The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการปฏิบัติงาน การติดตามและประเมินผลแผนงาน/โครงการของกรมที่ดิน (ปี 2559)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

คํานาํ

พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ.๒๕๔๖ และ
แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบราชการไทย พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๖๑ กาํ หนดให้มกี ารพัฒนางานของหน่วยงานภาครัฐ
โดยมอบหมายให้สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) กําหนดเกณฑ์ในการติดตามและ
ประเมินผลการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ตามคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปี โดยยึดแนวคิดลิขิต
สมดุล(Balance Scorecard) เพ่ือประเมินผลการดําเนินงานใน ๔ มิติ คือ ๑. มิติด้านประสิทธิผล ๒. มิติด้าน
คุณภาพการใหบ้ รกิ าร ๓. มิติดา้ นประสทิ ธิภาพของการปฏิบตั ริ าชการ และ๔. มติ ดิ ้านการพฒั นาองคก์ ร

กองแผนงาน ได้จัดทําคู่มือการปฏิบัติงานการติดตามและประเมินผลแผนงาน/โครงการของกรมที่ดิน
ให้สอดคล้องกับเกณฑ์ฯ ที่สํานักงาน ก.พ.ร. กําหนดไว้ในมิติท่ี ๔ มิติด้านการพัฒนาองค์กร ตัวช้ีวัด “ระดับ
ความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ” ในการดําเนินการหมวด ๔ การวัด การวิเคราะห์
และการจัดการความรู้ IT๓ ส่วนราชการมีวิธีการรวบรวมและถ่ายทอดองค์ความรู้ที่จําเป็นและเป็นประโยชน์แก่
องคก์ าร เพอื่ ใช้ประโยชนใ์ นการแบง่ ปัน และนําวิธีปฏบิ ตั ทิ ่ีเปน็ เลิศในการดําเนินการ เพื่อเผยแพร่ให้บุคลากรใน
กรมท่ดี ินนาํ ไปใชเ้ ปน็ คมู่ อื ในการปฏิบัติงานใหบ้ รรลุผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงคต์ ่อไป

กองแผนงาน
พฤษภาคม ๒๕๕๙

สารบญั

หนา้

• คํานํา

• หลกั การและเหตุผล ๑

• แนวคดิ ทฤษฏีเก่ียวกับการตดิ ตามและประเมินผล ๑

• วตั ถุประสงค์ในการจัดทาํ คู่มือการตดิ ตามและประเมินผลการปฏบิ ัติงาน ๔

• ขอบเขตภารกิจ ๔

• แผนผังทางเดนิ ของงาน (Work Flow) กระบวนการติดตามและประเมนิ ผล ๕
การปฏบิ ัตงิ าน

• ขน้ั ตอนการปฏิบัติงานของกระบวนการตดิ ตามและประเมินผลผลการปฏบิ ัตงิ าน ๖

• มาตรฐานของกระบวนการติดตามและประเมนิ ผลตามแผนปฏิบตั งิ านประจําปีงบประมาณ ๗

• มาตรฐานของกระบวนการประมวลผลแผนงาน/โครงการต่างๆของกรมที่ดินในสว่ นภูมิภาค ๘

• ระบบการติดตามและประเมนิ ผลของกระบวนการตดิ ตามและทบทวนผลการปฏิบัติงาน ๘

• ประโยชนข์ องการจดั ทําคู่มือการปฏบิ ตั ิงานของกระบวนการติดตามและทบทวนผลการ ๘
ปฏบิ ัตงิ าน

• แบบติดตามมาตรฐานงานของกระบวนการติดตามและทบทวนผลการปฏบิ ัตงิ าน ๙

• แผนผังทางเดินของงาน (Work Flow) กระบวนการประเมินผลโครงการ ๑๐

• การติดตามและประเมินผลโครงการ : ปฏิบัตกิ ารเพื่อพัฒนาปรับปรงุ งาน ร่นุ ท่ี ๙ ๑๑

• ตัวอยา่ งการประเมนิ ผลโครงการ : การประเมนิ ผลแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ๔ ปี ๒๘
พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ กรมทด่ี นิ กระทรวงมหาดไทย

• บรรณานกุ รม ๙๔

• ภาคผนวก
- ตวั อยา่ งแบบฟอร์มรายงานผลการปฏิบตั ิงาน กผ.๐๑
- ตัวอยา่ งแบบสมั ภาษณเ์ จา้ พนักงานทีด่ ินจังหวัด/สาขา
- ตัวอยา่ งแบบสอบถามประชาชน/ผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสยี เก่ยี วกบั ความเชือ่ มนั่ ต่องานบริการ
ของกรมที่ดนิ
- ตัวอยา่ งแบบสอบถามองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นเก่ียวกบั ทส่ี าธารณประโยชน์ไดม้ ีการออกหนังสือ
สาํ คัญสําหรับที่หลวงต้องไดร้ ับการดูแลรักษาการใช้ประโยชนอ์ ยา่ งเหมาะสม
- คณะผจู้ ดั ทํา

การติดตามและประเมินผลแผนงาน/โครงการของกรมทดี่ ิน

หลักการและเหตุผล
ตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘

หมวด ๔ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ตามหัวข้อ IT3 กําหนดให้ส่วนราชการมีวิธีการรวบรวม
และถ่ายทอดองค์ความรู้ท่ีจําเป็นและเป็นประโยชน์แก่องค์การ เพ่ือใช้ประโยชน์ในการแบ่งปันและนําวิธีปฏิบัติท่ี
เป็นเลิศไปดําเนินการ จึงได้มีการจัดทําคู่มือการปฏิบัติงาน การติดตามและประเมินผลแผนงาน/โครงการ ของ
กรมท่ดี ิน ขนึ้

แนวคดิ ทฤษฎีเกีย่ วกบั การตดิ ตามและประเมนิ ผล

การติดตามและประเมนิ ผล เปน็ ภารกจิ ทีส่ ําคญั ขององค์กรภาครัฐ เน่ืองจากปญั หาดา้ น
งบประมาณท่ีมอี ย่างจํากดั จะเปน็ แรงผลักดันทท่ี าํ ให้การพิจารณาคดั สรรแผนงาน/โครงการทจ่ี ะดาํ เนินการตอ้ ง
เป็นไปอย่างรอบคอบ กลา่ วคือ ต้องเปน็ แผนงาน/โครงการ ที่มคี ณุ คา่ และเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ ตามความจําเปน็
เรง่ ด่วน ซ่ึงเครื่องมือสาํ คัญทใ่ี ช้ในการวิเคราะหแ์ ผนงาน/โครงการดงั กลา่ ว ต้องอาศยั ข้อมูลสารสนเทศ ท่ีไดจ้ าก
การติดตามประเมนิ ผลโครงการทไ่ี ด้ดําเนินการมาแลว้ รวมทัง้ โครงการท่ีจะดําเนินการใหม่วา่ มีความเหมาะสมมาก
น้อยเพียงใด การประเมนิ ผลโครงการทง้ั ปจั จัยนําเขา้ (Input) กระบวนการ (Process) และผลงาน (Output) จะ
ชว่ ยใหก้ ารใช้ทรพั ยากรเปน็ ไปอย่างคมุ้ ค่าหรอื เกดิ ประโยชน์เตม็ ที่ และจะเปน็ ข้อมูลย้อนกลบั นาํ มาใชใ้ นการ
วางแผนหรอื จดั ทําแผนงาน/โครงการต่อไป ซึง่ แนวคดิ และหลักการในด้านการควบคมุ และการติดตามผลจะ
ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบดังต่อไปน้ี

๑. กระบวนการในการควบคมุ และตดิ ตามผล แยกเปน็ ๔ ขั้นตอน ๑ คอื
๑.๑ การกําหนดมาตรฐานทีใ่ ชว้ ดั (Establishing Standard) ทุกองค์กรจะมี

วัตถุประสงคข์ ององค์กร ดังนน้ั มาตรฐานทก่ี าํ หนดนโยบายจะต้องสอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงคน์ ั้น มาตรฐาน
โดยทว่ั ไปแยกเปน็ ๒ ประเภท ได้แก่

- มาตรฐานผลผลิต (Output Standard) ซ่งึ วดั ด้วยปรมิ าณ คณุ ภาพ ต้นทนุ และ
เวลาที่ใช้ จาํ นวนเงนิ ท่ีใช้เปรียบเทยี บกับงบประมาณ จาํ นวนหน่วยผลติ และขนาดของบรกิ ารท่ีใช้ในระยะเวลา
ทก่ี าํ หนด

๑ เสนาะ ติเยาว, หลักการบรหิ าร.(กรุงเทพฯ:โรงพมิ พมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,๒๕๔๓) หนา ๒๙๓-๓๑๕

-๒-

- มาตรฐานปจั จัยท่ีใช้ในการผลติ (Input Standard) จะวดั ด้วยความพยายามท่ี
ใหก้ บั งาน (Work Effort)เช่น การวัดประสทิ ธิภาพในการใชท้ รัพยากรเปน็ ต้น

๑.๒ การวดั ผลงานท่ีทาํ ไดจ้ ริง (Measuring Actual Performance) ได้แก่ การวัดผล
งานทเี่ กิดขน้ึ จรงิ เปน็ หนว่ ยการผลติ ท่ีจริงหรือความพยายามที่ใหก้ บั งานจรงิ หน่วยวดั ท่ใี ชจ้ ะตอ้ งเป็นอยา่ ง
เดียวกันกับมาตรฐานท่ีกําหนดขนึ้ มา เชน่ จาํ นวนทผ่ี ลิต จาํ นวนวนั ที่ขาดงาน จํานวนแฟ้ม จํานวนรายได้ท่ี
เกดิ ข้นึ ซึ่งผลงานเหลา่ นไี้ ด้มาจากการรายงาน การสงั เกต และสถติ ิตวั เลขตา่ งๆ

๑.๓ การเปรียบเทียบผลงานที่ทํา ได้จริงกับมาตรฐาน (Comparing Actual
Performance with Standard) เป็นการเปรียบเทียบเนื้อหาความแตกต่างที่เกิดข้ึน ระหว่างหน่วยงานท่ีทําได้
จรงิ กับมาตรฐาน

๑.๔ การแก้ไขใหถ้ กู ตอ้ ง (Taking Corrective Action) ไดแ้ กก่ ารดาํ เนนิ การทางดา้ นการ
บริหาร เมื่อพบความแตกต่างระหว่างผลงานทเี่ กดิ ขึ้นจริง กับมาตรฐานเพื่อปรับการดําเนนิ งานใหเ้ ป็นไปตาม
แผนทต่ี อ้ งการ

๒. เทคนิคในการควบคมุ และตดิ ตามผล แบ่งออกเป็น ๔ ดา้ น ๒ ดังน้ี
๒.๑ การควบคมุ ด้านคุณภาพ หมายถงึ เทคนคิ ต่างๆ ทนี่ าํ มาใช้เพ่ือวัดว่าผลผลิตที่เกดิ ข้ึน

ตรงตามเกณฑม์ าตรฐานหรอื ไม่
๒.๒ การควบคมุ ดา้ นปรมิ าณ คอื การควบคุมทมี่ ีการใชต้ วั เลขต่างๆ เพือ่ นํามาใช้วดั ผล

ในทางปริมาณ เชน่ การวัดจํานวนผลผลติ วา่ เป็นไปตามท่ีต้ังเป้าหมายเอาไว้หรือไม่
๒.๓ การควบคุมด้านค่าใช้จ่าย โดยการใช้ระบบงบประมาณเพื่อควบคุมค่าใช้จ่าย

ซ่ึงเป็นเทคนิคท่ีสําคัญและนิยมใช้มากท่ีสุด โดยการให้หน่วยงานจัดทํางบประมาณการใช้จ่ายในทุกๆ ด้านไว้
ล่วงหน้า เมื่อเข้าสู่ข้ันตอนการปฏิบัติ ผู้บริหารก็จะสามารถควบคุมค่าใช้จ่ายโดยวัดผลการใช้จ่ายท่ีเกิดขึ้นกับ
งบประมาณทีต่ ัง้ เอาไว้

๒.๔ การควบคุมด้านเวลา คอื การควบคมุ ให้งานต่าง ๆ ดาํ เนนิ ไปไดโ้ ดยสามารถจัดทาํ
ได้เสร็จตามกําหนดเวลาที่วางเอาไว้

๓. คณุ ลักษณะของการควบคมุ และติดตามผลทดี่ ี ๓ ไดแ้ ก่
๓.๑ ต้องประหยดั ระบบการควบคุมและตดิ ตามผลทด่ี นี อกจากจะต้องช่วยให้เกดิ ความ

มน่ั ใจวา่ องคก์ รจะสามารถทาํ งานบรรลุวัตถปุ ระสงคท์ ่ีต้งั เอาไวแ้ ลว้ ในเวลาเดียวกันการควบคุมและติดตามผล
จะต้องคุม้ คา่ กับต้นทนุ ในการดําเนนิ การด้วย ระบบการควบคมุ และตดิ ตามผลทีม่ ากเกนิ ความจาํ เปน็ มวี ธิ กี าร

๒ ธงชัย สนั ตวิ งศ, หลกั การจดั การ.(กรุงเทพฯ:ไทยวฒั นาพานชิ ย, ๒๕๓๑) หนา ๑๔๕-๑๖๐

๓ อางแลว ,ธงชยั .หนา ๑๕๓-๑๕๔

-๓-

หรือเทคนคิ ทยี่ งุ่ ยาก และเสียคา่ ใช้จ่ายสูงนัน้ ยอ่ มทาํ ให้เกิดผลเสยี มากกวา่ ผลดี ผบู้ ริหารจงึ ควรคํานึงถงึ ตน้ ทุน
ทง้ั ในแง่ของระยะเวลาและค่าใชจ้ า่ ยท่ีเกดิ ข้นึ ในการควบคุมและตดิ ตามผลดว้ ย

๓.๒ รายงานผลตอ้ งรวดเรว็ การควบคุมและตดิ ตามผลจะตอ้ งสามารถรายงานผลความ
แตกต่างระหว่างเปา้ หมายที่พงึ ได้รบั กบั ผลงานท่ีเกิดข้ึนจริงไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว เพ่ือใหผ้ ู้บริหารสามารถดําเนินการ
แก้ไข และปรบั ปรงุ ข้อผดิ พลาดที่เกิดขึ้นได้อยา่ งทันทว่ งที

๓.๓ เนน้ ส่วนสําคญั ของผลงาน การควบคุมและติดตามผลจะตอ้ งเน้นถงึ สว่ นสาํ คัญของ
ผลงานอันจะส่งผลต่อความสําเร็จตามวัตถุประสงค์ การวัดในรายละเอยี ดปลกี ยอ่ ยทไ่ี มใ่ ชส่ ว่ นสําคัญของ
ความสาํ เร็จของงานตามวัตุประสงคย์ ่อมไมเ่ กดิ ประโยชน์ เพราะจะไม่ช่วยชใี้ ห้เห็นถึงความเป็นไปทแ่ี ทจ้ รงิ ซง่ึ
จะมผี ลต่อความสําเรจ็ ขององค์กร

๓.๔ สามารถเข้าใจได้ง่าย การควบคุมและติดตามผลจะต้องเข้าใจง่าย ไม่ยุ่งยาก
ซับซ้อน เพราะหากกระบวนการมีความยุ่งยากซับซ้อน หรือเลื่อนลอยจนยากที่จะเข้าใจ ก็ย่อมไม่เกิดแรงจูงใจ
ในการปฏบิ ัตติ าม และไมอ่ าจกอ่ ให้เกิดประโยชนใ์ นทางปฏบิ ัตไิ ด้

๓.๕ เป็นที่ยอมรับ การควบคุมและติดตามผลควรมีการช้ีแจงให้ผู้ปฏิบัติเล็งเห็นถึง
ประโยชน์และเหตุผลประกอบ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติเกิดความยอมรับ และทุ่มเทในการปฏิบัติหน้าที่เพ่ือให้บรรลุ
เปา้ หมาย

๔. ประโยชน์ของการควบคุมและตดิ ตามผล๔ มีดงั ต่อไปน้ี
๔.๑ ทําใหง้ านตา่ ง ๆ มีความสอดคลอ้ งกัน ไมว่ ่าจะเป็นงานของแตล่ ะคน หรอื งานของ

แตล่ ะกล่มุ รวมถงึ งานของแตล่ ะหน่วยงานสอดคล้องกนั นอกจากนนั้ งานตามแผนระยะส้ันและแผนระยะยาวของ
ทง้ั องค์กรสอดคลอ้ งกันอีกดว้ ย

๔.๒ ทําใหเ้ ป้าหมายขององค์กรสาํ เร็จสมบรู ณท์ งั้ เป้าหมายหลกั และเปา้ หมายรองเกดิ ข้ึน
อย่างสอดคล้อง เหมาะสมอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ หรอื ด้วยค่าใชจ้ า่ ยทต่ี ่าํ สดุ

๔.๓ ทาํ ให้วธิ ีการปฏบิ ตั ินโยบาย และกฎเกณฑข์ อ้ บงั คบั ต่างๆขององคก์ รดาํ เนนิ ไปใน
แนวทางเดียวกนั ตลอดท้ังระบบ

๔.๔ ชว่ ยป้องกันมใิ ห้ทรพั ยากรตา่ งๆ ของหนว่ ยงาน ถูกใช้ไปอย่างไม่มีประสิทธภิ าพ
หรือต้องสูญเสยี ไปโดยเปล่าประโยชน์

๔.๕ ชว่ ยรกั ษาคณุ ภาพของงานให้ตรงตามวตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายทก่ี าํ หนดไว้ และช่วย
ให้สามารถดาํ เนนิ งานได้ตรงตามความต้องการของผู้รบั บรกิ าร

๔.๖ ทําให้สามารถกําหนดมาตรการในการปรับปรุงแก้ไขและป้องกันความผิดพลาดใน
ระหวา่ งกระบวนการปฏบิ ัติงานไดต้ ลอดเวลา ซึ่งเปน็ แนวทางทดี่ ีกวา่ การแก้ไขเม่ือการปฏบิ ัติงานสิ้นสุดลงแล้ว

๔ อา งแลว ,เสนาะ. หนา

-๔-

วัตถปุ ระสงค์ในการจัดทาํ ค่มู อื การติดตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน
๑. เพ่อื ให้เจ้าหนา้ ทผี่ ูป้ ฏบิ ตั ิใช้เป็นคมู่ อื ประกอบในการดําเนินงานและให้เปน็ ไปตาม

มาตรฐานเดียวกัน
๒. มีการพฒั นา ปรับปรุงมาตรฐานการทาํ งานใหเ้ กิดประสิทธิภาพยง่ิ ข้นึ

ขอบเขตภารกิจ
๑. คู่มือการปฏิบัติงานนี้ ครอบคลุมขั้นตอนตั้งแต่การดําเนินงานตามแผนงาน / โครงการท่ีกําหนดไว้

ตามแผนปฏิบตั ริ าชการประจาํ ปี มีระบบการตดิ ตามและประเมนิ ผลและมมี าตรฐานการปฏิบตั งิ าน
๒. จัดทําแบบการติดตามผลการดําเนินงานและการใช้จ่ายเงินงบประมาณ กําหนด

ผู้รับผิดชอบ จัดทําแผนการติดตามและประเมินผล ติดตามงาน รวบรวมข้อมูล ตรวจสอบ ประมวลผล
วิเคราะห์ประเมินผล จนกระท่ังจัดทํารายงานเสนอผู้บริหาร เพ่ือนําข้อมูลไปปรับปรุงและพัฒนาในการ
กาํ หนดแผนในปีตอ่ ๆ ไป

๓. จัดทํารายละเอียดโครงการประเมินผลแผนงาน/โครงการของกรมที่ดิน ที่ดําเนินการใน
ส่วนภูมิภาคเสนอผู้บริหาร เพื่อขออนุมัติโครงการ กําหนดระยะเวลาที่จะดําเนินการ ศึกษาเอกสารและงาน
ประเมินท่ีเก่ียวข้อง สร้างเครื่องมือและปรับปรุงเคร่ืองมือ เก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม วิเคราะห์ข้อมูล
สรุปผลและเขียนรายงานการประเมิน จัดทํารายงานฉบับสมบูรณ์ เสนอผู้บริหารให้ความเห็นชอบ และนําผล
การประเมินแจ้งเวียนใหห้ น่วยงานท่เี กี่ยวข้องทราบและถอื ปฏิบตั ิ รวมทง้ั ปรบั ปรุงการดําเนินงานตอ่ ไป

-๕-

แผนผงั ทางเดนิ ของงาน (Work Flow) กระบวนการตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน

สาํ นกั / กอง นําขอ้ มูลไปปรบั ปรุง / พัฒนางาน

ศึกษาแผนงาน / โครงการของหนว่ ยงานทไ่ี ด้กําหนดไวภ้ ายใต้ผลผลติ ตามแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาํ ปี

วางระบบการตดิ ตามและประเมินผล และมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน รายงานให้
ผูบ้ ังคับบญั ชาทราบ

จัดทาํ แบบรายงานการติดตามผลการ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
ดําเนินงานและการใชจ้ ่ายเงนิ แล้วแจง้
เวียน และจดั ส่งแบบรายงาน จัดทําแผนตดิ ตามและ
ประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน

หน่วยผ้ปู ฏิบตั ิ ตดิ ตามและรวบรวมขอ้ มูลจาก
แบบรายงานและจดั เกบ็ ข้อมูลใน
จดั ทาํ รายงานตามแบบทก่ี าํ หนด
และจัดส่งรายงานผลเปน็ ประจาํ พืน้ ทห่ี นว่ ยปฏบิ ตั ิ
ทกุ เดอื น
แก้ไข / ปรับปรงุ ข้อมูล

ตรวจสอบขอ้ มูล

ประมวลผล / วเิ คราะห์ / ประเมินผล
รอบ เดอื น/ไตรมาส

ทบทวนผล / จดั ลาํ ดับความสาํ คญั ของปญั หา เสนอผบู้ รหิ าร
อุปสรรค และจดั ทําสรุปรายงานผล

-๓-

-๖-

-๖-

ข้ันตอนการปฏบิ ตั งิ านของกระบวนการตดิ ตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน
การดาํ เนินการตามกระบวนการติดตามและทบทวนผลการปฏิบัติงานทุกหน่วยงานภายในกรมที่ดิน

จะต้องมีระบบการติดตามและประเมินผลการทบทวนผลการปฏิบัติงานภายในของแต่ละสํานัก / กอง และ
มีการติดตาม ทบทวนปรับปรุงผลการดําเนินการเป็นประจําและต่อเนื่องจะทําให้เกิดกระบวนการ Plan –
Do –Check – Act (PDCA) นาํ ผลการทบทวนไปจัดลําดับความสําคัญว่าปัญหา อุปสรรคใดจําเป็นจะต้อง
แก้ไขและปรับปรุง ก่อน – หลัง และนําผลดังกล่าวไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาหน่วยงาน เพ่ือยกระดับ
ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการขององค์กร โดยมีข้นั ตอนการปฏิบตั ิดงั น้ี

๑. ศึกษาแผนงาน/โครงการที่หน่วยงานได้รับมอบหมายให้ดําเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ
ประจําปีของกรมที่ดินว่ามีการกําหนดกรอบระยะเวลาในการทํางานแผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ
การกาํ หนดตวั ชว้ี ัดและมาตรฐานในการทาํ งานไว้อยา่ งไรบา้ ง

๒. การวางระบบการติดตามและประเมินผลภายในหน่วยงาน ประกอบดว้ ย
๒.๑ กําหนดตัวผูร้ บั ผดิ ชอบในการติดตามและประเมินผล โดยผู้บงั คับบญั ชาอาจจะมี

คําส่ังมอบหมายเปน็ ในรปู แบบคณะทํางานหรอื มอบหมายเปน็ รายตัวบคุ คล แลว้ แต่ความเหมาะสมตามกรอบ
โครงสร้างอตั รากาํ ลังและภารกิจของหน่วยงาน

๒.๒ กําหนดแบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ซึง่ จะต้องประกอบดว้ ยส่วนสําคัญหลกั ๆ
ดงั น้ี

- ชือ่ หนว่ ยงาน
- กจิ กรรมหรือโครงการท่ไี ดร้ บั มอบหมาย
- ตวั ชีว้ ัดหรอื มาตรฐานในการดําเนนิ งาน
- แผนการดําเนินงานและการใชจ้ ่ายเงนิ งบประมาณ
- ผลการดาํ เนินงานและการใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณ
- ปญั หาอปุ สรรคหรือปัจจัยใดทีส่ ่งผลกระทบตอ่ การทํางาน และแนวทางแกไ้ ข
๒.๓ กําหนดรอบระยะเวลาในการส่งแบบรายงานและการตรวจติดตามในพื้นท่ี ซึ่ง
โดยทั่วไปจะกําหนดให้รายงานผลงานเป็นรายเดือนหรือรายไตรมาส ให้สอดคล้องกับการจัดทําแผนการ
ปฏิบัติการประจําปีของกรมที่ดิน เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาได้ทราบความก้าวหน้าของงานและหากมีปัญหา
อุปสรรคสามารถแกไ้ ขไดท้ ันทว่ งที
๓. แจ้งเวียนแบบรายงานการติดตามผลการดําเนินงานและการใช้จ่ายเงินให้เจ้าหน้าที่ใน
หนว่ ยปฏบิ ตั ไิ ดร้ บั ทราบและศึกษาทําความเข้าใจในรายละเอยี ดไปในทิศทางเดยี วกัน

-๗-

๔. ตดิ ตามผลการปฏบิ ัตงิ านและการใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณ รวมท้ังปัญหาอุปสรรคทอ่ี าจ
เกิดขึ้น การรวบรวมขอ้ มลู ผลการปฏบิ ตั ิงานเก็บรวบรวมจาก ๒ แนวทางคือ

๔.๑ การรวบรวมข้อมูลจากแบบรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านทห่ี นว่ ยปฏิบตั ิ รายงานผล
การดําเนินงานเป็นประจาํ ตามรอบเวลาที่กาํ หนด ซ่ึงจะกาํ หนดให้รายงานทุกเดือนอย่างนอ้ ยเดอื นละ ๑ ครง้ั

๔.๒ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากการตรวจติดตามผลการปฏิบตั งิ านในพ้นื ท่ี ซ่งึ กาํ หนด
รอบเวลาการตรวจอย่างน้อยปีงบประมาณละ ๑ ครงั้ หรอื มากกวา่ นัน้ ตามแต่ลักษณะของงาน ทั้งน้อี าจจะเพ่ิม
รอบการตรวจในกรณเี กดิ วิกฤตผลงานไม่เปน็ ไปตามเปา้ หมายเพ่ือให้ทราบปญั หาอปุ สรรคทเี่ กดิ ขนึ้

๕. ตรวจสอบข้อมูลจากแบบรายงาน เมื่อได้รับข้อมูลจากหน่วยปฏิบัติก็จะดําเนินการ
ตรวจสอบข้อมูล หากมีข้อสงสัย หรือพบว่าข้อมูลท่ีได้รับน้ันคลาดเคลื่อนบางประการ ก็จะประสานงานกับ
หน่วยผู้ปฏบิ ตั ิ เพือ่ แกไ้ ข / ปรับปรงุ ข้อมูลให้ถูกต้อง

๖. ประมวลผลข้อมูลการดําเนินงาน ปัญหาอุปสรรคท่ีเกิดขึ้น และ วิเคราะห์
ประเมินผลการดําเนินงาน การใช้จ่ายเงินงบประมาณ รอบ ๓, ๖, ๙ และ ๑๒ เดือน โดยมีการ
เปรียบเทียบผลการดําเนินงาน ผลการใช้จา่ ยเงินงบประมาณกบั แผนงาน แผนเงินที่ได้กําหนดไว้ เป็นรายเดือน /
รายไตรมาส เพื่อจะได้ทราบว่าผลการดําเนินงานดังกล่าวเป็นไปตามแผนท่ีได้กําหนดไว้หรือไม่เพียงใด และ
มีการวิเคราะห์ถึงปัจจัย /สาเหตุที่ทําให้การดําเนินงานนั้นไม่เป็นตามแผนและไม่สอดคล้องกับงบประมาณท่ีได้รับ
รวมท้ังเร่ืองอัตรากําลังบุคลากรที่ใช้ในการดําเนินงานตามแผนงาน /โครงการ น้ัน ๆ เพียงพอหรือไม่ การ
คํานวณต้นทุนต่อหน่วย ความคุ้มค่าในการดําเนินงาน ตลอดจนผลกระทบของสภาวะทางเศรษฐกิจ เป็นต้น
เพ่ือที่หน่วยงานจะได้ดําเนินการปรับปรุงและพัฒนาแผนงาน / โครงการให้สามารถดําเนินงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและเกดิ ประโยชน์สูงสดุ

๗. สรปุ ผลประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านเสนอผูบ้ รหิ าร เพอ่ื ให้ทราบถึงความก้าวหน้าผลการ
ปฏบิ ัตงิ าน ในรอบ ๓ , ๖ , ๙ และ ๑๒ เดอื น จัดลาํ ดับความสําคญั ของปัญหาอปุ สรรคหรือปจั จยั ที่มผี ลต่อ
การดําเนินงานเพื่อพจิ ารณาสั่งการ ใหก้ ารดําเนินงานประสบความสําเรจ็ ตามตวั ชี้วัดและเกณฑม์ าตรฐาน
ทกี่ ําหนดไว้ และใช้เปน็ ขอ้ มูลในการทบทวนกิจกรรมโครงการในปีงบประมาณต่อ ๆ ไป

มาตรฐานงานของกระบวนการ ตดิ ตามและประเมินผลตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปงี บประมาณ

ในกระบวนการติดตามและทบทวนผลการปฏิบัติงานภายใน ๑ รอบปีงบประมาณจะต้อง

ประกอบด้วยขัน้ ตอนตา่ งๆ และในแตล่ ะขัน้ ตอนจํานวนครั้งและระยะเวลาในการทาํ งานแตกต่างกัน จึงกําหนด

เป็นมาตรฐานในการทาํ งานในขั้นตอนตา่ งๆ ดังนี้

๑. การกําหนดแบบรายงานการติดตามผลการดําเนินงาน การใช้จ่ายเงินงบประมาณ

และแจง้ เวียนแบบรายงานให้หน่วยผู้ปฏบิ ตั ทิ ราบ ปีละ ๑ ครง้ั / วนั

๒. การตดิ ตาม รวบรวมขอ้ มูลจากแบบรายงาน เดือนละ ๑ ครั้ง / ๑ วัน

-๘-

๓. การตรวจติดตามขอ้ มลู ในพ้นื ท่ี ปลี ะ ๑ ครั้ง / ๒๘ วัน

๔. การตรวจสอบข้อมูล ๔ วัน

๕. การประมวลผล / วเิ คราะห์ / ประเมินผล ๔๐ วัน / ปี

๖. การทบทวนผล / จดั ลาํ ดบั ความสําคัญ และจัดทาํ สรปุ รายงานเสนอผู้บริหาร ๘-๑๐ วนั

มาตรฐานของกระบวนการ ประเมนิ ผล แผนงาน/โครงการต่าง ๆ ของกรมท่ีดินในสว่ นภมู ภิ าค

ในการประเมินผลโครงการในแต่ละโครงการจะต้องประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ และในแต่ละ

ข้ันตอนจํานวนครั้งและระยะเวลาในการทํางานแตกต่างกัน จึงกําหนดเป็นมาตรฐานในการทํางานในขั้นตอน

ตา่ ง ๆ ดังนี้

๒.๑)ศกึ ษาเอกสารและงานประเมินท่ีเกย่ี วข้อง ๓๐ วนั

๒.๒)ประสานงานกับเจา้ ของโครงการ ๕ วนั

๒.๓)จัดทํารายละเอยี ดโครงการประเมินเสนอผู้บรหิ าร ๕ วัน

๒.๔)สร้างเครอ่ื งมือ ทดลองใช้ และปรบั ปรุงเคร่อื งมอื ๓๐ วัน

๒.๕)เกบ็ รวบรวมข้อมูลภาคสนาม ๒๕ วนั ทําการ

๒.๖)นาํ ผลมาวเิ คราะหข์ อ้ มลู ๓๐ วัน

๒.๗)สรุปผลและเขียนรายงาน ๒๕ วัน

๒.๘)จัดทาํ รายงานฉบับสมบรู ณ์เสนอผบู้ รหิ าร ๒๐ วัน

ระบบการตดิ ตามและประเมินผลของกระบวนการตดิ ตามและทบทวนผลการปฏิบัติงาน
ผบู้ งั คับบัญชาจะต้องตรวจสอบการทํางานของผู้มีหนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบในการติดตามและ ทบทวนผล

การปฏบิ ตั ิงานของหนว่ ยงานเปรยี บเทยี บกับผลการดําเนนิ งานท่ีผา่ นมา เป็นระยะ ๆ เพอื่ ให้การดาํ เนินงานเป็นไปตาม
เปา้ หมายทีก่ ําหนด หรอื เปรยี บเทยี บกบั มาตรฐานที่กําหนดไว้ตามแบบติดตามมาตรฐานงานทแ่ี นบกบั คูม่ ือน้ี

ประโยชน์ของการจดั ทาํ คูม่ ือปฏบิ ตั ิงานของกระบวนการติดตามและทบทวนผลการปฏิบตั งิ าน
๑. เพือ่ ให้ทุกหนว่ ยงานนําไปใชเ้ ป็นแนวทางการตดิ ตามและทบทวนผลการปฏิบัติงาน

เป็นมาตรฐานเดยี วกัน
๒. เพอ่ื ใหท้ ุกหน่วยงานมรี ะบบการติดตามประเมินผลและทบทวนผลการปฏิบตั งิ าน

ท่ีชดั เจนและปรบั ปรุงพฒั นาหน่วยงานให้มีประสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึ้น
๓. เพ่ือให้ทุกหน่วยงานมกี ารตดิ ตามความคืบหนา้ ของการดาํ เนนิ งาน การใชจ้ า่ ยเงินงบประมาณ

ใหเ้ ป็นไปตามแผนปฏิบตั งิ านท่ีกําหนดไว้ และมกี ารทบทวนผลการปฏิบัตงิ าน เพอ่ื ใหง้ านบรรลุเปา้ หมายทีว่ างไว้

-๙-

แบบติดตามมาตรฐานงานของกระบวนการตดิ ตามและทบทวนผลการปฏบิ ตั ิงาน
ประจาํ ปีงบประมาณ ............................
สาํ นัก / กอง ..............................

ขน้ั ตอน จาํ นวนครงั้ เวลาท่ี เวลาท่ีใชจ้ รงิ หมายเหตุ
กาํ หนด (วนั /ป)ี
(วัน/ ปี)

๑. การกาํ หนดผู้รับผิดชอบและแบบ
รายงานการติดตามผลการดําเนนิ งาน
การใช้จา่ ยเงนิ งบประมาณ และแจ้งเวยี น
แบบรายงานให้หนว่ ย ผูป้ ฏิบตั ดิ าํ เนินการ
จดั ทาํ และจดั สง่ รายงาน
๒. การติดตาม รวบรวมข้อมลู

๓. ตรวจตดิ ตามข้อมลู ในพนื้ ที่

๔. การตรวจสอบข้อมลู

๕. การประมวลผล / วิเคราะห์ /
ประเมนิ ผล
๖. การทบทวนผล /จดั ลาํ ดับความสาํ คญั
และจัดทาํ สรปุ รายงานเสนอผูบ้ รหิ าร

- ๑๐ -

แผนผงั ทางเดนิ ของงาน (Work Flow) กระบวนการประเมินผลโครงการ
ศกึ ษาเอกสารและงานประเมนิ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

จัดทาํ รายละเอยี ดโครงการประเมินเสนอผบู้ ริหาร
สรา้ งเครื่องมอื และปรบั ปรงุ เคร่อื งมือ
เก็บรวบรวมขอ้ มลู ภาคสนาม
วเิ คราะห์ข้อมูล
สรปุ ผลและเขียนรายงานประเมนิ ผล

จัดทาํ รายงานประเมินผลฉบับสมบรู ณ์เสนอผู้บริหาร
แจง้ เวยี นใหห้ น่วยงาน/จงั หวดั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งทราบและถือปฏบิ ัติ

- ๑๑ -

การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ:ปฏิบัติการเพอ่ื พัฒนาปรบั ปรงุ งาน รนุ่ ท่ี ๙

โดย นางภูริถี เพชรเอม
นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชํานาญการพเิ ศษ

-----------------------------------------------------

๑.หัวข้อ มโนทัศนก์ ารติดตามและประเมนิ ผลโครงการ (รศ.ดร. พนิต เขม็ ทอง)

๑.๑ การติดตาม (Monitoring) หมายถงึ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล เพอื่ ตรวจสอบว่าการดาํ เนนิ งาน

เปน็ ไปตามแผนปฏิบัติงานท่ีวางไวห้ รือไม่

จดุ มุง่ หมายของการตดิ ตาม

- เพื่อให้การดําเนนิ โครงการเป็นไปตามแผน

- เพือ่ ใหใ้ ชท้ รพั ยากรได้ เต็มท่ี คุ้มคา่ และประหยัด

- เพอื่ ใหท้ ราบถงึ ปัญหา อปุ สรรค ในการดําเนินงาน

- เพื่อสนับสนุนโครงการใหบ้ รรลผุ ล

- เพอื่ ใหไ้ ดแ้ นวทางแก้ไข ปรบั ปรงุ ปัจจยั นําเข้าและกิจกรรมต่างๆ

๑.๒ การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง กระบวนการทใี่ ช้ในการอธบิ ายและตดั สนิ คณุ ค่าของส่งิ

ใดสง่ิ หน่งึ อยา่ งมีหลกั เกณฑ์

จุดมุ่งหมายของการประเมนิ ผล

- เปน็ ขอ้ มลู สารสนเทศประกอบการตัดสนิ ใจ

- เพ่ือให้การบรหิ ารโครงการเปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ

- เพ่อื นําไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ โครงการที่คลา้ ยกัน

- เพ่ือตรวจสอบผลการดําเนินโครงการว่าประสบผลสําเรจ็ หรือไม่

ความสมั พันธ์ระหว่างการติดตามและการประเมนิ ผล

ความเหมือน : มกี ระบวนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล

ความแตกตา่ ง : การประเมินผลเป็นการตัดสนิ คณุ ค่าของโครงการ แตก่ ารติดตามเน้น

ความก้าวหนา้ ของโครงการ

การตดิ ตาม : มเี ฉพาะระหว่างดําเนนิ การแตก่ ารประเมนิ มีตัง้ แต่กอ่ นจนถงึ ส้นิ สดุ โครงการ

การประเมินผลไมใ่ ชก่ ารพิสจู น์ แตเ่ ป็นการปรบั ปรงุ / พฒั นาใหด้ ีข้ึน

(Evaluation is not only to prove but to improve)

๑.๓ แนวคดิ และทฤษฏีการประเมินผล

(๑)แนวคดิ Tyler’s = ประเมนิ ตามวตั ถุประสงค์ / จุดม่งุ หมายทก่ี ําหนดไว้

(Evaluation by Objetive / Goal Based)

โดยตดั สินความสาํ เร็จโดยมุ่งท่ีผลลัพธ์ของ(Output)

- ๑๒ -

(๒)แนวคดิ Cronbach’s = นอกเหนอื จากวตั ถปุ ระสงค์ / จุดมุ่งหมายแล้ว

ยงั เน้นทก่ี ระบวนการ (process)

(๓) แนวคดิ Stake’s = การประเมนิ ในลกั ษณะของการพจิ ารณาทั้ง

ระบบในภาพของความคาดหวัง และความเป็น

จรงิ (ปัจจัยพืน้ ฐานการดาํ เนินการและผลทไ่ี ด)้

(๔) แนวคิด Provus’s = การประเมินคอื การกาํ หนดเกณฑ์มาตรฐาน

และการคน้ หาช่องว่างระหวา่ งภาวะทเี่ ป็นจริง

กบั เกณฑม์ าตรฐานที่กําหนด หรอื อาจเรยี กวา่

เปน็ การประเมนิ ความไมส่ อดคลอ้ ง

(The Discrepancy Evaluation Model)

(๕) แนวคิด Stufflebeam’s = การประเมนิ ทัง้ ระบบ (CIPP)

C = สภาวะแวดล้อม (Context)

I = ปจั จยั เบอ้ื งต้น (INPUT)

P = กระบวนการ (PROCESS)

P = ผลผลิต (PRODUCT)

๑.๔ การประเมนิ ผลการฝกึ อบรม การประเมนิ ประสิทธภิ าพของการฝึกอบรม (Kirkpatrick)

* การประเมนิ กริ ยิ า (Reaction)

พจิ ารณาความพงึ พอใจของผเู้ ข้าอบรมทม่ี ตี ่อโครงการฝกึ อบรม

* การประเมนิ การเรยี นรู้ (Learning)

พจิ ารณาจากปรมิ าณความรขู้ องผเู้ ขา้ อบรม

* การประเมนิ พฤติกรรม (Behavion)

พจิ ารณาวา่ ผเู้ ข้าอบรมนําความร้ไู ปใชไ้ ด้มากนอ้ ยเพียงใด

* การประเมนิ ผลลพั ธ์ (Results)

พิจารณาทีต่ อ้ งการจะให้เกิดขนึ้ เชน่ การลดคา่ ใช้จา่ ย การเพ่มิ ปริมาณการผลติ อัตราการลาออก

ลดลง ฯลฯ

๒. หวั ข้อ ตวั ชีว้ ัดและเกณฑ์การประเมนิ ผล (ดร.อนุชยั รามวรงั กรู )

ตัวช้วี ัด (Indicator) คอื ขอ้ มลู ที่ระบบุ ง่ บอก ปรมิ าณ / ลักษณะของโครงการหรือแผนงานใน

ชว่ งเวลาใดเวลาหน่ึง และมีความชัดเจนเพยี งพอท่จี ะใช้เปรยี บเทียบหรอื สามารถบ่งบอกการเปลีย่ นแปลงได้

หลกั “SMART” PRINCIPLE

Specific = ชีว้ ัด

Measurable = วดั ได้

- ๑๓ -

Actionable = ทาํ ได้

Relevant = ตรงประเด็น

Timely = ทนั เวลา

ค่าของตวั ชี้วัด = จาํ นวน (Nunber)

= รอ้ ยละ (Percentage)

= อตั ราสว่ น (Ratio)

= สดั ส่วน (Proportion)

= อัตรา (Rate)

= ค่าเฉลย่ี (Average or Mean)

เกณฑ์ (Criteria) คอื ระดับของขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณ / คณุ ภาพ หรือมาตรฐานที่ควรจะเป็น เพือ่ ใช้ใน

การตัดสินความสําเร็จของการดาํ เนินงาน

แบบของเกณฑ์ แบ่งออกเปน็ ๒ แบบ

แบบท่ี ๑ : Benchmark

เปน็ การกาํ หนดค่าท่ียอมรบั ได้ไวท้ ่รี ะดับหนึ่ง ท้งั นี้ เพือ่ ใชเ้ ปรยี บเทยี บผลการดาํ เนนิ การวา่

ได้ผา่ นเกณฑ์ท่ีตงั้ ไว้ เช่น ผู้ท่จี ะผา่ นการฝึกอบรมจะตอ้ งไดค้ ะแนนทดสอบไมน่ อ้ ยกกว่า ๒๑ คะแนน จาก ๓๐

คะแนน (หรอื รอ้ ยละ ๗๐)

แบบท่ี ๒ : Point System

เปน็ การกาํ หนดระดับคะแนนไวเ้ ปน็ แตม้ หรอื เป็นช่วง เช่น คะแนน ๑ – ๓

๑ = ควรปรบั ปรุง

๒ = พอใช้

๓ = ดี

ตัวอยา่ งเกณฑม์ าตรฐาน รายขอ้

ดัชนีท่ี ๖ มีกระบวนการเรยี นรทู้ ีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สําคญั

 ดัชนีเชิงปรมิ าณ

 ดัชนีเชงิ คุณภาพ

เกณฑ์มาตรฐาน (ขอ้ )

๑. มีกลไกการให้ความรคู้ วามเขา้ ใจกบั อาจารย์ผู้สอนถงึ วัตถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายของการจัด

การศึกษาทกุ หลักสตู ร

๒. มีการออกแบบการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ เ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสาํ คญั ทกุ

หลักสตู ร

๓. มีการใชส้ อ่ื และเทคโนโลยหี รอื นวัตกรรมในการสอนเพือ่ สง่ เสริมการเรยี นรู้ทุกหลกั สตู ร

- ๑๔ -

๔. มีการจดั การเรยี นการสอนท่มี คี วามยืดหยุน่ และหลากหลายทีจ่ ะสนองตอบต่อความต้องการ
ของผู้เรียน

๕. มีการประเมินผลการเรียนการสอนท่ีสอดคลอ้ งกับสภาพการเรยี นรู้ทจ่ี ัดให้ผเู้ รียนและ
อิงพัฒนาการของผู้เรยี นทกุ หลักสูตร

๖. มกี ารประเมนิ ผลความพงึ พอใจของผเู้ รยี นในเรอื่ งคุณภาพการสอนและสิง่ สนับสนุนการ
เรยี นรู้ทุกหลักสูตร

๗. มรี ะบบการปรับปรุงวธิ กี ารเรียนการสอนและพัฒนารู้เรยี นอย่างตอ่ เนอื่ งทกุ หลกั สตู ร
ตวั อยา่ งเกณฑม์ าตรฐาน รายข้อ
เกณฑก์ ารประเมิน
คะแนน ๑ มกี ารดาํ เนนิ การไมค่ รบ ๕ ขอ้
คะแนน ๒ มกี ารดําเนินการ ๕ ข้อ
คะแนน ๓ มกี ารดําเนนิ การอย่างนอ้ ย ๖ ข้อ
ตวั อย่างเกณฑ์มาตรฐาน แบบระดบั
ดชั นที ่ี ๑๙ มกี ารจัดบริการแก่นิสติ และศิษยเ์ ก่า
 ดัชนเี ชงิ ปรมิ าณ
 ดชั นีเชิงคุณภาพ
เกณฑ์มาตรฐาน (ระดับ)
๑. มกี ารสาํ รวจความต้องการจาํ เปน็ ของนสิ ิตปีท่ี ๑
๒. มกี ารจดั บริหารดา้ นสิ่งอํานวยความสะดวกท่ีเอ้อื ตอ่ การพัฒนาการเรยี นร้ขู องนิสิต
๓. มีการจดั บรหิ ารดา้ นกายภาพทสี่ ่งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ของนสิ ิต
๔. มกี ารจัดบริการใหค้ ําปรกึ ษาแกน่ ิสิต
๕. มีบริการขอ้ มูลขา่ วสารทีเ่ ป็นประโยชนต์ ่อนิสิตและศษิ ย์เกา่
๖. มกี ารจัดโครงการเพ่ือพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาชีพแกน่ สิ ติ และศิษยเ์ กา่
๗. มีการประเมินคณุ ภาพของการใหบ้ ริการ ๕ เร่ือง ข้างต้น เปน็ ประจําทุกปี
๘. นาํ ผลการประเมนิ คุณภาพของการให้บริการมาพฒั นาการจัดบรกิ ารแกน่ สิ ติ และศิษยเ์ ก่า

ตัวอย่างเกณฑม์ าตรฐาน แบบระดบั
เกณฑ์การประเมนิ
คะแนน ๑ มีการดาํ เนินการไมค่ รบ ๗ ข้อแรก
คะแนน ๒ มีการดําเนนิ การ ๗ ขอ้ แรก
คะแนน ๓ มกี ารดาํ เนนิ การครบทกุ ข้อ

- ๑๕ -

ประเภทของเกณฑก์ ารประเมนิ ผล

๑. เกณฑ์สมบรู ณ์ (Absolute Criteria)
๒. เกณฑม์ าตรฐาน หรอื เกณฑ์เชงิ วิทยาศาสตร์ (Relative Criteria or Scientific Criteria)

๓. เกณฑส์ ัมพนั ธ์ หรอื เกณฑม์ าตรฐานเชิงนโยบาย (Relative Criteria or Scientific Criteria)
๔. เกณฑค์ วามเคล่อื นไหวเชงิ พัฒนา (Growth Criteria)

ตวั ชวี้ ดั คอื ขอ้ มูล

เกณฑ์ คือ ระดับของขอ้ มูลเพอื่ การตัดสนิ

ตัวอย่าง

- คะแนนเฉลย่ี ความรู้ความเขา้ ใจของผเู้ ข้ารับการอบรมไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๔

- ผูเ้ ข้าร่วมสัมมนาร้อยละ ๘๐ มีความพงึ พอใจต่อวทิ ยากรในระดับมาก

- มาตรฐาน (Standard) คอื ขอ้ กําหนดท่เี ห็นพ้องต้องกนั เพื่อการรบั รอง

๓.หัวข้อ กรอบแนวความคดิ และการออกแบบการประเมนิ (ดร.วสนั ต์ ทองไทย)

๓.๑ วัตถปุ ระสงค์ของการประเมนิ โครงการ - เพ่ือการตัดสนิ ใจ ทจี่ ะดาํ เนนิ โครงการหรือ

ยกเลิกโครงการ

- เพอ่ื การปรบั ปรุง การดําเนนิ โครงการ

๓.๒ ช่องเวลาของการประเมนิ โครงการ - กอ่ นจดั ทําโครงการ - เพือ่ ตัดสินใจ

- ระหว่างดาํ เนินการ - เพื่อปรับปรุง

- ส้ินสุดการดําเนินการ - สรุปผล ติดตาม

ผลกระทบ

๓.๓ การประเมินโครงการในเชิงเหตผุ ล - โครงการผา่ นการวิเคราะห์อย่างรอบคอบ

- โครงการมคี ณุ คา่

- มรี ายละเอยี ดของวัตถุประสงค์

วิธดี ําเนนิ การและการประเมินผลที่

ชดั เจนและสอดคลอ้ งกนั

- โครงการมีความเป็นไปได้

- รายละเอียดของโครงการชัดเจนเขา้ ใจง่าย

เหมาะสม

๓.๔ ผทู้ ่ที ําหนา้ ท่ีประเมินโครงการไดแ้ กผ่ ปู้ ระเมินภายในและผู้ประเมนิ ภายนอก

- ๑๖ -

๓.๕ ขน้ั ตอนของการประเมินโครงการ - ประเมินไปเพื่ออะไร เพอ่ื ตัดสนิ ใจ

- ใครเป็นผู้ประเมิน

- จะดําเนนิ การประเมินอยา่ งไร

- จะนาํ เสนอผลการประเมนิ อย่างไร

๓.๖ การวางแผนการประเมิน

- ชือ่ โครงการ

- การประเมินโครงการ (ชื่อโครงการท่ีจะถกู ประเมนิ )

- บรรยายลักษณะของโครงการท่จี ะประเมิน

- ใครเป็นผูป้ ระเมนิ มีความเกี่ยวข้องกับโครงการทีจ่ ะประเมินอย่างไร

- ประเมินโครงการไปเพื่ออะไร นําผลการประเมินไปใช้ประโยชนอ์ ย่างไร เพราะเหตุใด

๓.๗ การออกแบบการประเมิน

- แหลง่ ข้อมูล

- เครื่องมอื และวธิ ีการเกบ็ ขอ้ มลู

- การวิเคราะห์และการกําหนดเกณฑ์

๓.๗.๑ แหล่งข้อมลู - แหลง่ ข้อมลู ปฐมภูมิ

- แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ

- ประชากร (Population)

- กลุม่ ตัวอย่าง (Sample) – การสมุ่ ตัวอย่าง

- กลุ่มเป้าหมาย (Target Population)

- เอกสาร (Documant)

๓.๗.๒ การสมุ่ ตัวอย่างมี ๒ แบบ

- อาศยั หลกั ความนา่ จะเป็น เช่น การส่มุ อย่างง่าย การแบ่งช้ันภูมิ การสุ่มแบบแบง่ กลุ่ม

- ไม่อาศัยหลกั น่าความจะเป็น เชน่ แบบบงั เอิญ แบบเฉพาะเจาะจง แบบลกู โซ่

๔. หวั ข้อ เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล และการวเิ คราะห์ข้อมูล (ดร.วสนั ต์ ทองไทย)

๔.๑ เครื่องมือ / วิธีการทีใ่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล

• วัดความรู้ - ใชแ้ บบสอบถาม

• ความรู้สึก ความคดิ เหน็ ความพึงพอใจ - ใช้แบบสอบถามหรอื การสมั ภาษณ์

• ความสามารถใช้ในการปฏิบัติ - การสังเกตและประเมินผลงาน

- ๑๗ -

• คณุ ลักษณะนสิ ยั - การสังเกต การประเมนิ ตนเองประเมนิ จาก

บคุ คลอน่ื

• ข้อมูลเอกสาร - แบบบนั ทกึ การอา่ นจากเอกสาร

๔.๒ จะเก็บข้อมลู อยา่ งไร

- เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการเกบ็ ข้อมูลนํามาจากข้อผอู้ ืน่ หรอื พฒั นาเอง

๔.๓ การวางแผนในการพฒั นาเครือ่ งมือ
๑) กําหนดวา่ จะนาํ ขอ้ มลู ไปทําอะไร

๒) กําหนดว่าขอ้ มูลที่ตอ้ งการมีอะไรบา้ ง

๓) นยิ ามหรอื พฤติกรรมของข้อมลู ทเี่ ก็บว่าเปน็ อยา่ งไร

๔) จะใชว้ ิธีการเกบ็ อยา่ งไร

๕) จะใชเ้ ครอ่ื งมอื อะไรในการเกบ็ ข้อมูล
๔.๔ ตวั อย่างเคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการเกบ็ ข้อมูล

ความรู้ - แบบทดสอบ Pretest – Postest

ความรู้สึก - แบบวัด Rating Scell

ความคดิ เหน็ - แบบสอบถาม

พฤติกรรม - แบบสงั เกต
๔.๕ คณุ ภาพของเครื่องมือท่ใี ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

- ความตรง (Validity) - ถามให้ตรง สามารถวัดได้

- ความเทยี่ ง (Reliability) - สอดคลอ้ งกับข้อคําถาม เป็นเร่อื งเดียวกัน

- ความเปน็ ปรนัย (Objectivicy) – ความชัดเจนของภาษา

- ความสามารถในการนาํ ไปใช้ (Usability)

๔.๖ ขั้นตอนการพฒั นาเคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล

- ศกึ ษาเอกสาร ทฤษฏแี นวคดิ

- คาํ นิยาม กรอบแนวคดิ

- เขียนขอ้ คําถาม

- ตรวจสอบโดยผเู้ ชีย่ วชาญ
- นาํ ไปทดลองใช้

- ปรบั ปรงุ เพอ่ื ใชจ้ รงิ

๔.๗ โครงสรา้ งของแบบสอบถาม

ส่วนท่ี ๑ สว่ นนาํ

ส่วนท่ี ๒ การชี้แจงในคําตอบ

ส่วนท่ี ๓ ข้อคาํ ถาม

- ๑๘ -

๔.๘ ขนั้ ตอนการสร้างแบบสอบถาม
- กาํ หนดขอ้ มลู และตวั ชวี้ ัด เพศ ชาย-หญิง
- ความคดิ เห็นของบุคลากรทีม่ ตี ่อโครงการ
- ปญั หาและอปุ สรรค
- การนําความรทู้ ่ไี ดไ้ ปใช้

๔.๙ เลือกชนดิ และรปู แบบของแบบสอบถาม
- ปลายเปิด
- เติมคํา
- Check list
- เลือกตอบได้มากกวา่ ๑ ข้อ
- เรยี งลําดบั
- มาตรสว่ นประมาณค่า

๔.๑๐ การเขียนขอ้ คาํ ถาม
- ใชภ้ าษางา่ ย ๆ
- เขียนด้วยประโยคสั้นๆ
- เขียนให้ถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษา
- แตล่ ะขอ้ เขียนใหม้ ปี ระโยคเดยี ว
- ควรหลีกเลี่ยงการถามนํา
- หลกี เลย่ี งการลาํ เอียงของคนตอบ
- ไม่ควรใช้ปฏิเสธซ้อนปฏเิ สธ
- ใชภ้ าษาให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย

๔.๑๑ การเรียงขอ้ ความ
- การเรยี งโดยการจดั หมวดหมู่
- เรยี งคําถามที่ใกล้ตัวกอ่ น
- เรยี งคําถามทั่วไป จึงไปหาเฉพาะ
- เรื่องท่คี ุน้ มากไปหาคนุ้ นอ้ ย
- เร่มิ จากอดตี ปจั จบุ นั และอนาคต
- ใสห่ มายเลขประจําตวั
- เรยี งตัวเลือกให้สะดวกแกก่ ารตอบ – ซา้ ยขวา
- จัดพมิ พ์ใหน้ า่ อ่าน
- ควรพิมพ์หนา้ เดียว

๔.๑๒ การตรวจคุณภาพของแบบสอบถาม
- ความตรง (Validity)
- ความเปน็ ประโยชน์ (Objectivity)

- ๑๙ -

- ตรวจด้วยตนเองกอ่ น – เขา้ ใจคาํ ชีแ้ จง คําตอบ คําถามหรอื ไม่ – คาํ ถามจาํ เปน็ หรอื ไม่

คําถามครอบคลมุ ครบถว้ นหรอื ไม่ คาํ ถามทถ่ี ามมากครัง้ ๑ ประเดน็ หรอื ไม่

- ตรวจด้วยผู้เชีย่ วชาญ

๔.๑๓ การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม

- เกบ็ ด้วยตนเอง

- เก็บทางไปรษณีย์ควรทํารหัส
เครอื่ งมือที่มคี ณุ ภาพจะทาํ ใหไ้ ด้ข้อมลู ทีม่ ีคณุ ภาพ

๔.๑๔ ลกั ษณะของขอ้ มูล

- ขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพหรือข้อมลู เชงิ ปรมิ าณ

๔.๑๕ คาํ ถามการประเมนิ (Evaluation Qusetion)

๑. เพอื่ การบรรยาย
๒. เพอื่ เปรียบเทียบ

๔.๑๖ คุณสมบตั ิเพื่อการบรรยาย

๑. ความถ่ี

๒. ร้อยละ

๓. การหาคา่ กลาง = ค่าเฉลย่ี คา่ มธั ยฐาน ฐานนยิ ม
๔. การกระจายของขอ้ มลู = คา่ เฉลย่ี เบี่ยงเบนมาตรฐาน

๔.๑๗ การเปรยี บเทยี บมากกวา่ ๒ กลมุ่

ANOVA

- One way ANOVA

๔.๑๘ การวเิ คราะหเ์ นอื้ หา (Content Analysis)
กําหนดหวั ขอ้ หรอื ประเดน็

- วางเคา้ โครงของขอ้ มลู

- จัดลาํ ดบั เนอื้ หาท่ีปรากฏ

- ตีความและสรุปผลการวิเคราะหเ์ น้ือหา

๔.๑๙ เกณฑ์การประเมินโครงการ
- เกณฑเ์ ชงิ ปริมาณ

- เกณฑเ์ ชงิ คุณภาพ

ระดับคณุ ภาพ เกณฑ์คณุ ภาพ

ดีมาก ทําโครงงานเสร็จเร็วได้อย่างถกู ต้อง ชดั เจน และทกุ ประเดน็ สอดคลอ้ งกนั

ดี ทําโครงงานสําเร็จไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง และทกุ ประเด็นสอดคล้องกนั

พอใช้ ทําโครงงานสาํ เรจ็ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

ควรปรบั ปรงุ ทําโครงงานสาํ เร็จ

ประเมินไม่ได้ ทาํ โครงงานไม่สําเร็จ

- ๒๐ -

การแปลความหมายแบบอิงคเ์ กณฑ์

เข้ารว่ มกจิ กรรมตรงเวลาทุกคร้ัง (๒๐คร้ัง) - ดีมาก

เขา้ ร่วมกจิ กรรมตรงเวลา ๑๘-๑๙ คร้งั - ดี

เขา้ ร่วมกจิ กรรมตรงเวลา ๑๖-๑๗ ครง้ั - พอใช้

เขา้ รว่ มกจิ กรรมตรงเวลานอ้ ยกว่า ๑๖ ครัง้ - ควรปรับปรงุ

๕. หัวขอ้ การเขียนโครงการและรายงานการประเมนิ ผลโครงการ (ดร.สุนทรา โตบวั )

๕.๑ การวางแผนประเมินโครงการ

- ศึกษาโครงการ รวบรวมเอกสาร

- ปรึกษาหารือกับผู้ท่เี กยี่ วขอ้ งกบั โครงการ

- กําหนดวตั ถุประสงคข์ องการประเมิน

- กาํ หนดประเด็น ขอบเขต และวิธีการ

- การจดั ทําข้อเสนอโครงการประเมนิ

- การเสนอขออนมุ ัติโครงการ (Proposal)

๕.๒ องค์ประกอบของโครงการประเมิน (Proposal)

(๑) ชอื่ โครงการประเมนิ

(๒) ความเปน็ มาและความสาํ คญั

(๓) วัตถปุ ระสงค์ของการประเมนิ

(๔) ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รบั

(๕) ขอบเขตการประเมินผล

(๖) นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ

(๗) ระยะเวลาดาํ เนินการ

(๘) กรอบการประเมิน

(๙) วธิ กี ารประเมินโครงการ

(๑๐) ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง

(๑๑) เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการประเมิน

(๑๒) การเก็บรวบรวมข้อมูล

(๑๓) การวิเคราะหข์ ้อมูล

(๑๔) แผนดําเนินงาน

(๑๕) งบประมาณ

(๑๖) เอกสารอ้างอิง

- ๒๑ -

๕.๓ องค์ประกอบรายงานการประเมนิ โครงการ

ประกอบด้วย ๓ ส่วน

(๑) สว่ นประกอบตอนตน้
ปก : ชอื่ เรอ่ื ง คณะผปู้ ระเมนิ สถาบนั ปี พ.ศ.
บทคดั ยอ่ / บทสําหรับผบู้ รหิ าร
กติ ติกรรมประกาศ (ถา้ มี)
สารบรรณ

(๒) ส่วนเน้อื หา แบง่ เป็น ๕ บทคล้ายรายงานการวจิ ัย
บทที่ ๑ บทนาํ ประกอบดว้ ย ความเป็นมาและความสาํ คัญ
วตั ถปุ ระสงคข์ องการประเมนิ
ขอบเขตการประเมนิ ผล
นยิ ามศพั ท์เฉพาะ
ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ
บทท่ี ๒ เอกสารและวรรณกรรมทีเ่ กยี่ วข้อง
เอกสารและงานวจิ ยั
กรอบแนวคิดในการประเมนิ
บทที่ ๓ วธิ กี ารประเมินผลโครงการ
ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในการประเมนิ
การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
การวิเคราะหข์ อ้ มูล / เกณฑก์ ารตัดสนิ
บทที่ ๔ ผลการประเมนิ
บทที่ ๕ สรุปผล อภปิ รายและข้อเสนอแนะ

(๓) ส่วนประกอบตอนทา้ ย
บรรณานุกรม
ภาคผนวก เชน่ ภาพประกอบ รายชอื่ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ เคร่อื งมือ คําสัง่ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ฯลฯ

๕.๔ แนวทางการเขียนรายงานการประเมินโครงการ
(๑) ช่ือโครงการประเมนิ
- กะทัดรดั มคี วามชดั เจนในความหมาย ขนึ้ ต้นด้วย วิธีการศกึ ษา เชน่ การประเมิน

การติดตาม รายงานผลตามดว้ ยชือ่ โครงการ
ตวั อย่าง การประเมนิ โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังภยั ทางรงั สีของประเทศไทย

(๒) บทคดั ย่อ/บทสรุปสาํ หรบั ผู้บริหาร
- ความยาว ๑-๓ หนา้
- มสี าระครบถว้ นตามวตั ถุประสงคก์ ารประเมิน

- ๒๒ -

- เขยี นแตส่ าระท่ีสาํ คญั ใหเ้ กิดความเข้าใจ
. - เขยี นขอ้ เสนอแนะใหช้ ัดเจน
(๓) กติ ตกิ รรมประกาศ

- ไมค่ วรยาวเกิน ๑ หนา้
- ระบุชื่อบุคคล หน่วยงานที่ให้ความชว่ ยเหลอื ที่เกยี่ วข้องในงานนี้
- แบง่ ยอ่ หน้าตามความเหมาะสม
- เลอื กใชค้ ําใหเ้ หมาะสมกบั สถานภาพทีผ่ ูก้ ล่าวถงึ เช่น กราบขอบพระคณุ ขอขอบคณุ
(๔) บทท่ี ๑ บทนาํ
- ความเป็นมาและความสําคญั
- วัตถปุ ระสงคใ์ นการประเมนิ
- ขอบเขตการประเมินผล
- นิยามศัพทเ์ ฉพาะ
- ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั
(๕) ความเปน็ มาและความสาํ คญั ของปญั หา
เชอื่ มโยงความสาํ คญั
- ชใี้ หเ้ ห็นทม่ี าของโครงการ : นโยบาย
- กล่าวถึงสาระสาํ คัญของโครงการ
- ความสําคญั / เหตผุ ลทีต่ ้องประเมนิ โครงการ
- แนวคดิ ท่นี ํามาประเมิน / ประโยชน์ท่ีจะได้
(๖) วัตถุประสงคใ์ นการประเมิน
- บอกถงึ เปา้ หมายของผู้วจิ ยั วา่ ตอ้ งการศึกษาอะไร กบั ใคร ท่ไี หน เมือ่ ไหร่ ในแง่มมุ ใด
- ต้องระบสุ ง่ิ ทีต่ ้องการประเมิน (หรือตวั แปรทศี่ ึกษา) ตามกรอบแนวคิดของการประเมนิ
- เขยี นประโยคบอกเล่า ตามลาํ ดบั ของกิจกรรมที่จะดําเนนิ การ
(๗) ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รบั
- เปน็ การแสดงให้ทราบถงึ การประเมนิ ครง้ั นนั้ มีคุณคา่ และความสาํ คัญอยา่ งไร
- ประเดน็ ที่ควรเขียนบอกวา่
ความสําคัญหรอื ประโยชนท์ ่ไี ดจ้ ากการประเมิน จะนาํ ไปแก้ไขปญั หาหรอื พฒั นาโครงการได้อย่างไร
- สารสนเทศท่ีไดจ้ ะนําไปเสนอใคร....เพ่อื ใชใ้ นการตดั สนิ ใจเรอื่ งใด (และอยา่ เขียนเกินความจรงิ )
(๘) ขอบเขตการประเมนิ ผล
บอกถึงกรอบในการศกึ ษาประเมินครงั้ น้ี
- บอกประเด็นทตี่ อ้ งการประเมิน ( สอดคลอ้ งกบั คําถามและวตั ถปุ ระสงค์การประเมนิ )
- แหล่งผูใ้ หข้ อ้ มูล ( กลมุ่ เปา้ หมาย ประชากร กลุ่มตวั อยา่ ง เอกสาร)
- บอกขอบเขตพื้นท่ีระยะเวลา (ตามลกั ษณะโครงการ)

- ๒๓ -

(๙) นยิ ามศัพท์
- คํานยิ ามเฉพาะ เปน็ การให้ความหมายของคาํ
- คําท่จี าํ เปน็ ต้องนิยาม คอื ประเด็น / สิ่งทจี่ ะประเมนิ
- การเขยี นในลกั ษณะนิยามปฏบิ ัตกิ าร (บอกลักษณะของสิ่งทจ่ี ะประเมิน)

(๑๐) ระยะเวลาในการดําเนินงาน
- บอกถึงระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการดําเนินการ ตง้ั แต่ตน้ จนจบ เชน่ มกราคม ๒๕๕๔ ถงึ

มิถุนายน ๒๕๕๔
(๑๑) บทท่ี ๒ เอกสารและวรรณกรรมท่เี ก่ียวข้อง
- นาํ เสนอแนวคิดทฤษฏีและงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั แนวคิดการประเมนิ ใหค้ รบถว้ น
- มีการจดั หมวดหมู่ เรียงลําดบั การนําเสนออย่างเปน็ ระบบ
- เชอ่ื โยงทฤษฏแี ละงานวจิ ัยท่เี กย่ี วข้องกบั การประเมนิ ของตนเอง
- อกสารมแี หลง่ อา้ งอิงเป็นท่ีนา่ เช่ือถอื มีความทนั สมยั
(๑๒) กรอบแนวคิดในการประเมิน
- วตั ถุประสงค์
- ตัวบ่งชี้ / ข้อมูลทตี่ อ้ งการ
- แหลง่ ขอ้ มลู เครื่องมือ วิธีการวิเคราะห์ขอ้ มลู
- เกณฑก์ ารตดั สนิ
(๑๓) การเขยี นเรียบเรยี งเอกสาร
๑. ระบุชือ่ ผเู้ ขียนหรือช่ือผ้วู ิจยั ไวก้ ่อนในตอนต้น

DanielL Stufflebeam (๑๙๙๗) ได้เสนอวิธีการประเมนิ เชิงระบบ หรอื CIPP Model
๒. ระบุชอ่ื ผเู้ ขียน / ผวู้ จิ ัยไว้เม่ือจบข้อความแลว้
การประเมินผลสัมฤทธก์ิ ารดําเนินงานของกองสขุ ศึกษาปงี บประมาณ ๒๕๕๑ ใชก้ าร

รวบรวมขอ้ มูลทุตยิ ภูมิ (Seconlary Data) เพอ่ื ศึกษาถึงผลสัมฤทธ์ิการดําเนนิ งานของกองสขุ ศึกษา ปงี บประมาณ
๒๕๕๑... (วิมลศรี อทุ ยั พัฒนาชพี และพิณฤษดา อําภัยฤทธิ์,๒๕๕๑)

๓. เขียนแทรกในเนอื้ หา หากมีแหล่งอ้างอิงอื่นดว้ ย
(๑๔) บทท่ี ๓ วิธีการประเมนิ โครงการ

- แหล่งขอ้ มลู / ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง
- เครอื่ งมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
- การวิเคราะห์ข้อมูล

- ๒๔ -

(๑๕) วิธีการประเมินผลโครงการ

เขยี นอธิบายขยายความจากกรอบแนวคดิ การประเมนิ

วัตถปุ ระสงค์ ตัวบง่ ช้ี/ข้อมลู แหลง่ ขอ้ มลู เครอ่ื งมอื / การวเิ คราะห์ เกณฑ์

ทีต่ อ้ งการ วธิ ีการ ข้อมูล ผู้เข้าอบรมมี
คะแนนผ่าน
ผ้เู ขา้ รบั การ ความรคู้ วาม ผูเ้ ขา้ รบั การ แบบทดสอบใช้ ร้อยละของ เกณฑ์ร้อยละ
๘๐ ทุกคน
อบรมมคี วามรู้ เขา้ ใจ อบรม สอบหลังอบรม คะแนนที่ได้

ความเขา้ ใจ

(๑๖) เครอ่ื งมอื ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
- บอกว่ามีเครอื่ งมือก่ชี นดิ แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์
- เคร่ืองมือแตล่ ะชนดิ นัน้ มีลกั ษณะอยา่ งไร ใชเ้ กบ็ ข้อมลู ใด มที ี่มาอย่างไร (นาํ ของผ้อู ่นื มา

ปรบั ใชส้ รา้ งข้ึนเอง)
- มกี ารหาคุณภาพ ดา้ นความตรง(validity) ความเทยี่ ง (reliability) อย่างไร ไดค้ ่าเท่าใด (ถ้าม)ี
- เกณฑ์การใหค้ ะแนน และเกณฑก์ ารตดั สนิ อยา่ งไร
ตัวอยา่ ง
เครอื่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการประเมินโครงการ
เครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการประเมินน้ี ผวู้ ิจยั ได้สร้างขึ้นเองประกอบด้วย
๑. แบบสอบถาม เกยี่ วกับประเดน็ การประเมินต่างๆ ทีค่ ณะผ้ปู ระเมนิ ไดก้ ําหนดไว้ โดย

แบ่งออกเป็น ๒ ฉบบั ได้แก่ แบบสอบถามผรู้ บั ผิดชอบโครงการระดบั พ้ืนทกี่ ารศกึ ษาและผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ
ระดับสถานศกึ ษา เกย่ี วกับ ปัจจยั นาํ เขา้ การดําเนินงานและผลการดําเนินงาน

๒. แบบสมั ภาษณเ์ พอ่ื การศึกษาขอ้ มลู เชิงลึก เก่ยี วกับ การดาํ เนินโครงการฯ ปัญหา และ
มีวธิ กี ารแกไ้ ขในการดําเนนิ การ ความช่วยเหลือจากเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาและ / หรือกระทรวงศึกษา

แนวทางการสรา้ งเครอ่ื งมือ
คณะผู้ประเมินไดส้ รา้ งเครอ่ื งมือประเมิน โดยมีขน้ั ตอนดงั นี้
๑ การสรา้ งแบบสอบถาม

๑.๑ การกาํ หนดประเด็นการประเมนิ ทีต่ อ้ งการ นยิ ามความหมายและขอบเขตของ
แต่ละประเด็น

๑.๒ กําหนดรปู แบบของแบบสอบถาม
๑.๓ สรา้ งข้อคาํ ถามให้ครอบคลมุ ทกุ ประเด็นการประเมินตามนยิ ามและขอบเขตท่ีกาํ หนดไว้
๑.๔ นําไปทดลองใชเ้ พ่ือตรวจสอบความชัดเจนของข้อคาํ ถาม นํามาปรับปรงุ ก่อนนาํ ไปใชจ้ ริง

- ๒๕ -

วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
การรวบรวมข้อมูลในการวิจยั น้ี คณะผูป้ ระเมนิ ได้ดําเนินการดังน้ี
๑. รวบรวมขอ้ มลู ประเภทเอกสารและหลักฐานต่าง ๆ คณะผปู้ ระเมนิ ไดข้ อความ
ร่วมมอื กบั หน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งเพอ่ื ขอเอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การดําเนินงานโครงการ
๒. รวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานและบคุ คลท่เี ก่ยี วขอ้ งดําเนินการดังนี้

๒.๑ ส่งแบบสอบถามทางไปรษณียไ์ ปยังกล่มุ เปา้ หมาย แล้วให้นําสง่ คนื คณะผู้
ประเมินทางไปรษณีย์

๒.๒ คณะผู้ประเมนิ เดินทางไปดว้ ยตนเองเพ่อื สมั ภาษณ์เชงิ ลกึ
(๑๗) แผนการดาํ เนนิ งาน

- แจกแจงรายละเอียดตามข้ันตอนการปฏิบตั ทิ ่สี าํ คัญว่าจะทาํ อะไร เมอ่ื ไหร่ อาจกาํ หนด
เป็นรายสปั ดาห์ รายเดือน

- กําหนดกิจกรรมต้ังแตต่ ้นจนจบ
- นิยมเขียนเปน็ Gantt Chart
(๑๘) งบประมาณในการประเมนิ โครงการ
- ระบุคา่ ใช้จา่ ยตลอดโครงการ ว่ามคี า่ อะไรบ้าง
- อาจจักเป็นหมวดคือ

ก. หมวดตอบแทน
ข. หมวดคา่ ใช้สอย
ค. หมวดคา่ วัสดุ
(๑๙) เอกสารอา้ งอิง
- เรยี งตามลาํ ดบั อักษร ในรูปแบบใดๆ
- เอกสารภาษาไทยกอ่ น ภาษาอังกฤษ
- อ้างอิงให้ครบถ้วนตามเอกสารทีน่ าํ มาอ้างองิ ในเน้ือหารายงาน
(๒๐) บทท่ี๔ ผลการประเมิน
- จัดลําดบั การนาํ เสนอให้เหมาะสมเป็นตอนๆ
- การนาํ เสนอควรสอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์
- ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ที่เปน็ ตัวเลขนยิ มนาํ เสนอในรูปตาราง
- ตารางทนี่ าํ เสนอทุกตารางต้องมเี ลขตารางและช่อื กํากบั ทกุ ตาราง

- ๒๖ -

(๒๑) บทที่ ๕ สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ
๕.๑ การสรปุ ผลการประเมิน
การสรปุ ผลยอ่ สาระสาํ คัญซ่ึงครอบคลมุ สาระตา่ งๆ ดงั น้ี วัตถปุ ระสงค์การ

วจิ ยั วธิ ดี าํ เนินการวจิ ัย ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง เครื่องมอื การรวบรวมข้อมลู และผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
โดยนําเน้ือหาของหัวข้อตา่ งๆ เหลา่ นที้ ีไ่ ด้เขยี นไว้ในบทที่ ๑ บทที่ ๓ และบทท่ี ๔ มาสรุปยอ่

(๒๒) ๕.๒ การอภปิ รายผล
- อภิปรายผลโดยอาศยั หลักฐานจากเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง

มาอธิบายผลการประเมนิ หรอื ใชข้ อ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการประเมินครัง้ น้มี าสนับสนนุ วา่ เหตุใดผลการศึกษาจงึ เปน็ เชน่ นน้ั
- หากมผี ลการประเมินไม่เป็นไปตามเกณฑ์ กม็ ขี ้อมลู การอภปิ รายถึงผล

การศึกษาท่ขี ัดแยง้ อยา่ งสมเหตสุ มผล
(๒๓) ๕.๓ ขอ้ เสนอแนะ
- เปน็ ข้อเสนอการใชป้ ระโยชน์ที่สอดคล้องกบั ผลการประเมิน
- มกี ารเสนอแนะแนวทางการปรับปรงุ โครงการ ควรเสนอแนะใหช้ ัดเจนวา่

เสนอแนะกับกลมุ่ ใด เสนอแนวทางอยา่ งไรไว้อย่างชดั เจน
- ใหเ้ สนอแนะในการประเมินโครงการในครงั้ ตอ่ ไปว่าอยา่ งไร ศกึ ษา

ประเดน็ ใดบา้ ง เพอ่ื ขยายขอบเขตของปญั หาหรือศกึ ษาเจาะลกึ เฉพาะประเดน็ ใดประเดน็ หน่ึง
(๒๔) ส่วนประกอบตอนทา้ ย
- บรรณานกุ รม
- ภาคผนวก เช่น
- ตัวอยา่ งเครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการวิจยั
- รายละเอียดการวเิ คราะหข์ ้อมูล
- รายนามผทู้ รงคณุ วุฒิ
- ข้อมลู อา้ งอิงอน่ื ๆ
(๒๕) หลกั การเขียนรายงาน
- ความถกู ตอ้ งของรูปแบบ
- ความเหมาะสมด้านภาษา กระชบั สละสลวย เรียบเรียงประโยคได้ถกู ต้อง

ใชศ้ พั ทถ์ ูกหลกั วชิ าการ ความคงเส้นคงวาของคํา
- ความถูกตอ้ งตามตัวสะกด
- ความเรียบรอ้ ยของรายงาน
- มีความทนั สมยั (contemporary) ตรงตามข้อเทจ็ จริงเชือ่ ถอื ได้

(credibility) มคี วามสอดคลอ้ งตลอดเรือ่ ง (congruence)

- ๒๗ -

(๒๖) ข้นั ตอนการจดั ทาํ รายงาน
- กาํ หนดรปู แบบการเขียนรายงาน (ตามหัวข้อ)
- ลงมอื ยกรา่ ง
- ทงิ้ ช่วงห่างประมาณ ๓-๔ วนั แลว้ มาอ่านใหม่
- ตรวจสอบภาษา ดคู วามถกู ตอ้ งของขอ้ มูลและการเขยี นข้อสรปุ
- ดคู วามคลอ้ งของรายงานทงั้ ฉบบั

ท่มี า พนิต เขม็ ทอง มโนทัศน์ของการติดตามและประเมินผล คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
มีนาคม ๒๕๔๔

- ๒๘ -

ตวั อย่าง

การประเมินผลโครงการ การประเมินผลแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี กรมท่ดี ิน
กระทรวงมหาดไทย

บทท่ี ๑
บทนาํ

๑. ความเป็นมาและความสาํ คญั
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖

มาตรา ๑๖ ได้กําหนดให้ส่วนราชการต้องจัดทําแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ให้สอดคล้องกับแผนการบริหาร
ราชการแผ่นดินของรัฐบาล พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ ที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่
๖ กนั ยายน ๒๕๕๔ ประกอบดว้ ย ประเดน็ นโยบายที่สาํ คญั รวม ๘ นโยบาย ในสว่ นของกระทรวงมหาดไทย
มสี ่วนที่เป็นภารกิจกรมท่ีดินรับผิดชอบดําเนินงานให้สอดคล้อง รวม ๓ นโยบาย ในการน้ีกรมที่ดินได้จัดทํา
แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ในภาพรวมของกระทรวงมหาดไทย โดยจัดทําแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี
พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ ของกรมที่ดิน ให้ประสานสอดคล้องกัน ตามแบบที่สํานักงาน ก.พ.ร. กําหนด
ซ่ึงกรมที่ดินมีภารกิจที่สอดรับกับประเด็นนโยบายของรัฐบาลตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน
รวม ๓ ด้าน คือ นโยบายท่ี ๔ นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต ประเด็น : สร้างหลักประกันความม่ันคงใน
ศักด์ศิ รคี วามเปน็ มนษุ ย์ รวมถงึ ให้โอกาสประชาชนที่มีฐานะยากจนได้มีท่ีอยู่อาศัยเป็นของตนเอง นโยบายที่ ๕
ท่ีดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประเด็น : สร้างความเป็นธรรมและลดความเหล่ือมลํ้าในการใช้
ประโยชน์ท่ีดินและทรัพยากรธรรมชาติ และนโยบายที่ ๘ นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี ประเด็น :
ประสิทธิภาพการบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อให้สํานัก/กอง และสํานักงานท่ีดินใช้เป็นกรอบแนวทางในการ
ดําเนินงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของรัฐบาล กระทรวงมหาดไทย และยุทธศาสตร์กรมท่ีดิน ให้เกิดผลเป็น
รูปธรรม และบรรลผุ ลสมั ฤทธติ์ อ่ ภารกิจภาครัฐโดยรวมอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

เนื่องจากโลกาภิวัตน์หรือการไหลเวียนอย่างเสรีของการค้า เงินทุน แรงงาน ความรู้
และข้อมูลสารสนเทศประกอบกับความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น นาโนเทคโนโลยี
และเทคโนโลยีชีวภาพ ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิต และการทํางานของเราอย่างมากมายหลาย
ประการ เพอื่ ความอยู่รอดในระยะยาว ในการปฏิรูประบบราชการ จึงจําเป็นต้องมีการปรับเปล่ียนทั้งในแง่ของ
วิธีคิด ซ่ึงมุ่งเน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง ยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) และ
วิธีการทํางาน เพื่อมุ่งไปสู่การเป็นองค์กรสมัยใหม่ทํางานเชิงรุกแบบบูรณาการคล่องตัว รวดเร็ว และ
ขีดสมรรถนะ และสร้างผลงานสูง (High Performance) เปิดเผย โปร่งใส ตรวจสอบได้สามารถเรียนรู้และ
ปรับตัวอยา่ งเหมาะสม โดยในช่วงเวลาที่ผ่านมา ได้มีการแนะนํากระบวนการบริหารเชิงยุทธศาสตร์เข้ามา
ในวงราชการของไทยอย่างจริงจัง เพ่ือเป็นเคร่ืองมือที่จะช่วยในการพัฒนาระบบราชการ ให้สามารถรองรับ
ตอ่ โลกแห่งการเปลย่ี นแปลง โดยครอบคลุมอยา่ งนอ้ ยสามข้ันตอน คือ การคิดวางแผนยุทธศาสตร์ ข้ันการนํา
ยทุ ธศาสตร์ไปส่กู ารปฏิบตั ิ และข้นั ทบทวนและติดตามประเมินผลเชงิ ยทุ ธศาสตร์

- ๓๐ -

นอกจากนี้ ตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมวด ๒
การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ SP3 กําหนดให้ส่วนราชการต้องมีการวางแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากร
บุคคลให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี และแผนปฏิบัติราชการประจําปีของส่วนราชการ รวมท้ัง
ต้องวางแผนเตรียมการจัดสรรทรัพยากรอ่ืน ๆ เพ่ือรองรับการดําเนินการตามแผนปฏิบัติราชการและ
SP6 กําหนดใหส้ ่วนราชการต้องจดั ทาํ รายละเอยี ดโครงการเพื่อใชใ้ นการติดตามผลการดาํ เนินงานให้สามารถบรรลุ
เป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการได้สําเร็จ ซึ่งประกอบด้วย ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ การจัดสรรทรัพยากร
ให้แก่แผนงาน งาน/โครงการ/กิจกรรม โดยส่วนราชการต้องกําหนดให้มีการติดตามผลการดําเนินงานตาม
แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี แผนปฏิบัติราชการประจําปี รวมท้ังแผนงาน/โครงการต่าง ๆ และ พระราช
กฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ หมวด ๓ การบริหาร
ราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ (๓) ส่วนราชการต้องจัดให้มีการติดตามและประเมินผลการ
ปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีส่วนราชการกําหนดขึ้น ซึ่งต้องสอดคล้องกับ
มาตรฐานท่ี ก.พ.ร.กําหนด

ดังน้ัน เพ่ือให้การดําเนินการสอดคล้องกับแนวทางดังกล่าว เพ่ือให้ทราบผลสัมฤทธ์ิของการ
ดาํ เนนิ งานตามแผน ฯ ๔ ปี อนั ได้แก่

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ ที่ ๑ : พฒั นาระบบการออกหนังสือแสดงสิทธใิ นทดี่ ิน เพือ่ ความ
มัน่ คงในการถอื ครองทดี่ นิ

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ ที่ ๒ : พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการทด่ี นิ ของรฐั ใหเ้ กดิ ประโยชน์
สงู สุด

ประเด็นยุทธศาสตร์ ท่ี ๓ : พัฒนาระบบงานบริการในสาํ นกั งานทด่ี นิ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ท่ี ๔ : พฒั นาระบบบริหารจดั การองคก์ าร ตามหลักการบรหิ าร

กจิ การบา้ นเมอื งทีด่ ี
ประเด็นยุทธศาสตร์ ท่ี ๕ : พฒั นาการบริหารจดั การระบบสารสนเทศที่ดนิ
จึงเห็นควรให้ประเมินผลแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ กรมท่ีดิน
กระทรวงมหาดไทย ข้ึน เพ่ือนําผลการศึกษา รวมถึงปัญหาอุปสรรคในการดําเนินงานที่จะเป็นข้อมูล
ประกอบการกําหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตวั ช้วี ัดและเป้าหมายในการจัดทําแผนปฏิบัติ
ราชการ ๔ ปี ของกรมที่ดินครั้งต่อไป และเพ่ือเป็นแนวทางในการปรับปรุง พัฒนาการให้บริการของ
กรมที่ดินใหม้ ีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิง่ ขน้ึ

๒. วตั ถปุ ระสงคข์ องการประเมิน
๑) เพ่ือประเมินผลสัมฤทธ์ิของการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี พ.ศ.๒๕๕๕-

๒๕๕๘ ของกรมทด่ี นิ วา่ มีผลการดําเนนิ งานเปน็ ไปตามตวั ชว้ี ัดของประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์
และเป้าหมายท่ีกําหนดไว้ในแผน ฯ หรือไม่ อยา่ งไร

- ๓๑ -

๒) เพือ่ ศกึ ษาระดับความเชอื่ ม่นั ของประชาชนท่มี ตี ่อการใหบ้ ริการของกรมทดี่ ิน
๓) เพื่อทราบปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะของการดําเนินงานตามแผนฯ อันจะนําไปสู่
การทบทวนแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปีใหม่ในระยะต่อไป และเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการให้บริการของ
กรมทีด่ ินใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผลย่งิ ขึ้น

๓. ขอบเขตการประเมนิ ผล
๑) การประเมินในครั้งนี้ เน่ืองจากจํากัดด้วยงบประมาณ ระยะเวลา และเจ้าหน้าท่ี จึงได้

ศกึ ษาโครงการประเมินผล แผนปฏิบัตริ าชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ ของกรมท่ีดิน เฉพาะสํานักงาน
ที่ดินจังหวัด/สาขาท่ีดําเนินโครงการศูนย์ข้อมูลท่ีดินและแผนท่ี ระยะที่ ๑ ในภาคเหนือและ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และสํานักงานที่ดินท่ีมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจดี จํานวน ๑๓ จังหวัด
ประกอบด้วยภาคเหนือ ๓ จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓ จังหวัด ภาคใต้ ๓ จังหวัด และภาคกลาง
๔ จังหวดั รวม ๓๕ สาํ นกั งาน

๒) ตัวแทนประชากร เช่น เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด/สาขา จํานวน ๓๕ ราย ในพื้นท่ี จํานวน
๓๕ สาํ นักงาน

๓) ตัวแทนองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ในพ้ืนท่เี ป้าหมาย ๑๓ จังหวัด จาํ นวน ๓๕ สํานักงาน
๔) คัดเลือกตัวแทนประชาชน ผู้มาติดต่อขอรับบริการในสํานักงานที่ดินจังหวัด/สาขา
จํานวน ๑๓ จงั หวัด ในพนื้ ท่ี ๓๕ สํานกั งานทด่ี ิน จํานวน ๔๐๐ ราย
๕) ขอบเขตด้านเนื้อหา ศึกษาจากรายงานผลการดําเนินงานในรอบปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ ของกรมที่ดิน นโยบายของรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ท่ีได้แถลงต่อ
สภานติ บิ ญั ญตั แิ ห่งชาติ เมื่อวันท่ี ๑๒ กนั ยายน ๒๕๕๗ และเอกสารทเี่ กยี่ วขอ้ ง

๔. ตวั ช้ีวัดผลลพั ธ์การประเมนิ ผลโครงการ
- แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ ของกรมท่ีดิน สัมฤทธ์ิผลตามตัวช้ีวัดของ

ประเด็นยุทธศาสตร์ เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ และเป้าหมายท่กี าํ หนดไวใ้ นแผน ฯ ๔ ปี ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐

๕. ระยะเวลาดาํ เนนิ การ
๕.๑ ศึกษาเอกสารและงานประเมินที่เก่ียวข้องเดือน มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๘
๕.๒ จดั ทํารายละเอยี ดโครงการประเมินผลเสนอผู้บริหารเดือน เมษายน – มถิ นุ ายน ๒๕๕๘
๕.๓ สร้างเครื่องมือและปรับปรุงเคร่ืองมือ(แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบสังเกต) เดือน

พฤษภาคม – มิถนุ ายน ๒๕๕๘
๕.๔ เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเดือน กรกฎาคม – สิงหาคม ๒๕๕๘
๕.๕ วเิ คราะห์ขอ้ มูลเดอื น กรกฎาคม – สิงหาคม ๒๕๕๘

- ๓๒ -

๕.๖ สรปุ ผลและเขยี นรายงานประเมินเดือนกนั ยายน ๒๕๕๘
๕.๗ จัดทาํ รายงานประเมินฉบบั สมบรู ณ์เสนอผ้บู รหิ ารเดือนตลุ าคม ๒๕๕๘

๖. งบประมาณ
ค่าใชจ้ ่ายในการดาํ เนนิ โครงการ จาํ นวน ๒๑๑,๕๔๐ บาท

๗. นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ
๑) แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี เป็นแผนปฏิบัติราชการท่ีส่วนราชการ กระทรวง/กรม

แปลงมาจากแผนการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล เพ่ือแสดงภารกิจที่ส่วนราชการจะดําเนินการตลอด
ระยะเวลา ๔ ปี เพ่ือสนับสนุนการบริหารประเทศของรัฐบาลให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย สาระสําคัญ
ในแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี จะแสดงให้เห็นถึงการแปลงประเด็นยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์หลักในระดับชาติ
ที่ส่วนราชการ มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องไปสู่ “ภารกิจ” ที่ส่วนราชการต้องดําเนินการ โดยส่วนราชการ
ต้องนําเสนอประเด็นยุทธ์ศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ที่จะทําให้ภารกิจนั้นบรรลุผลสําเร็จพร้อมท้ังกําหนด
เป้าหมายและตวั ช้วี ดั ผลสาํ เรจ็ ของภารกิจเหลา่ นั้น รวมถึงผลผลติ /โครงการสําคัญ ท่ีส่วนราชการจะจัดทําเพ่ือ
ขอรับงบประมาณสนับสนนุ ในระยะเวลา ๔ ปี

๒) แผนปฏิบัติราชการประจําปี เป็นแผนปฏิบัติราชการประจําปีของส่วนราชการ
(กระทรวงกรม)ท่ีแสดงให้เห็นถึงภารกิจท่ีจะดําเนินการในปีใดปีหน่ึงที่กําหนด ภายใต้แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี
ของส่วนราชการน้ัน โดยจะมีสาระสําคัญเช่นเดยี วกับแผนปฏิบตั ิราชการ ๔ ปี แต่จัดทําเปน็ แผนปฏิบัติราชการ
ประจําปีงบประมาณที่ละเอียด และชัดเจน เพ่ือนําไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และเป็นกรอบในการ
จดั ทําคาํ ของบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปี รวมถึงการรายงานผลการปฏิบัติราชการ เม่อื สนิ้ ปงี บประมาณ

๘. ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั
๑) ไดร้ ับทราบผลสัมฤทธ์ิของการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘

ของกรมท่ีดิน
๒) ไดร้ บั ทราบระดับความเช่ือมนั่ ของประชาชนทมี่ ีต่อการใหบ้ ริการของกรมท่ีดนิ
๓) ได้ทราบปัญหา อุปสรรค ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะของบุคลากรและประชาชน

เพือ่ จะนาํ ไปใช้ประโยชน์ในดา้ นการจดั ทาํ แผนปฏบิ ัติราชการ ๔ ปี ระยะตอ่ ไป รวมทั้งปรับปรุง พัฒนาการ
ให้บริการของกรมท่ดี นิ ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลยงิ่ ข้นึ

บทท่ี ๒
เอกสารและแนวคิดทฤษฎที เ่ี กย่ี วข้อง

โครงการประเมินผล แผนปฏบิ ัติราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ กรมทด่ี นิ
กระทรวงมหาดไทย มเี อกสารโครงการ แนวคดิ และทฤษฎีท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการประเมนิ ผล ดงั นี้
๑.แผนปฏิบัตริ าชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย

วิสยั ทศั น์
“เปน็ ศนู ยข์ อ้ มูลทีด่ ินและแผนที่แหง่ ชาติ สกู่ ารบรกิ ารทเ่ี ปน็ เลศิ ”

พันธกิจ

๑. บริหารจดั การข้อมูลที่ดนิ และแผนท่เี พือ่ สนบั สนนุ การนําไปใช้ประโยชน์ทกุ ภาคส่วน
๒. ใหบ้ ริการเกย่ี วกับทีด่ ิน เพอ่ื คุ้มครองสิทธใิ นท่ีดนิ ของประชาชนดว้ ยความถูกต้อง

และเป็นธรรม
๓. บรหิ ารจัดการทดี่ นิ ของรฐั ให้มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสดุ
๔. ส่งเสริมและดําเนินการตามหลกั เกณฑ์ และวิธกี ารบรหิ ารกจิ การบ้านเมืองท่ีดี

คา่ นยิ มองค์กร
“นอ้ มนาํ เศรษฐกิจพอเพียง มงุ่ ผลสมั ฤทธิ์ รักสามคั คี มีจิตบริการ ยดึ ม่นั จรยิ ธรรม”

- ๓๔ -
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : พฒั นาระบบการออกหนังสือแสดงสทิ ธใิ นทดี่ นิ เพือ่ ความม่นั คงในการถือครองทด่ี นิ

 เปา้ ประสงค์  เปา้ ประสงค์
๑.๑ ประชาชนได้รับการยอมรับในสทิ ธิการถอื ครองและ ๑.๒ จดั ทํามาตรฐานการออกหนังสอื แสดงสทิ ธิในที่ดิน
 ตวั ชว้ี ัดและเปา้ หมาย
การทําประโยชน์ในทีด่ นิ - จํานวนเร่ืองท่ีพิจารณามาตรฐานการออกหนังสือแสดง
 ตัวชวี้ ัดและเป้าหมาย สิทธใิ นท่ดี ิน
- จํานวนโฉนดท่ีออกใหแ้ กป่ ระชาชน ๔๐๐,๐๐๐ แปลง
- ประชาชนมคี วามพงึ พอใจในการให้บริการไมน่ ้อยกวา่

ร้อยละ ๘๐

กลยุทธ์ กลยทุ ธ์
 เรง่ รัดการออกโฉนดทีด่ ินให้แกผ่ มู้ ีสทิ ธใิ นการถอื ครองทดี่ ิน  ส่งเสริมการออกระเบียบหรอื วางแนวทางการออกหนงั สือ

ตามกฎหมาย แสดงสิทธิในทด่ี ิน
 พัฒนากระบวนการจัดทําแผนที่ใหส้ อดคล้องทันการเปล่ียนแปลง  พัฒนากระบวนการจัดทํามาตรฐานการออกหนงั สอื แสดงสทิ ธิ

เทคโนโลยี ในที่ดนิ

โครงการ/ผลผลิต/กจิ กรรม โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม
๑. โครงการเรง่ รดั การออกโฉนดทด่ี ินใหค้ รอบคลุมท่วั ประเทศ ๑. การวางมาตรฐานการออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ดี ิน
๒. การจดั ทําและให้บรกิ ารแผนทีร่ ะบบดิจติ อล ๒. จัดทาํ คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ าน

- ๓๕ -
ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๒ : พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการที่ดนิ ของรัฐใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สดุ

 เปา้ ประสงค์  เป้าประสงค์
๒.๑ ที่ดินของรัฐมแี นวเขตทชี่ ดั เจน ใชแ้ กป้ ญั หาบกุ รกุ ๒.๒ ทีด่ นิ ของรัฐไดร้ ับการบริหารจัดการและนาํ ไปใช้

ลดข้อพพิ าทเก่ียวกบั แนวเขตทีด่ นิ ของรฐั ประโยชน์อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
 ตัวชวี้ ัดและเปา้ หมาย  ตวั ชี้วัดและเป้าหมาย
- จํานวนแปลงที่ดนิ ของรฐั ท่ีไดร้ ับการรังวดั เพ่อื ออกและ - จาํ นวนประชาชนที่ยากจนได้รบั การจัดท่ีดนิ ทํากินและ

ตรวจสอบหนังสือสําคัญสําหรับท่หี ลวง ๖,๐๐๐ แปลง ที่อยอู่ าศัยในที่ดนิ ของรัฐ ๔๔,๐๐๐/๒๒๐,๐๐๐
- ที่ดนิ ของรัฐท่ีออกหนงั สือสําคญั สาํ หรบั ท่หี ลวงแล้ว ครวั เรือน/คน
มกี ารดแู ลการใชป้ ระโยชน์อย่างเหมาะสม ไมน่ ้อยกวา่ - ประชาขนทไ่ี ดร้ บั การจัดทีด่ นิ มีคณุ ภาพชวี ิตท่ดี ีข้นึ
ร้อยละ ๘๐ ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐

กลยทุ ธ์ กลยทุ ธ์
 พัฒนากระบวนการคมุ้ ครองท่ดี นิ ของรัฐ  พัฒนากระบวนการจดั ทีด่ ินใหแ้ ก่ประชาชนเพื่อแกไ้ ข

(สาธารณประโยชน)์ ปญั หาความยากจน
 เรง่ รดั การรังวัดและจัดทําแผนทีเ่ พ่อื แสดงแนวเขตที่ดนิ

ของรฐั

โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม
๑. โครงการรังวัดทาํ แผนท่ีเพ่อื แสดงแนวเขตที่ดินของรัฐและ ๑. การจดั ท่ีดินทํากนิ และท่ีอยู่อาศัยใหก้ ับประชาชนท่ยี ากจน
๒. การบรหิ ารจัดการการใชป้ ระโยชน์ทด่ี ินของรัฐ
ควบคุมคมุ้ ครองทด่ี ินของรัฐ
๒. การสาํ รวจท่ดี ินของรฐั และนําลงระวางแผนท่ี เพ่ือแกไ้ ขปญั หาความยากจน
๓. การนาํ เขา้ ข้อมูลแผนที่รูปแปลงที่ดนิ ของรัฐระบบดิจิทลั

- ๓๖ -

ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ : พฒั นาระบบงานบริการในสํานักงานทด่ี นิ

 เป้าประสงค์
๓.๑ ประชาชนมีความเชือ่ มั่นในระบบงานทะเบียนท่ีดินดว้ ยบริการทถ่ี กู ต้อง รวดเร็ว โปรง่ ใส และเปน็ ธรรม
 ตัวชวี้ ัดและเป้าหมาย
- จาํ นวนประชาชนทไ่ี ดร้ บั บริการในสาํ นักงานทด่ี ิน ๒๐.๕ ลา้ นราย
- จํานวนประชาชนทีไ่ ดร้ บั การบรกิ ารดูแลหลักฐานทางทะเบียนท่ีดนิ จาํ นวน ๓๓ ล้านแปลง
- ประชาชนมคี วามเช่ือม่ันต่องานบรกิ ารของกรมทดี่ ิน ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐

กลยทุ ธ์
 เรง่ รดั พฒั นาระบบงานบริการของสาํ นกั งานทีด่ นิ ใหอ้ ยู่ในระบบอิเล็กทรอนกิ ส์

โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม

๑. โครงการปรบั ปรุงระบบการดแู ลหลักฐานทางทะเบยี นที่ดนิ ๖. การบริการดา้ นทะเบียนที่ดินในสาํ นักงานที่ดิน

๒. โครงการปรับปรุงสถานทีใ่ หบ้ ริการประชาชนดา้ นอสังหารมิ ทรัพย์ ๗. การบริการดา้ นรงั วัดในสํานักงานทีด่ ิน

๓. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศท่ดี นิ เพื่อการบริหารจัดการระบบท่ีดิน ๘. พัฒนาระบบบริการในสาํ นักงานทดี่ ินด้วยเทคโนโลยีและ

เครอ่ื งมือทันสมัย

๔. โครงการจัดทําใบเสร็จรับเงินด้วยระบบคอมพวิ เตอร์ในสํานักงานท่ีดิน ๙. พัฒนาระบบริการข้อมูลดา้ นรังวดั และทาํ แผนท่ี

๕. การดูแลรกั ษาหนงั สือแสดงสิทธิในที่ดิน ๑๐. รังวดั เฉพาะรายโดยระบบดาวเทียมแบบจลน์

(RTK GPS Network)

- ๓๗ -
ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ : พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการองค์การตามหลกั การบรหิ ารกิจการบ้านเมืองท่ีดี

 เปา้ ประสงค์  เป้าประสงค์
๔.๑ บคุ ลากรกรมท่ีดินมคี วามพรอ้ มและมีขีด ๔.๒ พฒั นาระบบข้อมลู เพ่ือการบริหารและข้อมลู ขา่ วสาร

ความสามารถในการปฏบิ ัติงานเพ่อื ให้บริการ ของกรมที่ดิน
ประชาชนอยา่ งมีคุณธรรม และจรยิ ธรรม
 ตวั ชีว้ ัดและเปา้ หมาย  ตวั ช้ีวัดและเป้าหมาย
- ร้อยละของบคุ ลากรไดร้ บั การพัฒนาสมรรถนะทก่ี รมทดี่ นิ - ระดบั ความพงึ พอใจของประชาชนทีใ่ ชบ้ ริการข้อมูลข่าวสาร
กําหนด ผา่ นระบบสารสนเทศ
- รอ้ ยละบคุ ลากรท่ไี ดน้ ําความรจู้ ากการจัดความรู้
ไปประยกุ ต์ใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน

กลยุทธ์ กลยทุ ธ์
 พฒั นาบคุ ลากรโดยยึดหลกั สมรรถนะและบรหิ ารจดั การ  พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ

ความรู้ให้สอดคล้องกบั ประเดน็ ยุทธศาสตรก์ รมท่ีดนิ

โครงการ/ผลผลิต/กจิ กรรม โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม
การพัฒนาบคุ ลากร ๑. โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการเวบ็ ไซต์
๒. การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร

- ๓๘ -

ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ : พฒั นาการบริหารจัดการระบบสารสนเทศทด่ี นิ

 เปา้ ประสงค์
๕.๑ รฐั มีฐานข้อมูลทดี่ นิ และแผนท่ีรปู แปลงทเ่ี ปน็ ศูนยก์ ลางการให้บริการด้านภูมิสารสนเทศ เพื่อสนบั สนนุ การบริหารจัดการ

ด้านที่ดินอย่างมปี ระสิทธิภาพ
 ตวั ชี้วัดและเป้าหมาย
- จํานวนข้อมูลที่ดนิ และแผนที่รูปแปลงท่ีดินทจี่ ดั เก็บในระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) ๒๙,๐๐๐,๐๐๐ แปลง
- รอ้ ยละของข้อมลู ทดี่ นิ และแผนทีร่ ปู แปลงมีความครบถว้ น ถูกต้อง ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๙๐

กลยทุ ธ์
 พัฒนาระบบการจดั การขอ้ มูลทีด่ ินและแผนท่ีรปู แปลงและระบบเครอื ขา่ ย รวมทั้งพฒั นารปู แบบการบรกิ ารในระบบสารสนเทศ

โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม
โครงการศนู ยข์ อ้ มูลที่ดินและแผนท่ีแห่งชาติ

- ๓๙ -

ความเชอื่ มโยงของนโยบายรัฐบาล เปา้ หมายการใหบ้ รกิ ารกระทรวง/หน่วยงาน
และกลยทุ ธท์ ก่ี าํ หนดในแผนการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘

นโยบาย กลยุทธ/์ วธิ ีดําเนนิ การ เปา้ หมายการใหบ้ ริการกระทรวง/
(ทก่ี าํ หนดในแผนการ หนว่ ยงาน
บรหิ ารราชการแผ่นดนิ )

นโยบายท่ี 4 สังคมและคณุ ภาพชวี ิต

4.5 นโยบายความม่นั คงของชวี ิตและสังคม

4.5.2 สร้างหลกั ประกันความมน่ั คงในศักดิ์ศรี
แห่งความเป็นมนุษย์ รวมถงึ ใหโ้ อกาส
ประชาชนที่มีฐานะยากจนได้มีทีอ่ ย่อู าศัยเป็น
ของตนเองฯ

เปา้ ประสงคเ์ ชิงนโยบาย

 พฒั นาครอบครัว สตรี เดก็ และเยาวชน

ผดู้ อ้ ยโอกาส คนยากจน คนพกิ ารให้มี
คณุ ภาพและมคี วามมั่นคงในชวี ติ ตาม  สร้างโอกาสประชาชนท่ี  เปา้ หมายการใหบ้ รกิ ารกระทรวง
มีฐานะยากจนมีที่อยู่ - ประชาชนทย่ี ากจนได้รับการจัด
หลกั สทิ ธิมนษุ ยชน
อาศัยท่ีม่ันคงพร้อมกับ ท่ดี ินและทีอ่ ยอู่ าศยั เพ่อื การ
ตวั ช้ีวดั ก า ร ส ร้ า ง อ า ชี พ เ พ่ื อ
ให้สามารถดํารงชีวิตได้ พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี ้ึน
 ร้อยละของประชากรเป้าหมายที่เข้าถึง อย่างมีศักดิ์ศรีในความ
และได้รับการคุ้มครองทางสังคมตาม เป็นมนุษย์  เปา้ หมายการใหบ้ ริการ
มาตรฐานท่กี ําหนด หนว่ ยงาน
- ประชาชนทย่ี ากจนได้รับการ

จัดที่ดนิ ทํากินและท่ีอยอู่ าศัย

 ตัวช้ีวัด

1. จาํ นวนแปลงทดี่ ินทป่ี ระชาชน

ได้รบั การจัดทด่ี ินทํากนิ และที่อยู่

อาศัย

2. ประชาชนท่ไี ดร้ ับการจดั ทีด่ นิ มี

คุณภาพชวี ิตท่ีดขี น้ึ

- ๔๐ -

นโยบาย กลยุทธ/์ วิธีดาํ เนนิ การ เป้าหมายการใหบ้ ริการกระทรวง/
(ทีก่ าํ หนดในแผนการ หน่วยงาน
นโยบายท่ี 5 ที่ดนิ ทรัพยากรธรรมชาติ บริหารราชการแผน่ ดนิ )
และสง่ิ แวดล้อม
 เร่งรัดการรังวัดและ  เป้าหมายการใหบ้ รกิ ารกระทรวง
5.4 สรา้ งความเปน็ ธรรมและลดความ
เหลอ่ื มล้ําในการใชป้ ระโยชน์ท่ดี ินและ จดั ทาํ แผนทเี่ พอ่ื แสดง - ประชาชนไดร้ บั สทิ ธิการถือ
ทรัพยากรธรรมชาติ
แนวเขตที่ดนิ ของรฐั ครองทีด่ ินการใชป้ ระโยชน์ทีด่ ินของ
เปา้ ประสงคเ์ ชิงนโยบาย  พฒั นากระบวนการ รฐั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รวมท้ังไดร้ ับ
 พฒั นาระบบการจัดการขอ้ มลู ท่ดี นิ และ จัดทําแผนทใี่ หส้ อดคล้อง
แผนท่รี ปู แปลงทด่ี นิ ในระบบภูมิสารสนเทศ ทนั การเปลี่ยนแปลง บรกิ ารดา้ นขอ้ มูลท่ดี ินและแผนที่
(GIS) เทคโนโลยี ด้วยระบบภมู ิสารสนเทศ (GIS)
 สามารถดาํ เนินการเพ่ือใหเ้ กิดการ
กระจายการถอื ครองที่ดินท่ีเป็นธรรมและ  พฒั นาระบบการจัดการ
ยั่งยืน และมีการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ของรัฐ ขอ้ มูลท่ดี นิ และแผนท่ี  เปา้ หมายการใหบ้ รกิ าร
อย่างเหมาะสม หนว่ ยงาน
รูปแปลงทด่ี ิน
ตวั ชวี้ ดั  เรง่ รดั การออกโฉนด 1.ประชาชนได้รบั การยอมรับ
 รัฐมฐี านขอ้ มลู ที่ดินและแผนท่ีรูปแปลง ที่ดินใหแ้ กผ่ ู้มสี ทิ ธใิ นการ ในสทิ ธิการถอื ครองและการใช้

ที่ดนิ ทีใ่ ห้บรกิ ารในระบบภูมิสารสนเทศ ถือครองทีด่ ินตาม ประโยชน์ในท่ีดิน
(GIS) กฎหมายพฒั นา 2. ที่ดินของรฐั มแี นวเขตท่ีชดั เจน
 ความสาํ เร็จในการจัดทําระบบฐานข้อมลู กระบวนการคมุ้ ครอง ใชแ้ กไ้ ขปัญหาบุกรุกลดขอ้ พพิ าท
ทด่ี ินของประเทศไทย ทดี่ ินของรฐั เก่ียวกบั แนวเขตท่ีดนิ ของรฐั
 จาํ นวนรายของราษฎรท่ีได้รับการพสิ ูจน์ (สาธารณประโยชน์) 3. รฐั มีฐานขอ้ มลู ท่ดี นิ และแผนท่ี
ที่ดิน
 จาํ นวนชมุ ชนทไ่ี ด้รับการรับรองสทิ ธิการ รูปแปลงท่ีดนิ ท่ใี หบ้ รกิ ารในระบบ
ใช้ที่ดินของรฐั
ภูมิสารสนเทศ (GIS) และสนบั สนุน

การดําเนนิ งานตามนโยบายรัฐบาล

ดา้ นต่าง ๆ

- ๔๑ -

นโยบาย กลยุทธ/์ วธิ ดี ําเนนิ การ เปา้ หมายการใหบ้ ริการกระทรวง/
(ที่กําหนดในแผนการ หน่วยงาน
บรหิ ารราชการแผ่นดนิ )

 ตวั ชี้วัด
1.จาํ นวนโฉนดท่ดี ินท่ีออกใหแ้ ก่
ประชาชน
2.ประชาชนมคี วามพงึ พอใจใน
การให้บรกิ าร
3. จํานวนแปลงทีด่ ินของรฐั ทไ่ี ดร้ ับ
การรงั วัดเพอ่ื ออกและตรวจสอบ
หนงั สอื สําคัญสําหรบั ทหี่ ลวง
4.ร้อยละของที่ดินของรัฐที่ออก
หนงั สอื สําคัญสาํ หรบั ที่หลวงแลว้
มีการดูแลการใชป้ ระโยชนอ์ ย่าง
เหมาะสม
5.จาํ นวนข้อมูลท่ีดินและแผนที่
รปู แปลงทด่ี ินที่จัดเกบ็ ในระบบ
ภูมสิ ารสนเทศ (GIS)
6.ร้อยละของขอ้ มลู ทด่ี ินและแผนที่
รูปแปลงมีความครบถ้วน ถูกตอ้ ง

- ๔๒ -

นโยบาย กลยุทธ/์ วิธดี าํ เนนิ การ เป้าหมายการใหบ้ ริการกระทรวง/
(ทกี่ ําหนดในแผนการ หน่วยงาน
บรหิ ารราชการแผน่ ดนิ )

นโยบายที่ 8 การบริหารกิจการบา้ นเมอื งท่ดี ี

8.1 ประสทิ ธภิ าพการบริหารราชการแผน่ ดิน  พัฒนาระบบราชการ  เปา้ หมายการใหบ้ รกิ ารกระทรวง
ใหม้ ีความทันสมัย - ประชาชนมีความพงึ พอใจ
เป้าประสงคเ์ ชงิ นโยบาย โดยเนน้ การบริหาร
เชงิ กลยทุ ธ์และนาํ ในการให้บริการและ
 ระบบบรหิ ารงานภาครฐั มีประสทิ ธภิ าพ เทคโนโลยีสารสนเทศ การดาํ เนินงานของหนว่ ยงาน
มคี ณุ ภาพ และมีธรรมาภบิ าลได้รับ มาช่วยในการวาง ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย
ความเชื่อมั่นศรัทธาจากประชาชน แผนการตัดสนิ ใจ
และการติดตาม  เปา้ หมายการใหบ้ รกิ าร
ตัวชวี้ ัด ประเมนิ ผล โดย หนว่ ยงาน
คาํ นงึ ถึงผลประโยชน์ - ประชาชนมีความเชอ่ื มน่ั
 หนว่ ยงานของรัฐไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 สงู สุดของประชาชน ตอ่ งานบริการภาครัฐใน
สามารถยกระดบั คุณภาพ มาตรฐาน การคมุ้ ครองสทิ ธิในท่ดี ินและ
และธรรมาภบิ าลในการบริหารจัดการ  พัฒนาศักยภาพของ อสงั หารมิ ทรัพย์
หน่วยงานภาครฐั โดย
 รอ้ ยละความเชือ่ มน่ั ศรทั ธาของประชาชน ปรบั ปรุงกฎระเบียบ  ตัวชีว้ ัด
ท่ีมตี ่อภาครัฐเพ่มิ ข้นึ ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 10 เพื่อลดขัน้ ตอนการ 1. จาํ นวนประชาชนท่ไี ด้รับบริการ
ดาํ เนนิ งาน รวมท้ัง ในสาํ นักงานทด่ี นิ ปลี ะ 5.5 ลา้ นราย
 ค่าดชั นสี ภาวะธรรมาภบิ าลของประเทศไทย จัดตั้งศูนย์บริการ 2.จํานวนประชาชนที่ได้รับการ
เพิม่ ขน้ึ ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 10 ประชาชนที่มี บรกิ ารดูแลหลกั ฐานทางทะเบียน
ประสิทธิภาพ ท่ีดิน จํานวน 33 ลา้ นแปลง
 ประชาชนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 3. ประชาชนมคี วามเชื่อม่นั ต่อ
มคี วามพงึ พอใจในคณุ ภาพการใหบ้ ริการ  พฒั นาศกั ยภาพ งานบริการของกรมทดี่ ิน
และการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ขา้ ราชการและ ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80
เจา้ หนา้ ท่ขี องรฐั
อยา่ งต่อเน่ือง เพอื่ ให้
สามารถปฏบิ ตั ิหน้าท่ี
อยา่ งถกู ตอ้ งตามหลัก
วชิ าการ มจี ิต
สาธารณะและ
รบั ผดิ ชอบตอ่ สว่ นรวม

- ๔๓ -

๒. แนวคดิ และทฤษฎีที่เกย่ี วข้อง
ความหมายของการประเมินผล
๒.๑ นักวิชาการด้านการประเมิน ได้ให้ความหมายของการประเมินผลไว้ ดังนี้
Suchman (๑๙๖๗ อ้างใน Stufflebeam & Shinkfield, ๑๙๙๐:๙๓) ให้ความหมายของการ

ประเมินโครงการว่า หมายถึง การใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือการใช้เทคนิคการวิจัยทาง
สังคมศาสตร์ เพื่อหาข้อมูลท่ีเป็นจริงและเชื่อถือได้เก่ียวกับโครงการ เพ่ือการตัดสินใจว่าโครงการดังกล่าวดี
หรือไม่ดีอย่างไรหรือเป็นการค้นหาว่าผลของกิจกรรมที่วางไว้ในโครงการประสบความสําเร็จตรงตาม
วัตถุประสงค์หรือความมุ่งหมายของโครงการหรือไม่

Worthen & Sander (๑๙๘๗ : ๑๙) ให้ความหมายของการประเมินว่า เป็นการพิจารณาคุณค่า
ของส่ิง ๆ หนึ่ง ประกอบด้วย การจัดหาสารสนเทศ เพ่ือตัดสินคุณค่าของแผนงาน ผลผลิตกระบวนการ
หรือการบรรลุวัตถุประสงค์ หรือการพิจารณาศักยภาพของทางเลือกต่างๆ ที่ใช้ในการดําเนินการเพ่ือให้
บรรลุวัตถุประสงค์

พิสณุ ฟองศรี (๒๕๔๙:๔) ให้ความหมายของการประเมินว่า เป็นกระบวนการตัดสินคุณค่าของ
ส่ิงหน่ึงส่ิงใด โดยนาํ สารสนเทศหรือผลจากการวัดมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กาํ หนดไว้

จากความหมายของการประเมินผลท่ีได้กล่าวมาข้างต้น พอสรุปได้ว่า การประเมินผล หมายถึง
กระบวนการตัดสินคุณค่าของแผนงานหรือโครงการด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วนาํ มาวิเคราะห์ เพื่อ
นําผลมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ว่าบรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้หรือไม่ เพียงใด

จุดมุ่งหมายของการประเมินผล
๒.๒ การประเมินผลเป็นกระบวนการตัดสินคุณค่า โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วนํามาวิเคราะห์
ผลเปรียบเทียบกับเกณฑ์เพื่อดูว่าโครงการนั้นประสบผลสาํ เร็จ หรือบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ ในการ
ประเมินผลนั้น สามารถประเมินผลก่อนการดําเนินโครงการ ระหว่างการดําเนินโครงการ หรือเมื่อเสร็จ
สิ้นโครงการ โดยมีจุดมุ่งหมายของการประเมินผล พอสรุปได้ดังน้ี

(๑) เพื่อใช้เป็นข้อมูลสารสนเทศประกอบการตัดสินใจของผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการหรือ
ผู้บริหารในการตัดสินคุณค่าของโครงการ

(๒) เพ่ือให้การบริหารโครงการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) เพ่ือนําไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไขโครงการท่ีมีลักษณะท่ีคล้ายคลึงกัน
(๔) เพื่อตรวจสอบผลการดําเนินโครงการประสบผลสําเร็จหรือไม่

- ๔๔ -

๒.๓ ความสําคัญของการติดตามและประเมินผล สามารถสรุปได้ ดังน้ี
(๑) ช่วยในการตัดสินใจนําโครงการไปใช้ ได้แก่ การประเมินผลเพื่อให้ทราบว่าโครงการท่ี
จัดทําขึ้นนั้นมีความจําเป็นมากน้อย หรือมีความสมเหตุสมผลหรือไม่ มีความคุ้มค่ากับ
เงินที่ลงทุนไปมากน้อยเพียงใด โครงการเป็นที่ต้องการของกลุ่มเป้าหมายหรือไม่ ทั้งนี้
ข้อมูลเหล่าน้ีจะเป็นข้อมูลที่จะนาํ มาใช้ในการประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร
(๒) ผลจากการประเมินจะช่วยให้ทราบว่า โครงการดังกล่าวยังมีความจําเป็นต้องทําต่อไป
หรือไม่ หรือต้องขยายโครงการออกไป
(๓) นําผลที่ได้จากการประเมินมาใช้ในการตัดสินใจปรับปรุงส่วนต่าง ๆ ของโครงการ เช่น
วิธีการดําเนินงานโครงการ กิจกรรมของโครงการหรืออื่น ๆ ให้มีความเหมาะสมต่อ
สภาพแวดล้อมของโครงการมากย่ิงข้ึน
(๔) วิเคราะห์ผลการดําเนินงานตามโครงการว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่
อย่างไร และมีสาเหตุอะไรท่ีเป็นอุปสรรคต่อความสําเร็จน้ัน
(๕) นาํ ไปใช้วางแผนในโครงการที่มีลักษณะใกล้เคียง หรือคล้ายคลึงกันต่อไป

๒.๔ แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผล
แนวคิดทางการประเมินของ Tyler (๑๙๓๖) จัดเป็นแนวคิดของการประเมินในระดับชั้นเรียน
โดย Tyler มีความเห็นว่าการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน จะมีส่วนช่วยอย่างมากในการ
พัฒนากระบวนการเรียนการสอน
ท้ังน้ี Tyler ได้เร่ิมต้นการนาํ เสนอแนวความคิดทางการประเมินโดยยึดกระบวนการของการ
จัดการเรียนการสอนเป็นหลัก Tyler ได้ให้คํานิยามของการประเมินผลว่า กระบวนการจัดการเรียน
การสอนเป็นกระบวนการที่มุ่งจัดขึ้น เพ่ือก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่พึงปรารถนาในตัวของ
ผู้เรียน ด้วยเหตุน้ีจุดเน้นของการเรียนการสอนจึงข้ึนอยู่กับการท่ีผู้เรียนจะต้องมีการเปล่ียนแปลง
พฤติกรรมหลังการสอน ดังนั้น เพื่อให้การสอนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในตัวผู้เรียนตามที่มุ่งหวัง
กระบวนการดังกล่าวควรมีขั้นตอนในการดําเนินการดังน้ี
ขั้นท่ี ๑ ต้องมีการระบุหรือกําหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนลงไปว่า เมื่อสิ้นสุดการจัดการเรียนการ
สอนแล้ว ผู้เรียนควรเกิดพฤติกรรมใด หรือสามารถกระทําสิ่งใดได้บ้าง ลักษณะของวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
ดังกล่าวน้ี ควรมีจุดเน้นอยู่ที่การกาํ หนดพฤติกรรมซึ่งสังเกตเห็นได้โดยชัดเจนหรือท่ีเรียกว่าวัตถุประสงค์
เชิงพฤติกรรม
ข้ันท่ี ๒ ต้องระบุต่อไปว่า จากวัตถุประสงค์ที่กาํ หนดไว้ดังกล่าวนั้นมีเนื้อหาใดบ้างที่ผู้เรียนจะต้อง
เรียนรู้หรือมีสาระใดบ้างท่ีเมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว จะก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมไปตาม
วัตถุประสงค์ท่ีระบุไว้ในข้ันตอนที่ ๑

- ๔๕ -

การเปรียบเทียบแนวคิดของการติดตามและประเมินผล

แนวคิด รูปแบบการประเมินผล ประเภทการประเมินผล จุดเน้น
Tyler
ประเมินผลแบบเน้นจุดมุ่งหมายโดย ประเมินผลเม่ือ ๑.วัตถุประสงค์ของ
Cronbach
เปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นจริงหลังสิ้นสุด สิ้นสุดโครงการ โครงการต้องชัดเจน

โครงการกับวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้ (Post Evaluation) ๒.ต้องมีกิจกรรม

ชัดเจนรองรับ

ประเมินผลแบบเน้นการตัดสินใจเลือกทางเลือก เหมาะสําหรับการ วัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้
๑.ตรวจสอบการ
ในการปรับปรุงพัฒนากิจกรรมโครงการและ ประเมินผลระหว่าง เปล่ียนแปลงหรือ
พัฒนาการท่ีเกิด
จัดการกลุ่มเป้าหมายโดยใช้ข้อมูลสารสนเทศ ดําเนินงานโครงการ ขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย
๒.หาจุดหรือ
จากการประเมินผลด้านต่างๆ ดังน้ี (Ongoing Evaluation) ประเด็นท่ีเกี่ยวกับ
กิจกรรมที่ควรมีการ
๑. ศึกษากระบวนการ (Process Studies) ไปจนถึงการประเมินผล ปรับปรุงหรือพัฒนา

เป็นการศึกษาภาวะการต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนทั้งใน เมื่อสิ้นสุดโครงการ

ส่วนของโครงการและกลุ่มเป้าหมายขณะ (Post Evaluation)

ดาํ เนินกิจกรรมโครงการ

๒. วัดศักยภาพของกลุ่มเป้าหมายเป็นระยะ ๆ

(Proficiency)

๓. วัดทัศนคติของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อกิจกรรม

และโครงการ(Attitude Measurement)

๔. ติดตามผลกลุ่มเป้าหมาย (Follow – up

Studies) ว่ากลุ่มเป้าหมายมีการเลือกกิจกรรม

ใดไปใช้ปฏิบัติต่อเน่ืองรวมถึงการให้โอกาสแสดง

- ๔๖ -

แนวคิด รูปแบบการประเมินผล ประเภทการประเมินผล จุดเน้น

Stufflebean เป็นการประเมินผลที่เน้นการตัดสินใจเลือก เหมาะสําหรับใช้ประเมิน ประเมินผลอย่าง

(CIPP Model) ทางเลือก โดยจําแนกส่ิงท่ีต้องประเมินดังน้ี โครงการท่ียังไม่เริ่ม ต่อเนื่องควบคู่กับ

๑.ประเมินสภาพแวดล้อมของโครงการ ดําเนินงานกล่าวคือ การบริหาร

(Context Evaluation : C) เป็นการประเมิน การประเมินในข้อ ๑ – ๒ โครงการเพ่ือหา

ความเหมาะสม ความสอดคล้องและความ เป็นการประเมิน ข้อมูล

เป็นไปได้ของโครงการก่อนการดําเนินงาน ก่อนมีโครงการ ประกอบการ

โครงการ (Pre Evaluation) ตัดสินใจเลือกที่

๒. ประเมินปัจจัยเบ้ืองต้นของโครงการ การประเมินในข้อท่ี ๓) ทางเลือก

(Input Evaluation : I) เป็นการประเมินความ เป็นการประเมินระหว่าง เหมาะสม

เหมาะสมและเพียงพอและความเป็นไปได้ของ ดําเนินงานโครงการ

ปัจจัยและกิจกรรมท่ีกําหนดไว้ในโครงการ (Ongoing Evaluation)

๓.ประเมินกระบวนการ (Process และการประเมินในข้อที่

Evaluation :P) เป็นการประเมินโครงการ ๔ เป็นการประเมิน

เพื่อเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับที่กําหนด เมื่อสิ้นสุดโครงการ

ไว้พร้อมหาข้อดี ข้อบกพร่องปัญหาอุปสรรค (Post Evaluation)

และวิธีการแก้ไขในการดาํ เนินโครงการ

๔.ประเมินผลผลิต (Product Evaluation :P)

เป็นการประเมินผลลัพธ์ท่ีเกิดขึ้นเปรียบเทียบ

กับวัตถุประสงค์โครงการท่ีกําหนดไว้ รวมถึง

ผลลัพธ์อื่น ๆ ท่ีไม่ได้ถูกคาดหวังไว้ใน

วัตถุประสงค์ของโครงการ

(พนิต เข็มทอง:๒๕๕๔;๑๖ – ๑๗)
โดยสรปุ แนวคิดของ Tyler, Conbach และ Stufflebean (CIPP Model) เป็นแนวคดิ ท่นี ิยมใชม้ ากทสี่ ุด

บทที่ ๓
วธิ ีการประเมินผล

๑. กรอบแนวคดิ และรูปแบบการประเมินผล

การประเมินผลแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ กรมท่ีดิน
กระทรวงมหาดไทย ได้ประเมินโดยยึดกรอบแนวคิดของ Tyler’s ซึ่งมีวัตถุประสงค์เป็นแนวทางใน
การประเมนิ โครงการ (พนติ เขม็ ทอง, ๒๕๕๔ : หน้า ๕) มกี รอบการประเมนิ ผล ดังนี้

วัตถปุ ระสงค์ ตัวชว้ี ัด แหลง่ ขอ้ มลู /ผใู้ ห้ขอ้ มูล เคร่ืองมอื /วิธกี าร แนวทางการวิเคราะห์
วเิ คราะห์ข้อมลู ข้อมลู
๑. เพือ่ ประเมนิ - แผนปฏบิ ตั ิราชการ ๔ - รายงานผล - การวเิ คราะห์ผลการ
ผลสมั ฤทธข์ิ องการ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ ความก้าวหน้าในการ ดาํ เนินงานเปรยี บเทียบ - การแปรผลขอ้ มลู
ดําเนนิ งานตาม ของกรมทดี่ นิ สมั ฤทธิ์ผล ดําเนินงานตามแผนปฏิบตั ิ เปา้ หมาย/ตัวช้ีวัดตาม ในเชงิ คุณภาพ
แผนปฏิบตั ริ าชการ ๔ ปี ตามตวั ชี้วดั ของประเดน็ ราชการประจาํ ปี ประเดน็ ยุทธศาสตร์ พรรณนาโดยการ
พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ ยทุ ธศาสตร์ เปา้ ประสงค์ ในรอบ ๑๒ เดือน เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ เปรยี บเทียบในรูปรอ้ ย
ของกรมทด่ี นิ ว่ามีผล กลยุทธ์ และเป้าหมายท่ี ของปีงบประมาณ ท่ีกาํ หนดไว้ในแผน ๔ ปี ละและแปรผล
การดาํ เนนิ งานเป็นไป กําหนดในแผนฯ ๔ ปี ไม่ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ ทางสถติ ิ
ตามตวั ช้ีวดั ของประเด็น นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของกรมที่ดิน - การวิเคราะห์ผลการ
ยทุ ธศาสตรเ์ ปา้ ประสงค์ ได้แก่ ดําเนินงานเปรียบเทียบ - การแปรผลข้อมูล
กลยทุ ธ์ และเป้าหมายท่ี (๑) จํานวนโฉนดที่ดินท่ี -รายงานผลการ เป้าหมาย/ตัวช้ีวัดตาม ในเชงิ คุณภาพ
กาํ หนดไว้ในแผน ฯ ออกให้ แก่ ประชาชน ดําเนนิ งานตาม ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ พรรณนาโดยการ
หรอื ไม่อยา่ งไร ๔๐๐,๐๐๐ แปลง แผนปฏบิ ัติราชการ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ เปรียบเทียบในรูปรอ้ ย
ประจําปงี บประมาณ ทกี่ าํ หนดไว้ในแผน ๔ปี ละและแปรผล
(๒) ประชาชนมีความ พ.ศ. ๒๕๕๕–๒๕๕๘ - การวิเคราะห์ผลการ ทางสถติ ิ
พึงพอใจในการให้บริการ (แบบ กผ.๐๑) /สนส. ดําเนินงานเปรียบเทียบ - การแปรผลข้อมลู
ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ -รายงานผลการ เป้าหมาย/ตัวช้ีวัดตาม ในเชิงคณุ ภาพ
ดําเนินงานตาม ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ พรรณนาโดยการ
( ๓ ) จํ า น ว น เ ร่ื อ ง ที่ แผนปฏบิ ัตริ าชการ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ เปรียบเทียบในรูปร้อย
พิ จ า ร ณ า ม า ต ร ฐ า น ประจาํ ปงี บประมาณ ทก่ี ําหนดไว้ในแผน ๔ ปี ละและแปรผล
ก า ร อ อ ก ห นั ง สื อ แ ส ด ง พ.ศ. ๒๕๕๕–๒๕๕๘ - การวิเคราะห์ผลการ ทางสถิติ
สิทธใิ นทีด่ ิน (แบบ กผ.๐๑) /สนส. ดําเนินงานเปรียบเทียบ - การแปรผลข้อมูล
-รายงานผลการ เป้าหมาย/ตัวชี้วัดตาม ในเชงิ คณุ ภาพ
ดาํ เนนิ งานตาม ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ พรรณนาโดยการ
แผนปฏบิ ัตริ าชการ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ท่ี เปรยี บเทียบในรูปร้อย
ประจําปงี บประมาณ กําหนดไว้ในแผน ๔ ปี ละและแปรผล
พ.ศ. ๒๕๕๕–๒๕๕๘ ทางสถิติ
(แบบ กผ.๐๑) /สนส.


Click to View FlipBook Version