The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ปี 2559)

ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กรมที่ดิน

Keywords: ด้านทั่วไป

คํานํา

เนื่องจากกรมที่ดิน มีภารกิจหลักคือการ
ให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว
ถูกต้อง สุจริต และยุติธรรม เพื่อประโยชน์สุข
ของประชาชน รวมทั้งต้องตระหนักในภารกิจและ
ความรับผิดชอบต่อสังคม โดยเฉพาะการปรับปรุง
ประสิทธิภาพในการให้บริการของสํานักงานท่ีดิน
เพื่อขับเคลื่อนแนวคิด “สํานักงานที่ดินทั่วไทย
รวดเร็ว โปร่งใส ใส่ใจบริการ”ซึ่งเป็น ๑ ใน ๑๘
ของวาระมหาดไทยใสสะอาดและสอดคล้อง
กับนโยบายเร่งด่วนของกระทรวงมหาดไทยท่ีให้
หน่วยงานในสังกัดเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ
ประชาชนให้เห็นเป็นรูปธรรม ภายใต้แนวคิด
“บริการด้วยใจ” เพื่อให้การดําเนินการในการ
เสริมสร้างให้หน่วยงานของกรมทีด่ นิ มีความซือ่ สตั ย์

สุจริต มีความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้
ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กรมท่ีดิน จึงได้
รวบรวมกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ในการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริต เพื่อให้บุคลากรในสังกัด
กรมท่ีดิน ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติตนให้ถูกต้อง
และเป็นไปตามระเบียบและกฎหมายเพ่ือเสริมสร้าง
ให้เกดิ ภาพลักษณ์ทดี่ ีของกรมที่ดิน

มกราคม ๒๕๕๙

สารบญั

วสิ ยั ทศั นก์ รมทีด่ นิ /พันธกิจกรมทดี่ นิ หนา้

วสิ ัยทศั น์ กรมทดี่ นิ /พนั ธกิจ กรมท่ีดนิ ๑

คา่ นิยมหลกั ๒

ค่านิยมหลักของข้าราชการกรมท่ดี นิ

อธบิ ดกี รมท่ดี ินมอบบัญญตั ิ ๑๐ ประการ

เปน็ แนวทางปฏบิ ัติงานของข้าราชการ

กรมท่ีดนิ ท่ัวประเทศ ๓

พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ

ป้องกนั และปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ ๓)

พ.ศ. ๒๕๕๘ ๔

 

“หมวด ๘/๑ การดําเนินคดีอาญาเจ้าหน้าท่ีของ

รัฐต่างประเทศเจ้าหน้าที่ขององค์การระหว่าง

ประเทศและเอกชน ๑๓

ระเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรี

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรวี า่ ดว้ ยการเรยี่ ไร

ของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔ ๓๐

หมวด ๑ บททวั่ ไป ๓๒

หมวด ๒ คณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของ

หนว่ ยงานของรฐั ๓๔

หมวด ๓ คณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรจงั หวัด ๔๐
๔๓
หมวด ๔ หลักเกณฑก์ ารเร่ียไร

บทเฉพาะกาล ๕๐

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้หรือรับ

ของขวัญของเจ้าหนา้ ท่ีของรฐั พ.ศ. ๒๕๔๔ ๕๒

 

 

ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม
การทุจรติ แหง่ ชาติ

เร่อื ง หลักเกณฑ์การรบั ทรัพยส์ นิ หรอื ประโยชน์

อ่ืนใดโดยธรรมจรรยาของเจา้ หน้าทีข่ องรฐั

พ.ศ. ๒๕๔๓ ๖๔

เรือ่ ง กาํ หนดตาํ แหน่งเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ทตี่ ้องห้าม

มิใหด้ ําเนินกจิ การตามความในมาตรา ๑๐๐

แหง่ พระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญ

วา่ ด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริต

พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๓ ๗๒

หนา้ ๑ -๙

 



 

วิสยั ทัศน์ กรมทดี่ ิน

“เป็นกลไกหลักในการขับเคล่ือนการจัดการท่ีดิน
ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน และการพัฒนา
ประเทศด้วยมาตรฐานการจัดการ การบริการระดับ
สากล”

พนั ธกจิ กรมท่ดี นิ

๑. คุ้มครองสิทธิด้านที่ดินให้แก่ประชาชนให้เป็นไป
ตามกฎหมาย

๒. บูรณาการร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ
การออกโฉนดที่ดินแก่ประชาชน มีความเป็น
เอกภาพ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งประเทศ
ทั้งเชงิ นโยบายและการปฏิบัติ

๓. เป็นศูนย์ข้อมูลที่ดินและแผนท่ีแห่งชาติ ท่ีมีระบบ
ฐานขอ้ มลู ทด่ี ินของประเทศเป็นมาตรฐานเดยี วกัน
สามารถรองรับการใช้ประโยชน์จากที่ดินใน

1๖

 

การพัฒนาประเทศ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม
และความม่ันคง
๔. ให้บริการด้านการทะเบียนที่ดินของประเทศไทย
ที่มีความทันสมัย บริการออนไลน์ท่ัวทั้งประเทศ
และเช่ือมโยงกับสากล พร้อมทั้งมีบุคลากรด้าน
ทะเบียนที่ดินของประเทศ ที่มีขีดความสามารถสูง
ในระดบั สากล

คา่ นยิ มหลัก

Accountability รู้รับผดิ ชอบ

Customer Service มอบจิตบรกิ าร
Communication สอื่ สารเลศิ ลํา้
Ethic จริยธรรมนําจติ ใจ
People Development ฝักใฝ่ เรียนรู้

Teamwork มุ่งสูค่ วามรว่ มมือ

2๗

 

อธบิ ดกี รมท่ีดินมอบบญั ญตั ิ ๑๐ ประการ
เปน็ แนวทางปฏิบตั ิงานของขา้ ราชการกรมท่ดี นิ

ท่ัวประเทศ
สาํ หรับใช้เป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ าน กลา่ วคือ

๑. ดําเนินชีวิตโดยใช้หลักเศรษฐกิจแบบ
พอเพยี ง

๒. ขบั เคล่ือนงานนโยบายของรฐั บาลในพ้นื ท่ี
๓. ปฏิบัติงานด้วยความซ่ือสัตย์สุจริต โปร่งใส

เป็นธรรม
๔. ยึดถือระเบียบกฎหมายโดยเครง่ ครดั
๕. ใส่ใจในการใหบ้ รกิ ารประชาชน
๖. ตอบสนองนโยบายของจังหวัด
๗. ชว่ ยเหลอื สนบั สนุนสว่ นราชการอื่น
๘. เป็นพลเมืองท่ีดีและชว่ ยเหลอื สงั คม

ตามสมควร
๙. มีความรกั สามคั คใี นหมคู่ ณะ
๑๐. ดแู ลเอาใจใสค่ รอบครัว

3๘

 
หน้า ๑ -๙

เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๖๐ ก ราชกจิ จานุเบกษา ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๘

พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู

วา่ ดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบบั ที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๕๘

ภูมพิ ลอดลุ ยเดช ป.ร.

ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
เป็นปีที่ ๗๐ ในรัชกาลปัจจุบนั

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล
อดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
ให้ประกาศวา่

4๙

 

โ ด ย ที่ เ ป็ น ก า ร ส ม ค ว ร แ ก้ ไ ข เ พิ่ ม เ ติ ม
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ
ปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญขึ้นไว้โดย
คําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ดังต่อไปน้ี

มาตรา ๑ พระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญนี้
เรียกว่า “พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
การป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๕๘”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู น้ี
ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เป็นต้นไป

มาตรา ๓ ให้เพิ่มบทนิยามคําว่า “เจ้าหน้าท่ีของ
รัฐต่างประเทศ” และ “เจ้าหน้าที่ขององค์การระหว่าง
ประเทศ” ระหว่างบทนิยามคําว่า“เจ้าหน้าที่ของรัฐ”

5๑๐

 

และคําว่า “ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง” ในมาตรา ๔
แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ
ปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. ๒๕๔๒

“เจ้าหน้าที่ของรัฐต่างประเทศ” หมายความว่า
ผู้ซ่ึงดํารงตําแหน่งด้านนิติบัญญัติ บริหาร ปกครอง
หรือตุลาการ ของรัฐต่างประเทศ และบุคคลใดๆ
ซ่ึงปฏิบัติงานเกี่ยวกับหน้าที่ราชการให้แ ก่
รัฐต่างประเทศ รวมทั้งการปฏิบัติหน้าท่ีสําหรับ
หน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ไม่ว่า
โดยการแต่งตั้งหรือเลือกตั้งมีตําแหน่งประจําหรือ
ชั่วคราว และได้รับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนอ่ืน
หรือไมก่ ต็ าม

“เจ้าหน้าท่ีขององค์การระหว่างประเทศ”
หมายความว่า ผู้ปฏิบัติงานในองค์การระหว่าง
ประเทศหรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากองค์การ
ระหว่างประเทศให้ปฏิบัติงานในนามขององค์การ
ระหว่างประเทศนน้ั ”

6 ๑๑

 

มาตรา ๔ ให้เพิ่มความต่อไปน้ีเป็น (๔/๑) และ
(๔/๒) ของมาตรา ๑๙ แหง่ พระราชบญั ญัติ

“(๔/๑) ไต่สวนและวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าท่ีของ
รัฐต่างประเทศ และเจ้าหน้าท่ีขององค์การระหว่าง
ประเทศหรือบุคคลใด กระทําความผิดตามมาตรา
๑๒๓/๒ มาตรา ๑๒๓/๓ มาตรา ๑๒๓/๔ และ
มาตรา ๑๒๓/๕

(๔/๒) ไต่สวนและวนิ ิจฉัยการกระทําความผิด
ที่อยู่ในอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ซึ่งได้
กระทาํ ลงนอกราชอาณาจักรไทย ทั้งนี้ การประสาน
ความร่วมมือเพื่อประโยชน์แห่งการไต่สวนและ
วินจิ ฉัยใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายวา่ ด้วยการนั้น”

มาตรา ๕ ให้เพ่ิมความต่อไปน้ีเป็น (๑๔/๑)
ของมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม

การทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒

7๑๒

 

“(๑๔/๑) ดําเนินการตามคําร้องขอความ
ช่วยเหลือจากต่างประเทศในคดีทุจริตที่ผู้ประสานงาน
กลางตามกฎหมายว่าด้วยความร่วมมือระหว่าง
ประเทศในเรื่องทางอาญาส่งให้คณะกรรมการ
ป.ป.ช.ดําเนินการหรือพิจารณาให้ความช่วยเหลือ
กับต่างประเทศในคดีทุจริตซึ่งมิใช่คําร้องขอความ
ช่วยเหลือตามกฎหมายว่าด้วยความร่วมมือระหว่าง
ประเทศในเร่อื งทางอาญา”

มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของ
มาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.
๒๕๔๒ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติ
ป ร ะ ก อ บ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ว่ า ด้ ว ย ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ
ปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
ใหใ้ ชค้ วามต่อไปน้แี ทน

“การไต่สวนข้อเท็จจริงหรือการตรวจสอบตาม
(๑) (๒) (๓) (๔) (๔/๑) (๔/๒) และ (๖)
คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะมอบหมายให้พนักงานไต่สวน
8 ๑๓

 

เป็นผูร้ ับผิดชอบสํานวนเพื่อดําเนินการแทนก็ได้แล้ว
รายงานต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อพิจารณา
วินิจฉัยต่อไป ทั้งน้ี การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานไต่สวน
ดังกล่าวให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
ระยะเวลาที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กาํ หนด”

มาตรา ๗ ให้เพ่ิมความต่อไปน้ีเป็น (๓/๑) ของ
มาตรา ๒๕ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า
ด้วยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. ๒๕๔๒

“(๓/๑) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน
ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่
ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ี โดยทํา
ข้อตกลงกับหัวหน้าหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือ
มอบหมายเจ้าหน้าท่ีให้ความช่วยเหลือสนับสนุน
หรือเข้าร่วมปฏิบัติหน้าที่ได้ตามความจําเป็น ท้ังน้ี
ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า ม ร ะ เ บี ย บ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ แ ล ะ วิ ธี ก า ร
ท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด”

มาตรา ๘ ให้ยกเลิกความในวรรคสาม
ของมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติประกอบ

9๑๔

 

รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ว่ า ด้ ว ย ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร า บ ป ร า ม
การทจุ รติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใชค้ วามตอ่ ไปนี้แทน

“ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓
และ มาตรา ๓๕ วรรคหน่ึงและวรรคส่ีมาใช้บังคับ
กับการแสดงการย่ืน การรับบัญชีแสดงรายการ
ทรัพย์สินและหน้ีสิน และการตรวจสอบความ
ถูกต้อง และความมีอยู่จริงของทรัพย์สินและหน้ีสิน
ของบคุ คลตามวรรคหนึง่ โดยอนุโลม”

มาตรา ๙ ใหย้ กเลิกความใน (๑) ของวรรคสอง
ของมาตรา ๔๐ แห่งพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติ
ป ร ะ ก อ บ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ว่ า ด้ ว ย ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ
ปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
ใหใ้ ช้ความตอ่ ไปนี้แทน

“(๑) ในกรณีท่ีเป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐซึ่งดํารง
ตําแหน่งผู้บริหารระดับสูง ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๓๒
มาตรา ๓๓ และ มาตรา ๓๕ วรรคหนึ่งและวรรคส่ี
10 ๑๕

 

มาใช้บังคับกับการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน
และหนส้ี ินโดยอนุโลม”

มาตรา ๑๐ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๖)
ของวรรคหนึ่งของมาตรา ๔๓ แห่งพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม
การทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ “(๖) มีกรณีที่ต้องดําเนินการ
ไต่สวนขอ้ เทจ็ จริงตามมาตรา ๙๙/๑”

มาตรา ๑๑ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๗๔/๑
แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแก้ไข
เพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
วา่ ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ (ฉบบั ที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๔ และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปนแี้ ทน

“มาตรา ๗๔/๑ ในการดําเนินคดีอาญาตาม
หมวดน้ี ถ้าผู้ถูกกล่าวหาหรือจําเลยหลบหนีไปใน
ระหว่างถูกดําเนินคดีหรือระหว่างการพิจารณาของศาล
มิใหน้ ับระยะเวลาท่ีผู้ถูกกล่าวหาหรือจําเลยหลบหนี

1๑1๖

 

รวมเป็นส่วนหนึ่งของอายุความ และเมื่อได้มี
คําพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษจําเลย ถ้าจําเลย
หลบหนีไปในระหว่างต้องคําพิพากษาถึงท่ีสุดให้
ลงโทษ มิให้นําบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมาย
อาญามาตรา ๙๘ มาใชบ้ งั คบั ”

มาตรา ๑๒ ให้เพิ่มความต่อไปน้ีเป็นหมวด ๘/๑
การดําเนินคดีอาญาเจ้าหน้าท่ีของรัฐต่างประเทศ
เจ้าหน้าท่ีขององค์การระหว่างประเทศ และเอกชน
มาตรา ๙๙/๑ มาตรา ๙๙/๒ มาตรา ๙๙/๓ มาตรา
๙๙/๔ มาตรา ๙๙/๕ มาตรา ๙๙/๖ และมาตรา
๙๙/๗ แหง่ พระราชบญั ญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
การป้องกันและปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. ๒๕๔๒

12 ๑๗

 

“หมวด ๘/๑
การดําเนนิ คดีอาญาเจ้าหน้าทขี่ องรฐั ต่างประเทศ
เจ้าหน้าทข่ี ององคก์ ารระหว่างประเทศ และเอกชน

มาตรา ๙๙/๑ การกล่าวหาเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ต่างประเทศ เจ้าหน้าที่ขององค์การระหว่างประเทศ
และบุคคลใด ว่ากระทําความผิดตามมาตรา ๑๒๓/๒
มาตรา ๑๒๓/๓ มาตรา ๑๒๓/๔ และมาตรา ๑๒๓/๕
ใหก้ ล่าวหาต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช.

การกล่าวหาตามวรรคหนึ่งจะทําด้วยวาจา
หรือทําเป็นหนังสือก็ได้ ทั้งนี้ ตามระเบียบท่ี
คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด และให้นําบทบัญญัติ
มาตรา ๘๕ มาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม

๑๘
13

 

มาตรา ๙๙/๒ คณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจไม่รับ
ห รื อ ย ก เ รื่ อ ง ก ล่ า ว ห า ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ ดั ง ต่ อ ไ ป น้ี
ขนึ้ พจิ ารณาก็ได้

(๑) เรื่องที่ไม่ระบุพยานหลักฐานหรือไม่
ปรากฏพฤติการณ์แห่งการกระทําชัดเจนเพียงพอ
ทจี่ ะดาํ เนนิ การไต่สวนขอ้ เท็จจรงิ ได้

(๒) เรื่องท่ีล่วงเลยมาแล้วเกินห้าปีนับแต่วัน
เกิดเหตุจนถึงวันที่มีการกล่าวหา และเป็นเร่ืองที่ไม่
อาจหาพยานหลักฐานเพียงพอท่ีจะดําเนินการไต่สวน
ขอ้ เทจ็ จริงต่อไปได้

(๓) เรื่องที่เป็นการกล่าวหาเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ต่างประเทศ เจ้าหน้าที่ขององค์การระหว่างประเทศ
และบุคคลใดซ่ึงคณะกรรมการ ป.ป.ช.เห็นว่าการ
ดําเนนิ การต่อผู้ถูกกล่าวหาตามกฎหมายอ่ืนเสร็จส้ิน
และเป็นไปโดยชอบแล้ว และไม่มีเหตุอันควรสงสัย
วา่ การดําเนนิ การนั้นไมเ่ ที่ยงธรรม

14 ๑๙

 

ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๘๖ มาใช้บังคับ
โดยอนุโลมโดยคําว่า “ศาล” ให้หมายความรวมถึง
ศาลในต่างประเทศด้วย

มาตรา ๙๙/๓ เม่ือคณะกรรมการ ป.ป.ช.
ได้รับคํากล่าวหาเจ้าหน้าท่ีของรัฐต่างประเทศ
เจ้าหน้าที่ขององค์การระหว่างประเทศ และบุคคลใด
ตามมาตรา ๙๙/๑ หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่า
เจ้าหนา้ ที่ของรัฐต่างประเทศ เจ้าหน้าที่ขององค์การ
ระหว่างประเทศ และบุคคลใดกระทําความผิดตาม
มาตรา ๑๒๓/๒ มาตรา ๑๒๓/๓ มาตรา ๑๒๓/๔
และมาตรา ๑๒๓/๕ ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช.
ดําเนินการตามหมวด ๔ การไต่สวนขอ้ เท็จจรงิ

มาตรา ๙๙/๔ ในกรณีที่ผู้เสียหายได้ร้องทุกข์
หรือมีผู้กล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวนให้ดําเนินคดี
กบั เจา้ หน้าท่ีของรฐั ตา่ งประเทศ เจ้าหน้าท่ีขององค์การ
ระหว่างประเทศ และบุคคลใดอันเนื่องมาจากได้
กระทําการตามมาตรา ๙๙/๓ ให้พนักงานสอบสวนส่ง
เร่ืองให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ภายในสามสิบวันนับ

1๒5๐

 

แ ต่ วั น ที่ มี ก า ร ร้ อ ง ทุ ก ข์ ห รื อ ก ล่ า ว โ ท ษ เ พื่ อ จ ะ
ดําเนินการตามบทบัญญัติในหมวดนี้ ในการนี้หาก
คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาแลว้ เหน็ ว่าเรอ่ื งดังกล่าว
มิใช่กรณีตามมาตรา ๙๙/๓ ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช.
ส่งเร่ืองกลับไปยังพนักงานสอบสวนเพ่ือดําเนินการ
ตามประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญาต่อไป

มาตรา ๙๙/๕ ในกรณีท่ีมีการควบคุมตัวผู้ถูก
กล่าวหาไว้ในอํานาจของศาลเน่ืองจากมีการจับผู้ถูก
กล่าวหาไว้ระหว่างดําเนินคดีตามมาตรา ๙๙/๔ ให้
พนักงานสอบสวนมีอํานาจขอให้ศาลควบคุมตัวผู้ถูก
กล่าวหาไว้ได้ต่อไป และให้พนักงานสอบสวน
ผู้รับผิดชอบแจ้งให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทราบ
เ พ่ื อ ดํ า เ นิ น ค ดี ต่ อ ไ ป ต า ม ป ร ะ ม ว ล ก ฎ ห ม า ย วิ ธี
พิจารณาความอาญา โดยไม่ต้องส่งเร่ืองมาให้
คณะกรรมการ ป.ป.ช. ดําเนินการ

กรณีที่พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการมี
คําสั่งไม่ฟ้องผู้ถูกกล่าวหา ให้รายงานให้คณะกรรมการ
ป.ป.ช. ทราบ กรณีดังกล่าวคณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจ
16 ๒๑

 

เรียกสํานวนการสอบสวนพร้อมพยานหลักฐานและ
เอกสารที่เกี่ยวข้องจากพนักงานสอบสวนหรือพนักงาน
อัยการมาพิจารณาหรือไตส่ วนข้อเท็จจริงใหมก่ ็ได้

การดําเนินการของพนักงานสอบสวนตาม
วรรคหน่ึง ย่อมไม่ตัดอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช.
ที่จะดําเนินการไต่สวนข้อเท็จจริงเอง หรือมอบหมาย
ให้พนักงานไต่สวนเข้าร่วมสอบสวนกับพนักงาน
สอบสวนกไ็ ด้

มาตรา ๙๙/๖ ในกรณีท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช.
พิจารณาเห็นสมควร อาจส่งเรื่องที่มีการกล่าวหา
เจ้าหนา้ ทข่ี องรัฐต่างประเทศ เจ้าหน้าท่ีขององค์การ
ระหว่างประเทศ และบุคคลใดว่ากระทําความผิด
ตามมาตรา ๑๒๓/๒ มาตรา ๑๒๓/๓ มาตรา ๑๒๓/๔
และมาตรา ๑๒๓/๕ ท่ีอยู่ระหว่างดําเนินการให้
พนักงานสอบสวนดําเนินการตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญาต่อไปกไ็ ด้

มาตรา ๙๙/๗ เมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ช.
ไต่สวนข้อเท็จจริงแล้วมีมติว่าข้อกล่าวหาใดไม่มีมูลให้

1๒7๒

 

ข้อกล่าวหาน้ันเป็นอันตกไป ข้อกล่าวหาใดที่
คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติว่ามีมูลความผิดทางอาญา
ให้ดําเนินการตามมาตรา ๙๗ และให้นําบทบัญญัติ
มาตรา ๙๘ และมาตรา ๙๘/๑ มาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม”

มาตรา ๑๓ ให้เพ่ิมความต่อไปน้ีเป็นมาตรา
๑๒๓/๒ มาตรา ๑๒๓/๓ มาตรา ๑๒๓/๔ มาตรา ๑๒๓/๕
มาตรา ๑๒๓/๖ มาตรา ๑๒๓/๗ และมาตรา ๑๒๓/๘
แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ
ป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. ๒๕๔๒

“มาตรา ๑๒๓/๒ ผู้ใดเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ
เจ้าหน้าที่ของรัฐต่างประเทศ หรือเจ้าหน้าท่ีของ
องค์การระหว่างประเทศ เรียก รับ หรือยอมจะรับ
ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดสําหรับตนเองหรือ
ผู้อื่นโดยมิชอบเพื่อกระทําการหรือไม่กระทําการ
อย่างใดในตําแหน่งไม่ว่าการน้ันจะชอบหรือมิชอบ
ด้วยหน้าท่ี ต้องระวางโทษจําคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี
หรือจําคุกตลอดชีวิต และปรับต้ังแต่หน่ึงแสนบาท
ถงึ ส่ีแสนบาท หรือประหารชีวิต
18 ๒๓

 

มาตรา ๑๒๓/๓ ผู้ใดเป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
เจ้าหน้าที่ของรัฐต่างประเทศ หรือเจ้าหน้าที่ของ
องค์การระหว่างประเทศ กระทําการหรือไม่กระทําการ
อย่างใดในตําแหน่ง โดยเห็นแก่ทรัพย์สินหรือ
ประโยชน์อ่ืนใดซึ่งตนได้เรียก รับ หรือยอมจะรับไว้
ก่อนท่ีตนได้รับแต่งต้ังในตําแหน่งนั้น ต้องระวางโทษ
จําคุกตั้งแต่ห้าปีถึงย่ีสิบปี หรือจําคุกตลอดชีวิตและ
ปรบั ตัง้ แต่หน่ึงแสนบาทถึงสแ่ี สนบาท

มาตรา ๑๒๓/๔ ผใู้ ดเรยี ก รบั หรอื ยอมจะรับ
ทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดสําหรับตนเองหรือ
ผู้อ่ืนเป็นการตอบแทนในการท่ีจะจูงใจ หรือได้จูงใจ
เจ้าหน้าท่ีของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐต่างประเทศหรือ
เจ้าหนา้ ทีข่ ององคก์ ารระหว่างประเทศ โดยวิธีอันทุจริต
หรือผิดกฎหมายหรือโดยอิทธิพลของตน ให้กระทํา
การหรือไม่กระทําการในหน้าท่ีอันเป็นคุณหรือเป็น
โทษแก่บุคคลใด ต้องระวางโทษจําคุกไมเ่ กินห้าปีหรือ
ปรบั ไม่เกินหน่ึงแสนบาทหรอื ทั้งจําทงั้ ปรับ

1๒9๔

 

มาตรา ๑๒๓/๕ ผู้ใดให้ ขอให้ หรือรับว่าจะให้
ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ
เจ้าหน้าท่ีของรัฐต่างประเทศ หรือเจ้าหน้าท่ีของ
องค์การระหว่างประเทศ เพ่ือจูงใจให้กระทําการ
ไม่กระทําการ หรือประวิงการกระทําอันมิชอบด้วย
หน้าที่ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่
เกินหน่ึงแสนบาท หรือทั้งจาํ ท้ังปรับ

ในกรณที ีผ่ ู้กระทําความผิดตามวรรคหนึ่งเป็น
บคุ คลที่มคี วามเก่ียวข้องกับนิติบุคคลใดและกระทําไป
เพ่ือประโยชนข์ องนิติบุคคลนั้น โดยนิตบิ ุคคลดังกลา่ ว
ไม่มมี าตรการควบคุมภายในท่ีเหมาะสม เพื่อป้องกัน
มิให้มีการกระทําความผิดนั้น นิติบุคคลน้ัน มีความผิด
ตามมาตรานี้ และต้องระวางโทษปรับต้ังแต่หน่ึงเท่า
แต่ไม่เกินสองเท่าของค่าเสียหายท่ีเกิดขึ้นหรือ
ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั

บุคคลที่มีความเก่ียวข้องกับนิติบุคคลตาม
วรรคสอง ให้หมายความถึง ลูกจ้าง ตัวแทน บริษัท
ในเครือ หรือบุคคลใดซ่ึงกระทําการเพ่ือหรือในนาม
20 ๒๕

 

ของนิติบุคคลน้ัน ไม่ว่าจะมีอํานาจหน้าท่ีในการน้ัน
หรอื ไม่กต็ าม

มาตรา ๑๒๓/๖ ในการริบทรัพย์สินเน่ืองจาก
การกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญน้ี นอกจากศาลจะมีอํานาจริบทรัพย์สิน
ตามกฎหมายที่บัญญัติไว้โดยเฉพาะแล้วให้ศาลมี
อํานาจส่ังให้ริบทรัพย์สินดังต่อไปนี้ด้วย เว้นแต่เป็น
ทรัพย์สินของผู้อื่นซ่ึงมิได้รู้เห็นเป็นใจด้วยในการ
กระทําความผิด

(๑) ทรัพย์สินที่บุคคลได้ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้ใน
การกระทําความผดิ

(๒) ทรัพย์สินหรือประโยชน์อันอาจคํานวณ
เป็นราคาเงินได้ท่ีบุคคลได้มาจากการกระทํา
ความผิดหรือจากการเป็นผู้ใช้ ผู้สนับสนุน หรือ
ผูโ้ ฆษณาหรอื ประกาศใหผ้ อู้ ืน่ กระทําความผดิ

(๓) ทรัพย์สินหรือประโยชน์อันอาจคํานวณเป็น
ราคาเงินได้ท่บี ุคคลได้มาจากการจําหน่าย จ่ายโอนด้วย

2๒1๖

 

ประการใดๆ ซ่ึงทรัพย์สินหรือประโยชน์ตาม (๑) หรือ
(๒)

(๔) ประโยชน์อื่นใดอันเกิดจากทรัพย์สินหรือ
ประโยชน์ตาม (๑) (๒) หรอื (๓)

ในการที่ศาลจะมีคําสั่งริบทรัพย์สินตาม (๑)
ของวรรคหน่ึง ให้ศาลวินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์
และความร้ายแรงแห่งการกระทําความผิด รวมทั้ง
โอกาสท่ีจะนําทรัพย์สินนั้นไปใช้ในการกระทํา
ความผิดอกี

ในกรณที ่ศี าลเห็นว่ามวี ิธกี ารอ่นื ที่ทําให้บุคคล
ไม่สามารถใช้ทรัพย์สินตาม (๑) ของวรรคหนึ่งใน
การกระทําความผิดได้อีกต่อไป ให้ศาลมีอํานาจส่ังให้
ดาํ เนินการตามวิธกี ารดังกลา่ วแทนการริบทรัพย์สนิ

หากการดําเนินการตามวรรคสามไม่เป็นผล
ศาลจะมคี ําสัง่ ริบทรพั ย์สนิ นั้นในภายหลังกไ็ ด้

มาตรา ๑๒๓/๗ บรรดาทรัพย์สินดังต่อไปนี้
ใหร้ ิบเสียทง้ั สิ้น เวน้ แต่เป็นทรัพย์สินของผู้อื่นซ่ึงมิได้
รูเ้ ห็นเปน็ ใจด้วยในการกระทําความผิด
22 ๒๗

 

(๑) ทรัพย์สินหรือประโยชน์อันอาจคํานวณ
เปน็ ราคาเงินได้ที่บุคคลได้ให้ ขอให้ หรือรับว่าจะให้แก่
เจ้าหน้าท่ีของรัฐ เจ้าหน้าท่ีของรัฐต่างประเทศ หรือ
เจ้าหน้าท่ีขององค์การระหว่างประเทศ เพ่ือจูงใจให้
กระทําการ ไมก่ ระทาํ การ หรอื ประวิงการกระทําอัน
มชิ อบดว้ ยหน้าท่ี

(๒) ทรัพย์สินหรือประโยชน์อันอาจคํานวณ
เป็นราคาเงินได้ที่เจ้าหน้าที่ของรัฐได้มาจากการ
กระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ หรือความผิดต่อ
ตําแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตําแหน่ง
หนา้ ท่ใี นการยุติธรรม

(๓) ทรัพย์สินหรือประโยชน์อันอาจคํานวณ
เป็นราคาเงินได้ที่เจ้าหน้าที่ของรัฐต่างประเทศ หรือ
เจา้ หน้าทข่ี ององคก์ ารระหว่างประเทศได้มาจากการ
กระทําความผิดตามมาตรา ๑๒๓/๒ หรือ มาตรา
๑๒๓/๓ หรือความผิดในลักษณะเดียวกันตาม
กฎหมายอืน่

๒๘
23

 

(๔) ทรัพย์สินหรือประโยชน์อันอาจคํานวณ
เป็นราคาเงินได้ที่ได้ให้ ขอให้ หรือรับว่าจะให้เพ่ือ
จูงใจบุคคลให้กระทําความผิด หรือเพ่ือเป็นรางวัล
ในการท่บี คุ คลได้กระทําความผดิ

(๕) ทรัพย์สินหรือประโยชน์อันอาจคํานวณ
เป็นราคาเงินได้ที่บุคคลได้มาจากการจําหน่าย จ่าย
โอนด้วยประการใดๆ ซ่ึงทรัพย์สินหรือประโยชน์
ตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔)

(๖) ประโยชน์อ่ืนใดอันเกิดจากทรัพย์สินหรือ
ประโยชน์ตาม (๑) (๒) (๓) (๔) หรอื (๕)

มาตรา ๑๒๓/๘ เมื่อความปรากฏแก่ศาลเอง
หรอื ความปรากฏตามคําขอของโจทก์ว่าส่ิงท่ีศาลส่ังริบ
ตามมาตรา ๑๒๓/๖ (๒) (๓) หรือ (๔) หรือมาตรา
๑๒๓/๗ เป็นสิ่งท่ีโดยสภาพไม่สามารถส่งมอบ
ไดส้ ูญหาย หรอื ไม่สามารถติดตามเอาคืนได้ไม่ว่าด้วย
เหตุใด หรือได้มกี ารนาํ สง่ิ นน้ั ไปรวมเข้ากับทรัพย์สินอื่น
หรือได้มีการจําหน่าย จ่าย โอนสิ่งนั้น หรือการ
ติดตามเอาคืนจะกระทําได้โดยยากเกินสมควร หรือ
24 ๒๙

 

มีเหตุสมควรประการอื่น ศาลอาจกําหนดมูลค่า
ของส่ิงนั้นโดยคํานึงถึงราคาท้องตลาดของสิ่งน้ันใน
วันท่ีศาลมีคําพิพากษาและส่ังให้ผู้ที่ศาลส่ังให้ส่งส่ิงที่
ริบชําระเงินหรือสั่งให้ริบทรัพย์สินอ่ืนของผู้กระทํา
ความผิดตามมูลคา่ ดงั กลา่ วภายในเวลาท่ศี าลกําหนด

การกําหนดมูลค่าของสิ่งท่ีศาลส่ังริบตาม
วรรคหนึ่ง ในกรณีที่มีการนําไปรวมเข้ากับทรัพย์สินอ่ืน
หรือการกําหนดมูลค่าของสิ่งนั้นในกรณีมูลค่าของ
ทรัพย์สินท่ีได้มาแทนต่ํากว่าการนําไปรวมเข้ากับ
ทรัพย์สินอื่นในวันท่ีมีการจําหน่าย จ่าย โอนสิ่งนั้น
ให้ศาลกําหนดโดยคํานึงถึงสัดส่วนของทรัพย์สินท่ีมี
การรวมเข้าด้วยกันน้ัน หรือมูลค่าของทรัพย์สิน
ท่ไี ดม้ าแทนสงิ่ นัน้ แลว้ แตก่ รณี

ในการสั่งให้ผู้ที่ศาลให้ส่งสิ่งท่ีริบชําระเงิน
ตามวรรคสอง ศาลจะกําหนดให้ผู้นั้นชําระเงิน
ทั้งหมดในคราวเดียว หรือจะให้ผ่อนชําระก็ได้
โดยคาํ นึงถึงความเหมาะสมและเป็นธรรมแก่กรณี

2๓5๐

 

ผู้ท่ีศาลส่ังให้ส่งส่ิงที่ริบซึ่งไม่ชําระเงินหรือ
ชําระไม่ครบถ้วนตามจํานวนและภายในระยะเวลา
ที่ศาลกําหนด ต้องเสียดอกเบ้ียในระหว่างเวลาผิดนัด
ตามอัตราท่ีกฎหมายกาํ หนด

ในกรณีที่ศาลมีคําสั่งริบทรัพย์สินเนื่องจากการ
ก ร ะ ทํ า ค ว า ม ผิ ด ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ป ร ะ ก อ บ
รฐั ธรรมนญู นี้ แตค่ าํ พพิ ากษายังไม่ถงึ ทสี่ ดุ ใหเ้ ลขาธิการ
มีอํานาจเก็บรักษาและจัดการทรัพย์สินดังกล่าว
จนกว่าคดีถึงที่สุด หรือศาลมีคําส่ังเป็นอย่างอ่ืน
ท้ังนี้ หลักเกณฑ์ และวิธีการในการเก็บรักษาและ
จั ด ก า ร ท รั พ ย์ สิ น ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า ม ร ะ เ บี ย บ ที่
คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด”

ผรู้ ับสนองพระบรมราชโองการ ๓๑
พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา
นายกรัฐมนตรี
26

 

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราช
บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญฉบับน้ีคือ ด้วยประเทศ
ไ ท ย ไ ด้ ใ ห้ สั ต ย า บั น ร่ ว ม เ ป็ น ภ า คี อ นุ สั ญ ญ า
สหประชาชาติว่าด้วยการตอ่ ต้านการทจุ ริต ค.ศ. ๒๐๐๓
(United Nations Convention against Corruption :
UNCAC) เม่ือวันท่ี ๑ มีนาคม ๒๕๕๔ และมีผลใช้
บังคับต้ังแต่วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔ อันก่อให้เกิด
หน้าท่ีในการปฏิบัติตามพันธกรณีอนุสัญญาดังกล่าว
หลายประการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการดําเนินการ
แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายภายในของประเทศไทย เพื่อ
อนุวัติการตามอนุสัญญาซ่ึงเป็นมาตรฐานสากล
อีกทั้งในขณะน้ีประเทศไทยอยู่ระหว่างการเป็นผู้ถูก
ประเมินและติดตามผลการปฏิบัติตามอนุสัญญา
การท่ีประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายเพ่ืออนุวัติการ
ตามพันธกรณีอนุสัญญาดังกล่าวก่อให้เกิดผลเสียต่อ
ภาพลักษณ์ของประเทศไทยในเรื่องความพยายาม
และความจริงจังในการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย
ภายในเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล นอกจากน้ียัง

2๓7๒

 

ก่อให้เกิดอุปสรรคต่อการประสานความร่วมมือ
ระหว่างประเทศในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
รวมถึงการแก้ไขปัญหาการทุจริตภายในประเทศ จึงมี
ความจําเป็นต้องแก้ไขกฎหมายเพื่ออนุวัติการตาม
พันธกรณีอนุสัญญาดังกล่าว โดยเฉพาะในเรื่องการ
กําหนดความผิดการให้หรือรับสินบนท่ีเกี่ยวกับ
เจ้าหน้าที่ของรัฐต่างประเทศ และเจ้าหน้าที่ของ
องค์การระหว่างประเทศ การกําหนดอายุความใน
กรณีหลบหนีและอายุความล่วงเลยการลงโทษการ
กําหนดการริบทรัพย์สินในคดีทุจริต ให้เป็นไปตาม
หลักการริบทรัพย์ตามมูลค่า อีกทั้งยังเป็นการ
สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของการปฏิรูปประเทศ
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว)
พุทธศักราช ๒๕๕๗ ในการแก้ไขกฎหมายเพ่ือให้
การป้องกันและปราบปรามการทุจริตมีกลไกในการ
ขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและ
ภาคเอกชนที่มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้นและเน่ืองจากการ
ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเพ่ืออนุวัติการตามพันธกรณี
28 ๓๓

 

อนุสัญญาดังกล่าวถือเป็นอาชญากรรมท่ีมีลักษณะ
พิเศษ จึงควรบัญญัติไว้ในกฎหมายประกอบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการ
ทจุ ริตเป็นการเฉพาะ เพ่ือเป็นหลักประกันความเป็น
อิสระและความเชี่ยวชาญของหน่วยงานท่ีบังคับใช้
กฎหมาย เพื่อใหเ้ กิดประสิทธิภาพในการทํางานและ
เปน็ หลักประกันมิให้เกิดการกระทบต่อสิทธิเสรีภาพ
ของบุคคลมากเกินความจําเป็น นอกจากนี้ สมควร
แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเก่ียวกับการตรวจสอบ
ความถูกต้องและความมีอยู่จริงของทรัพย์สินและ
หน้ีสินให้ถูกต้อง จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญนี้

2๓9๔

 

ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี
วา่ ดว้ ยการเร่ียไรของหนว่ ยงานของรฐั พ.ศ. ๒๕๔๔

โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบสํานัก
นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของทางราชการ
พ.ศ. ๒๕๓๙ ให้เหมาะสมย่งิ ขน้ึ

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แห่ง
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.
๒๕๓๔ นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ
คณะรฐั มนตรีจงึ วางระเบียบไวด้ ังต่อไปน้ี

ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบสํานักนายก
รัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.
๒๕๔๔”

ข้อ ๒๑ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัด
จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นต้นไป



ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๘/ตอนพิเศษ ๑๓ ง/หน้า ๑๑/๑๓
กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๔

30 ๓๕

 

ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วา่ ดว้ ยการเรีย่ ไรของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙

ข้อ ๔ ในระเบียบน้ี
“การเร่ียไร” หมายความว่า การเก็บเงินหรือ
ทรัพย์สิน โดยขอร้องให้ช่วยออกเงินหรือทรัพย์สิน
ตามใจสมัคร และให้หมายความรวมถึงการซื้อขาย
แลกเปลยี่ น ชดใช้ หรอื บริการซง่ึ มีการแสดงโดยตรง
หรือโดยปริยายว่ามิใช่เป็นการซ้ือขาย แลกเปล่ียน
ชดใช้หรือบริการธรรมดา แต่เพ่ือรวบรวมเงินหรือ
ทรัพย์สินที่ได้มาทั้งหมดหรือบางส่วนไปใช้ในกิจการ
อยา่ งใดอย่างหนึง่ นนั้ ด้วย
“เ ข้ า ไ ป มี ส่ ว น เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร เ ร่ี ย ไ ร ”
หมายความว่าเข้าไปชว่ ยเหลอื โดยมีส่วนร่วมในการจัด
ให้มีการเรี่ยไรในฐานะเป็นผู้ร่วมจัดให้มีการเรี่ยไร
หรอื เป็นประธานกรรมการอนกุ รรมการคณะทาํ งานทป่ี รึกษา
หรอื ในฐานะอืน่ ใดในการเรีย่ ไรน้ัน

3๓1๖

 

“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ส่วนราชการ
หรือหน่วยงานท่ีอยู่ในกํากับดูแลของรัฐทุกระดับท้ังใน
ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วน
ท้องถนิ่ และรัฐวิสาหกจิ

“เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า ข้าราชการ
พนกั งาน และลูกจ้างของหน่วยงานของรฐั

ข้อ ๕ ให้ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการ
ตามระเบียบนี้

หมวด ๑
บทท่วั ไป
ข้อ ๖ หน่วยงานของรัฐจะจัดให้มีการเรี่ยไร
หรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเร่ียไรมิได้ เว้นแต่
เป็นการเรี่ยไรตามข้อ ๑๙ หรือได้รับอนุมัติจาก
กคร.หรือกคร.จังหวัด แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ตาม
หลกั เกณฑท์ กี่ าํ หนดไว้ในระเบียบน้ี
หน่วยงานของรัฐซ่ึงจะต้องได้รับอนุญาตในการ
เร่ียไรตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเร่ียไร
32 ๓๗

 

นอกจากจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
การเร่ียไรแล้ว จะตอ้ งปฏบิ ัติตามหลักเกณฑ์ท่ีกําหนดไว้
ในระเบียบน้ีด้วย ในกรณีน้ี กคร. อาจกําหนดแนวทาง
ปฏิบัติของหน่วยงานของรัฐดังกล่าวให้สอดคล้องกับ
กฎหมายว่าด้วยการควบคมุ การเรยี่ ไรกไ็ ด้

ข้อ ๗ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าท่ีควบคุมดูแล
ใ ห้ เ จ้ า ห น้ า ที่ ข อ ง รั ฐ ป ฏิ บั ติ ต า ม ร ะ เ บี ย บ น้ี โ ด ย
เคร่งครดั

ในกรณีที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่
ปฏิบัติตามระเบียบน้ี ให้ผู้บังคับบัญชาดําเนินการ
ลงโทษทางวินัยแก่เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้น้ันตามควรแก่
กรณี และในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาเห็นว่าการกระทํานั้น
อาจมีเหตุเก่ียวข้องกับการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ในวงราชการมีมูลความผิดทางอาญา หรืออาจเป็นการ
ฝ่าฝืนกฎหมายอ่ืนให้ผู้บังคับบัญชาแจ้งให้หน่วยงาน
ที่มีอํานาจหน้าที่ในเร่ืองนั้นเพื่อพิจารณาดําเนินการ
ตอ่ ไป

3๓3๘

 

หมวด ๒
คณะกรรมการควบคมุ การเร่ยี ไรของหนว่ ยงานของรัฐ

ข้อ ๘ ๒ ให้มีคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไร
ของหน่วยงานของรัฐเรียกโดยย่อว่า “กคร.” ประกอบ
ด้วย รองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีประจําสํานัก
นายกรัฐมนตรีท่ีนายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธาน
กรรมการ ผู้แทนสํานักนายกรัฐมนตรี ผู้แทน
กระทรวงกลาโหม ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทน
กระทรวงมหาดไทย ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทน
กระทรวงสาธารณสุข ผู้แทนสํานักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีกา และผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งอีก
ไม่เกินสี่คน เป็นกรรมการ และผู้แทนสํานักงานปลัด
สํานกั นายกรฐั มนตรี เป็นกรรมการและเลขานกุ าร

๒ข้อ ๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ
เรย่ี ไรของหน่วยงานของรัฐ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๙

34 ๓๙

 

ก ค ร .จ ะ แ ต ่ง ตั ้ง ข ้า ร า ช ก า ร ใ น สํ า น ัก ง า น
ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีจํานวนไม่เกินสองคน
เป็นผชู้ ่วยเลขานกุ ารก็ได้

ข้อ ๙ ให้กรรมการซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง
มีวาระอยู่ในตําแหน่งคราวละสองปีกรรมการซึ่งพ้น
จากตําแหนง่ อาจไดร้ ับแต่งต้งั อีกได้

ให้กรรมการซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระ
ปฏิบัติหน้าท่ีไปพลางก่อนจนกว่าจะมีการแต่งตั้ง
กรรมการใหม่ เขา้ รบั หน้าที่

ข้อ ๑๐ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตาม
วาระตามข้อ ๙ กรรมการซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งต้ัง
พ้นจากตาํ แหนง่ เมอ่ื

(๑) ตาย
(๒) ลาออก

๔3๐5

 

(๓) ต้องโทษจําคุกตามคําพิพากษาถึงที่สุด
ให้จําคุกเว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิดท่ีกระทําโดย
ประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ

(๔) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือน
ไร้ความสามารถ

(๕) เปน็ บคุ คลลม้ ละลาย
(๖) นายกรฐั มนตรีให้ออก
ในกรณีท่ีกรรมการซ่ึงนายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง
พ้นจากตําแหน่งก่อนวาระให้นายกรัฐมนตรีแต่งต้ัง
ผู้อื่นเป็นกรรมการแทน และให้กรรมการซ่ึงได้รับ
แ ต่ ง ตั้ ง อ ยู่ ใ น ตํ า แ ห น่ ง เ ท่ า ว า ร ะ ที่ เ ห ลื อ อ ยู่ ข อ ง
กรรมการซึ่งตนแทน เว้นแต่วาระการดํารงตําแหน่ง
ของกรรมการเหลืออยู่ไม่ถึงเก้าสิบวันจะไม่แต่งต้ัง
กรรมการแทนกไ็ ด้

36 ๔๑

 

ข้อ ๑๑ การประชุมของ กคร. ต้องมีกรรมการ
มาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึงของจํานวนกรรมการ
ท้งั หมดจึงจะเป็นองค์ประชุม

ในการประชุมคราวใด ถ้าประธานกรรมการ
ไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้
กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหน่ึงเป็น
ประธานในท่ีประชมุ

การวินจิ ฉยั ชี้ขาดท่ปี ระชุมให้ถือเสียงข้างมาก
กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน ถ้า
คะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออก
เสียงเพิ่มข้ึนอกี เสยี งหนงึ่ เปน็ เสยี งชี้ขาด

ขอ้ ๑๒ กคร. มอี าํ นาจหน้าทด่ี งั ต่อไปนี้
(๑) พิจารณาเสนอความเห็นต่อคณะ

รฐั มนตรใี นการแก้ไขปรับปรงุ ระเบยี บนี้
(๒) พิจารณาอนุมัติให้หน่วยงานของรัฐท่ี

ประสงค์จะทําการเรี่ยไร หรือเข้าไปมีส่วนเก่ียวข้องกับ

๔3๒7

 

การเรี่ยไรในเขตกรุงเทพมหานครหรือในเขตท้องที่เกิน
หน่ึงจังหวัด จัดให้มีการเร่ียไรหรือเข้าไปมีส่วน
เกี่ยวข้องกับการเร่ียไรตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ใน
ระเบยี บน้ี

(๓) ตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับ
การปฏิบตั ติ ามระเบียบนี้

(๔) กําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการ
ยน่ื คาํ ขออนมุ ัตใิ ห้จัดใหม้ กี ารเร่ียไร หรือเข้าไปมีส่วน
เกี่ยวข้องกบั การเร่ียไรตามระเบียบน้ี

(๕) กําหนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีดาํ เนินการ
กับส่ิงของท่ีหน่วยงานของรัฐได้รับมาจากการเร่ียไร
โดยฝ่าฝืนหรอื ไมป่ ฏิบตั ิตามระเบียบนี้

(๖) ให้คําปรึกษาแก่หน่วยงานของรัฐ
และเจา้ หน้าท่ขี องรฐั ในการปฏิบัติตามระเบียบนี้

(๗) มอบหมายให้ กคร. จังหวัดปฏิบัติการ

อ่ืนใดตามท่ีเห็นสมควร

38 ๔๓

 

(๘) ปฏิบัติการอื่นใดตามท่ีระเบียบนี้
กําหนดให้เป็นอํานาจหน้าที่ของ กคร. หรือตามที่
คณะรฐั มนตรหี รอื นายกรัฐมนตรีมอบหมาย

เม่ือ กคร. ได้พิจารณาอนุมัติตาม (๒) แล้ว
ให้แจง้ ให้สาํ นกั งานการตรวจเงินแผ่นดินทราบดว้ ย

ข้อ ๑๓ กคร. จะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือ
คณะทํางานเพื่อพิจารณา หรือปฏิบัติการอย่างใดอย่าง
หนง่ึ ตามที่ กคร. มอบหมายก็ได้

การประชุมของคณะอนุกรรมการหรือ
คณะทาํ งานให้นาํ ขอ้ ๑๑ มาใช้บงั คบั โดยอนุโลม

ข้อ ๑๔ ให้มีสํานักงานเลขานุการ กคร.
ขึ้นในสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีมีหน้าท่ี
ปฏบิ ัตงิ านธรุ การและงานอนื่ ตามท่ี กคร. มอบหมาย

3๔9๔

 

หมวด ๓
คณะกรรมการควบคุมการเร่ยี ไรจงั หวดั

ข้อ ๑๕ มคี ณะกรรมการควบคุมการเร่ียไรจังหวัด
ในทุกจังหวัด ยกเว้นกรุงเทพมหานคร เรียกโดยย่อว่า
“กคร. จังหวัด” โดยออกนามจังหวัดน้ัน ประกอบด้วย
ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานกรรมการ รองผู้ว่า
ราชการจังหวัดที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายหน่ึงคน
ปลัดจังหวัด อัยการจังหวัดท่ีผู้ว่าราชการจังหวัด
แต่งต้ังหน่ึงคน หัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวัด
ของสํานักงานตํารวจแห่งชาติ ศึกษาธิการจังหวัด
สรรพากรจังหวัด สาธารณสุขจังหวัด นายก
เทศมนตรีนครหรือนายกเทศมนตรีเมืองท่ีเป็นที่ตั้ง
จังหวัด ผู้แทนหอการค้าจังหวัด ผู้แทนสมาคมหรือ
ชมรมธนาคารพาณิชย์จังหวัด ผู้แทนสภาอุตสาหกรรม
จังหวัด บุคคลอื่นซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งอีก

๔๕

40

 

ไม่เกินสามคน เป็นกรรมการ และหัวหน้าส่วน
ราชการประจําจังหวัดซ่ึงผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งต้ัง
หนง่ึ คนเปน็ กรรมการและเลขานุการ

กคร. จังหวัดจะแต่งต้ังเจ้าหน้าท่ีของรัฐภายใน
จังหวัดจํานวนไมเ่ กินสองคนเปน็ ผูช้ ว่ ยเลขานกุ ารกไ็ ด้

ข้อ ๑๖ ให้ กคร.จังหวัดมีหน้าที่ช่วย กคร.
ป ฏิ บั ติ ก า ร ใ น จั ง ห วั ด แ ล ะ ใ ห้ มี อํ า น า จ ห น้ า ที่
ดังต่อไปนี้

(๑) พิจารณาอนุมัติให้หน่วยงานของรัฐ
ท่ีประสงค์จะทําการเร่ียไรหรือเข้าไปมีส่วนเก่ียวข้อง
กับการเรี่ยไรภายในจังหวัด จัดให้มีการเรี่ยไรหรือ
เข้าไปมีส่วนเก่ียวข้องกับการเร่ียไรตามหลักเกณฑ์ท่ี
กาํ หนดไวใ้ นระเบยี บน้ี

4๔1๖

 

(๒) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามท่ีระเบียบน้ี
กําหนดให้เป็นอํานาจหน้าท่ีของ กคร. จังหวัด หรือ
ตามที่ กคร. มอบหมาย

เมื่อ กคร. จังหวัด ได้พิจารณาอนุมัติตาม (๑)
แล้วให้แจ้งหน่วยงานของสํานักงานการตรวจเงิน
แผ่นดินในภมู ภิ าคน้ันและรายงาน กคร. ให้ทราบดว้ ย

ข้อ ๑๗ ให้นําความในข้อ ๙ ข้อ ๑๐ ข้อ ๑๑
และข้อ ๑๓ มาใช้บังคับกับวาระการดํารงตําแหน่ง
และการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการซ่ึงผู้ว่าราชการ
จังหวัดแต่งตั้งการประชุม กคร. จังหวัด และการ
แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานโดย
อนุโลม

42 ๔๗

 

หมวด ๔
หลกั เกณฑก์ ารเรยี่ ไร

ข้อ ๑๘ การเร่ียไรหรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้อง
กับการเร่ียไรท่ี กคร. หรือ กคร. จังหวัด แล้วแต่กรณี
จะพิจารณาอนุมัติให้ตามข้อ ๖ ได้นั้นจะต้องมี
ลักษ ณ ะและวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใด
ดงั ต่อไปนี้

(๑) เป็นการเร่ียไรที่หน่วยงานของรัฐเป็น
ผู้ดําเนินการเพ่ือประโยชน์แก่หน่วยงานของรัฐ
นนั้ เอง

(๒) เป็นการเร่ียไรท่ีหน่วยงานของรัฐ
เป็นผู้ดําเนินการเพื่อประโยชน์แก่การป้องกันหรือ
พฒั นาประเทศ

(๓) เป็นการเรี่ยไรที่หน่วยงานของรัฐเป็น
ผดู้ าํ เนนิ การเพ่ือสาธารณประโยชน์

๔4๘3


Click to View FlipBook Version