The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวทางการรังวัดโดยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์ (RTK GNSS Network) (ปี 2563)

กองเทคโนโลยีทำแผนที่ (KM ปี 2563)

Keywords: ด้านการรังวัดและทำแผนที่

บทที่ 6
แนวทางการปฏิบัติงานรงั วัดภาคสนาม

6.1 การเลือกตาํ แหนงรับสัญญาณดาวเทียมและหลักเกณฑการรับสัญญาณดาวเทียม
6.1.1 การเลือกตําแหนงรับสัญญาณดาวเทียม
GNSS (Global Navigation Satellite System) เปนระบบท่ีใชในการหาคาพิกัดโดยการรับ

สัญญาณดาวเทยี ม โดยดาวเทยี มจะสงสัญญาณคล่ืนวิทยุลงมายังพื้นโลก เมื่อเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียม
รับสัญญาณจากดาวเทียมไดแลว จะนําเอาขอมูลตาง ๆ ท่ีไดไปประมวลหาตําแหนง ณ จุดที่เครื่องรับ
สญั ญาณต้ังอยู ประกอบดวยสวนประกอบ 3 สวนหลกั ๆ ไดแก สวนอวกาศ สวนควบคุม และสวนผูใช
ระบบดาวเทียมปจ จุบันไดมกี ารพัฒนาระบบดาวเทียมขึ้นมาหลายระบบ เชน GPS, GLONASS, BeiDou,
Galileo, QZSS เปนตน

รปู ภาพแสดงการหาตําแหนง โดยการรบั สญั ญาณดาวเทยี ม
กรมที่ดิน ไดนําระบบการรังวัดดวยดาวเทียมมาใชในการรังวัด เพื่อใหไดคาพิกัดที่มี
ความละเอยี ดถูกตอ งอยใู นเกณฑท ่ีกาํ หนด ซ่งึ มีปจจยั หลักท่ีมีผลตอความคลาดเคล่อื นของคา พกิ ัด ไดแ ก
 ความคลาดเคล่ือนเก่ียวกับดาวเทียม ตัวอยางเชน นาฬิกาดาวเทียม ขอมูลวงโคจรดาวเทียม
 ความคลาดเคล่ือนเกี่ยวกับการแพรกระจายสัญญาณดาวเทียม ตัวอยางเชน คลื่นหลายวิถี
การหกั เหในชน้ั บรรยากาศ การเกดิ คล่นื หลุด
 ความคลาดเคลือ่ นเกีย่ วกับเครอื่ งรับสัญญาณ ตัวอยางเชน นาฬิกาเครื่องรับ สัญญาณรบกวน
ในเครอื่ งรับ

62
 6-2

รูปภาพแสดงความคลาดเคลื่อนของการรบั สญั ญาณดาวเทียม
(ทมี่ า : https://www.semanticscholar.org/paper/GNSSCarrierPhaseAnomalyDetection

andValidationWonAhn/0c33d8145500b5bd0f360006fb1ef63f04610e67)
สําหรับความคลาดเคลื่อนท่กี ลาวมาขา งตน บางปจจยั สามารถควบคมุ ไดโดยการเลือกตําแหนง

รับสัญญาณดาวเทยี ม ตัวอยา งเชน
 ความคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับสัญญาณรบกวนเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียม ตัวอยา งเชน

บรเิ วณสายไฟฟาแรงสูง เสาโทรศัพท หมอแปลงไฟฟา เพราะบริเวณดังกลาวมีสนามแมเหล็กไฟฟา
ซึ่งไปรบกวนสัญญาณดาวเทียมที่สงมายังเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม ทําใหคาพิกัดที่คํานวณได
มีความคลาดเคล่อื นสูง

รปู ภาพแสดงตาํ แหนงใกลหมอแปลงไฟฟา ซงึ่ เปนตําแหนง ท่ีไมเหมาะสมในการรบั สญั ญาณดาวเทยี ม

 6 6- 33

รูปภาพแสดงบรเิ วณเสาสัญญาณตาง ๆ ซ่ึงเปนตาํ แหนงที่ไมเหมาะสมในการรับสญั ญาณดาวเทยี ม
 คล่ืนหลายวิถี (Multipath) คือ การแพรกระจายของคล่ืนท่ีมีการสะทอนบนพ้ืนผิวตั้งแต

หนง่ึ คร้ังขึ้นไป พ้นื ผวิ ที่สะทอ นอาจอยูในแนวด่งิ ราบ หรือ เอียง เชน ตกึ อาคาร แหลงนํ้าขนาดใหญ

รูปภาพแสดงคลน่ื หลายวถิ ี (Multipath)

66-4 4


รปู ภาพแสดงตําแหนงใกลแหลง น้าํ ซ่งึ อาจทาํ ใหเกิดคลื่นหลายวิถีได
 ควรเลือกบริเวณท่ีไมมีสิ่งบดบัง (obstruction) เพ่ือใหสามารถรับสัญญาณดาวเทียม
และรูปแบบของดาวเทียมมีการกระจายตัวที่ดี ซ่ึงถาการกระจายตัวของดาวเทียมมีตําแหนงทางเรขาคณิต
ทไ่ี มดี ทําใหคาพกิ ัดมคี วามคลาดเคลือ่ นสงู สามารถสงั เกตไดจ ากคา PDOP คายิ่งนอยย่ิงดี ตามระเบียบ
กรมทด่ี นิ วา ดว ยการรงั วัดทําแผนท่ีโดยวิธีแผนทชี่ ัน้ หนง่ึ ดวยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน
(RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562 กาํ หนดใหคา PDOP ไมเกนิ 5.0

รปู ภาพแสดงรปู แบบของดาวเทียมทม่ี ีการกระจายตวั ท่ีดี

 66- 55

ตกึ

รูปภาพแสดงรปู แบบของดาวเทียมท่ีมีการกระจายตวั ท่ีไมด ี
(ท่มี า: https://www.agsgis.com/WhatisPDOPAndWhyitsObsolete_b_43.html)

6.1.2 หลักเกณฑการรับสญั ญาณดาวเทยี ม
ตามระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการรังวัดทําแผนที่โดยวิธีแผนท่ีชั้นหน่ึงดวยระบบโครงขาย
การรังวดั ดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562 กําหนดใหมีเง่ือนใขในการรังวัด
ตามภาคผนวก ข. ดงั นี้
 PDOP คือ คาท่ีบง ชี้ถึงความถูกตองของตําแหนงการกระจายตัวของดาวเทียมในสามมิติ
โดยท่ีคา PDOP ย่ิงนอย คาความถูกตองของการรังวัดตําแหนงยิ่งดี ตามระเบียบฯ คา PDOP ขณะทํา
การรังวดั ไมเกนิ 5.0

รปู ภาพแสดงตัวอยางคาความถกู ตองของตําแหนง

 66 -6 6
 จํานวนดาวเทียม คือ การแสดงถึงจํานวนดาวเทียมท่ีเครื่องรับสัญญาณรับสัญญาณได ณ

เวลาใด ๆ ถา ตาํ แหนงทร่ี ับสญั ญาณมกี ารบดบงั จะทาํ ใหร บั สัญญาณดาวเทียมไดจํานวนนอย ซึ่งจํานวน
ดาวเทยี มยิ่งนอยความคลาดเคล่อื นยิง่ มาก

รปู ภาพแสดงตวั อยางแสดงจาํ นวนดาวเทียม
 Horizontal Error คอื คา ความคลาดเคล่ือนทางราบ เปนตัวช้ีวัดอยางหนึ่งวา ถาการรับ
สัญญาณดาวเทยี มเมอื่ มีการเลือกตาํ แหนงท่ีดี คาพกิ ดั จะมีความคลาดเคลื่อนนอย ตามระเบียบฯ คา Horizontal
Error มคี าไมเกนิ 3.0 เซนติเมตร

รูปภาพแสดงคา ความคลาดเคลอื่ นทางราบ

 6 6- 77
 ฟก ซ (Fix) คอื สถานะของการรับสญั ญาณดาวเทียม ซึ่งจํานวนลูกคลื่นไดถูกคํานวณแลว

และไดผลลัพธเปนจาํ นวนลูกคลื่นเต็มลูกคล่ืน ตามระเบียบฯ ขณะทําการรับสัญญาณดาวเทยี มสถานะ
ตอ งเปน ฟก ซ

รูปภาพแสดงสถานการณรับสัญญาณดาวเทียม
6.2 กรณกี ารรบั สญั ญาณดาวเทียมโดยตรงที่หลักเขตท่ีดิน

ระเบียบกรมที่ดนิ วาดว ยการรังวัดทําแผนที่โดยวิธีแผนท่ีชั้นหน่ึงดวยระบบโครงขายการรังวัด
ดว ยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562 กาํ หนดใหสามารถทําการรังวัดโดยระบบ
โครงขายดาวเทียมแบบจลนไดโดยตรงที่หลักเขตที่ดิน เพราะเปนวิธีใหคาความถูกตองเชิงตําแหนงถูกตอง
มากท่สี ุด

6.2.1 การเลอื กตาํ แหนง ในการรับสัญญาณดาวเทียมโดยตรงบนหวั หลกั เขตทด่ี นิ ไดแ ก
 พื้นท่ีบรเิ วณน้ัน โลง ไมมีสิ่งบดบงั ไมมวี ตั ถสุ ะทอน และใกลสิ่งรบกวนคลน่ื สญั ญาณดาวเทียม
 พน้ื ที่บริเวณนั้น สามารถต้ังขา Tripod (สามขา) ได
 พน้ื ทีท่ ําการรับสญั ญาณดาวเทยี มตองมีสัญญาณอนิ เทอรเน็ต

68
 6-8

หลักเขตทีดนิ
รูปภาพแสดงการเลือกตําแหนงในการรบั สัญญาณดาวเทียมโดยตรงบนหัวหลักเขตท่ดี ิน

6.2.2 เงื่อนไขและข้ันตอนการรังวัด อางอิงจากภาคผนวก ข. ของระเบียบกรมที่ดิน วาดวย
การรงั วัดทาํ แผนทโ่ี ดยวธิ ีแผนทช่ี ้นั หนึ่งดว ยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS
Network) พ.ศ. 2562 ขอ ที่ 2. ดงั น้ี

1) ใชวธิ ีการรงั วัดตามรูปแบบหมดุ ดาวเทยี ม RTK Network โดยรับสัญญาณทุก 1 วินาที
และไดขอมูลการรบั สัญญาณดาวเทยี ม ไมนอยกวา 60 วนิ าที อยา งตอเนื่อง จาํ นวน 3 ครง้ั

2) การรับสัญญาณดาวเทียมโดยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน ณ สถานีจร
ใหใ ชเครื่องรบั สญั ญาณดาวเทียมประกอบขากลอง ต้งั ใหตรงศนู ยก ลางหมุดหลกั เขตท่ีดิน

3) กอ นการรับสัญญาณดาวเทียมทุกคร้ัง ใหปดเครือ่ งแลว เปดเครื่องใหม เพื่อใหเคร่ืองรับ
สญั ญาณมีสภาพเริ่มตนการทาํ งานใหม โดยคาความแตกตางของคาพิกัดตองอยูในเกณฑความคลาดเคล่ือน
เชงิ ตาํ แหนงในทางราบ ± 4 เซนตเิ มตร และใหใชค า เฉลี่ย

4) เมือ่ ทาํ การรับสัญญาณแลวเสรจ็ ใหพจิ ารณาหลกั เกณฑตามหัวขอ 6.1.2
5) กรณีที่ทําการรงั วดั โดยรับสัญญาณดาวเทียมโดยตรงท่ีหลักเขตที่ดิน ใหถายภาพขณะทํา
การรังวัด หลักเขตละอยางนอย 1 ภาพ และอัปโหลด (Upload) ภาพถายดังกลาว เขาสูสถานีควบคุม
(Control Station)

 6 6- 99

รูปภาพแสดงการรบั สญั ญาณดาวเทียมบนหมดุ หลักเขต
6.3 กรณกี ารรงั วัดโยงยึดหลกั เขตทด่ี นิ จากหมุดดาวเทยี ม RTK Network

การรังวัดแปลงที่ดินเพื่อรังวัดโยงยึดหลักเขตที่ดินจากหมุดดาวเทียม RTK Network
ตามระเบียบกรมท่ีดิน วาดวยการรังวัดทาํ แผนท่ีโดยวิธีแผนท่ีชั้นหนึ่งดวยระบบโครงขายการรังวัด
ดว ยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562 ควรทาํ การวางแผนการรับสัญญาณในพ้ืนที่
เพ่อื ใหการรังวัดเปนไปตามระเบียบฯ และมีความถูกตอง โดยเลือกใชรูปแบบวิธีการรังวัดใหเหมาะสม
กับสภาพพ้ืนที่บรเิ วณโดยรอบของแตละหมดุ หลกั เขตท่ดี นิ เพือ่ ใหไ ดม าซ่ึงคาพิกัดของหมุดหลักเขตที่ดิน
ท่มี คี วามถกู ตอง ควรเลือกใชร ปู แบบวิธีการรังวัดท่ีทําใหเกิดคาความคลาดเคล่ือนท่ีนอยกวา โดยเฉพาะ
แปลงที่ดินที่มีขนาดใหญอาจจําเปน ตอ งใชว ิธกี ารรงั วัดหลายรปู แบบผสมกัน

ตวั อยางดังรปู เปน พื้นที่สลับซับซอนมีหลักเขตที่ดินอยู 5 หมุด ท่ีตองทําการรังวัดตามระเบียบ
กรมท่ีดิน วา ดวยการรังวัดทําแผนที่โดยวิธีแผนทช่ี ้นั หนึง่ ดวยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน
(RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562

 66 -1010

รูปภาพแสดงแปลงทีด่ นิ และหมุดหลกั เขตท่ีดินโดยรอบที่ตอ งดาํ เนินการตามระเบยี บฯ
ในการดาํ เนินการตามระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการรังวัดทาํ แผนที่โดยวิธีแผนที่ช้ันหน่ึง

ดวยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562 ในแตละวัน
กอนท่ีจะไปทําการรังวัดในพ้ืนท่ี ตองทําการรับสัญญาณดาวเทียมที่หมุดตรวจสอบ RTK Network
สวนใหญจะอยูในบริเวณสาํ นักงานที่ดินที่อยูใกลกับพื้นที่แปลงที่ดินที่จะทําการรังวัดเพ่ือทดสอบระบบ
คาพกิ ดั ของการรับสัญญาณดาวเทียมดวยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน วายังใชงาน
ไดปกติหรือไม และเปนการทดสอบเครื่องมือรับสัญญาณดาวเทียมกอนที่จะออกไปในพื้นที่งานรังวัด
วายังใชงานไดปกติหรือไมเชนกัน โดยจะสังเกตไดจากคาพิกัดที่ไดจากเคร่ืองมือรับสัญญาณดาวเทยี ม
เมื่อเปรียบเทียบกับคาพิกัดของหมุดตรวจสอบ RTK Network จะตองมีคาความแตกตางทางระยะราบ
ไมเกิน 4 เซนติเมตร และคาความแตกตางของคาระดับจะตางกันในระดับ 10 เซนติเมตร จึงจะมั่นใจ
ไดวาการปฏิบัติงานรังวัดดวยระบบดาวเทียม RTK GNSS Network ในแปลงที่ดินวันน้ัน จะไดคาพิกัด
ท่ีถูกตองไมผ ดิ เพ้ยี นไป

6  11
 6 - 11

การรบั สญั ญาณดาวเทยี มท่ีหมดุ ตรวจสอบ RTK Network
 รบั สญั ญาณดาวเทยี มสถานะฟกซ (Fixed) อยางนอย 1 ครั้ง คร้ังละไมตํ่ากวา 60 วนิ าที
 จํานวนดาวเทียมตั้งแต 5 ดวงข้ึนไปและคาเรขาคณิตของดาวเทยี ม PDOP ไมเกิน 5
 คา ความคลาดเคลอื่ นทางราบ Horizontal Error ไมเกิน 3 เซนติเมตร
 อตั ราการบนั ทกึ ขอ มูลดาวเทียม (Epoch rate) เทากบั 1 epoch/วนิ าที
 เมื่อนาํ คาพิกัดรับสัญญาณดาวเทียมที่ไดไปเปรียบเทียบกับคาพิกัดหมุดตรวจสอบ

RTK Network จะมีคา ตา งกันทางระยะราบ ไมเ กนิ 4 เซนตเิ มตร
 คาระดับของคาพิกัดรับสัญญาณดาวเทียมท่ีไดเมื่อเปรียบเทียบกับคาพิกัดหมุดตรวจสอบ

RTK Network จะตางกันในระดับ 10 เซนติเมตร ถามีคาระดับแตกตางกันในระดับเมตร
ตองทําการต้ังคาเคร่ืองใหมีการทอนคาระดับใหเปนคาระดับท่ีอางอิงบนระดับนํ้าทะเล
ปานกลางกอนทําการรังวัด

รปู ภาพแสดงภาพ QRCode เพือ่ ลิงกไปดูวิดีโอประกอบเพ่ิมความเขา ใจ

6  12
 6 - 12

การวางแผนกําหนดวิธีทําการรังวัดใหเหมาะสมในแตละหลักเขตท่ีดิน ข้ึนอยูกับการออกแบบ
ของชา งที่ทําการรังวัด ในแตละบุคคลอาจเลือกใชรูปแบบวิธีการท่ีแตกตางกัน ในที่น้ีจะออกแบบวิธีการ
รังวดั ใหครบทกุ รปู แบบ เพ่ือจะไดใชเปน แนวทางเบอื้ งตน ในการวางแผนงาน ดงั น้ี

รปู แบบท่ี 1 (หมดุ หลักเขตที่ดนิ ที่ 1) รบั สัญญาณดาวเทยี มทห่ี ัวหมดุ หลกั เขตที่ดิน
รูปแบบที่ 2 (หมุดหลกั เขตที่ดิน ท่ี 2) รังวัดโยงยึดออกจากหมุดดาวเทยี ม RTK Network
รูปแบบท่ี 3 (หมุดหลกั เขตที่ดนิ ท่ี 3) สรางหมดุ ลอยออกจากหมดุ ดาวเทียม RTK Network
แลว ใชห มดุ ลอยทาํ การรงั วดั โยงยดึ หมดุ หลักเขตทด่ี ิน
รูปแบบที่ 4 (หมุดหลักเขตท่ดี ิน ท่ี 4) รังวดั โยงยึดออกจากหมดุ เสน โครงงานหมุดหลักฐานแผนท่ี
รปู แบบท่ี 5 (หมดุ หลกั เขตที่ดนิ ท่ี 5) สรางหมดุ ลอยออกจากหมุดเสนโครงงานหมุด
หลักฐานแผนที่ แลวใชห มุดลอยทําการรังวดั โยงยดึ หมุดหลักเขตท่ีดิน

รูปภาพแสดงแผนการรงั วัดหมุดหลกั เขตท่ดี ินในรูปแบบตา ง ๆ ตามระเบียบกรมที่ดิน
วาดวยการรังวัดทําแผนที่โดยวิธีแผนท่ีช้ันหนึ่งดว ยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทยี มแบบจลน

(RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562

 66- 1133
รปู แบบที่ 1 (หมดุ หลักเขตท่ีดิน ที่ 1) รับสญั ญาณดาวเทียมทีห่ ัวหมดุ หลักเขตทด่ี ิน
ซ่ึงรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบตั งิ านไดกลา วแลวในหัวขอ 6.2

รูปภาพแสดงวิธีการรับสญั ญาณดาวเทียมทีห่ วั หมุดหลักเขตทดี่ นิ
กอนที่จะทําการรังวัดตามรูปแบบท่ี 2 และรูปแบบที่ 3 สิ่งที่ตองทําเปนข้ันตอนแรก คือ
สรา งคูห มดุ ดาวเทียม RTK Network โดยตองสรา งอยางนอย 1 ชุด แตละชุดประกอบดวยหมุดดาวเทียม
อยา งนอย 2 หมุด

รูปภาพแสดงการสรางหมุดดาวเทียม ชุดละ 2 หมดุ หรือมากกวานั้น

6  14
 6 - 14

วธิ สี รางคหู มดุ ดาวเทียม RTK Network

รูปภาพแสดงการฝง หมุดดาวเทยี ม เลือกสถานทีฝ่ งหมดุ ใหม ีพื้นที่โลงและรับสัญญาณดาวเทียม
ไดดีโดยรอบในทุกดานใหมากท่ีสุด ใหหางจากจุดท่ีมีคลื่น
แมเหล็กไฟฟาพอสมควร เพ่ือจะทําใหมีโอกาสไดคาพิกัดท่ีมี
ความถูกตองอยางรวดเร็วยิ่งขึ้น โดยใหมีระยะหางภายใน
คูหมุดดาวเทียม ไมตํา่ กวา 100 เมตร และใหใชกลองสํารวจ
ทาํ การวัดระยะหางทางราบภายในคูหมุดดาวเทียม ซ่ึงกอน
จะทาํ การวัดระยะทางราบใหท าํ การต้ังคาคงท่ีของกลองสํารวจ
ในเร่ืองคาคงที่ของเปา ปรซิ มึ PC (Prism Constant) ใหถูกตอง
ตรงตามรุนของปริซึมนั้น ท้ังน้ี ตองดูรายละเอียดตามคูมือ
ของบริษทั ผูผ ลิตเปา ปริซมึ โดยเปา ปรซิ ึมทพ่ี บสวนใหญจะมี
คาคงท่ีของเปาปริซึม PC = 0 หรือ PC = 30 สังเกตได
ตามรปู ขา งลาง

รปู ภาพแสดงการตง้ั คาคงที่ของปริซึมและการวดั ระยะทางราบของคหู มุดดาวเทียม RTK Network

6  15
 6 - 15

ถาจะสรา งหมุดดาวเทียม RTK Network ที่มีระยะหางภายในคูหมุดส้ันกวา 100 เมตร
ตองไดรับการพจิ ารณาอนญุ าตจากหัวหนาฝา ยรังวดั หรอื ผูมหี นา ทีค่ วบคมุ การรังวัด แตตองมีระยะไมน อยกวา
50 เมตร ควรถายรูปแนบประกอบการพจิ ารณา แลว ใหท าํ เชนสนาม ร.ว. 31 ง ดว ย

รูปภาพแสดงการถา ยรูปประกอบการขออนุญาตสรา งคูห มุดดาวเทยี มทีม่ รี ะยะสัน้ กวา 100 เมตร

รูปภาพแสดงการสรางคหู มดุ ดาวเทยี ม จาํ นวน 2 คู ในแปลงรังวดั ทด่ี นิ เดียวกนั

6  16
 6 - 16

การรบั สัญญาณคูหมดุ ดาวเทยี ม RTK Network

รูปภาพแสดงการรับสัญญาณดาวเทียมและเกณฑใ นการรับสญั ญาณดาวเทยี ม

6  17
 6 - 17

การตรวจสอบระยะภายในคูหมุดดาวเทียม RTK Network
การปฏิบัติงานรังวัด RTK GNSS Network หลายทานอาจจะละเลยการตรวจสอบระยะ
ภายในคูหมุดดาวเทียมในสนามวาไดผานเกณฑการตรวจสอบทางระยะหรือไม ซึ่งการรังวัดสวนใหญ
ก็จะผา นเกณฑน้ีไดไ มย าก แตในบางคร้ังเมื่อนําเขาขอมูลดาวเทียมเขาระบบถาระยะไมผานเกณฑอาจจะ
ทําใหตองกลับไปตรวจสอบในสนามอีกครั้งหน่ึง ในหัวขอนี้จะแนะนําการตรวจสอบระยะในสนามและ
ขอแนะนาํ ในการทาํ งานเพ่อื ใหค าผา นเกณฑการตรวจสอบทางระยะไดโดยงา ยขึน้
เมอ่ื ทาํ การรับสัญญาณคูหมดุ ดาวเทยี มผา นเกณฑเ บอื้ งตน ของแตล ะหมุดแลว ควรทําการหาคา
ระยะกริดทางราบของคูหมุดดาวเทียม (ระยะแผนที่) ซ่ึงในเครื่องควบคุม Controller จะมีฟงกชัน Inverse
ในการหาคาดังกลาว เม่ือไดระยะแผนทแี่ ลวใหท ําการหาระยะจรงิ ซง่ึ ในเครือ่ งควบคุม Controller จะมี
ฟง กช นั Apply Grid to Ground จะทําใหทราบคาระยะจริง

รูปภาพแสดงความสัมพนั ธร ะหวา งระยะกรดิ กับระยะจรงิ จากการคาํ นวณของคาพิกดั ดาวเทียม
เพือ่ นําไปเปรียบเทยี บกับระยะตรวจสอบที่ไดจาการวัดระยะราบของกลองสํารวจ

6  18
 6 - 18

ใชกลองสํารวจวัดระยะราบภายในคูหมุดดาวเทียม โดยตองทาํ การต้ังคาคงที่ปริซึม PC
(Prism Constant) ในกลองสํารวจใหถูกตอง ถาไมถูกตองจะทาํ ใหการวัดระยะในแตล ะครั้งผิดพลาด
หลายเซนติเมตร แลวใหนําระยะจริงภายในคูหมุดดาวเทียมมาเทียบกับระยะราบจากการสองกลอง
จะยอมรบั ใหต า งกันไดไ มเ กินเกณฑ 1 :3,000 ถาผานเกณฑในสนาม เม่ือไดนําขอมูลดาวเทียมเขาสูระบบ
ในรายงานการตรวจสอบความถูกตอ งของระยะ (ร.ว. 80 ข) จะสรปุ ใหวา “ผา น”

รปู ภาพแสดงตวั อยางรายงานการตรวจสอบความถูกตองทางระยะภายในคหู มดุ ดาวเทยี ม
ถาระยะขา งตน มคี วามแตกตางมากกวาเกณฑ 1 :3,000 ใหตรวจสอบท้ังการวัดระยะของกลอง

และการรับสัญญาณดาวเทียม บางทีระยะกลองอาจจะผิดพลาด หรือบางครั้งคาพิกัดดาวเทียมที่มี
ความแมน ยําสูง แตมคี วามถูกตองไมดีพอ ปญหานี้มักเกดิ จากการรบั สัญญาณในชว งท่สี ภาพอากาศแปรปรวน
ขอแนะนําเน่ืองจากหมุดดาวเทียมมีความคลาดเคล่ือนท่ีจํากัดไมเกินเฉลี่ยทางราบ (HRMS) ควรสรางคู
หมดุ ดาวเทยี มใหม รี ะยะภายในคูหมุดทยี่ าวขน้ึ จะไดเพ่มิ คา ความถูกตอง (Accuracy) ทางระยะดวย มีผล
ทําใหระยะภายในคูหมุดดาวเทียมผานเกณฑการตรวจสอบ 1 :3,000 งายขึ้นและทิศทางของคหู มดุ
ดาวเทยี มทเี่ ปน ธงหลังจะมีความถูกตองสูงตามไปดวย ตัวอยางเชน ถาคูหมุดดาวเทียมมีระยะ 100 เมตร
เกณฑย อมรบั ใหระยะราบของกลองตางจากระยะจริงของคูหมุดดาวเทียมไดประมาณ 3.3 เซนติเมตร
แตถ าคูหมุดดาวเทียมมีระยะ 200 เมตร จะยอมใหระยะราบของกลองตางจากระยะจริงของคูหมุดดาวเทียม
ไดถึงประมาณ 6.6 เซนติเมตร ซึ่งทําใหผานเกณฑไดงายกวา ดังนั้น ระยะหมุดธงหลังยิ่งยาวมากยิ่งดี
แตการรังวัดระยะหมุดธงหนาจะมีคาความคลาดเคลื่อนแปรผันตามความยาวของระยะ เชน ถาความผิด
ทางมุม 60 ฟลิปดา ท่ีระยะ 100 เมตร จะมีคาความคลาดเคล่ือน 2.9 เซนติเมตร ดังนั้น ระยะหมุดธงหนา
ไมค วรเกนิ ระยะหมดุ ธงหลัง เพราะไมต องการใหเ กดิ คาความคลาดเคลือ่ นทีม่ ากกวา

รปู ภาพแสดงคาความคลาดเคล่ือนแปรผนั ตามระยะของหมุดธงหนา

 66- 19

19

รูปแบบที่ 2 (หมุดหลักเขตท่ีดิน ที่ 2) รังวัดโยงยึดออกจากหมุดดาวเทียม RTK Network
การรังวัดโยงยึดออกจากหมุดดาวเทียม RTK Network ตองมีระยะระหวางหมุดดาวเทียม
RTK Network แรกออกถึงหมุดหลักเขตที่ดินไมเกินระยะของคูหมุดดาวเทียม RTK Network ท่ีใชเปนฐาน
และตอ งไมเ กนิ กวา 200 เมตร ควรสองกลองทั้งกลองหนาซายและหนาขวาเพื่อขจัดความคลาดเคล่ือน
ของแกนด่ิงของกลอง อีกท้ังเปนการตรวจสอบความผิดพลาดในการวัดมุมและใหใชคาเฉลี่ยของการวัดมุม
และระยะในการคาํ นวณ

รปู ภาพแสดงการรังวดั โยงยึดหลกั หมดุ เขตทดี่ ินจากหมดุ ดาวเทียม RTK Network โดยตรง

การใช pole รังวัดในการสองกลองเพ่ือเก็บรายละเอียดหมุดหลักเขตท่ีดิน ใหระมัดระวัง
การตง้ั pole รังวัดใหอ ยูในแนวดิ่ง ถาเปนไปไดควรใช Bipod ประกอบเขากับ pole รังวัดเพื่อใหการรังวัด
มีความถูกตอง ลดความคลาดเคล่อื นกรณีตั้ง pole ไมน ง่ิ ในแนวด่ิง

สว นการรบั สัญญาณดาวเทยี มใหใชขาตั้งกลองสามขา (tripod) จะใช pole รังวัดเพียงแค
ใชรบั สญั ญาณดาวเทยี มเพ่อื การหาคา พกิ ัดโดยวธิ กี าร Stake out

6  20
 6 - 20

รูปแบบที่ 3 (หมุดหลักเขตที่ดิน ท่ี 3) สรางหมุดลอยออกจากหมุดดาวเทียม RTK Network
แลว ใชห มดุ ลอยทาํ การรงั วัดโยงยดึ หมุดหลักเขตที่ดนิ

กรณไี มสามารถทาํ การรังวัดโยงยึดหมุดหลักเขตที่ดินจากหมุดดาวเทียม RTK Network
โดยตรงได เน่อื งจากมีระยะระหวางหมดุ ดาวเทียม RTK Network แรกออกถึงหมุดหลักเขตท่ีดิน เกินกวา
ระยะของคูหมุดดาวเทียม RTK Network ที่ใชเปนฐาน หรือระยะระหวางหมุดดาวเทียม RTK Network
แรกออกถึงหมุดหลักเขตที่ดิน เกินกวา 200 เมตร สามารถสรางหมุดลอยได แตใชในกรณีท่ีจําเปนเทานั้น
และตองไดร ับการอนุมัตจิ ากหัวหนา ฝายรงั วดั หรอื ผูมีหนาทีค่ วบคุมการรังวัด โดยจะตองมีระยะระหวาง
หมุดดาวเทียม RTK Network แรกออกถึงหมุดลอยไมเกินกวาระยะของคูหมุดดาวเทียม RTK Network
ท่ีใชเปนฐาน และตองไมเกินกวา 200 เมตร ควรสองกลองท้ังกลองหนาซายและหนาขวา เพื่อขจัด
ความคลาดเคลื่อนของแกนดิ่งของกลอง อีกทั้งเปนการตรวจสอบความผิดพลาดในการวัดมุมและใหใช
คา เฉลยี่ ของการวัดมมุ และระยะในการคํานวณ

รปู ภาพแสดงการสรา งหมุดลอยออกจากหมดุ ดาวเทยี ม RTK Network
หลังจากน้ัน ใชหมุดลอยนี้เพ่ือการรังวัดโยงยึดหมุดหลักเขตที่ดิน โดยใหมีระยะระหวาง
หมุดลอยถึงหมุดหลักเขตที่ดิน ไมเกินกวาระยะระหวางหมุดดาวเทียม RTK Network แรกออกถึงหมุดลอย
และตองไมเกินกวา 100 เมตร ควรสองกลองทั้งกลองหนาซายและหนาขวาเพ่ือขจัดความคลาดเคลื่อน
ของแกนด่ิงของกลอง อีกท้ังเปนการตรวจสอบความผิดพลาดในการวัดมุมและใหใชคาเฉล่ียของการวัดมุม
และระยะในการคาํ นวณ

6  21
 6 - 21

รูปภาพแสดงการโยงยึดหมดุ หลักเขตท่ดี นิ จากหมุดลอยที่ออกจากหมดุ ดาวเทียม RTK Network

6  22
 6 - 22
6.4 กรณีการรังวดั โยงยดึ หลกั เขตท่ดี นิ จากหมดุ หลักฐานแผนท่เี สนโครงงานเพ่อื เกบ็ รายละเอยี ด

ขอ แนะนาํ เพ่อื เปน แนวทางเพิม่ ความถูกตอ งในการรังวดั ของแปลงที่ดินท่ดี ีข้นึ
คูห มุดดาวเทียมที่ใชออกและเขาบรรจบเสนโครงงาน ควรมีคาความถูกตองอยูในเกณฑ
1 :5,000 เทียบเทามาตรฐานการวางโครงหมุดหลักฐานแผนที่ยอยของกองเทคโนโลยีทาํ แผนท่ี โดยมี
รายละเอียดพอสังเขป ดงั น้ี
 ควรใชก ลองวดั มุมท่อี านไดละเอยี ดโดยตรง 1 ฟลปิ ดา
 ควรมีจํานวนชุดของการวัดมมุ อยา งนอยไมตํา่ กวา 3 ชดุ
 ควรมีคาความแตกตางของมุมในแตละชุดเม่ือเทียบกับคาเฉลี่ยของมุมทั้งหมดจะตอง

ไมเ กิน 5 ฟลปิ ดา

 ความคลาดเคลื่อนทางมุม (Angular Error) ไมควรเกิน 30′′ N โดยท่ี N = จํานวนหมุด

ทต่ี ง้ั กลอง
 ความคลาดเคล่ือนบรรจบของวงรอบ (Error of Closure) ไมค วรเกนิ 1 :5,000



รปู ภาพแสดงการวางเสนโครงงานหมุดหลกั ฐานแผนทเ่ี พ่ือใชใ นการรงั วัดท่ีดนิ

6  23
 6 - 23

รปู แบบท่ี 4 (หมดุ หลักเขตทด่ี ิน ท่ี 4) รังวดั โยงยึดออกจากหมุดเสนโครงงานหมุดหลักฐานแผนท่ี
กรณที ไี่ มส ามารถทําการรงั วดั โยงยึดหลักเขตท่ีดินจากหมุดดาวเทียม RTK Network ตาม
รูปแบบท่ี 1 ถึงรูปแบบที่ 3 ได อาจตองทําการวางเสนโครงงานหมุดหลักฐานแผนท่ี ควรทําตามคําแนะนํา
ขอ 6.4 ขางตน และสามารถทาํ การโยงยึดออกจากหมุดเสนโครงงานฯ โดยตองมีระยะระหวางหมุด
เสนโครงงานฯ แรกออกถึงหมุดหลักเขตท่ีดิน ไมเกินกวาระยะเสนฐานและตองไมเกินกวา 200 เมตร
ควรสอ งกลอ งท้ังกลองหนาซายและหนาขวา เพื่อขจัดความคลาดเคลื่อนของแกนด่ิงของกลอง
อีกทง้ั เปน การตรวจสอบความผดิ พลาดในการวัดมุมและใหใ ชคาเฉล่ียของการวัดมุมและระยะในการคาํ นวณ

รูปภาพแสดงการโยงยดึ หมุดหลกั เขตทดี่ ินจากหมุดเสนโครงงานหมดุ หลักฐานแผนที่

6  24
 6 - 24

รปู แบบที่ 5 (หมุดหลกั เขตท่ดี ิน ที่ 5) สรางหมุดลอยออกจากหมุดเสนโครงงานหมุดหลักฐาน
แผนที่ แลวใชหมุดลอยทําการรังวัดโยงยึดหมุดหลักเขตท่ีดิน (การสรางหมุดลอยออกจากหมุดเสนโครงงานฯ
ไมจ าํ เปน ไมค วรทาํ เพราะจะมีความคลาดเคลื่อนสูง)

กรณีท่ีไมสามารถทําการรังวัดโยงยึดหลักเขตท่ีดินจากหมุดเสนโครงงานฯ ได เนื่องจากมี
ระยะระหวางหมดุ เสน โครงงานฯ ถึงหมุดหลักเขตที่ดินเกินกวาระยะของเสนฐาน หรือระยะระหวางหมุด
เสน โครงงานฯ แรกออกถงึ หมุดหลักเขตท่ีดิน เกินกวา 200 เมตร ใหสรางหมุดลอยแตใชในกรณีที่จําเปน
เทาน้ัน และตอ งไดรับการอนุมตั จิ ากหวั หนาฝายรังวัดหรือผูมีหนาที่ควบคุมการรังวัด โดยจะตองมีระยะ
ระหวา งหมดุ เสนโครงงานฯ แรกออกถึงหมดุ ลอยไมเ กนิ กวา ระยะเสนฐานและตอ งไมเกนิ กวา 200 เมตร

ควรสอ งกลองทั้งกลองหนาซายและหนาขวา เพ่ือขจัดความคลาดเคล่ือนของแกนด่ิงของกลอง
อีกทัง้ เปน การตรวจสอบความผดิ พลาดในการวดั มมุ และใหใชคาเฉล่ยี ของการวดั มุมและระยะในการคาํ นวณ

รูปภาพแสดงการสรา งหมดุ ลอยออกจากหมดุ เสน โครงงานหมดุ หลักฐานแผนที่

6  25
 6 - 25

การใชห มดุ ลอยที่ออกจากหมุดเสนโครงงานฯ โยงยึดหมุดหลักเขตท่ีดิน ตองมีระยะระหวาง
หมุดลอยถงึ หมุดหลักเขตที่ดนิ ไมเ กินกวา ระยะของเสนฐาน และตอ งไมเกนิ กวา 100 เมตร

ควรสอ งกลอ งท้งั กลอ งหนาซายและหนา ขวาเพ่อื ขจัดความคลาดเคล่ือนของแกนด่ิงของกลอง
อกี ท้งั เปน การตรวจสอบความผดิ พลาดในการวัดมมุ และใหใ ชคา เฉลีย่ ของการวดั มุมและระยะในการคํานวณ

5

รูปภาพแสดงการโยงยึดหมดุ หลกั เขตที่ดินจากหมดุ ลอยท่ีออกจากหมดุ เสนโครงงานหมดุ หลักฐานแผนที่

6  26
 6 - 26

การคํานวณคาความคลาดเคลอื่ นของคาพกิ ัดของหมุดหลักเขตทีด่ ิน
สืบเนอ่ื งมาจากระเบียบกรมทด่ี นิ วาดว ยการรังวัดทาํ แผนท่โี ดยวิธแี ผนที่ชน้ั หนง่ึ ดวยระบบ
โครงขา ยการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562

รูปภาพแสดงแผนผังการรังวัดโยงยึดคาพิกัดของหมุดหลักเขตท่ีดินและระยะหางระหวาง
หมุดหลักฐานแผนท่ี เพอ่ื ใชใ นการคาํ นวณคา ความคลาดเคลอื่ นของหมดุ หลกั เขตทีด่ ินในรูปแบบตา ง ๆ

รปู แบบที่ 1 (หมุดหลกั เขตที่ดนิ ท่ี 1) รับสัญญาณดาวเทียมท่หี วั หมุดหลักเขตท่ดี ิน
คาความคลาดเคล่ือนเชิงตําแหนงในทางราบของหมุดหลักเขตที่ดินตามรูปแบบท่ี 1 อางอิง
ตามระเบียบกรมท่ีดิน วาดวยการรังวัดทําแผนที่โดยวิธีแผนท่ีชั้นหน่ึงดวยระบบโครงขายการรังวัดดวย
ดาวเทยี มแบบจลน (RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562 ภาคผนวก ค. ขอ 3.1 จะมีคาไมเ กนิ 4 เซนตเิ มตร

6  27
 6 - 27

รปู แบบท่ี 2 (หมดุ หลักเขตที่ดิน ที่ 2) รังวัดโยงยดึ ออกจากหมุดดาวเทียม RTK Network
คาความคลาดเคลื่อนเชิงตําแหนงในทางราบของหมุดหลักเขตท่ีดินตามรูปแบบท่ี 2 อางอิง
ตามระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการรังวัดทําแผนท่ีโดยวิธีแผนท่ีช้ันหน่ึงดวยระบบโครงขายการรังวัดดวย
ดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562 ภาคผนวก ค. ขอ 3.2 สามารถคํานวณได
ตามขางลา งนี้

คา ความคลาดเคลื่อน = + 4 + (48.433 x 100)
10,000

= + 4.484 เซนติเมตร
รูปแบบท่ี 3 (หมุดหลักเขตท่ีดิน ที่ 3) สรางหมุดลอยออกจากหมุดดาวเทียม RTK Network
แลว ใชหมดุ ลอยทาํ การรังวัดโยงยึดหมดุ หลักเขตท่ดี นิ
คาความคลาดเคลื่อนเชิงตําแหนงในทางราบของหมุดหลักเขตท่ีดินตามรูปแบบท่ี 3 อางอิง
ตามระเบียบกรมท่ีดิน วาดวยการรังวัดทําแผนที่โดยวิธีแผนที่ช้ันหน่ึงดวยระบบโครงขายการรังวัดดวย
ดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562 ภาคผนวก ค. ขอ 3.2 สามารถคํานวณได
ตามขางลา งนี้

คา ความคลาดเคลอ่ื น = + 4 +((56.726+46.699) x 100)
10,000

= + 5.034 เซนติเมตร

6  28
 6 - 28

รูปแบบท่ี 4 (หมดุ หลกั เขตท่ีดนิ ที่ 4) รังวดั โยงยดึ ออกจากหมุดเสน โครงงานหมดุ หลักฐานแผนที่
คาความคลาดเคลื่อนเชิงตําแหนงในทางราบของหมุดหลักเขตที่ดินตามรูปแบบท่ี 4 อางอิง
ตามระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการรังวัดทําแผนท่ีโดยวิธีแผนท่ีช้ันหน่ึงดวยระบบโครงขายการรังวัดดวย
ดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562 ภาคผนวก ค. ขอ 3.3 สามารถคํานวณได
ตามขา งลา งนี้

คา ความคลาดเคล่ือน = + 4 + ((73.974+43.454) x 100)
10,000

= + 5.174 เซนตเิ มตร

รปู แบบที่ 5 (หมดุ หลกั เขตที่ดนิ ท่ี 5) สรางหมุดลอยออกจากหมุดเสนโครงงานหมุดหลักฐาน
แผนท่ี แลวใชหมดุ ลอยทําการรังวัดโยงยึดหมุดหลักเขตท่ดี นิ

คาความคลาดเคล่ือนเชิงตําแหนงในทางราบของหมุดหลักเขตที่ดินตามรูปแบบที่ 5 อางอิง
ตามระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการรังวัดทําแผนท่ีโดยวิธีแผนท่ีช้ันหน่ึงดวยระบบโครงขายการรังวัดดวย
ดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562 ภาคผนวก ค. ขอ 3.3 สามารถคํานวณได
ตามขางลา งน้ี

คาความคลาดเคลอ่ื น = + 4 + ((60.502+37.869+31.805) x 100)
10,000

= + 5.301 เซนตเิ มตร

6  29
 6 - 29

หมายเหตุ : หมุดหลักเขตทดี่ นิ ที่ไดรงั วัดตามระเบียบกรมท่ดี ิน วา ดว ยการรังวัดโดยระบบโครงขา ยการรงั วดั
ดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK Network) ในงานรังวัดเฉพาะราย พ.ศ. 2558 ซ่ึงระเบียบน้ีไดยกเลิกไปแลว
การคํานวณคา ความคลาดเคลือ่ นของหมุดหลักเขตท่ีดินดังกลาว ท่ีไดรังวัดโยงยึดหลักเขตที่ดินจากหมุด
ดาวเทียม RTK Network และที่ไดรังวัดโยงยึดจากหมุดเสนโครงงานฯ เพ่ือเก็บรายละเอียดแปลงท่ีดิน
ใหใชเกณฑความคลาดเคลื่อนตามระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการรังวัดทําแผนที่โดยวิธีแผนท่ีช้ันหน่ึงดวย
ระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562 ภาคผนวก ค. ขอ 3.2
และขอ 3.3 แทนตามลําดบั

กลาวโดยสรปุ หมดุ หลักเขตทด่ี นิ ทไี่ ดร งั วัด สืบเนือ่ งมาจากระเบยี บกรมทดี่ ิน วาดวยการรังวดั
ทาํ แผนทโี่ ดยวธิ แี ผนที่ช้ันหน่ึงดวยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network)
พ.ศ. 2562 น้ัน วิธีการรังวัดที่สงผลทําใหเกิดคาความคลาดเคลื่อนของหมุดหลักเขตท่ีดินนอยที่สุด
คอื การรับสญั ญาณดาวเทียมโดยตรงท่ีหัวหมุดหลักเขตท่ีดิน สวนวิธีการรังวัดท่ีควรระมัดระวังเปนพิเศษ
คอื การรังวัดหมุดหลักเขตที่ดินที่ไดรังวัดสืบเนื่องมาจากเสนโครงงานหมุดหลักฐานแผนท่ี เนื่องจากคา
ความคลาดเคลอ่ื นท่ีคํานวณไดตามรูปแบบท่ี 4 (หมุดหลักเขตที่ดิน ที่ 4) และตามรูปแบบท่ี 5 (หมุดหลักเขต
ที่ดิน ที่ 5) จากตัวอยางขางตน เปนเพียงแคความคลาดเคล่ือนสวนหนึ่งท่ีไดคํานวณตามระเบียบกรมที่ดิน
วาดวยการรังวัดทาํ แผนที่โดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่งดวยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน
(RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562 เทา นั้น แตความคลาดเคล่ือนแทจริงอีกสวนหน่ึงจะอยูที่ความคลาดเคลื่อน
ท่ีสะสมภายในเสนโครงงานหมุดหลักฐานแผนท่ีน้ันเอง เพราะฉะนั้นการที่จะทาํ การรังวัดตามขอ 6.4
ควรปฏิบัติตามขอแนะนําตามมาตรฐานการวางโครงหมุดหลักฐานแผนท่ียอย ของกองเทคโนโลยีทําแผนท่ี
เพื่อเปนแนวทางเพ่ิมความถกู ตองในการรงั วดั แปลงทดี่ นิ ใหด ขี ้นึ

6  30
 6 - 30

การพิจารณาคา ความคลาดเคลือ่ นของหมุดหลกั เขตที่ดินสําหรับการรงั วัดในแตล ะครั้ง
Principles of Surveying การรงั วัดทกุ ครัง้ ยอ มมีความคลาดเคล่ือนเกิดข้ึนเสมอ ในพ้ืนท่ีที่เคย

รงั วดั ดว ยระบบ RTK Network แลว หมดุ หลกั เขตทีด่ นิ เดียวกันจะมคี าความคลาดเคลือ่ นเกิดข้นึ ในการรังวัด
แตละคร้งั ใหคาํ นวณคาความคลาดเคลื่อนเชิงตําแหนงจากการรังวัดตามระเบียบกรมท่ีดิน วาดวยการรังวัด
ทาํ แผนทโ่ี ดยวิธแี ผนท่ชี ้ันหน่ึงดวยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network)
พ.ศ. 2562 ภาคผนวก ค. และใหใชคาความคลาดเคล่ือนมากที่สุดเปนเกณฑในการเลือกใชคาพิกัด
หมดุ หลักเขตทีด่ นิ ที่สืบเนือ่ งมาจากระบบดาวเทียม

รูปภาพแสดงขนาดของคาความคลาดเคลื่อนในการรังวดั หมุดหลกั เขตที่ดินเดียวกนั ในแตล ะครง้ั
จากรปู ดานบน ใหใชคาความคลาดเคล่ือนท่ีมากที่สุดในแตละกรณี เปนเกณฑในการเลือกใช

คาพกิ ดั ถาผลตางของคา พกิ ัดหมุดหลักเขตท่ดี นิ ใหมกับคา พิกดั เดิมไมเกินเกณฑสูงสุดของคาคลาดเคล่ือนแลว
ใหใชคาพิกดั หมดุ หลักเขตทดี่ ินเดิม

6  31
 6 - 31
แผนผัง (Flowchart) แสดงการเลอื กใชคาพกิ ดั หมุดหลักเขตท่ดี นิ ที่สืบเน่อื งมาจากระบบดาวเทยี ม

จากแผนผังดานบนสรุปไดวา ถาผลตางของคาพิกัดหมุดหลักเขตที่ดินใหมกับคาพิกัดเดิม
ไมเกินเกณฑสูงสุดของคา คลาดเคล่อื นแลว ใหใชคา พกิ ัดหมุดหลักเขตที่ดินเดิม แตถาผลตางของคาพิกัด
หมดุ หลกั เขตท่ดี ินใหมกับคาพกิ ดั เดมิ มากกวาเกณฑสูงสุดของคา คลาดเคลอ่ื นแลว แสดงวา เกดิ ความผิดพลาด
ตองทาํ การตรวจสอบตามระเบยี บกรมทด่ี นิ วาดวยการรังวัดทําแผนท่ีโดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่งดวยระบบ
โครงขา ยการรังวัดดวยดาวเทยี มแบบจลน (RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562 ขอ 14 (2)

6  32
 6 - 32

6.5 การรบั สญั ญาณดาวเทียมในพื้นทที่ ่ไี มม ีสัญญาณมือถือ
ตามระเบียบกรมท่ีดิน วาดวยการรังวัดทําแผนที่โดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่งดวยระบบโครงขาย

การรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562 ภาคผนวก ข. ขอ 6 กรณีทําการรังวัด
ในพื้นที่ท่ีไมม ีระบบสอ่ื สาร หรือระบบสื่อสารขัดของ ไมเสถียร ยกตัวอยางเชน พื้นที่บริเวณชายแดนที่มี
สญั ญาณโทรศพั ทประเทศเพอ่ื นบานรบกวน ใหป ฏิบตั ดิ งั นี้

1) กอนทําการรบั สัญญาณ ตองทาํ การแจง ผดู แู ลระบบเพอื่ สราง Virtual Point ในพ้ืนที่
2) ตอ งแจง ผูด แู ลระบบอยา งนอย 1 ชัว่ โมง กอ นทําการรับสัญญาณ โทร. 0921421555
3) แจงชื่อและสงั กดั ของผูทาํ การรงั วัด
4) ใหใชผลการรงั วัดเปน แบบ Fixed
5) แจงพิกัด Latitude , Longitude (WGS) ตําแหนงท่ีไปทําการรังวัด โดยใหคลิกท่ีวงกลม
สีแดง ตามภาพจะปรากฏคา พกิ ดั WGS84 Lat , Lon , H ขึ้นมา ใหน าํ คา นีแ้ จงผดู แู ลระบบ

6  33
 6 - 33

6.5.1 การรับสัญญาณดาวเทียมดว ยวิธี Rapid Static ในภาคสนาม
ใหผ ูรังวดั เลือกตําแหนงในการรับสัญญาณดาวเทียม โดยมีขอพึงระวังคือ การเลือกตําแหนง
จะตองเปนพื้นที่เหมาะสมโลงแจง เพราะการรับสัญญาณดาวเทียมดวยวิธีนี้จะไมทราบผลการรังวัด
ในภาคสนาม หากขอมูลท่ีรับสัญญาณมาไมสมบูรณ จะตองมีการซอมดวยการกลับมารับสัญญาณใหม
ซ่ึงจะแตกตางจากวิธี RTK Network ปกติ ที่สามารถทราบผลการรังวัดในภาคสนามไดทันที โดยมีการตั้งคา
กอ นรบั สญั ญาณดวยวิธีการ ดงั น้ี

ไปทแ่ี ถบเมนู Static Setting และใหท าํ การตง้ั คาดังน้ี
1) Start Record ใหเ ลือ่ นแถบสีฟา เปน Yes
2) Data Format หรอื รูปแบบไฟล เลือกเปน HCN
3) Interval หรือความถขี่ องขอ มลู ต้ังเปน 1 Hz
4) Elevation Mask หรอื มมุ ตดั ดาว ต้งั เปน 15 Degree
5) Duration หรือระยะเวลาทรี่ บั ใหต้งั เปน 1440 ตามคา เดิม
6) Station Name ใหใ สช่อื หมุดท่ที ําการสราง
7) Antenna Height หรือความสูงของเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทยี ม ใหใ สความสูงทีว่ ดั ได
8) Measurement Type หรอื ประเภทการวัด ใหต งั้ เปน Slant Height หรือวัดแบบเอียง
9) RINEX Version หรอื เวอรช ั่นของขอมลู ดบิ ต้ังเปน RINEX Version 3.02
เม่ือต้ังคาเสร็จแลว ใหก ด Set

6  34
 6 - 34

6.5.2 การตรวจสอบหนา จอเครือ่ งรับสญั ญาณดาวเทยี ม i80 ขณะรับสัญญาณ
เม่ือต้ังคา สาํ เร็จ หนาจอ Controller จะแสดงขอ ความวา “Set Successfully” ใหผูรังวัด
ไปดูที่เคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียม i80 จะข้ึนขอความ “Static On Record” ดังภาพดานลาง หากขึ้น
ขอ ความน้ี แสดงวา เครื่องรบั สญั ญาณเร่มิ รบั ขอ มูลดิบแลว ใหทาํ การจับเวลารบั สัญญาณดังนี้
1) ตั้งเคร่ืองรบั สัญญาณทห่ี มดุ P1 โดยทาํ การรบั สัญญาณ 2 ครัง้ คร้ังละไมน อยกวา 10 นาที
2) ตั้งเคร่ืองรับสญั ญาณท่ีหมดุ P2 โดยทาํ การรบั สญั ญาณ 2 ครัง้ ครัง้ ละไมน อยกวา 10 นาที

ขอควรระวัง : เมื่อจับเวลาครบ 10 นาที ขึ้นไปในแตละครั้งแลว ใหปดเคร่ืองและเปดเครื่องใหมกอนจะรับ
ครงั้ ถดั ไป

6.5.3 ข้ันตอนการโหลดขอมูลจากเคร่ืองรบั สัญญาณ i80

ทําการเสยี บสาย USB ลงิ กระหวาง เขา My Computer จะปรากฏ Drive ของเครอ่ื ง
เครื่องรับสัญญาณกับเคร่ืองคอมพวิ เตอร รับสญั ญาณ ใหคลิกเปด โฟลเดอรดงั กลา ว

 6 6- 3355

คลกิ เปดโฟลเดอร “Repo_1041029” คลกิ เปด โฟลเดอร “record_1”
(ช่อื ตาม S/N ของเครื่องรบั สัญญาณ)

ขอมูลสญั ญาณดาวเทยี มท่ีรังวัดได จะอยูใน ทาํ การ copy โฟลเดอรดงั กลาว ลงคอมพวิ เตอร
โฟลเดอร ตามวันที่รงั วัด เชน “20180717” เพื่อสง ใหเ จา หนาทีค่ ํานวณคา ใหตอ ไป

6  36
 6 - 36

6.5.4 ขัน้ ตอนการสง ไฟลใหเจา หนาท่ีคาํ นวณ
ใหผูใชง านเขาสูร ะบบท่ี www.dolrtknetwork.com และไปทีเ่ มนูทางดา นซายมือ ที่เมนู
นาํ เขา Fast Static เมื่อคลิกแลว จะมีหนาตางใหกรอกขอมูล เพ่ือประกอบแบบรายงาน ร.ว. 80 ก และ
ร.ว. 80 ข ดังภาพ แลวจึงกดบันทึก

เม่อื ปรากฏหนา ตางใหมข ึ้นมา ใหคลกิ ท่ีปุม Browse เพื่อสงไฟลขอมูลใหกับวิศวกรผูคํานวณ
โดยจะตอ งสง ไฟลที่อยูในรูปแบบท่ีถูกบีบอัดแลวดวยโปรแกรม WinZip หรือ WinRAR (.rar หรือ .zip)
ซ่งึ ในไฟลตอ งประกอบไปดวยขอมูล ดงั นี้

1) ไฟลท ่ีคัดลอกมาจากเครื่องรบั สญั ญาณ
2) ภาพเชนรังวดั
3) CSV, HTML, RAW หมดุ ตรวจสอบ
4) ภาพจดุ ที่รับสัญญาณ
ใหกด Save & Upload แลวจะมีหนาตางใหมปรากฏข้ึนมาเพื่อบอกสถานะของขอมูล
วาอยูในขั้นตอนไหน และจะบอกวาเจาหนาท่ีผูรับผิดชอบในการคาํ นวณช่ืออะไร

6  37
 6 - 37

หมายเหตุ : โดยทั่วไปแลว เจา หนาทจ่ี ะสามารถคํานวณผลการรังวัดไดภายใน 3 วันทําการ นับจากวันที่
ไดสงขอมูลเขาระบบ หากไมไดรับผลการคํานวณ สามารถติดตอไดที่ สวนพัฒนาการรังวัดหมุด
หลักฐานแผนที่โดยระบบดาวเทียม โทร. 025033367

6.5.5 การพิมพแ บบรายงาน ร.ว. 80 ก และ ร.ว. 80 ข
การพิมพแบบรายงาน ร.ว. 80 ก และ ร.ว. 80 ข เพ่ือนําไปประกอบรายงานการรังวดั
สามารถทําไดโ ดย ใหคลกิ ทปี่ ุม รายการนําเขา ขอมูล Fast Static ทางดานซายมือของหนาแรก

6  38
 6 - 38

เมื่อคลิกแลว จะปรากฏหนาตางใหมขึ้นมา ใหคลิกที่ชื่อโปรเจกตน้ันเพื่อตรวจสอบขอมูล
การรังวดั ของหมดุ ดาวเทยี ม Rapid Static

โดยจะประกอบไปดว ยขอ มูลดังนี้คือ
1) ภาพของหมดุ ดาวเทียมบนแผนท่ภี าพถายทางอากาศ

6  39
 6 - 39

2) ภาพเชน หรอื แบบรายการรังวัดหมดุ ดาวเทยี ม ร.ว. 31 ง

3) รายงานการตรวจสอบความถูกตองการรังวัดโดยระบบโครงขายการรังวัดดวย
ดาวเทยี ม ร.ว. 80 ก และรายงานการตรวจสอบความถูกตองของระยะทางที่รังวัดโดยระบบโครงขาย
การรังวดั ดวยดาวเทียม ร.ว. 80 ข

6  40
 6 - 40

6.6 การประยุกตใ ชงานฟงกชนั ตา ง ๆ ของเครอ่ื งควบคุม (Controller)
ปจจุบัน Application Landstar ไดพัฒนาถึงเวอรชั่น 7.3.4 ซึ่งไดมีเมนูเพ่ิมเติมขน้ึ มา

หลายเมนู ในท่ีน้ีจะกลาวถงึ เมนูตาง ๆ ทีเ่ กยี่ วของกับการรับสัญญาณดาวเทียมตามระเบียบกรมท่ีดินฯ ไดแก
การหาคา เฉลีย่ ของพกิ ัดจุดเดยี วที่รับมาหลาย ๆ ครง้ั เพอื่ ชวยในการขน้ึ ตน รางในภาคสนาม และการหา
ระยะทางระหวา งจดุ สองจดุ เพื่อใชเ ทยี บกบั ระยะทส่ี องกลองเพอื่ ดูความแมนยําถูกตองจากการรบั สัญญาณ

6.6.1 การหาคา เฉล่ยี ของคา พกิ ัดจากการรับสญั ญาณดาวเทียมทจ่ี ุดเดยี วหลาย ๆ ครัง้
ในภาคสนามนั้น ผูรังวัดจาํ เปนตองขึ้นรูปแปลงที่หนางาน ซึ่งส่ิงที่ตองทราบในการขึ้น
รูปแปลง คอื คา พิกดั ของหมุดดาวเทียม แตเ นอ่ื งจากกอนที่จะทราบคา พิกดั นน้ั ผูรงั วดั จะตอ งทาํ การอัปโหลด
หมุดดาวเทยี มเพ่ือใหระบบเฉล่ียคา พิกดั ใหกอน ดังน้นั ในงานภาคสนามหากผูรังวดั จําเปนตองหาคา เฉลย่ี
เพ่ือขนึ้ รูปแปลง ผรู งั วัดสามารถหาคา เฉลีย่ ไดด วยวธิ กี าร ดงั น้ี

ไปทเี่ มนู Tools เลอื กหวั ขอ กดปมุ Select เพอ่ื เลือกขอมูล กดเลอื กขอมลู หมุด
Average Value of Points ทีจ่ ะนาํ มาเฉล่ีย ทีจ่ ะนํามาเฉลีย่

กดปุม OK โปรแกรมจะแสดงคาเฉล่ียของ N, E, H ใหดังภาพ

6  41
 6 - 41

6.6.2 การหาระยะทางระหวา งจดุ สองจุดจากการรบั สัญญาณดาวเทยี ม
ในการหาระยะทางระหวางจุดสองจุดที่เปนระยะบนพื้นดินนั้น จะตองทําการหาคา
Scale Factor (K) หรอื คาตัวคูณมาตราสวน สาํ หรับทอนระยะท่ีระดบั นาํ้ ทะเลปานกลางเปนระยะบนแผนท่ี
ของพ้นื ที่บริเวณที่ทําการรังวดั กอ น โดยมีวธิ ีการหาคาตัวคูณมาตราสวน ดังนี้

ไปทเี่ มนู Tools เลอื กหวั ขอ ไปที่ปุมสเ่ี หล่ียมดานบน เลือกขอมลู มาหนึง่ จุด เพื่อหาคา
Grid To Ground เพื่อเลือกขอ มลู Scale Factor ณ บริเวณนั้น

โปรแกรมจะทําการประมวลผลคา Scale Factor ของบรเิ วณน้มี าให
จากน้นั ใหก ดปุม Apply To Project เพอ่ื ใหโปรแกรมทาํ การทอนระยะ

ท่ีไดจากการรับสญั ญาณดาวเทียมตอ ไป

6  42
 6 - 42

ใหก ดยอนกลับมาท่ปี มุ Inverse ที่ชอง A ทช่ี อง B
เพือ่ หาระยะทางระหวา งสองจุด ใหคลกิ ท่ปี ุมสเี่ หล่ียมดานหลงั ใหค ลกิ ทป่ี ุมสีเ่ หลย่ี มดา นหลัง
เพอ่ื เลือกหมุดดาวเทียมหมุดทหี่ นง่ึ เพอ่ื เลือกหมุดดาวเทยี มหมุดท่ีสอง

ใหค ลิกท่ปี ุมวงกลมสีฟา หนา คําวา Ground และสังเกตท่ีชอง Horizontal Distance
โปรแกรมจะแสดงระยะทางระหวางหมดุ ดาวเทียมสองหมุดทเี่ ปน Ground Distance

(ระยะบนพ้ืนดินหรือระยะจริง)

บทท่ี 7
การนําเขา ขอมลู หมุดดาวเทยี มและขึ้นรูปแปลงท่ีดนิ ดิจิทัล

การรับสัญญาณดาวเทียมตามระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการรังวัดทําแผนท่ีโดยวิธีแผนที่
ช้ันหน่ึงดวยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) พ.ศ. 2562 ใหทํา
การรับสัญญาณดาวเทียมที่หมุดดาวเทียม RTK Network เพ่ือใชในการโยงยึดหลักเขตที่ดิน หรือใช
เปน หมดุ ออกหรือหมุดเขาบรรจบเสนโครงงานหมุดหลักฐานแผนที่ เพ่ือเก็บรายละเอียดแปลงท่ีดิน
หรอื ทําการรับสัญญาณดาวเทียมโดยตรงท่ีหลักเขตท่ีดิน เมื่อการรับสัญญาณดาวเทียมในภาคสนาม
เสรจ็ แลว ผใู ชงานจะทําการประมวลผลคาพิกัดตําแหนงท่ีไดรับสัญญาณดาวเทียมจากการรังวัดโดยระบบ
โครงขายฯ เปนการนําขอมูลการรังวัดจากเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมมาประมวลผลโดยการนําเขา
ขอมูลการรับสัญญาณดาวเทียมผานเว็บไซต www.dolrtknetwork.com ซ่ึงจะทําการตรวจสอบ
ขอมูล คาพิกัดฉาก ความถูกตองของการรับสัญญาณดาวเทียม และการคํานวณคาระยะตรวจสอบ
พรอมความคลาดเคล่ือนเชิงตําแหนง เพื่อนาํ ขอมูลจากการรังวัดโดยระบบโครงขายฯ เปนขอมูลของ
ระบบพกิ ัดฉาก ยู ที เอม็ ซง่ึ สามารถนําไปประมวลผล เพอ่ื คํานวณเน้อื ทแ่ี ละข้นึ รูปแปลงท่ดี ินดวยโปรแกรม
คาํ นวณรังวัด DOLCAD จากการรังวัดโดยระบบโครงขายฯ เพื่อการจัดทําหลักฐานการรังวัดประกอบเร่ือง
ที่รังวัดไดตอไป

7.1 การนําเขา ขอ มูลหมดุ ดาวเทียม

การนําเขาขอมูลหมุดดาวเทียมจะมีหมุดดาวเทียม RTK Network และหมุดหลักเขตท่ีดิน
มีรายละเอียดข้นั ตอน ดังนี้

1) เขาสูเว็บไซต www.dolrtknetwork.com หรือพิมพคําวา “ระบบโครงขายการรังวัด
ดว ยดาวเทียม”

2) ใส Username และ Password แลวกด Login

1

2

72
 7-2

3) ขอชื่อหมุด หรือตรวจสอบช่ือหมุดท่ีจะนําเขาขอมูล (กรณีที่การนําเขาขอมูลเปน
หมุดดาวเทยี ม RTK Network) โดยกดที่ รายละเอยี ด แถบสีสม

3
4) เลือกช่ือหมุดท่ีมีสถานะวางมาใชงานอยางนอยจํานวน 2 หมุด ในกรณีท่ีการนําเขา
ขอ มลู เปน หมดุ ดาวเทยี ม RTK Network โดยทําการจดชื่อหมุดที่เลือกน้ันไว (หากไมมีหมุด ใหเลือกที่
รบั หมุดเพ่ิม)
5) นําเขาขอ มลู โดยเลอื กท่ี Program LandGNSS (นาํ เขาขอ มลู ) แถบสีเขยี ว

45

6) ทาํ การใสข อ มูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่รังวัดพรอมตรวจสอบขอมูลใหถูกตองอีกครั้ง
จากนั้น เลือก บนั ทึก & ดําเนนิ การขน้ั ตอไป

73
 7-3

6

7) เลอื กยหี่ อเครือ่ งรับสญั ญาณดาวเทียมแบบเคลื่อนท่ี (Rover) และเครื่องควบคมุ การทํางาน
เครือ่ งรับสญั ญาณดาวเทียม (Controller) ทที่ าํ การรังวดั

7

8) เลือก Choose File แลวใหทําการอัปโหลดไฟลขอมูล ตามชนิดของเคร่ืองควบคุม
การทํางานเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทยี ม (Controller) ดงั นี้

 เครือ่ งรนุ LT500 ไฟลข อมูล CSV, HCD และ HTML
 เคร่อื งรุน HCE300 ไฟลขอมลู CSV, RAW และ HTML
 เครือ่ งรนุ HCE320 ไฟลข อมูล CSV, RAW และ HTML
จากนั้นเลือก Upload

74
 7-4
ขอ ควรระวงั

 ตรวจสอบนามสกุลไฟลขอมลู CSV, RAW และ HTML ใหถ ูกตอ งตามลําดับ
 ชื่อไฟลขอมูลของท้ัง 3 ไฟลตองเหมือนกัน หากไมเหมือนกันใหแกช่ือไฟลขอมูล
(Rename) ใหตรงกนั

8

9) เมือ่ อัปโหลดเรยี บรอยแลว จะปรากฏขอ มูลดงั ภาพ
ขอ สังเกต : หากผลการรังวัดเกินเกณฑท่ีระเบียบกรมท่ีดินกําหนด เชน RMS > 0.03, Epoch < 60
และ PDOP > 5.0 ระบบจะปฏเิ สธการเลอื กผลการรงั วดั ดังกลาว

9

75
 7-5

10) ใหเลือกหมุดท่ีทําการรับสัญญาณมาจุดละ 3 ครั้ง ยกเวนหมุดตรวจสอบ เลือกมาแค
1 คร้ัง แลวเลอื ก คาํ นวณหาคา เฉล่ียหรอื เลอื กหมดุ ตรวจสอบ ดูผลการหาคา เฉลี่ยหรือเกณฑความคลาดเคลื่อน
ของหมดุ ตรวจสอบวาผานเกณฑหรือไม จากนั้นทําการแกช่ือหมุดโดยเลือก Edit (ใหเลือกหมุดท่ีทําการรับ
สญั ญาณมาอยางนอ ย 2 หมดุ )

10

11) ทําการแกไขชื่อหมดุ ดังนี้
 กรณีท่ีการนําเขาขอมูลเปนหมุดเทียม RTK Network ชื่อหมุดตามที่ขอไวในระบบ

เชน V6400001 จากนัน้ เลอื กเปน หมดุ ดาวเทียม RTK Network
 กรณีท่ีการนําเขาขอมูลเปนหมุดหลักเขตท่ีดิน ใหใชช่ือบนหัวหลักเขตท่ีดิน เชน

8ฆ4708 (ไมต องเวน วรรค) จากนนั้ เลือกเปน หมุดหลกั เขต
 กรณีหมุดตรวจสอบ ชื่อหมุดตามท่ีมีไวใ นระบบ เชน CHK240001 จากน้นั เลือก

เปน หมดุ ตรวจสอบ
แลว เลือกยืนยนั แกไขชือ่ หมดุ

11

76
 7-6

12) เมื่อโปรแกรมตรวจสอบคาพิกัดและการแกไขช่ือหมุดผานแลว จะปรากฏปุม บันทึก
เขา ระบบ จากนนั้ เลอื ก บนั ทกึ เขาระบบ

 กรณีท่ีการนาํ เขาขอมูลเปนหมุดดาวเทียม RTK Network ชองขอหมุดไวแลว
จะเปน เคร่ืองหมายถกู ซงึ่ แตกตางจากหมดุ หลักเขตทดี่ ิน

12

 กรณที ่ีการนําเขา ขอมูลเปน หมุดหลักเขตทดี่ ิน ชองขอหมุดไวแ ลว จะเปนเครื่องหมายลบ

12

77
 7-7

13) ทําการตรวจสอบระยะระหวางหมุด โดย เลือก ชื่อหมุด จากหมุดท่ี 1 ไปหมุดที่ 2
และใสระยะตรวจสอบที่รังวัดมาดวยกลองและสามารถเพ่ิมแถวในการใสระยะตรวจสอบไดในกรณีท่ี
หมดุ ดาวเทียม RTK Network มีมากกวา 2 หมุด แลวเลือก บันทึกจัดเก็บระยะ (กรณีที่การนําเขาขอมูล
เปน หมุดหลกั เขตทด่ี นิ จะไมมีขั้นตอนของการใสระยะตรวจสอบจากกลอง)

13

14) จากนั้นทําการใสเลขคําขอ (ร.ว. 12) และอัปโหลดไฟลรูปเชนสนามแลวเลือก Save
& Upload

 กรณที ่กี ารนําเขาขอมูลเปนหมุดดาวเทียม RTK Network เลือก Choose File
ของภาพเชนการรังวัด คอื ร.ว. 31 ง ของหมดุ ดาวเทียม RTK Network

14


Click to View FlipBook Version