไทยในตางประเทศของผปู ระกอบการไทย
5) เปด ประตกู ารคาและพัฒนาความรวมมือกับประเทศเพื่อนบานในลักษณะหุนสวนทาง ยุทธศาสตร
ทัง้ ในระดบั อนุภูมภิ าคและภูมิภาคท่ีมีความเสมอภาคกนั
6) สรางความเปน หนุ สว นการพฒั นากบั ประเทศในอนุภมู ิภาค ภูมิภาคและนานาประเทศ
7) เขารวมเปนภาคีความรวมมือระหวา งประเทศโดยมีบทบาทที่สรา งสรรค
8) สงเสริมความรวมมือกับภูมิภาคและนานาชาติในการสรางความม่ันคงในทุกดานที่เกี่ยวกับ
เรอื่ งความอยูด ีมสี ุขของประชาชน
9) บูรณาการภารกจิ ดานความรวมมือระหวา งประเทศ และดา นการตางประเทศ
10) สงเสรมิ ใหเ กิดการปรับตวั ภายในประเทศทสี่ าํ คัญ

แผนปฏิบตั ิการดิจทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-20

นโยบายและแผนระดบั ชาติวาดว ยความมน่ั คงแหง ชาติ
(พ.ศ. 2562 – 2565)

คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันท่ี ๓ กันยายน ๒๕๖๒ เห็นชอบนโยบายและแผนระดับชาติวาดวย
ความม่ันคงแหงชาติ พ.ศ. 2562 - 2565 ตามท่ีสภาความมั่นคงแหงชาติเสนอนโยบายและแผนระดับชาติ
เพ่ือเปนแนวทางใหหนวยงานท่ีเก่ียวของไดใชเปนกรอบหรือทิศทางในการดําเนินการปองกัน แจงเตือน แกไข
หรอื ระงับยับยั้งภัยคุกคามรวมกัน เพ่ือธํารงไวซ่ึงความม่ันคงแหงชาติ โดยกําหนดเปายเชิงยุทธศาสตร ตัวช้ีวัด
และกลยทุ ธใ นแตล ะประเดน็ ความมนั่ คง รวมถึง การประเมินและวิเคราะหแนวโนมบริบทความม่ันคงท้ังปจจัย
ภายในและภายนอกประเทศ ภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติและแผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2560 - 2565) รวมท้ังนโยบายและ
ยุทธศาสตรของกระทรวงทีเ่ กย่ี วขอ ง และยุทธศาสตรการจัดสรร เพื่อสนับสนุนและประสานการบูรณาการการ
ดําเนินงานใหเกิดความเช่ือมโยงและสอดคลองไปในทิศทางเดียวกันกับการพัฒนาประเทศ โดยมีวัตถุประสงค
ดังนี้

1) เพ่ือสง เสริมและรักษาไวซ ึง่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
2) เพื่อเสริมสรางจิตสํานึกของคนในชาติใหมีความจงรักภักดี และธํารงรักษาไวซึ่งสถาบันชาติ
ศาสนา พระมหากษัตรยิ 
๓) เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการสรางความสามัคคีปรองดอง ความเปนธรรม และความสมานฉันท
ในชาตเิ พอ่ื ลดการเผชญิ หนาและการใชความรุนแรงในทกุ รูปแบบ
๔) เพ่อื ใหจ ังหวดั ชายแดนภาคใตมคี วามปลอดภัยปราศจากเงอื่ นไขของการใชความรุนแรง
5) เพื่อพฒั นาศักยภาพของภาครฐั และสง เสริมบทบาทและความเขมแขง็ ของทุกภาคสวน ในการรับมือ
กบั ภยั คกุ คามทกุ รูปแบบที่กระทบกับความมัน่ คง
๖) เพื่อใหการจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม พลังงานและอาหาร มีความม่ันคง
ความย่ังยืนและมีความสมดุลกับการขยายตัวของการพัฒนาประเทศ รวมถึง ลดความเสี่ยงจากผลกระทบของ
กระแส โลกาภวิ ัตน
6) เพ่ือพัฒนาศักยภาพการเตรียมพรอมของชาติในการเผชิญกับภาวะสงครามและวิกฤตการณ
ความมนั่ คง อยา งมเี อกภาพและประสทิ ธภิ าพ
7) เพ่ือเสริมสรางศักยภาพของกองทัพในการปองกันประเทศ สนับสนุนภารกิจที่ไมใชการสงคราม
และสามารถผนึกกําลังของกองทัพกับทุกภาคสวนในการเผชิญกับภัยคุกคามดานการปองกันประเทศในทุก
รูปแบบ
8) เพ่ือสงเสริมสภาวะแวดลอมที่สรางสรรคและสันติในการอยูรวมกับประเทศเพื่อนบาน กลุม
ประเทศ อาเซยี น ประชาคมโลก บนพื้นฐานของการรกั ษาผลประโยชน และการดํารงเกยี รติภมู ิของชาติ

วสิ ัยทัศน

“มีเสถียรภาพภายในประเทศ มีศักยภาพในการลดภัยขามเขตพรมแดนไทย มีบทบาทสรางสรรค
ในภูมิภาค และประชาคมโลก” กลาวคือ ชาติมีเสถียรภาพและเปนปกแผน ประชาชนมีความม่ันคงในชีวิต

แผนปฏบิ ัตกิ ารดิจทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-21

ประเทศมีการพัฒนา อยางตอเน่ือง ปลอดภัยจากภัยคุกคามขามพรมแดน พรอมเผชิญวิกฤตการณ มีบทบาท
ที่สรางสรรคและรับผิดชอบ เปนท่ียอมรับในภูมิภาคและประชาคมโลกเพื่อรักษาความมั่นคงและผลประโยชน
ของชาติ โดยมีแผนงาน ดังนี้

๑) การเสริมสรางความม่ันคงของมนุษย
๒) การขาวกรองและการประเมินสถานการณดานความมั่นคง
3) การเสริมสรางความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติภายใตการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมพี ระมหากษัตริยท รงเปน ประมุข
๔) การพฒั นาระบบการเตรยี มความพรอ มแหงชาติ
5) การพัฒนาศกั ยภาพการปอ งกนั ประเทศ
6) การสรา งความสามคั คปี รองดอง
7) การปองกันและแกไ ขปญหาความไมส งบในจังหวดั ชายแดนภาคใต
8) การบรหิ ารจัดการผูหลบหนเี ขา เมือง
9) การปอ งกนั และแกไขปญหาการคามนุษย
10) การปอ งกนั และปราบปรามยาเสพติด
11) การเสริมสรางความมั่นคงของชาตจิ ากภัยทุจริต
12) การรกั ษาความมน่ั คงพน้ื ที่ชายแดน
13) การรกั ษาความมัน่ คงทางทะเล
14) การปอ งกนั และแกไขปญ หาภยั คกุ คามขามชาติ
15) การปอ งกนั และแกไขปญหาความม่นั คงทางไซเบอร
16) การรกั ษาดุลยภาพสถาวะแวดลอมระหวางประเทศ
17) การรักษาความมน่ั คงทางพลงั งาน
18) การรักษาความม่นั คงดานอาหารและนํา้
19) การรกั ษาความมัน่ คงดา นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ ม

นโยบายและแผนระดบั ชาตวิ าดว ยการพัฒนาดิจทิ ลั
เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คม (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕80)

นโยบายและแผนระดับชาติวาดวยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม จะเปนแผนแมบทหลัก
ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลของประเทศ ในระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) ที่กําหนดทิศทาง
การขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศท่ียั่งยืนโดยใชเทคโนโลยีดิจิทัล ท่ีมีความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติและ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือใหประเทศมีโครงสรางพื้นฐานดานไอซีที
โดยเฉพาะอยางย่ิงอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (Broadband Internet) กระจายอยางทั่วถึง ประชาชนมีความรอบรู
เขาถึงสามารถพัฒนาและใชประโยชนจากสารสนเทศไดอยางรูเทาทันอุตสาหกรรมไอซีทีมีบทบาทเพิ่มข้ึน
ตอระบบเศรษฐกิจของประเทศ ประชาชนมีโอกาสในการสรางรายไดและมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน ทั้งนี้ได
ดําเนนิ การโดยยดึ ถือหลักการพ้นื ฐาน คือ ความสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาประเทศ การใชประโยชนสูงสุด
จากพลวัตของเทคโนโลยีดิจิทัล การประกันการเขาถึงของคนทุกกลุม การวางแผนจากขอมูลความพรอมของ

แผนปฏบิ ัติการดิจทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-22

ประเทศและการรวมพลังทุกภาคสวนในการขับเคล่ือนนโยบายและแผนระดับชาติฯ ตามแนวทางประชารัฐ
โดยไดกําหนดวิสยั ทศั น เปาหมาย และภมู ทิ ศั นข องการพฒั นาดจิ ิทลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสังคม ดงั น้ี

1) วิสัยทศั นของการพัฒนาดิจิทลั เพ่อื เศรษฐกิจและสังคม

“ปฏริ ูปประเทศไทยสูดิจิทัลไทยแลนด” ดิจิทัลไทยแลนด (Digital Thailand) หมายถึง ยุคที่
ประเทศไทยสามารถสรางสรรคแ ละใชประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทลั อยา งเต็มศักยภาพในการพัฒนาโครงสราง
พ้ืนฐาน นวัตกรรม ขอมูล ทุนมนุษย และทรัพยากรอื่นใด เพ่ือขับเคล่ือนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศไปสูความมั่นคง มั่งค่งั และยงั่ ยืน โดยกําหนดเปา หมาย ดงั ตอ ไปนี้

(1) เพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันกาวทันเวทีโลก ดวยการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล
เปนเคร่อื งมอื หลักในการสรางสรรคน วัตกรรมการผลิต การบรกิ าร

(2) สรางโอกาสทางสังคมอยางเทาเทียม ดวยขอมูลขาวสารและบริการตางๆ ผานส่ือดิจิทัล
เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพชวี ิตของประชาชน

(3) พัฒนาทุนมนุษยสูยุคดิจิทัล ดวยการเตรียมความพรอมใหบุคลากรทุกกลุมมีความรูและ
ทกั ษะทีเ่ หมาะสมตอ การดําเนนิ ชวี ิตละการประกอบอาชพี ในยุคดจิ ทิ ลั

(4) ปฏิรูปกระบวนทัศนการทํางานและการใหบริการของภาครัฐ ดวยเทคโนโลยีดิจิทัลและการ
ใชป ระโยชนจ ากขอมลู เพ่ือใหการปฏบิ ตั งิ านเกิดความโปรง ใส มปี ระสทิ ธิภาพ และประสทิ ธิผล

2) ภูมทิ ศั นด จิ ิทลั ของประเทศไทย (Thailand Digital Landscape)

การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย มุงเนนการพัฒนาระยะยาวอยาง
ย่ังยืนสอดคลองกับการจัดทํายุทธศาสตรชาติ 20 ป แตเน่ืองจากเทคโนโลยีดิจิทัลมีการเปลี่ยนแปลงอยาง
รวดเร็ว ดังน้ัน นโยบายและแผนระดับชาติวาดวยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมฉบับนี้ จึงกําหนด
ภูมิทศั นด จิ ิทัล เพอ่ื กําหนดทิศทางการพัฒนาและเปาหมายใน 4 ระยะ ดงั น้ี

แผนภาพ : ภมู ิทศั นดจิ ทิ ลั ของไทยในระยะเวลา 20 ป

แผนปฏบิ ตั กิ ารดจิ ทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-23

แผนปฏิบตั กิ ารดจิ ทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-24

3) ยุทธศาสตรการพฒั นาดิจทิ ัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสังคม

เพือ่ ใหว สิ ัยทัศนแ ละเปาหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมดว ยเทคโนโลยีดจิ ิทัลบรรลุผล
นโยบายและแผนระดับชาติวาดวยการพฒั นาดจิ ิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม จึงไดก าํ หนดกรอบยุทธศาสตรก าร
พฒั นา 6 ดา น คอื

แผนภาพ : ยุทธศาสตรก ารพัฒนาดจิ ิทัลเพือ่ เศรษฐกิจและสงั คม (Digital Economy)

(1) พัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานดิจทิ ัลประสทิ ธภิ าพสูงใหครอบคลมุ ท่ัวประเทศ : เขาถงึ พรอ มใช จายได
(2) ขับเคล่ือนเศรษฐกิจดวยเทคโนโลยีดิจิทัล : ขับเคลื่อน New S-Curve เพิ่มศักยภาพสรางธุรกิจ
เพ่ิมมลู คา
(3) สรางสังคมคุณภาพที่ท่ัวถึงเทาเทียมดวยเทคโนโลยีดิจิทัล : สรางการมีสวนรวม การใชประโยชน
อยา งทว่ั ถงึ และเทาเทยี ม
(4) ปรับเปล่ียนภาครัฐสกู ารเปนรัฐบาลดจิ ิทลั : โปรง ใส อํานวยความสะดวก รวดเร็ว เชอ่ื มโยงเปนหนงึ่ เดยี ว
(5) พัฒนากําลังคนใหพรอมเขาสูยุคเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล : สรางคน สรางงาน สรางความ
เขมแข็งจากภายใน
(6) สรางความเช่ือม่ันในการใชเทคโนโลยีดิจิทัล : กฎระเบียบทันสมัย เชื่อม่ันในการลงทุน มีความ
มัน่ คงปลอดภยั
โดยมีเปาหมายหลักในการพัฒนาหรืออาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อเปนกลไก
ในการปรบั เปล่ียนแนวคดิ ของทุกภาคสวน ปฏิรูปกระบวนการทางธุรกิจ การผลิต การคาและการบริการ ปรับปรุง
ประสิทธิภาพการทํางานของภาครัฐ ตลอดจนยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ซ่ึงการพัฒนาเทคโนโลยีตางๆ
เหลา น้ัน ยงั รวมไปถึงการปรบั เปลีย่ นในภาคราชการ

แผนปฏบิ ตั กิ ารดจิ ทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2--25

แผนปฏบิ ัตกิ ารดานดิจทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คมระยะ 5 ป
(พ.ศ. 2561 – 2565)

\ คณะรัฐมนตรไี ดม มี ติเห็นชอบแผนปฏบิ ัตกิ ารดา นดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม ระยะ 5 ป (พ.ศ.
2561 – 2565) ภายใตนโยบายและแผนระดับขาติวาดวยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ.
2561 – 2580) เพื่อเปนแนวทางในการขับเคลื่อนการดําเนินงานตามนโยบายและแผนระดับชาติวาดวยการ
พฒั นาดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกิจและสังคมในลักษณะการบูรณาการระหวางหนวยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน
โดยแปลงวิสัยทัศน เปาหมาย และยุทธศาสตรระยะยาวของนโยบายและแผนระดับชาติวาดวยการพัฒนาดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสงั คมสูกรอบการปฏบิ ัติทเ่ี ปน รูปธรรมในระยะส้ัน โดยมุงเนน การเปลยี่ นผานประเทศไทยไปสู
การเปน ประเทศท่ีขับเคล่ือนและใชประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทัลไดอยางเต็มศักยภาพหรือ “Digital Transformation”
อันเปนการสรางรากฐานการพัฒนาประเทศใหเปนประเทศที่ขับเคลื่อนการพัฒนา ท้ังในมิติทางเศรษฐกิจและ
สังคมดวยนวัตกรรม เพ่อื สรา งศักยภาพในการแขงขันของประเทศและการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
ภายใตก รอบยุทธศาสตรก ารพัฒนา 6 ดา น ดงั น้ี

ยุทธศาสตร ที่ 1 พฒั นาโครงสรางพื้นฐานดิจทิ ลั ประสิทธิภาพสงู ใหครอบคลุมทว่ั ประเทศ
ยทุ ธศาสตร ที่ 2 ขบั เคลื่อนเศรษฐกจิ ดย วยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั
ยทุ ธศาสตร ที่ 3 สรา งสังคมคณุ ภาพดว ยเทคโนโลยีดิจทิ ลั
ยทุ ธศาสตร ท่ี 4 ปรับเปลยี่ นภาครัฐสูก ารเปน รฐั บาลดิจิทัล
ยทุ ธศาสตร ท่ี 5 พัฒนากําลงั คนใหพ รอมเขาสยู คุ เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล
ยทุ ธศาสตร ที่ 6
สรางความเชื่อม่นั ในการใชเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั

แผนปฏิบัติการดานดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมฉบับนี้ ไดกําหนดเปาหมายและแนวทางการ
พัฒนาดิจทิ ัลเพือ่ เศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ ในระยะ 5 ป ท่ีสอดคลองตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติ
การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560 (มาตรา 6) และใชนโยบายและแผนระดับชาติวาดวย
การพัฒนาดิจทิ ัลเพอื่ เศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2561 – 2580 เปนกรอบนําแนวความคิดในการวางแผนไปสู
การปฏบิ ตั ิ ดงั นี้

1) พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560 มาตรา 6 นโยบาย
และแผนระดับชาติวาดวยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม มีเปาหมายและแนวทางอยางนอย
ดังตอ ไปนี้

(1) การดําเนินการและการพัฒนาใหมีการใชเทคโนโลยีดิจิทัลกอใหเกิดประโยชนสูงสุด
โดยวิธีการอยางหน่ึงอยางใดท่ีทําใหสามารถใชรวมกันหรือเช่ือมโยงกันไดหรือวิธีอื่นใดที่เปนการประหยัด
ทรพั ยากรของชาตแิ ละเกดิ ความสะดวกตอผูที่เก่ียวของ รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการใชจายงบประมาณ
ประจาํ ป

แผนปฏบิ ัตกิ ารดิจทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2--26

(2) การพัฒนาโครงการสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยีดิจิทัลที่เปนการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคม ซ่ึงตองครอบคุลมโครงขายการติดตอสื่อสาร แพรเสีย แพรภาพในทุกรูปแบบไมวาจะอยูในภาคพ้ืนดิน
พ้ืนนํา้ ในอากาศ หรืออวกาศและเปา หมายในการใชคลอ่ื นความถี่ใหเกิดประโยชนสูงสุดตอ การพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมและประโยชนของประชาชน

(3) การสงเสริมและสนับสนุนใหมีระบบการใหบริการหรือแอปพลิเคชั ฃั่นสําหรับประยุกต
ใชงานดวยเทคโนโลยีดิจทิ ลั

(4) การสงเสรมิ ใหเ กดิ มาตรฐานหรือกฎเกณฑใ นการใชงานเทคโนโลยีดิจิทัลใหสอดคลองกัน
เพื่อใหการทํางานระหวางระบบสามารถทํางานเช่ือมโยงกันไดอยางมีความมั่นคงปลอดภับ อยูในสภาพพรอม
ใชงานรวมตลอดท้ังทําใหระบบหรือการใหบริการมีความนาเช่ือถือและมีแนวทางการสงเสริมใหเกิดการใชงาน
เทคโนโลยีดิจิทัลในการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสและพาณิชยอิเล็กทรอนิกสและมีหลักประกันการเขาถึง
และใชป ระโยชนต อ เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรมและความมัน่ คงของประเทศ

(5) การสง เสรมิ และสนบั สนนุ การพฒั นามใหเกิดอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดานเทคโนโลยี
ดิจิทัล การพัฒนาใหเกิดการใชเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือสรางหรือเผยแพรเน้ือหาผานทางสื่อที่กอใหเกิดประโยชน
ตอเศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรมและความมั่นคงของประเทศ

(6) การสงเสริมการสนับสนุนการผลิตและพัฒนากําลังคน ใหเกิดความพรอมและความรู
ดานเทคโนโลยีดิจิทัลและสงเสริมและสนับสนุนใหหนวยงานของรัฐและเอกชน ใชเทคโนโลยีดิจิทัลใหเกิด
ประโยชนทางเศรษฐกจิ และสังคม รวมท้ัง สรางความตระหนักและรูเทาทันสื่อและสารสนเทศอื่น สงเสริมและ
สนบั สนนุ ใหล ดความเหล่อื มลํ้าในการเขาถึงบรกิ ารที่จําเปน ตอ การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน

(7) การพัฒนาคลังขอมูลและฐานขอมูลดิจทิ ัล การบริหารจัดการความรู รวมทั้งการสงเสริม
เพื่อใหม รี ะบบท่เี ปน ศนู ยแ หงการเรียนรูและใหบริการขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสท่ีทันสมัย ซ่ึงเอื้อตอการนําไปใช
ประโยชนในรปู แบบท่ีเหมาะกบั ยุคสมยั ujUJJuj

2) เปาหมายการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ตามแผนปฏิบัติการดานดิจิทัลเพ่ือ
เศรษฐกิจและสงั คม ระยะ 5 ป (พ.ศ. 2561 -2565) กาํ หนดไว ดังนี้

(1) ขับเคล่ือนเศรษฐกิจ เพื่อเพ่ิมรายไดเฉลี่ยของครัวเรือนและการกระจายรายไดและความ
มั่นค่งั ทางเศรษฐกจิ ในภูมภิ าค ตลอดจนเพิ่ม GDP จากการใชเ ทคโนโลยีดจิ ิทัลในกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ

(2) สรางสังคมคุณภาพเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิต โอกาสในการเขาถึงบริการดานสุขภาพและ
โอกาสในการเขาถึงความรูดานทักษะอาชีพ ใหกับประชาชนทุกคน โดยเฉพาะผูพิการและกลุมคนชายขอบ
ตลอดจนเพมิ่ ความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยสนิ ใหป ระชาชนในทุกพนื้ ท่ี

(3) พัฒนารัฐบาลดจิ ิทลั เพอื่ ประหยัดการใชการดาษในทุกข้ันตอนการทํางาน ลดเวลาในการ
ตดิ ตอ /รับบรกิ ารภาครัฐและเวลาในการจดทะเบยี นเร่มิ ตน ธรุ กจิ สําหรบั ประชาชนและภาคธรุ กจิ

(4) พฒั นาโครงสรา งพ้ืนฐานดิจิทัลรองรับการเปลี่ยนแปลง เพื่อขยายอินเทอรเน็ตความเร็วสูงให
ครอบคลุมทกุ พ้ืนทแี่ ละสรา งโอกาสใหป ระชาชนในชนบทเขา ถึงอนิ เทอรเ น็ตดวยตนทุนทไ่ี มต างกับประชาชนในเมือง

(5) สรา งความเชอ่ื มนั่ เพื่อขจัดภัยคุกคามไซเบอรการโจมตีเว็บไซต หนวยงานภาครัฐ เน้ือหา
ไมเหมาะสมทางอินเทอรเน็ต กลโกงออนไลน/การฉอโกงรูปแบบใหมๆ ตลอดจนสรางความเชื่อมั่นใหกับภาค
ธุรกจิ และประชาชนในการทาํ ธุรกรรมออนไลน

แผนปฏบิ ัตกิ ารดิจทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2--27

(6) พัฒนากําลังคนดิจิทัล เพื่อพัฒนาทักษะดานดิจิทัลใหกับทุกอาชีพ เพ่ือเพิ่มผลิตภาพ
แรงงานและการสรางธุรกิจรูปแบบใหมและพัฒนาทักษะดานดิจิทัลของขาราชการและบุคลากรภาครัฐ
ตลอดจนสรา งความตระหนกั ใหป ระชาชนใชเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลอยา งสรางสรรค

3) ประเด็นขับเคลื่อนหลักเพื่อการเปลี่นผานรายยุทธศาสตร ประกอบดวย 15 ประเด็นการ
ขับเคลื่อนทีส่ ําคญั ดงั น้ี

3.1 ยทุ ธศาสตรข ับเคลอ่ื นเศรษฐกิจดวยเทคโนโลยีดิจิทัล ประกอบดวย 5 ประเดน็
(1) การพัฒนา SME ไทยบนฐานของเศรษฐกจิ ดิจิทัล (Digital SMEs)
(2) การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพและผลิตภาพการผลติ ดวยเทคโนโลยีดิจิทลั (Digital
Manufacturing) สอู ุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0)
(3) การพฒั นาเกษตรยุคใหมดว ยเทคโนโลยดี ิจิทัล (Digital Agricalture)
(4) การเพิม่ มลู คาใหธ รุ กิจบริการดวยเทคโนโลยดี จิ ิทัล (Digital Services)
(5) การสงเสริมและพฒั นาอตุ สาหกรรมดิจทิ ัลและดิจิทลั คอนเทนด

3.2 ยุทธศาสตรสรางสงั คมคุณภาพดวยเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล ประกอบดวย 3 ประเด็น
(1) การพฒั นาชมุ ชนชนบทดว ยเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (Digitsl Community)
(2) การพฒั นาการศกึ ษาและการเรียนรูตลอดชีวติ ดว ยเทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital
Learning & Knowledge)
(3) การพัฒนาบริการสุขภาพดวยเทคโนโยลดี จิ ทิ ลั (Digital Health)

3.3 ยทุ ธศาสตรปรบั เปล่ยี นภาครัฐสูเปนรฐั บาลดิจิทลั ประกอบดว ย 2 ประเดน็
(1) การยกระดับบรกิ ารภาครัฐ (Government Transformation For Government
Services)
(2) ปฏริ ูปการบริหารจดั การของภาครฐั (Government Transformation
For Government Managerment)

3.4 ยุทธศาสตรพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูง ใหครอบคลุมทั่วประเทศ
ประกอบดวย 2 ประเดน็

1) การพฒั นาโครงสรางพ้ืนฐานดิจิทัล (Digital Infarstructure)
2) การพฒั นาเมืองอัจฉริยะ (Smart City)
3.5 ยทุ ธศาสตรสรางความเช่ือม่นั ในการใชเ ทคโนโลยดี ิจทิ ัล ประกอบดวย 2 ประเด็น
1) การเสรมิ สรางความม่นั คงปลอดภัยทางไซเบอร (Cybersecurity)
2) ขับเคล่ือนการพัฒนากฎหมายและมาตรฐานดิจิทลั (Digital law & Regulation)
3.6 ยุทธศาสตรพ ัฒนากําลงั คนใหพ รอ มเขาสูยคุ เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล ประกอบดวย 1
ประเด็น

1) การพัฒนากําลังคนและประชาชนสยู คุ ดจิ ทิ ัล (Digital Manpower And
Digital Literacy)

แผนปฏบิ ตั ิการดจิ ทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2--28

แผนปฏิบัติราชการกระทรวงมหาดไทย
(พ.ศ. 2563 – 2565)

แผนปฏิบัติราชการกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) เปนแผนท่ีจัดทําขึ้นเพ่ือให
หนวยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทยใชเปนแนวทางในการขับเคล่ือนงานตามภารกิจ และการติดตามการ
ประเมินผล ใหสอดคลองเช่ือมโยงกับยุทธศาสตรชาติ แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ และการปฏิรูป
ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นโยบายและแผนดานความมั่นคงแหงชาติ นโยบายของ
คณะรฐั มนตรที ีแ่ ถลงตอ รัฐสภาและบริบทที่เก่ียวของ โดยมีรายละเอียด ดงั นี้

หนาทแ่ี ละความรบั ผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย

เมื่อพิจารณาถึงขอบเขตอํานาจหนาท่ีที่มีอยูตามบทบัญญัติกฎหมายอ่ืน ๆ ประกอบดวยแลว
ภารกจิ และอาํ นาจหนา ที่ของกระทรวงมหาดไทย สามารถสรปุ ได 4 ประการ คือ

1) ดานการเมืองการปกครอง กระทรวงมหาดไทยมีความรับผิดชอบเกี่ยวกับการอํานวยการ
เลอื กตง้ั องคก รปกครองสวนทอ งถิน่ สงเสริมใหป ระชาชนมีสวนรว มทางการเมืองทุกระดับ สงเสริมการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข การปกครองและการบริหาร หนวยราชการสวน
ภูมิภาค สวนทองถิ่น และการรกั ษาความมั่นคงของชาติ

2) ดานเศรษฐกิจ กระทรวงมหาดไทยมีความรับผิดชอบเก่ียวกับการสงเสริมอาชีพและความ
เปน อยูของประชาชน ซ่ึงจะตอ งประสานและรวมมือกนั อยา งใกลช ิดกับสวนราชการตาง ๆ ของกระทรวง ทบวง
กรมตาง ๆ ที่เก่ียวของ นอกจากนี้ยังรับผิดชอบการจัดต้ังกลุมเกษตรกร การคุมครองผูเชานา การพัฒนาแหลงน้ํา
เพ่อื การเกษตรขนาดเลก็ นอกเขตชลประทาน และการชลประทานราษฎร เปนตน

3. ดานสังคม กระทรวงมหาดไทยมีความรับผิดชอบเก่ียวกับการพัฒนาเยาวชน และการรักษา
ความสงบเรียบรอยของสังคม เปนตน

4) ดานการพัฒนาทางกายภาพ กระทรวงมหาดไทยมีความรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดชุมชนการ
จัดทด่ี ิน การใหบ ริการขั้นพื้นฐานในชนบท การจัดผังเมืองรวม ผังเมืองเฉพาะและการใหบริการสาธารณูปโภค
ในเขตเมือง เปนตน

แผนปฏบิ ตั ิการดจิ ทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2--29

๒.๒ โครงสรางของกระทรวงมหาดไทย

แผนปฏิบัติการดิจทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-30

๒.๓ อํานาจหนาทข่ี องกระทรวงมหาดไทย

กระทรวงมหาดไทย
มีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการบําบัดทุกขบํารุงสุข การรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน การอํานวย
ความเปนธรรมของสังคม การสงเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการ
สวนภูมิภาค การปกครองทองท่ี การสงเสริมการปกครองทองถ่ินและ พัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร
ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย การพัฒนาเมือง และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกําหนดใหเปน
อํานาจหนา ท่ีของกระทรวงมหาดไทยหรือ สวนราชการท่สี ังกดั กระทรวงมหาดไทย

สํานักงานรัฐมนตรี
ดําเนินงานราชการทางการเมอื งเพอ่ื สนับสนนุ ภารกิจของรฐั มนตรี และประสานนโยบายระหวางกระทรวง

สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
• พัฒนายุทธศาสตรแ ละแปลงนโยบายของกระทรวงเปน แผนการปฏิบัติงาน
• จัดสรรทรัพยากร และบรหิ ารราชการทั่วไปของกระทรวง
• ดาํ เนนิ งานดานการรกั ษาความมน่ั คงภายใน
• ดาํ เนินงานดา นการรักษาความสงบเรียบรอยและอํานวยความเปนธรรม
• สงเสริมและสนบั สนนุ การบรหิ ารราชการสวนภูมิภาค

กรมการปกครอง
• ดําเนินงานดานการรักษาความสงบเรียบรอยและความมนั่ คงภายในประเทศ
• ดาํ เนนิ งานดา นการอาํ นวยความเปนธรรม
• ดาํ เนนิ งานดานการปกครองทองท่ี
• ดําเนินงานดานการอาสารักษาดินแดน
• ดําเนนิ งานดา นการทะเบียน

แผนปฏิบัตกิ ารดจิ ทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-31

กรมการพฒั นาชุมชน
• สงเสริมกระบวนการเรยี นรแู ละการมสี วนรวมของประชาชน
• สงเสรมิ และพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากใหม คี วามมน่ั คงและมีเสถยี รภาพ
• ศกึ ษา วเิ คราะห วจิ ัย จัดทาํ ยทุ ธศาสตรช มุ ชน
• ฝกอบรมและพัฒนาบุคลากรทเ่ี กีย่ วของในการพฒั นาชมุ ชนเพอื่ ใหเ ปนชมุ ชนเขมแขง็ อยางยงั่ ยนื

กรมทีด่ นิ
• คมุ ครองสิทธิในทีด่ ินของบคุ คลและจดั การท่ดี ินของรัฐ โดยการออกหนังสอื แสดงสิทธิ
• ใหบ ริการจดทะเบียนสิทธแิ ละนติ กิ รรมเกยี่ วกับอสงั หารมิ ทรัพย
• บริหารจดั การทด่ี ินของรฐั เปนไปอยา งมีประสทิ ธภิ าพและเกิดประโยชนสูงสดุ

กรมปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั
จดั ทําแผนแมบท วางมาตรการสงเสริมสนับสนุนการปองกัน บรรเทาและฟนฟูจากสาธารณภัย โดยการ
กําหนดนโยบายดานความปลอดภัย สรางระบบปองกัน เตือนภัย ฟนฟูหลังเกิดภัย และการติดตาม
ประเมนิ ผล เพ่ือใหห ลักประกนั ในดา นความมัน่ คงปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยส นิ

กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง
• ดําเนินงานดานการผังเมืองระดับตาง ๆ การโยธาธิการ การออกแบบการกอสรางและการควบคุม

การกอสรา งอาคาร
• สนับสนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่นในดานการพัฒนาเมือง พื้นท่ี และชนบท โดยการกําหนดและ

กํากบั ดูแลนโยบายการใชประโยชนทีด่ นิ ระบบการตง้ั ถ่นิ ฐาน และโครงสรางพนื้ ฐาน
• กําหนดคุณภาพและมาตรฐานการกอสรา งดานสถาปตยกรรมวิศวกรรม และการผังเมอื ง

กรมสงเสริมการปกครองทอ งถิน่
สงเสริมและสนับสนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยการพัฒนาและใหคําปรึกษา แนะนําองคกร
ปกครองสวนทองถิ่นในดานการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น การบริหารงานบุคคล การเงิน การคลัง และ
การบริหารจัดการ เพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินมีความเขมแข็งและมีศักยภาพในการใหบริการ
สาธารณะ

แผนปฏิบตั กิ ารดจิ ทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-32

การไฟฟานครหลวง
• ดาํ เนนิ ธุรกิจไฟฟาทีม่ คี ณุ ภาพ เชื่อถอื ได และปลอดภัย
• ใหบ รกิ ารเชิงรุกโดยมุง เนนลกู คา
• พัฒนาและเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขงขนั
• พัฒนาการบริหารจดั การองคกรอยา งย่งั ยนื รวมทั้งรับผดิ ชอบตอสงั คม และสงิ่ แวดลอ ม

การไฟฟา สวนภมู ภิ าค
จดั หาใหบ รกิ ารพลงั งานไฟฟา และดาํ เนินธุรกิจอืน่ ท่เี ก่ียวเนื่อง เพ่ือตอบสนองความตองการของลูกคาให
เกดิ ความพงึ พอใจ ท้งั ดานคณุ ภาพและบริการ โดยการพัฒนาองคกรอยางตอเน่ือง มีความรับผิดชอบตอ
สังคมและสง่ิ แวดลอ ม

การประปานครหลวง
• สาํ รวจ จดั หาแหลงนา้ํ ดบิ และจัดใหไ ดม าซ่งึ นา้ํ ดบิ เพ่ือใชใ นการประปา
• ผลิต จัดสง และจําหนายน้ําประปาในเขตทองท่ีกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัด

สมุทรปราการ และควบคมุ มาตรฐานเก่ียวกบั ระบบประปาเอกชนในเขตทองท่ีดงั กลา ว
• ดําเนินธุรกิจอ่ืนท่ีเกี่ยวเนื่องกันหรือเปนประโยชนแกการประปา และคํานึงถึงประโยชนของรัฐและ

ประชาชน

การประปาสว นภมู ภิ าค
• สาํ รวจ จดั หาแหลงน้าํ ดบิ และ จดั ใหไ ดม าซึ่งน้ําดบิ
• ผลิต จัดสงและจําหนายน้ําประปาท่ัวประเทศ ยกเวนกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัด

สมุทรปราการ
• ดาํ เนินธรุ กจิ อ่นื ทเี่ ก่ียวของหรือตอเนื่องกับธรุ กิจการประปา

องคการตลาด
พัฒนาและบริหารเครือขายตลาดภาครัฐ และสงเสริมตลาดรวมเอกชน เพ่ือเปนกลไกของรัฐบาลในการ
กระจายสนิ คาอุปโภคบรโิ ภคและสินคา ชุมชนเพื่อประชาชน

แผนปฏบิ ตั ิการดจิ ทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-33

องคการจัดการนํ้าเสยี
จัดใหมีระบบบําบัดนํ้าเสียรวมสําหรับการจัดการนํ้าเสียภายในเขตพ้ืนท่ีจัดการน้ําเสียและการใหบริการ
หรือรับบริหารหรือจัดการระบบบําบัดนํ้าเสีย ทั้งในและนอกเขตพ้ืนท่ีจัดการน้ําเสีย รวมทั้งบริหารหรือ
กจิ การตอ เนื่องทเ่ี กีย่ วกับการจัดการนาํ้ เสยี อยา งมปี ระสทิ ธิภําในเชงิ เศรษฐกจิ

กรงุ เทพมหานคร
ดําเนินการในเขตกรงุ เทพมหานครในเร่อื งที่กฎหมายกําหนด

เมอื งพทั ยา
ดําเนนิ การในเขตเมืองพทั ยาในเรอื่ งที่กฎหมายกาํ หนด

แผนปฏบิ ัตกิ ารดจิ ทิ ัลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-34

๒.๔ วิสยั ทัศน พนั ธกิจ และประเด็นยุทธศาสตรของกระทรวงมหาดไทย

วิสยั ทัศน

“ประชาชนมีรากฐานการดํารงชวี ิตและพัฒนาสูอนาคตไดอยา งมน่ั คงและสมดลุ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

นยิ ามวิสยั ทศั น

รากฐานการดาํ รงชีวิต • ดแู ลประชาชนทุกชวงชวี ติ ต้งั แตเกิดจนตาย
• ลดความยากจน
• สงเสรมิ การเขาถงึ บรกิ ารภาครัฐ

พัฒนาสูอนาคต • พฒั นาสปู ระเทศไทย 4.0 และเปา หมายการพฒั นาทีย่ ง่ั ยนื (SDGs)
• สนบั สนุนเศรษฐกจิ และสังคมดจิ ทิ ัล
• สงเสริมการพฒั ภาค เมือง และพ้นื ท่เี ศรษฐกจิ

• มนั่ คงในการรกั ษาความสงบเรียบรอ ยและรับมอื ภัยคุกคามรูปแบบใหม
มน่ั คง เชน ยาเสพติด แรงงานตางดาว การคา มนษุ ย เปน ตน

• มน่ั คงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต
• มน่ั คงจากสาธารณภัย

• สมดลุ ระหวางคนกับคน
สมดลุ • สมดุลระหวา งคนกับธรรมชาติ

• สมดุลดานสิง่ แวดลอม

หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ • คาํ นงึ ถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล และการมภี มู คิ ุม กนั ท่ดี ี
พอเพียง ภายใตเ ง่อื นไขการใชค วามรูควบคกู ับการมีคุณธรรมเปน พนื้ ฐานในการ
ตัดสินใจและการกระทาํ

แผนปฏบิ ัตกิ ารดจิ ทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-35

พันธกิจ

1 รักษาความสงบเรยี บรอย ความปลอดภัย และความมัน่ คงภายใน
2 เสริมสรา งความเขมแข็งของชุมชนและเศรษฐกิจฐานราก
3 สงเสริมการพัฒนาเมอื งและโครงสรางพ้นื ฐาน
4 สงเสริมและสนับสนุนการบรหิ ารราชการในระดบั พืน้ ที่

ประเด็นยุทธศาสตร

ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 การเสรมิ สรางความสงบเรียบรอ ยและความม่ันคงภายใน
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 การพฒั นาภูมภิ าค เมือง และพื้นทเ่ี ศรษฐกจิ
ประเดน็ ยุทธศาสตรที่ 3 การเสรมิ สรา งความสุขของชมุ ชนและพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก
ประเด็นยทุ ธศาสตรท ่ี ๔ การเพ่มิ ศกั ยภาพการพัฒนาสภาพแวดลอมสอู นาคต
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท่ี 5 การวางรากฐานการพัฒนาองคกรอยา งสมดลุ

เปา หมาย

1. สงั คมมีความสงบเรยี บรอยและปลอดภัย
2. ภูมิภาค เมือง และพ้นื ทเ่ี ศรษฐกิจมีขดี ความสามารถในการแขงขนั
3. ชมุ ชนมคี วามสุข
4. สภาพแวดลอมในพ้ืนที่มีคุณภาพเอื้อตอการพัฒนา
5. องคกรมกี ารบริหารจดั การทด่ี ี และองคกรปกครองสวนทอ งถิ่นเขมแขง็

แผนปฏบิ ัตกิ ารดิจทิ ลั กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 2-36

บทที่ 3

การวเิ คราะหส ภาพแวดลอมของกระทรวงมหาดไทย

เนื้อหาในสวนน้ีกลาวถึงสภาพแวดลอมที่เก่ียวของตอการกําหนดยุทธศาสตรดานเทคโนโลยี
สารสนเทศ ของกระทรวงมหาดไทย โดยใชการวิเคราะหจากจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค (SWOT)
กําหนดปจจัยหลักในการวิเคราะหสิ่งแวดลอมภายในองคกรดวย 4M (Management, Machine, Money
และ Man) และใชการวิเคราะหปจจัยภายนอกที่แสดงถึงโอกาสและอุปสรรคดวย PEST (Policy,
Economic, Social และ Technology) ซึ่งผลการวิเคราะหสถานการณดังกลาวไดถูกนําไปกําหนดประเด็น
ยุทธศาสตรในการทบทวนเพ่ือจัดทําแผนปฏิบัติการดิจิทัลของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5
ดงั รายละเอยี ดตอ ไปนี้

3.1 การวเิ คราะหสภาพแวดลอ มภายใน (Internal Environment)

ในการวิเคราะหสภาพแวดลอมดานเทคโนโลยีสารสนเทศภายในของกระทรวงมหาดไทย โดยใช
การวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในตามหลัก 4M Analysis สามารถสรุปแยกเปนจุดแข็งและจุดออน
ไดด งั ตอไปนี้

จุดแข็ง (Strength) จุดออน (Weakness)
การบริหารจัดการ (Management)
• ผบู ริหารเห็นความสําคญั ของ IT และพรอมใหการ • ขาดความตอเน่ืองของการดาํ เนนิ งานตามนโยบาย
สนบั สนนุ • ขาดกระบวนการทาํ งานที่ชัดเจนและเปน มาตรฐาน
• มีโครงสรา งการบรหิ ารจากสว นกลางสรู ะดับทองถ่นิ • ขาดการบังคับใชระเบียบในดานเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล
• มีคณะกรรมการการบรหิ ารและจัดหาระบบ ท่ไี ดประกาศใชอยา งจรงิ จัง
คอมพวิ เตอรของกระทรวงมหาดไทย

อุปกรณแ ละระบบ (Machine) • ขาดการบูรณาการของฐานขอ มลู
• มีระบบ IT ใชใ นทกุ หนวยงาน
• มขี อ มลู สาํ คญั ตองานราชการเชน ฐานขอ มลู • ขาดความสมบูรณของฐานขอมูล
ประชาชน ฐานขอมูลดา นภัยพิบัติ ฐานขอมลู • ขาดระบบสัง่ การ และระบบการตัดสินใจ (BI)
ระบบสาธารณูปโภค และฐานขอ มูลที่ดิน • ชอ งทางการเขา ถงึ ขอมลู ภาครฐั ของประชาชน
• มีระบบรกั ษาความปลอดภัยของฐานขอมูลทีม่ ี จาํ กัด
ประสิทธิภาพ • ระบบสารสนเทศและการส่ือสารยังไมรองรบั การ
• มกี ารปรับปรงุ ใหระบบมีความทันสมัยอยเู สมอ ปฏิบัตงิ านทุกกระบวนงานขององคกร
• มีระบบเครือขายการสื่อสารที่ครอบคลุมทกุ จงั หวดั • ขอมูลกระจดั กระจายอยหู ลายแหลง หลายระบบ
ท่วั ประเทศ ไมม ีมาตรฐานขอมลู ขาดการบูรณาการฐานขอมูล

แผนปฏิบัติการดจิ ทิ ัลของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 3-1

• มีโทรทัศนผา นดาวเทียมทีส่ ามารถส่ือสารกบั รวมทั้ง การยืนยันความถกู ตอง ความสมบรู ณ และ
ประชาชนไดอ ยางกวางขวางมีประสิทธภิ าพ การเช่อื มโยงกันเปนระบบเดียว
• มกี ารพัฒนาระบบวิดีทัศนท างไกล (VDO • มฮี ารด แวร ซอฟแวร และเครื่อขา ยหลายระบบ
Conference) ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพของประเทศ หลายรุน บางสวนในปจ จบุ นั ใชง านไดไมด ี
• จดั วางโครงสรางองคกรในภูมิภาคสามารถนบั สนุน เทา ท่คี วร การบํารุงรักษาไมครบถว น
ชว ยเหลือจังหวัดไดอ ยา งครอบคลุมและรวดเร็ว

งบประมาณ (Money)
• มีการจัดสรรงบประมาณดานเทคโนโลยีดิจิทัล • สัดสวนดานงบประมาณมีนอยไมเพียงพอตอการ

ประจาํ ทุกป พฒั นาเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล

• งบประมาณไมเ พยี งพอ

บคุ ลากร (Man)
• มบี ุคลากรของกระทรวงมหาดไทยกระจายในระดบั • บคุ ลากรขาดความรคู วามเขา ใจดา นเทคโนโลยี

พืน้ ทท่ี ัว่ ประเทศ ดจิ ิทลั

• มบี ุคลากรดา นชา งเทคนิคทม่ี ีความรูทกั ษะดาน IT • การเปล่ียนแปลงโยกยายทําใหขาดความตอเน่ือง

ของบุคลากรในสังกดั ฯ ครอบคลุมทว่ั ประเทศ ในการปฏิบัติงาน

• บุคลากรขาดทักษะเชิงลึกเก่ียวกบั การพฒั นาระบบ

สารสนเทศ กา วไมทันเทคโนโลยีใหมๆ

• บคุ ลากรดาน IT มีจํานวนนอ ย โอนยา ยขา มหนว ยงาน

บอ ย ขาดแรงจงู ใจและความกาวหนาไมช ดั เจน

เมื่อเทยี บกบั สายงานอื่นๆ

3.2 การวิเคราะหส ภาพแวดลอมภายนอก (External Environment)

ในการวเิ คราะหส ภาพแวดลอ มดานเทคโนโลยีสารสนเทศภายนอกของกระทรวงมหาดไทย โดยใชการ
วิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกตามหลัก PEST Analysis สามารถสรุปแยกเปนโอกาสและอุปสรรค
ไดด งั ตอ ไปน้ี

โอกาส (Opportunities) อปุ สรรค (Threats)
นโยบาย กฎระเบียบ (Policy)
• กรอบความรว มมือระหวางประเทศ เพ่มิ ขีด • มคี วามไมแนน อนจากการเปล่ียนแปลงทาง
การเมือง
ความสามารถของบคุ ลากร
• นโยบายในระดับรัฐบาลใหความสาํ คัญตอการ • กฎระเบยี บไมสอดคลอ งในการนาํ ไปสูก ารปฏิบตั ิ
• ปญหาในขั้นตอนการต้ังงบประมาณ และการ
ปรับไปสรู ฐั บาลดจิ ทิ ัล
จัดซ้อื จดั จางทลี่ า ชา

แผนปฏบิ ตั ิการดิจทิ ัลของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 3-2

• ระเบียบราชการไมเ อ้อื อํานวยในการปฏิบัติงาน

ในการจดั อุปกรณ IT ท่ีทันสมัยเขา มาใชง าน

• การเปล่ยี นแปลงระดบั นโยบายสงผลตอ การ

ดําเนนิ งานตามาแผนงาน โครงการ ตอ งปรบั ปรุง

บอ ยครงั้ ขาดความตอ เน่ือง

เศรษฐกจิ (Economic)
• ทศิ ทางเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั มากขน้ึ แตต นทุนตาํ่ ลง • เศรษฐกิจชะลอตัวทําใหขับเคลื่อนแผนงาน
โครงการตา งๆ ยากลําบาก
สังคม วัฒนธรรม (Social)
• คนรนุ ใหมมีการใชส่ือ Digital มากขึน้ • ความไมเขาใจในการใชเทคโนโลยี
• มีผูเช่ียวชาญจากภายนอกคอยมาใหคําปรึกษา
และรวมแสดงความคิดเห็นเพื่อการพัฒนาการ
ดาํ เนนิ งานในดานเทคโนโลยผี Zเช่ีย
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Technology)
• นวตั กรรมทาํ ใหป ระชาชนสะดวกข้นึ • มีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีท่ีรวดเร็วทําให

• ความกาวหนาและแนวโนมของเทคโนโลยีท่ีเอ้ือ ปรบั ตัวไมท ัน

ตอ การนาํ มาใชในหนวยงาน • มีภัยคุกคามดา น Cyber

• มีการนําเทคโนโลยีมาประยุกตกับงานของ • นวัตกรรมดานเทคโนโลยีดิจิทัลมีการพัฒนาอยาง

กระทรวงไดห ลากหลายมากขน้ึ รวดเร็ว

• อุปกรณหาซอ้ื ไดง า ยและราคาถูก • เกิดภยั ธรรมชาติและมีการเผาทําลายทําใหระบบ

• การเขามาของเครือขาย Gin ระบบ Cloud และ เสยี หาย

Big Data ทําใหม ีนวรรตกรรมและชองทางใชงาน • ไฟกระชาก ไฟตก ทําให Sever เกิดความเสยี หาย

เพ่มิ ข้ึน • การใช Software ทีไ่ มมีลิขลิทธ์ิอาจทําใหเกิดการ

ฟอ งรองเกิดขึ้นกบั หนว ยงาน

แผนปฏบิ ตั ิการดจิ ทิ ัลของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 3-3

บทท่ี 4

แผนปฏิบัตกิ ารดิจทิ ลั ของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5

กระทรวงมหาดไทยไดมีการจัดทําแผนปฏิบัติการดิจิทัล ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2561 - 2564) ขึ้น
เปนครั้งแรก เม่ือปงบประมาณ พ.ศ. 2561 เพื่อใหตอบสนองตอแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ในชวงระยะที่ 2 (5 ป พ.ศ. 2559 - 2564) โดยมีขอกําหนดการจัดทําแผนฯ ระยะดังกลาวไววา “ทุกภาค
สว นของประเทศไทยมสี ว นรว มในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมดิจิทลั ตามแนวประชารัฐ”

แตในปจจุบันไดมีนโยบายและแผนระดับชาติวาดวยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
พ.ศ. 1561 – 2580 ซึง่ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา มีผลบังคบั ใชเมือ่ วนั ที่ 12 เมษายน 2562 ไดกําหนด
ทิศทางการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศที่ย่ังยืนโดยใชเทคโนโลยี มีความมุงหมายสําคัญเพ่ือปฏิรูปประเทศไทย
ใหทันตอบริบทการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วไปสูยุคดิจิทัล ในการชับเคล่ือน
การดําเนินงานตามนโยบายและแผนระดับชาติวาดวยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมฉบับน้ี
คณะรฐั มนตรไี ดม มี ติเหน็ ชอบแผนปฏิบตั กิ ารดิจิทัลเพอื่ เศรษฐกจิ และสังคมระยะ 5 ป (พ.ศ. 2561 – 2565)
เพื่อกําหนดเปนแนวทางระยะสั้นใหหนวยงานภาครัฐไดใชเปนแนวทางในการขับเคล่ือนงานตามภารกิจดวย
การใชเทคโนโลยีดิจิทัลเขามาสนับสนุนการปฏิบัติราชการใหมีเกิดความรวดเร็ว โปรงใส และตอบสนองตอ
ความตองการตอความตองการของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โดยกําหนดใหหนวยงานภาครัฐดําเนินการ
ทบทวนแผนปฏบิ ัตกิ าร หรือแผนงานของหนว ยงานใหสอดคลองกับนโยบายระดับชาติวาดวยการพัฒนาดิจิทัล
เพอื่ เศรษฐและสังคมฉบับดังกลา ว

เพ่ือใหการดําเนินการเปนไปตามแนวนโยบายและแผนระดับชาติวาดวยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกิจและสังคม กระทรวงมหาดไทยจึงไดทบทวนแผนปฏิบัติการดิจิทัล ของกระทรวงมหาดไทยพ.ศ.
2560 – 2564 ใหสอดคลองกับนโยบายและแผนระดับชาติวาดวยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
และแผนปฏบิ ตั กิ ารดานดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ระยะ 5 ป เพื่อจัดทําแผนปฏิบัติการดิจิทัล ระยะ 3 ป
ของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2563 – 2565 เพื่อใหหนวยงานในสังกัดไดใชเปนกรอบและแนวทางในการ
พัฒนาดิจิทัลเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติราชการใหมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตอบสนองตอการปรับเปล่ียน
ภาครัฐสูการเปนรัฐบาลดิจิทัล กลาวคือหมายถึง “การนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ในการบริหารจดั การของหนวยงานรัฐทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาคอยางมีแบบแผนและเปนระบบจนพัฒนาสู
การเปนรัฐบาลดิจิทัลโดยสมบูรณ” โดยการใชประโยชนสูงสุดจากเทคโนโลยีดิจิทัลในการพลิกโฉมการพัฒนา
ประเทศ สูย ุคดจิ ิทลั ในมติ ติ างๆ กลา วคอื มิติดา นเศรษฐกิจ มิติดา นสงั คม และมิติดานส่งิ แวดลอม

โดยไดกําหนดจุดยืน (Positioning) วิสัยทัศน (Vision) พันธกิจ (Mission) เปาหมาย (Goal) และ
ประเดน็ ยุทธศาสตร (Strategic Issue) ในการจัดทําแผนปฏิบัติการดิจิทัลของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 –
๒๕๖5 ซ่งึ มรี ายละเอียดตอไปนี้

แผนปฏบิ ัตกิ ารดจิ ทิ ลั ของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖5 4-1


Click to View FlipBook Version