The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวทางการรังวัดโดยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์ (RTK GNSS Network) (ปี 2563)

กองเทคโนโลยีทำแผนที่ (KM ปี 2563)

Keywords: ด้านการรังวัดและทำแผนที่

เอกสารซักซอ มความเขาใจ
ระเบียบกรมท่ีดนิ วาดว ยการรงั วดั ทําแผนทโี่ ดยวิธีแผนท่ีช้ันหนง่ึ ดวยระบบโครงขายการรังวัด

ดว ยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) พ.ศ. ๒๕๖๒

1. สรุปสาระสําคญั ของการปรบั ปรุงแกไขระเบยี บฯ

ลําดบั เร่ือง ระเบียบ RTK เดิม ระเบยี บ RTK ใหม ขออางอิง
๑ หมดุ ตรวจสอบ พ.ศ. ๒๕๕๘* พ.ศ. ๒๕๖๒** ตามระเบยี บ RTK ใหม
กอ นทําการรังวัด นิยาม, ขอ ๗,
หมดุ ดาวเทยี ม หมุดตรวจสอบ RTK Network ภาคผนวก ก,
๒ การรับสญั ญาณ Static เปนทางเลือกใหช างสามารถ ภาคผนวก ค
ดาวเทยี มโดยตรง ไมสามารถทาํ ได รบั สญั ญาณดาวเทยี มโดยตรงที่ ขอ ๘, ภาคผนวก ข,
ท่ีหลักเขตทดี่ ิน หลกั เขตท่ดี นิ ในกรณพี นื้ ท่ี ภาคผนวก ค
กรณีจําเปนสามารถ เหมาะสม ขอ ๑๐, ขอ ๑๑
๓ การรังวดั ปกหมุดลอย ทาํ ไดส ูงสดุ ๒ หมุด กรณีจําเปนสามารถทําได
๑ หมุด

๔ การรงั วัดปกหมดุ กลาง สามารถทําได ไมส ามารถทาํ ได ไมมี

๕ เกณฑค วามคลาด มเี กณฑความคลาด แบง เกณฑความคลาดเคลือ่ น ขอ ๑๒, ขอ ๑๔,
เคลื่อนในการ เคล่ือนแบบเดียว ออกเปน ๓ แบบ ขึน้ อยูกับ ภาคผนวก ค
ตรวจสอบคา พิกดั ของ วิธีการรงั วดั หลักเขตท่ดี ิน
หลักเขตท่ีดิน
๖ การลงรูปแผนที่ ใหลงรปู แผนที่ใน ใหลงรูปแผนท่ีในระวางแผนที่ ขอ ๑๘, ขอ ๑๙
ในระวางแผนท่ี ระวางแผนท่ี เดมิ และใหล งรปู แผนทีใ่ น
ที่สรางข้นึ ใหม ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
๗ การตรวจสอบเครื่องรับ ไมไ ดกําหนด อยางนอ ย ๒ ปตอครง้ั ขอ ๒๐
สัญญาณดาวเทยี ม

๘ ระยะเวลาและจํานวน รบั สัญญาณดาวเทียม รับสญั ญาณดาวเทยี ม ครง้ั ละ ภาคผนวก ข (ขอ ๒)
ครั้ง ในการรบั สญั ญาณ ครั้งละ ๑๘๐ วนิ าที ๖๐ วินาที จํานวน ๓ ครัง้
ดาวเทียม จํานวน ๒ ครงั้

หมายเหตุ: *ระเบียบ RTK เดิม พ.ศ. ๒๕๕๘ คือ ระเบียบกรมท่ีดินวาดวยการรังวัดโดยระบบโครงขายการ
รังวดั ดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK Network) ในงานรงั วัดเฉพาะราย พ.ศ. ๒๕๕๘

**ระเบียบ RTK ใหม พ.ศ. ๒๕๖๒ คือ ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการรังวัดทําแผนท่ีโดยวิธีแผนที่
ชน้ั หนึง่ ดว ยระบบโครงขายการรงั วัดดวยดาวเทยี มแบบจลน (RTK GNSS Network) พ.ศ. ๒๕๖๒

-2-

2. คําอธิบายเพ่ิมเติมจากระเบียบฯ
การตรวจสอบคาพกิ ดั เดิมและคาพิกัดใหมข องหลักเขตท่ีดิน ตามระเบยี บฯ ภาคผนวก ค ขอ ๓

ขอ รายการ เกณฑค วามคลาดเคล่ือนเชิงตําแหนง ในทางราบ
๓.๑ การรบั สญั ญาณดาวเทยี มโดยตรงที่หลักเขตที่ดิน ± ๔ เซนติเมตร

การรังวัดโยงยึดหลักเขตท่ีดินจากหมุด ± [ ๔ เซนติเมตร + D1 x ๑๐๐ ]
๓.๒ ดาวเทียม RTK Network ๑๐,๐๐๐

การรังวัดโยงยึดหลักเขตที่ดินจากหมุด D1=ระยะโยงยึดจากหมดุ ดาวเทยี ม RTK Network
๓.๓ หลักฐานเสน โครงงานหมุดหลักฐานแผนที่เพอื่ ถงึ หลักเขตทด่ี นิ หนวยเปน เมตร

เกบ็ รายละเอยี ดแปลงทดี่ นิ ± [ ๔ เซนติเมตร + D2 x ๑๐๐ ]
๑๐,๐๐๐

D2=ผลรวมของระยะโยงยดึ กับระยะแตละชวงของ
หมุดหลักฐานแผนที่ถึงหมดุ ดาวเทียม RTK Network
ทีอ่ ยูใกลท ีใ่ ชออกหรอื เขา บรรจบ หนว ยเปน เมตร

รูปภาพตัวอยางขอ ๓.๒ การรังวัดโยงยึดหลักเขตที่ดินจากหมุดดาวเทียม RTK Network

V3400001 V3400002 d1 หลักเขต A

d2 แปลงทด่ี ิน

หมดุ ลอย d3
หลักเขต B

เกณฑความคลาดเคล่ือนเชิงตําแหนงในทางราบ = ± [ ๔ เซนติเมตร + D1 x ๑๐๐ ]
๑๐,๐๐๐

D1 คือ ระยะโยงยดึ จากหมดุ ดาวเทยี ม RTK Network ถงึ หลกั เขตท่ดี ิน หนวยเปน เมตร

กรณีท่ี 1 ทําการรงั วัดโยงยดึ ออกจากหมุด RTK Network ถึงหลกั เขต A จะมีระยะ D1 = d1
กรณที ี่ 2 ทาํ การรงั วัดโยงยดึ ออกจากหมุดลอย ถงึ หลักเขต B จะมีระยะ D1 = d2 + d3

-3-

รูปภาพตัวอยา งขอ ๓.๓ การรงั วัดโยงยึดหลักเขตทดี่ ินจากหมดุ หลกั ฐานเสน โครงงานหมดุ หลักฐานแผนท่ี
เพื่อเก็บรายละเอยี ดแปลงที่ดิน

V3400001 d2 d4 d5 d6 V3400003
d1 d3 d7
d9
V3400002 d8
แปลงทด่ี ิน
V3400004

เกณฑค วามคลาดเคล่อื นเชิงตาํ แหนงในทางราบ = ± [ ๔ เซนติเมตร + D2 x ๑๐๐ ]
๑๐,๐๐๐

D2 คือ ผลรวมของระยะโยงยดึ กบั ระยะแตล ะชว งของหมดุ หลักฐานแผนท่ีถงึ หมดุ ดาวเทียม RTK Network
ท่อี ยใู กลทใี่ ชอ อกหรือเขาบรรจบ หนวยเปน เมตร

จากรปู ตัวอยาง ระยะ D2 = d1 + d2 + d3 + d9
หรอื อาจกลาวอีกนัยหนงึ่ ไดว า D2 คือระยะทีส่ ้นั ที่สดุ จากหมุดดาวเทยี ม RTK Network ถึงหมดุ หลกั เขตทด่ี ิน

ตารางแสดงตวั อยางการตรวจสอบคาพกิ ัดเดิมและคาพิกัดใหมของหลกั เขตทด่ี นิ
คําอธิบาย: ในการรังวัดหลักเขตที่ดินแตละคร้ัง สามารถคํานวณเกณฑความคลาดเคล่ือนไดตามระเบียบฯ

ภาคผนวก ค ขอ ๓.๑ - ๓.๓ จงึ อาจมีขอสงสยั วา หากเกณฑความคลาดเคลือ่ นของการรังวัดเดมิ และการรงั วัดใหม
ไมเทากัน ควรจะใชเกณฑความคลาดเคล่ือนใดในการตรวจสอบ จึงขออธิบายเพิ่มเติมในท่ีนี้วา ใหใชเกณฑ
ความคลาดเคลอ่ื นทีม่ ากกวาในการตรวจสอบคา พิกดั ของหลกั เขตทด่ี นิ ในทกุ กรณี ดงั ตารางดังตอไปน่ี

ตวั อยา ง การรังวัดเดิม การรงั วัดใหม หลักเกณฑการตรวจสอบ
๑ ขอ ๓.๑ การรับสัญญาณดาวเทียม
ขอ ๓.๒ การรังวัดโยงยึดหลักเขตท่ีดนิ โดยตรง มีเกณฑความคลาดเคลอ่ื น ใหตรวจสอบคาพิกัดของ
๒ จากหมุดดาวเทียม RTK Network ± ๔ ซม. หลักเขตโดยใชเ กณฑ
โดยมีระยะ D1 = ๑๐๐ ม. มีเกณฑ ความคลาดเคลอ่ื นทีม่ ากกวา
ความคลาดเคลื่อน ± ๕ ซม. ขอ ๓.๒ การรังวัดโยงยึดหลักเขตทด่ี ิน ในกรณีนี้คือ ± ๕ ซม.
จากหมดุ ดาวเทียม RTK Network
ขอ ๓.๑ การรับสัญญาณดาวเทียม โดยมรี ะยะ D1 = ๒๐๐ ม. มเี กณฑ ใหต รวจสอบคา พิกดั ของ
โดยตรง มีเกณฑความคลาดเคล่อื น ความคลาดเคล่ือน ± ๖ ซม. หลักเขตโดยใชเกณฑ
± ๔ ซม. ความคลาดเคลื่อนท่ีมากกวา
ในกรณีนี้คอื ± ๖ ซม.

-4-

ตัวอยาง การรงั วดั เดิม การรังวัดใหม หลักเกณฑก ารตรวจสอบ
๓ ขอ ๓.๑ การรับสัญญาณดาวเทียม ใหตรวจสอบคา พิกัดของ
ขอ ๓.๓ การรงั วัดโยงยดึ หลกั เขตทีด่ นิ โดยตรง มีเกณฑความคลาดเคลอ่ื น หลักเขตโดยใชเกณฑ
๔ จากหมุดหลักฐานเสนโครงงานหมุด ± ๔ ซม. ความคลาดเคลื่อนที่มากกวา
หลักฐานแผนที่ เพอื่ เกบ็ รายละเอียด ในกรณีน้ีคือ ± ๘ ซม.
แปลงที่ดิน โดยมรี ะยะ D2 = ๔๐๐ ม. ขอ ๓.๓ การรงั วดั โยงยดึ หลักเขตที่ดิน
มีเกณฑความคลาดเคล่อื น ± ๘ ซม. จากหมดุ หลกั ฐานเสนโครงงานหมุด ใหต รวจสอบคา พิกดั ของ
หลักฐานแผนที่ เพ่ือเก็บรายละเอียด หลักเขตโดยใชเกณฑ
ขอ ๓.๒ การรงั วัดโยงยึดหลักเขตท่ดี ิน แปลงท่ีดิน โดยมีระยะ D2 = ๓๕๐ ม. ความคลาดเคลอ่ื นทม่ี ากกวา
จากหมดุ ดาวเทียม RTK Network มีเกณฑความคลาดเคลือ่ น ± ๗.๕ ซม. ในกรณีนี้คอื ± ๗.๕ ซม.
โดยมีระยะ D1 = ๑๕๐ ม. มีเกณฑ
ความคลาดเคลอ่ื น ± ๕.๕ ซม.

หมายเหต:ุ ตามระเบียบฯ ขอ ๑๔ การตรวจสอบตําแหนงของหลักเขตทีด่ ิน ใหเปรียบเทียบคาพิกัดของหลักเขต
ที่ดนิ ที่รงั วัดไวเดมิ กับคา พิกัดที่รังวัดใหม ดังน้ี

(๑) กรณีคาพิกัดของหลักเขตที่ดินที่รังวัดไวเดิมมีความแตกตางจากคาพิกัดที่รังวัดใหม
ไมเกินเกณฑความคลาดเคล่ือนเชิงตําแหนงในทางราบท่ีกําหนดในภาคผนวก ค. ใหใชคาพิกัดที่รังวัดไวเดิม
ดําเนินการตอ ไป

(๒) กรณีคาพิกัดของหลักเขตที่ดินที่รังวัดไวเดิมมีความแตกตางจากคาพิกัดท่ีรังวัดใหม
เกินกวาเกณฑความคลาดเคลื่อนเชิงตําแหนงในทางราบที่กําหนดในภาคผนวก ค. ใหตรวจสอบตามหลัก
วิชาการแผนท่ี หากผลการตรวจสอบปรากฏวาคาพิกัดของหลักเขตท่ีดินท่ีรังวัดเดิมผิดพลาดคลาดเคลื่อน
ใหดําเนินการตามความในมาตรา ๖๑ มาตรา ๖๙ หรือมาตรา ๖๙ ทวิ แหงประมวลกฎหมายที่ดิน แลวแตกรณี
ตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีอธิบดกี รมทีด่ นิ กาํ หนด



คณะผูจัดทาํ

องคความรู : แนวทางการรงั วดั โดยระบบโครงขายการรังวัดดว ยดาวเทียมแบบจลน
ทีป่ รกึ ษา (RTK GNSS Network)

คณะทํางาน : 1. นายนิสิต จันทรสมวงศ อธิบดีกรมท่ดี ิน
2. นายชยั ชาญ สทิ ธิวริ ชั ธรรม ทีป่ รกึ ษาดานประสิทธิภาพ
3. นายวราพงษ เกียรตนิ ิยมรุง ผบู รหิ ารดา นการจดั การความรู
4. นายเอกสทิ ธิ์ ชนะสิทธ์ิ ของกรมทีด่ นิ (CKO)
5. นายชยั ศรี ศุภกีรตโิ รจน ทป่ี รึกษาดานวิศวกรรมสาํ รวจ
6. นางสพุ ินดา นาคบัว ผอู ํานวยการกองเทคโนโลยที ําแผนท่ี
ผเู ชี่ยวชาญเฉพาะดานการทําแผนที่ภาพถาย
ผอู ํานวยการกองฝกอบรม

: กองเทคโนโลยีทําแผนที่ ผอู าํ นวยการสวนพฒั นาการรังวดั
1. นายวเิ ชยี ร โกวทิ พงศข จร หมดุ หลกั ฐานแผนทีโ่ ดยระบบดาวเทียม
2. นางดลพร กัลยาณมณีกร นกั วิชาการแผนทีภ่ าพถา ยชาํ นาญการพิเศษ
3. นายภีระ ยมวนั วศิ วกรรังวดั ชํานาญการพเิ ศษ
4. นายสดุ เขต อธุ ิโย วศิ วกรรังวดั ชํานาญการพเิ ศษ
5. นายนรสหี  นิลเพชรพ ลอย วิศวกรรงั วดั ชํานาญการพิเศษ
6. นายชชั วาล มณรี ัตน วิศวกรรังวดั ชาํ นาญการ
7. นายเมธี ดวงสวัสดิ์ วิศวกรรังวดั ปฏบิ ัตกิ าร
8. นายอรรฆยสทิ ธิ์ สุดสงวน วิศวกรรงั วัดปฏิบัติการ
9. นางสาวขนษิ ฐา เอยี่ มอากาศ วิศวกรรงั วดั ปฏบิ ัตกิ าร
10. นายจักรินทร แพทยพิทักษ วศิ วกรรังวัดปฏบิ ัตกิ าร
11. นายฮารสิ โพธดิ์ าํ วศิ วกรรังวดั ปฏิบตั กิ าร
12. นายสรุ ยิ นั ยศหลา วศิ วกรรังวดั ปฏบิ ัตกิ าร
13. นายเอกวุฒิ มาเรือน วศิ วกรรังวดั ปฏบิ ตั กิ าร

: กองฝก อบรม หวั หนา กลุม พฒั นาการเรยี นรู
1. นางสาวสมหมาย สขุ วงศ นักทรพั ยากรบคุ คลชํานาญการ
2. นางปารดา พรหมประสิทธ์ิ นกั ทรพั ยากรบคุ คลปฏบิ ัติการ
3. นางสาวภูริดา สุขประเสริฐ



พมิพที่กองการพิมพกรมที่ดนิกระทรวงมหาดไทยพ.ศ.๒๕๖๓จำนวน๖๐๐เลม


Click to View FlipBook Version