The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการปฏิบัติงาน การติดตามและประเมินผลแผนงาน/โครงการของกรมที่ดิน (ปี 2559)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

- ๔๘ -

วตั ถุประสงค์ ตัวชวี้ ัด แหลง่ ขอ้ มลู /ผ้ใู ห้ขอ้ มลู เครื่องมอื /วิธกี าร แนวทางการวิเคราะห์
วิเคราะหข์ อ้ มูล ข้อมลู
(๔) จํานวนแปลงท่ดี นิ -รายงานผลการ - การวิเคราะห์ผลการ
ของรัฐท่ีไดร้ ับการรังวัด ดําเนนิ งานตาม ดําเนินงานเปรียบเทียบ - การแปรผลขอ้ มลู
เพือ่ ออกและตรวจสอบ แผนปฏิบตั ิราชการ เป้าหมาย/ตัวชี้วัดตาม ในเชิงคณุ ภาพ
นสล. ๖,๐๐๐ แปลง ประจําปีงบประมาณ ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ พรรณนาโดย
พ.ศ. ๒๕๕๕–๒๕๕๘ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ การเปรียบเทียบในรปู
(แบบ กผ.๐๑) /สจร. ท่กี าํ หนดไว้ในแผน ๔ปี ร้อยละและแปรผล
ทางสถติ ิ

(๕) ที่ดินของรัฐท่ี -สุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง อ ง ค์ ก ร -แบบสอบถาม องค์กร -ประมวลผล

ออกหนังสือสาํ คญั สําหรบั ปกครองส่วนท้องถ่ิน ปกครองส่วนท้องถิ่น ขอ้ มลู เชงิ คุณภาพ

ที่หลวงแล้ว มกี ารดแู ล ในพื้นทจ่ี งั หวัด/สาขา เกี่ ย ว กั บ ที่ ดิ น ข อ ง รั ฐ แสดงคา่ สถิตแิ ละ

การใชป้ ระโยชนอ์ ย่าง ๓๕ สํานักงาน ท่ีออกนสล.แล้ว จํานวน พรรณาเปรยี บเทียบ

เหมาะสม ไมน่ ้อยกว่า ๓๕ สาํ นกั งาน

รอ้ ยละ ๘๐

(๖) จํานวนประชาชนที่ -รายงานผลการ - การวิเคราะห์ผลการ - การแปรผลข้อมลู

ยากจนได้รับการจัดท่ีดนิ ดําเนินงานตาม ดําเนินงานเปรียบเทียบ ในเชิงคุณภาพ

ทํากนิ และที่อยู่อาศยั ใน แผนปฏิบัติราชการ เป้าหมาย/ตัวชี้วัดตาม พรรณนาโดย

ทด่ี นิ ของรัฐ ๔๔,๐๐๐ ประจาํ ปงี บประมาณ ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ การเปรียบเทียบในรูป

แปลง ๒๒๐,๐๐๐ ครัวเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๕–๒๕๕๘ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ร้อยละและแปรผล

(แบบ กผ.๐๑) /สจร. ที่กาํ หนดไว้ในแผน ๔ ปี ทางสถิติ

(๗) ประชาชนที่ได้รับ -รายงานผลการ - การวิเคราะห์ผลการ - การแปรผลข้อมูล
ดําเนินงานเปรียบเทียบ ในเชงิ คณุ ภาพ
การจัดท่ีดินมีคุณภาพ ดาํ เนนิ งานตาม เป้าหมาย/ตัวชี้วัดตาม พรรณนาโดย
ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ การเปรียบเทียบในรูป
ชีวิตที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่า แผนปฏบิ ัตริ าชการ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ร้อยละและแปรผล
ทก่ี ําหนดไวใ้ นแผน ๔ ปี ทางสถิติ
ร้อยละ ๘๐ ประจาํ ปีงบประมาณ
- การวิเคราะห์ผลการ - การแปรผลข้อมลู
พ.ศ. ๒๕๕๕–๒๕๕๘ ดําเนินงานเปรียบเทียบ ในเชิงคณุ ภาพ
เป้าหมาย/ตัวชี้วัดตาม พรรณนาโดย
(แบบ กผ.๐๑) /สจร. ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ การเปรยี บเทียบในรปู
เป้าประสงค์ กลยุทธ์ รอ้ ยละและแปรผล
(๘) จํานวนประชาชนท่ี -รายงานผลการ ทก่ี าํ หนดไว้ในแผน ๔ ปี ทางสถติ ิ

ได้รับบริการในสํานักงาน ดาํ เนินงานตาม

ทดี่ ิน ๒๐.๕ ล้านราย แผนปฏบิ ตั ริ าชการ

ประจาํ ปงี บประมาณ

พ.ศ. ๒๕๕๕–๒๕๕๘

(แบบ กผ.๐๑) / กผ.

-สรุปผลงานตามแบบ

รายงาน บทด.๗๒ ,๗๓

- ๔๙ -

วตั ถปุ ระสงค์ ตัวช้ีวัด แหลง่ ขอ้ มูล/ผู้ให้ขอ้ มูล เครื่องมือ/วิธีการ แนวทางการวิเคราะห์
วิเคราะหข์ อ้ มูล ขอ้ มูล
(๙) จํานวนประชาชนที่ -รายงานผลการ - การวิเคราะห์ผลการ
ดําเนินงานเปรียบเทียบ - การแปรผลข้อมูล
ได้รับการบรกิ ารดูแล ดาํ เนินงานตาม เป้าหมาย/ตัวชี้วัดตาม ในเชิงคุณภาพ
ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ พรรณนาโดย
หลกั ฐานทางทะเบียน แผนปฏิบตั ิราชการ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ การเปรยี บเทียบในรปู
ทีก่ าํ หนดไว้ในแผน ๔ ปี รอ้ ยละและแปรผล
ทีด่ นิ จาํ นวน๓๓ ลา้ นแปลง ประจําปีงบประมาณ ทางสถติ ิ
-แบบสอบถามประชาชน
พ.ศ. ๒๕๕๕–๒๕๕๘ เกีย่ วกบั ความเชื่อมนั่ ต่อ -ใช้โปรแกรม SPSS ใน
งานบริการของกรมท่ดี ิน การประมวลผลข้อมูล
(แบบ กผ.๐๑) / กผ. โดยการออกไปสอบถาม โดยการหาค่ารอ้ ยละ
ประชาชนในพน้ื ที่ ๓๕ (Percentage) คา่ เฉล่ยี
-สรปุ ผลงานตามแบบ สาํ นักงาน (Mean) และ
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
รายงาน บทด.๗๒ ,๗๓ -สอบถามกองฝกึ อบรม (Standard Deviation)
และสํานักงานทดี่ ิน - การแปรผลข้อมูล
(๑๐) ประชาชนมีความ -สมุ่ ตวั อย่างประชาชน ในพื้นท่ี ๓๕ สํานกั งาน ในเชิงคุณภาพ พรรณนา
โดยการเปรียบเทียบใน
เช่อื มัน่ ต่องานบรกิ าร มาติดต่อขอรับบรกิ ารใน -สอบถามกองฝึกอบรม รปู รอ้ ยละและแปรผล
และสํานกั งานทด่ี นิ ทางสถิติ
กรมทีด่ ิน ไมน่ อ้ ยกว่า สํานกั งานท่ีดิน ในพื้นที่ ๓๕ สาํ นักงาน - การแปรผลข้อมูล
ในเชิงคณุ ภาพ พรรณนา
รอ้ ยละ ๘๐ พืน้ ท่ี ๑๓ จงั หวัด - สอบถามสาํ นกั โดยการเปรียบเทยี บใน
เทคโนโลยสี ารสนเทศ รูปรอ้ ยละและแปรผล
๓๕ สาํ นักงานทดี่ นิ ทางสถิติ
- การแปรผลข้อมูล
จํานวน ๔๐๐ ราย ในเชงิ คณุ ภาพ
พรรณนาโดย
(๑๑) รอ้ ยละของ - กองฝึกอบรมและ การเปรียบเทียบในรปู
บุคลากรทีไ่ ดร้ บั การ สาํ นกั งานในพนื้ ท่ี ร้อยละและแปรผล
พฒั นาสมรรถนะท่ี ๓๕ สํานักงาน ทางสถติ ิ
กรมที่ดินกําหนด

(๑๒) ร้อยละของ - กองฝกึ อบรมและ
บุคลากรทไี่ ดน้ าํ ความรู้ สํานกั งานในพ้ืนที่
จากการจัดการความรู้ ๓๕ สาํ นักงาน
ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการ
ปฏิบัติงาน -สาํ นกั เทคโนโลยี
(๑๓) ระดับความ สารสนเทศ
พงึ พอใจของประชาชน
ท่ใี ช้บริการขอ้ มลู
ขา่ วสารผา่ นระบบ
สารสนเทศ

- ๕๐ -

วตั ถุประสงค์ ตวั ช้ีวัด แหลง่ ขอ้ มลู /ผู้ใหข้ ้อมลู เคร่อื งมอื /วิธกี าร แนวทางการวิเคราะห์
วิเคราะห์ข้อมลู ข้อมูล
(๑๔) จาํ นวนขอ้ มลู ทด่ี ี
และแผนทร่ี ปู แปลงที่ดนิ -สํานักงานโครงการ -สอบถามสํานักงาน - การแปรผลขอ้ มลู
ที่จัดเกบ็ ในระบบ พัฒนาระบบสารสนเทศท่ีดนิ โครงการพัฒนาระบบ ในเชงิ คุณภาพ
สารสนเทศ (GIS) พรรณนาโดย
๒๙ ลา้ นแปลง สารสนเทศทีด่ นิ การเปรยี บเทียบในรูป
ร้อยละและแปรผล
(๑๕) ร้อยละของขอ้ มลู -สาํ นกั งานโครงการ - สอบถามสาํ นักงาน ทางสถติ ิ
ทดี่ นิ และแผนทีร่ ูปแปลง พฒั นาระบบสารสนเทศ โครงการพฒั นาระบบ - การแปรผลขอ้ มูล
มคี วามครบถว้ นถกู ตอ้ ง ท่ีดนิ /สาํ นักเทคโนโลยี สารสนเทศทด่ี นิ / ในเชิงคุณภาพ
ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๙๐ สารสนเทศ สํานักเทคโนโลยี พรรณนาโดย
สารสนเทศ การเปรียบเทียบในรปู
ร้อยละและแปรผล
ทางสถิติ

-สุ่มตวั อย่างสาํ นักงาน
ทด่ี นิ พน้ื ที่ภาคเหนอื /
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ
จํานวน ๑๗ สาํ นกั งาน

๒. เพ่ือทราบปญั หา -จํานวนปัญหาอปุ สรรค -กลมุ่ ตวั อยา่ งเปน็ - แบบสัมภาษณ์ -ประมวลผลปญั หา
อุปสรรคและ และขอ้ เสนอแนะของ เจา้ พนกั งานทด่ี นิ เจ้าพนกั งานที่ดิน อปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะ
ข้อเสนอแนะของการ บุคลากรในสาํ นกั งาน จงั หวดั /สาขา จงั หวดั /สาขา แลว้ นํามาวิเคราะห์
ดาํ เนนิ งานตามแผน ฯ ท่ีดนิ ในพื้นท่ี ๓๕ สํานกั งาน สรปุ ผล
อนั จะนําไปส่กู าร
ทบทวนแผนปฏิบตั ิ
ราชการ ๔ ปี ใหม่
ในคร้ังตอ่ ไป

- ๕๑ -

๒) กลุ่มผู้ใหข้ อ้ มลู /แหล่งขอ้ มูล
ในการประเมนิ ครัง้ นี้ ไดก้ าํ หนดกลมุ่ ผใู้ หข้ อ้ มลู /แหลง่ ข้อมูลหลัก ดงั นี้
(๑) เอกสารรายงานความก้าวหน้าในการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการกรมที่ดิน

ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ ของกรมทีด่ ิน รอบ ๑๒ เดือน และเอกสารท่เี ก่ยี วขอ้ ง
(๒) โครงการศูนย์ข้อมูลทีด่ ินและแผนทแ่ี ห่งชาติ ระยะที่ ๑ และเอกสารท่เี กี่ยวขอ้ ง
(๓) ประชาชนท่ีมาตดิ ต่อขอรับบริการในสาํ นกั งานท่ีดินเปน็ ตวั แทน จาํ นวน ๔๐๐ ราย
(๔) เจ้าพนกั งานท่ดี ินจังหวดั /สาขา ในสํานกั งานท่ดี ินเปน็ ตัวแทน จํานวน ๓๕ ราย

๓) วธิ ีการคัดเลอื กประชากรกลุ่มตัวอย่าง
(๑) จังหวัดที่ได้ดําเนินการตามโครงการศูนย์ข้อมูลที่ดินและแผนท่ีแห่งชาติ ระยะที่ ๑

ภาคเหนอื ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ รวม ๒๒๖ สํานักงาน โดยคดั เลือกตวั แทนภาคเหนือ ๓ จังหวัด ได้แก่
จังหวัดพิจิตร และสาขาตะพานหิน บางมูลนาก จังหวัดพิษณุโลก และสาขาวังทอง พรหมพิราม
บางระกํา จังหวัดสุโขทัย และสาขาสวรรคโลก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดอุดรธานี
และสาขาหนองหาน กุมภวาปี จังหวัดหนองบัวลําภู และสาขาศรีบุญเรือง จังหวัดเลย และสาขาวังสะพุง
เชียงคาน รวมเปน็ ๑๗ สํานักงาน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๘ ของเปา้ หมาย ๒๒๖ สาํ นกั งาน

(๒) คัดเลือกตัวแทนจังหวัด/สาขา ภาคกลาง ภาคใต้ โดยมุ่งเน้นจังหวัด/สาขา
ท่ีมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจดีและมีรายได้ที่จัดเก็บปี ๒๕๕๗ อยู่ในเกณฑ์เฉลี่ย ๒๐ ล้านบาทขึ้นไป
จํานวน ๑๘ สํานักงาน โดยคัดเลือกตัวแทนภาคกลาง ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ และสาขาตาคลี
สาขาพยุหะคีรี สาขาบรรพตพิสัย สาขาลาดยาว จังหวัดอุทัยธานี และสาขาบ้านไร่ จังหวัดชัยนาท และ
สาขาหันคา จังหวัดอ่างทอง ภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช และสาขาท่าศาลา ร่อนพิบูลย์ สาขาทุ่งสง
จงั หวัดกระบี่ และสาขาอ่าวลกึ จังหวัดพังงา และสาขาตะกว่ั ทุ่ง

(๓) คัดเลือกตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพ้ืนท่ีจังหวัด/สาขา จํานวน
๑๓ จงั หวัด ๓๕ สํานกั งาน

(๔) ขนาดของกลุ่มตัวอย่างประชากรท่ีเป็นตัวแทนของประชาชนท้ังหมด โดยใช้
จํานวนประชาชนท่ีมาใช้บริการในสํานักงานท่ีดิน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ จํานวน ๘,๕๕๐,๖๔๘ ราย
ทเ่ี ป็นตัวแทนของประชาชน โดยเลือกวิธีการสมุ่ ตัวอย่างแบบ Taro Yamane ใชส้ ูตร

- ๕๒ -

เมอ่ื = ขนาดตัวอย่างทค่ี ํานวณได้
= จาํ นวนประชากรทท่ี ราบค่า
= ขนาดความคลาดเคล่อื นในการส่มุ ทย่ี อมรบั ได้

ในการศึกษาคร้ังนี้ กําหนดระดับความคลาดเคลอ่ื นท่ยี อมรับได้ เท่ากับ ๕ % ซ่ึงจะ
ใช้ ค่า ๐.๐๕ แทนคา่ ในสตู ร ดงั กล่าว

๓๙๙.๙๘

เพ่อื ใหไ้ ดข้ อ้ มูลครบถว้ นตามมาตรฐานทางสถิติ ในขัน้ ตอนการเกบ็ ขอ้ มูล
ประชาชนทม่ี าตดิ ตอ่ รบั งานบรกิ ารในสํานกั งานท่ดี ิน จึงได้ใช้ขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ งประชาชน จาํ นวน ๔๐๐ ราย

๔. เครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
(๑) แบบสอบถามประชาชนเกี่ยวกบั ความเชื่อม่ันตอ่ งานบริการของกรมท่ีดิน
(๒) แบบสอบถามองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเก่ียวกับที่สาธารณประโยชน์ท่ีออก

นสล. แลว้ ไดร้ ับการดูแลการใช้ประโยชนอ์ ยา่ งเหมาะสม
(๓) แบบสมั ภาษณเ์ จา้ พนกั งานที่ดินจงั หวัด/สาขา
(๔) รายงานผลความก้าวหน้าในการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจํา

ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ ของกรมทีด่ นิ รอบ ๑๒ เดือน รายงานผลการดาํ เนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิ
ราชการประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ (แบบ กผ.๐๑) และเอกสารทเ่ี กี่ยวข้อง

๕. การสรา้ งเครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการประเมนิ จากค่มู ือการสร้างเครอื่ งมอื
(๑) ศกึ ษาวิธีการสร้างแบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม

ประเมินผลโครงการ
(๒) ศึกษาจากเอกสารทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับโครงการ
(๓) กําหนดประเด็นคาํ ถามสําหรบั การประเมนิ ผล
(๔) สรา้ งและปรับปรุงเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการประเมินผล
(๕) นาํ ไปใชป้ ฏบิ ัติงานจรงิ ในภาคสนาม

- ๕๓ -

๖. วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
(๑) ศึกษาจากเอกสารและรายงานต่างๆทเี่ กี่ยวข้องกับแผนปฏิบตั ิราชการ ๔ ปี กรมที่ดนิ
(๒) สัมภาษณ์เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา จํานวน ๓๕ ราย โดยการออก

ไปปฏิบัตงิ านภาคสนาม รวม ๔ ครั้ง
(๓) สอบถามหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สํานักมาตรฐานการออกหนังสือสําคัญ

สํานักจัดการท่ีดินของรัฐ สํานักเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักงานโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศที่ดิน
และกองฝึกอบรม

(๔) สอบถามประชาชนเกี่ยวกับความเช่ือมั่นต่องานบริการของกรมที่ดิน จํานวน
๔๐๐ ราย โดยการออกไปปฏบิ ัตงิ านภาคสนาม รวม ๔ ครงั้

(๕) สอบถามองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในพ้ืนที่ ๓๕ สํานักงาน โดยการออกไป
ปฏิบตั ิงานภาคสนาม รวม ๔ ครงั้

๗. วธิ กี ารวิเคราะห์ข้อมลู
ข้อมูลเชิงคุณภาพและข้อมูลจากเอกสารท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการวิเคราะห์เน้ือหา

ส่วนข้อมูลเชงิ ปริมาณ วเิ คราะหโ์ ดยหาค่าความถี่ รอ้ ยละ ค่าเฉลี่ยและคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน

๘. เกณฑ์ทีใ่ ช้ในการประเมนิ ผล
รอ้ ยละ ๙๐ – ๑๐๐ หมายถึงระดับความเชื่อมั่นมากทสี่ ุด
ร้อยละ ๘๐ – ๘๙ หมายถงึ ระดับความเชือ่ มั่นมาก
ร้อยละ ๗๐ – ๗๙ หมายถงึ ระดับความเชอ่ื ม่ันปานกลาง
ร้อยละ ๖๐ – ๖๙ หมายถงึ ระดับความเช่ือม่นั นอ้ ย
ร้อยละ ๕๐ – ๕๙ หมายถงึ ระดับความเช่ือม่นั นอ้ ยท่ีสดุ

๙. ระยะเวลาปฏิบตั ิงาน ออกปฏบิ ัตงิ านภาคสนาม ระหวา่ งเดอื น กรกฎาคม – สงิ หาคม ๒๕๕๘
๑) วันท่ี ๖ – ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ จงั หวดั นครสวรรค์ อทุ ยั ธานี ชยั นาท อา่ งทอง
๒) วนั ท่ี ๑๙ – ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ จงั หวัดสโุ ขทยั พิษณโุ ลก พิจิตร
๓) วันที่ ๓ – ๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ ณ จงั หวัดเลย หนองบวั ลาํ ภู อุดรธานี
๔) วันที่ ๑๗ – ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๕๘ ณ จังหวดั นครศรธี รรมราช กระบี่ พังงา

บทท่ี ๔

ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

การประเมินผล แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
ได้ส่งเจ้าหน้าที่กองแผนงานออกไปสัมภาษณ์เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด/สาขา/เจ้าหน้าที่ จากกลุ่มเป้าหมาย ๔๐
ราย / ๓๕ สํานักงาน และตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ ๓๕ ราย/สํานักงาน รวมทั้ง
สุ่มตัวอย่างประชาชน ผู้มาติดต่อขอรับบริการในสํานักงานท่ีดิน จํานวน ๔๔๑ ราย จากเป้าหมาย ๔๐๐ ราย
คิดเปน็ ร้อยละ ๑๑๐.๒๕ ของเปา้ หมาย

การนําเสนอผลการประเมินจากการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ประเมินจะนําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล เรียง
ตามวัตถปุ ระสงคข์ องการประเมนิ ดงั นี้

๑. เพ่ือประเมินผลสัมฤทธ์ิของการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘
ของกรมท่ีดิน ว่ามีผลการดําเนินงานเป็นไปตามตัวชี้วัดของประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ และ
เปา้ หมายทีก่ าํ หนดไว้ในแผนฯ ๔ ปี หรอื ไม่อย่างไร

ตัวช้ีวัด “แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ ของกรมที่ดิน สัมฤทธิผลตามตัวชี้วัด
ของประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ และเป้าหมายท่ีกําหนดไว้ในแผนฯ ๔ ปี ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ ๘๐

ตารางท่ี ๑ แสดงสรุปผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘
ของกรมทีด่ ิน แยกเป็นรายปี

แผนปฏบิ ัตริ าชการ ๔ ปี หนว่ ย เปา้ หมาย / ผลงาน รวม
นับ
๑. ท่ีดนิ ของรฐั ทจี่ ัดใหแ้ ก่ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘
ประชาชน ปี ๒๕๕๕
๑.๑ จัดท่ีดินทํากินและที่อยู่ ๔,๕๐๐/ ๔,๕๐๐/ ๔,๕๐๐/ ๑๘,๐๐๐/
แปลง ๔,๕๐๐/ ๔,๕๓๗ ๔,๕๔๖ ๔,๑๔๓ ๑๗,๗๕๓
อาศัยใหก้ บั ประชาชนทยี่ ากจน ๔,๕๒๗

๑.๒ บริหารจดั การการใช้ แปลง ๙,๑๐๐/ ๙,๑๐๐/๙,๓๖๓ ๙,๑๐๐/๖,๕๘๘ ๕,๐๐๐/ ๓๒,๓๐๐/
ประโยชน์ในท่ดี ินของรัฐเพ่อื แก้ไข
๙,๖๓๕ ๕,๒๐๑ ๓๐,๗๘๗
ปญั หาความยากจน

๑๐๐,๐๐๐/ ๑๐๐,๐๐๐/
๒. เดินสํารวจออกโฉนดท่ีดิน แปลง ๑๐๐,๐๐๐/ ๑๒๔,๖๘๐ ๑๑๕,๐๐๙ ๑๐๐,๐๐๐/ ๔๐๐,๐๐๐/
๒.๑ เดินสํารวจออกโฉนดท่ีดิน
๑๑๖,๒๐๑ ๑๑๑,๓๔๔ ๔๖๗,๒๓๔

- ๕๕ -

หน่วย เปา้ หมาย / ผลงาน
นับ ปี ๒๕๕๕
แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ๔ ปี ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ รวม

๒.๒ โครงการเร่งรัดการออกโฉนด แปลง - - ๓๐๐/ ๔,๐๐๐/ ๔,๓๐๐/
ทีด่ นิ ในพนื้ ที่ ๓ จงั หวัด ๒๒๕ ๒,๒๔๙ ๒,๔๗๔
ชายแดนภาคใต้ (ปตั ตานี ยะลา ระวาง ๑๒,๐๐๐/ ๑๐,๐๐๐/
นราธิวาส) และบรเิ วณพ้นื ที่นอก ๑๒,๖๒๓ ๑๐,๘๙๗ ๑๐,๐๐๐/ ๑๐,๐๐๐/ ๔๒,๐๐๐/
เขตอุทยานแห่งชาติ บโู ด – สุไหงปาดี แปลง ๑๐,๙๓๓ ๑๑,๒๕๗ ๔๕,๗๑๐
แปลง ๑,๕๐๐/ ๑,๕๐๐/
๒.๓ จัดทําและใหบ้ รกิ าร แปลง ๑,๖๐๐ ๑,๕๑๐ ๑,๕๐๐/ ๑,๐๐๐/ ๕,๕๐๐/
ระวางแผนที่ระบบดจิ ิทัล ๑,๕๐๐ ๑,๐๔๐ ๕,๖๕๐
๓. ท่ีดินของรฐั ท่ีไดร้ บั การบริหาร ลา้ นแปลง ๑๑,๗๗๐/ -
จัดการ ๑๑,๗๘๐ ๕๐,๐๐๐/ - - ๑๑,๗๗๐/
แหง่ /ล้าน ๑๐๐,๐๐๐/ ๕๒,๖๗๐ ๑๑,๗๘๐
๓.๑ รงั วดั ทําแผนท่ีแสวงแนว แปลง ๑๐๒,๕๘๕ ๓๐,๐๐๐/ ๓๐,๐๐๐/ ๒๑๐,๐๐๐/
เขตทดี่ ินของรฐั และควบคมุ ๑.๗๐/ - ๓๑,๔๖๕ ๒๙,๖๐๗ ๒๑๖,๓๒๗
คุ้มครองทดี่ ินของรัฐ ๑.๗๓ ๑๔.๗๒/ ๙.๗๐/ ๒๖.๑๒/
๑๕๐/๓๐ ๑๕.๒๐ ๑๖.๙๓
๓.๒ สํารวจที่ดนิ ของรัฐและ ๑๕๐/๓๐ ๑๕๐/๓๔.๕๙ -
นําลงระวางแผนที่ ๑๕๐/๓๐
๔๕๙/๓๓ ๔๕๙/๓๔ ๑๒๑๘/
๓.๓ นําเข้าข้อมูลแผนท่ีรูป ๔๕๙/๓๕.๒๐ ๔๕๙/ ๑๒๗
แปลงท่ดี นิ ของรัฐระบบดิจิทัล ๓๕.๓๒ ๑๒๑๘/
๔. โครงการศูนยข์ อ้ มลู ที่ดินและ ๗.๐๐/ ๑๓๕.๑๑
แผนที่แห่งชาติ ๘.๕๖ ๖.๓๐/ ๒๕.๕๐/
๕. งานทะเบยี นและรงั วัดทดี่ นิ ที่ ๙.๒๗ ๓๓.๒๘
บรกิ ารให้แกป่ ระชาชน ๒๓
๓๕.๒๐ ๒๓ ๙๒
๕.๑ ปรับปรุงระบบการดูแล ๓๕.๓๒ ๑๓๕.๑๑
หลกั ฐานทางทะเบียนท่ีดิน - ๒๒๐/
-
๕.๒ บรกิ ารดา้ นทะเบยี นทีด่ ิน ล้านราย ๕.๐๕/ ๗.๑๕/ ๒๖๙
และรงั วดั ท่ดี ินที่ให้บริการแก่ ๖.๘๗ ๘.๕๘
ประชาชน ลา้ นแปลง
๒๓ ๒๓
๕.๓ การดแู ลรกั ษาหนังสอื แห่ง ๓๐ ๓๔.๕๙
แสดงสทิ ธใิ นที่ดิน ๑๐๐/ ๑๒๐/
๑๔๙ ๑๒๐
๕.๔ จดั ทาํ ใบเสร็จรบั เงินด้วย
ระบบคอมพิวเตอรใ์ นสํานักงานท่ีดิน

๕.๕ ปรบั ปรุงสถานที่ แห่ง ๖๐/ ๓๐/ ๒๐/ ๒๐/ ๑๓๐/
ให้บรกิ ารประชาชน ๖๐ ๖๑ ๔๔ ๗๐ ๒๓๕
อสงั หารมิ ทรัพย์

- ๕๖ -

แผนปฏิบัตริ าชการ ๔ ปี หน่วย เปา้ หมาย / ผลงาน รวม
นับ
๕.๖ พฒั นาระบบบรกิ ารใน แหง่ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ ๔๙/
สํานกั งานท่ีดนิ ดว้ ยเทคโนโลยแี ละ ๔๙/ ๓๘/ - - ๓๘
เครอ่ื งมือทนั สมัย ระบบ/ล้านครง้ั
๑/๓.๑๒ -/๑.๒๙ -/๓.๒๐๑ -/๓.๕๒๑ ๑/๙.๖๓๒
๕.๗ พัฒนาระบบบริหาร ระบบ ๑/- -/๑.๒๙ -/๓.๒๐๑
จดั การเวบ็ ไซต์ - ๑๑/๑๒ ๑๑/๑๒ -/๓.๕๒๑ ๑/๙.๖๓๒
สํานักงานทด่ี นิ
๕.๘ พัฒนาระบบบริหารการ - ๑๑/๑๒ ๓๓/๓๖
ขอ้ มลู ดา้ นรังวดั และทาํ แผนที่ ระบบ ๒๒๐,๐๐๐/๒๕
๑๕/๒ -/๑๓ -/- ๑๕/๑๕
๕.๙ รงั วัดเฉพาะรายโดย แปลง/แห่ง ๒๒๕,๐๐๐/๒๕ - ๒๒๐,๐๐๐/๒๕
ระบบดาวเทียมแบบจลน์ (RTK -- - ๒๒๕,๐๐๐/๒๕
Network) --

๕.๑๐ การพัฒนาระบบ
สารสนเทศเพ่อื การบริหาร
๖. โครงการพัฒนาระบบ
สารสนเทศทด่ี นิ เพ่ือการบรหิ าร
จดั การระบบสารสนเทศ

จากตารางที่ ๑ พบว่าผลการดําเนินเม่ือเทียบกับเป้าหมายแล้วได้ผลงานน้อยกว่าเป้าหมายที่กําหนดเป็น
ส่วนใหญ่ หรอื สัมฤทธ์ิผลมากกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเป้าหมาย

ตารางท่ี ๒ แสดงสรุปผลการดําเนินงานและผลการดําเนินงานงบประมาณตามแผนปฏิบัติราชการ
ประจําปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘

ผลการดําเนินงาน

ผลผลิต/กิจกรรม การบรรลุเป้าหมาย การบรรลเุ ปา้ หมาย

๑. ท่ีดินของรัฐทจี่ ดั ให้แกป่ ระชาชน (ตัวชว้ี ัด) (ตัวชีว้ ัด)
๑.๑ จัดทีด่ นิ ทํากนิ และทีอ่ ยู่อาศัยให้กบั ประชาชน
ท่ียากจน แผน ผล % ไดร้ บั เบกิ จา่ ยจริง %
๑.๒ บรหิ ารจัดการการใชป้ ระโยชนใ์ นทีด่ ินของรฐั
เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาความยากจน ๑๘,๐๐๐ ๑๗,๗๕๓ ๙๘.๕๒ ๔๓๐.๐๕ ๓๘๘.๔๔ ๙๐.๓๒
แปลง ๓๐,๗๘๗ ๙๕.๓๑ ๔๘๐.๕๔ ๔๐๕.๔๔ ๘๔.๓๗
๒. เดนิ สํารวจออกโฉนดที่ดนิ ๓๒,๓๐๐
๒.๑ เดินสํารวจออกโฉนดทีด่ ิน แปลง

๒.๒ โครงการเร่งรัดการออกโฉนดท่ีดินในพน้ื ท่ี ๓ ๔๐๐,๐๐๐ ๔๖๗,๒๓๔ ๑๑๖.๘๐ ๑,๙๔๓.๖๑ ๑๗๘๖.๒๕ ๙๑.๙๐
จังหวดั ชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา แปลง ๒,๔๗๔ ๕๗.๕๓ ๔๕.๑๙ ๓๕.๗๘ ๗๙.๑๗
นราธิวาส) และบริเวณพืน้ ที่นอกเขตอทุ ยาน ๔,๓๐๐
แหง่ ชาติบูโด – สไุ หงปาดี แปลง

- ๕๗ -

ผลการดาํ เนินงาน

ผลผลิต/กจิ กรรม การบรรลุเป้าหมาย การบรรลุเป้าหมาย

๒.๓ จัดทาํ และใหบ้ รกิ ารระวางแผนที่ระบบดิจิทัล (ตวั ชว้ี ัด) (ตวั ชีว้ ัด)

๓. ท่ีดินของรัฐทไ่ี ด้รบั การบรหิ ารจัดการ แผน ผล % ไดร้ บั เบิกจ่ายจริง %
๓.๑ รังวดั ทําแผนที่แสดงแนวเขตท่ีดนิ ของรัฐ และ
๔๒,๐๐๐ ๔๕,๗๑๐ ๑๐๘.๘๓ ๖๑๐.๐๒ ๔๙๗.๙๓ ๘๑.๖๒
ควบคุม คุ้มครองทีด่ ินของรัฐ
๓.๒ สํารวจทดี่ ินของรัฐและนําลงระวางแผนท่ี ระวาง

๓.๓ นาํ เข้าข้อมลู แผนท่ีรูปแปลงที่ดนิ ของรัฐระบบ ๕,๕๐๐ ๕,๖๕๐ ๑๐๒.๗๒ ๒๘๔.๒๐ ๒๕๖.๐๘ ๙๐.๑๐
ดจิ ิทลั แปลง ๑๑,๗๘๐ ๑๐๐.๐๘ ๑๐.๕๙ ๙.๙๕ ๙๓.๙๕
๑๑,๗๗๐ ๒๑๖,๓๒๗ ๑๐๓.๐๑ ๒๓.๖๕ ๓๗.๑๒
๔. โครงการศูนยข์ ้อมูลที่ดินและแผนทแี่ หง่ ชาติ แปลง ๑๖.๙๓ ๖๔.๘๑ ๓,๖๓๖.๕๐ ๓๖๔.๔๕ ๑๕๖.๙๕
๒๑๐,๐๐๐
๕. งานทะเบียนและรงั วัดที่ดินท่ีบรกิ ารใหแ้ ก่ แปลง ๑๐.๐๒
ประชาชน ๒๖.๑๒
ลา้ นแปลง
๕.๑ ปรบั ปรุงระบบการดูแลหลักฐานทางทะเบยี น
ทด่ี ิน ๑,๒๑๘ ๑,๒๑๘ ๑๐๐ ๔๒๐.๖๘ ๒๙๘.๓๖ ๗๐.๙๒
แห่ง/
๕.๒ บริการดา้ นทะเบียนที่ดินและรังวัดทดี่ ินใน ๒๐ ลา้ นแปลง ๓๓.๒๘ ๑๓๐.๕๐ ๑๐,๙๔๓.๕๓ ๑๐,๑๔๖.๓๑ ๙๒.๗๑
สํานักงานท่ดี ิน ๒๕.๕๐ ๑๓๖.๓๘ ๑๐๔.๑๐ -
ลา้ นราย ๑๓๔.๕๐ - -
๕.๓ การดแู ลรกั ษาหนงั สือแสดงสิทธใิ นทดี่ ิน ๑๓๑ ๒๖๙ ๖๗.๖๙ ๒๓.๑๘ ๓๔.๒๕
ล้านแปลง
๕.๔ จดั ทําใบเสรจ็ รับเงินด้วยระบบคอมพวิ เตอร์ ๒๐๐ แหง่
ในสาํ นักงานท่ีดิน
๑๓๐ แหง่ ๒๓๕ ๑๘๐.๗๖ ๕๐.๕๔ ๔๖.๕๔ ๙๒.๐๘
๕.๕ ปรบั ปรุงสถานทใ่ี หบ้ รกิ ารประชาชนดา้ น
อสงั หาริมทรัพย์ ๔๙ แห่ง ๓๘ ๗๗.๕๕ ๑๑๐.๕๘ - -

๕.๖ พัฒนาระบบบรกิ ารในสํานกั งานที่ดินดว้ ย ๑ ระบบ/ -
เทคโนโลยี และเครอื่ งมือทนั สมยั
๙.๖๓
๕.๗ พัฒนาระบบริหารจัดการเว็ปไซด์
ล้านครงั้ ๑๓.๐๖ ๑๓๕.๖๑
๕.๘ พฒั นาระบบบรกิ ารขอ้ มลู ด้านรังวดั และ
ทําแผนที่ ๑ ระบบ

๕.๙ รงั วัดเฉพาะรายโดยระบบดาวเทียมแบบจลน์ ๓๓ ๓๖ ๑๐๙.๐๙
(RTK Network)
สํานกั งาน
๕.๑๑ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพอ่ื การบริหาร
๖. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศท่ดี นิ เพ่อื การ ๑ ระบบ ๒๒๕,๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๗๓๙.๙๙๙ ๗๓๙.๙๙๙ ๑๐๐.๐๐
๒๒๐,๐๐๐/ ๐/๒๕
บรหิ ารจัดการระบบสารสนเทศทด่ี นิ ๒๕ แปลง
๗๙ แห่ง

- ๕๘ -

จากตารางที่ ๒ พบว่าผลการดําเนินงานและผลการเบิกจ่ายเงินมีความสอดคล้องสัมพันธ์กัน ยกเว้น
โครงการศูนย์ข้อมูลที่ดินและแผนท่ีแห่งชาติ ผลงานและผลการเบิกจ่ายยังไม่สอดคล้องกัน เน่ืองจากยังไม่ได้
ดําเนินการเบกิ จา่ ยในโครงการระยะท่ี ๑ ทงั้ หมด และระยะท่ี ๒ อยูใ่ นระหว่างดําเนนิ การตามสัญญาจา้ ง

ตารางที่ ๓ แสดงสรุปผลการดําเนินงานตามตัวช้ีวัดของประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนปฏิบัติ
ราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ กรมทด่ี ิน

ผลการดาํ เนนิ งาน

ตวั ชี้วัดผลการปฏบิ ัติงาน หน่วย เป้าหมาย ผลถึง บรรลุ 

ก.ย. ๕๘ (%)

ไม่บรรลุ 

ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ : พฒั นาระบบการ

ออกหนังสอื แสดงสทิ ธใิ นทด่ี ิน เพอ่ื ความ

มั่นคงในการถอื ครองท่ีดนิ ๔๖๗,๒๓๔ (๑๑๖.๘๐)
๘๘.๕๕ (๘๘.๕๕)
๑. จาํ นวนโฉนดที่ดนิ ออกให้แก่ประชาชน แปลง ๔๐๐,๐๐๐
๘๐ ๑๘,๐๓๙ (๑๗๓.๔๕)
๒. ประชาชนมีความพงึ พอใจในการ ร้อยละ
๑๐,๔๐๐
ใหบ้ ริการ
๕,๕๐๐
๓. จํานวนเรื่องท่พี จิ ารณามาตรฐานการ เร่อื ง
๘๐
ออกหนังสือแสดงสทิ ธใิ นทีด่ ิน
๓๘,๖๐๐
ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๒ : พฒั นาระบบ ๕๐,๓๐๐

บรหิ ารจดั การท่ีดินของรัฐใหเ้ กดิ ประโยชน์ ๘๐

สงู สดุ ๕,๖๕๐ (๑๐๒.๗๒)

๑. จํานวนแปลงท่ีดินของรัฐทไ่ี ดร้ ับการรังวัด แปลง

เพอ่ื ออกและตรวจสอบหนงั สอื สาํ คญั สําหรบั ที่

หลวง

๒. ทด่ี นิ ของรฐั ท่ีออกหนังสอื สําคญั สําหรับที่ รอ้ ยละ ๘๑.๐๐ (๘๑.๐๐)

หลวงแลว้ มีการดแู ลการใชป้ ระโยชน์อย่าง

เหมาะสม

๓. จํานวนประชาชนทยี่ ากจนไดร้ บั การจัดทด่ี ิน ครวั เรอื น ๓๔,๖๒๒ (๙๑.๑๑)
๔๘,๕๔๐ (๙๖.๕๐)
ทาํ กินและทอ่ี ยู่อาศัยในท่ดี ินของรัฐ ๘๖.๑๒ (๘๖.๑๒)

๔. จํานวนแปลงทีด่ นิ ที่ประชาชนได้รบั การจดั แปลง

ท่ีดินทํากินและทอ่ี ยอู่ าศัย

๕. ประชาชนทไ่ี ด้รบั การจดั ท่ีดนิ มีคุณภาพชีวติ ร้อยละ

ทีด่ ีข้ึน

- ๕๙ -

ผลการดําเนนิ งาน

ตัวช้ีวัดผลการปฏิบตั ิงาน หน่วย เป้าหมาย ผลถึง บรรลุ 

ก.ย. ๕๘ (%)

ไม่บรรลุ 

ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ : พฒั นาระบบงาน ลา้ นราย ๒๕.๕๐ ๓๓.๒๘ (๑๓๐.๕๐)
บรกิ ารในสาํ นกั งานท่ดี นิ ลา้ นแปลง ๓๓ ๓๕.๓๒ (๑๐๗.๐๓)

๑. จํานวนประชาชนท่ไี ดร้ บั บริการใน
สาํ นกั งานทีด่ ิน
๒. จาํ นวนประชาชนท่ีได้รบั การบริการดแู ล
หลกั ฐานทางทะเบียนทีด่ นิ

๓.ประชาชนมคี วามเชื่อมั่นตอ่ งานบรกิ ารของกรมทดี่ นิ ร้อยละ ๘๐ ๘๐.๖๐ (๘๐.๖๐)

ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ : พฒั นาระบบ รอ้ ยละ - ๙๗.๑๙ (๙๗.๕๙)
บรหิ ารจดั การองคก์ ารตามหลกั การบรหิ าร ร้อยละ - ๙๑.๐๐ (๙๑.๐๐)
กิจการบ้านเมอื งท่ีดี รอ้ ยละ - ๘๖.๓๐ (๘๖.๓๐)
๑. ร้อยละของบุคลากรได้รบั การพัฒนา
สมรรถนะทีก่ รมทด่ี นิ กําหนด
๒. รอ้ ยละของบุคลากรได้นาํ ความรู้ไป
ประยกุ ต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
๓. ระดับความพึงพอใจของประชาชนท่ีใช้
บรกิ ารขอ้ มูลขา่ วสารผา่ นระบบสารสนเทศ

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๕ : พฒั นาการบรหิ าร ล้านแปลง ๒๖.๑๒ ๑๖.๙๓  (๖๔.๘๑)
จัดการระบบสารสนเทศทด่ี นิ ๙๐ -
ยงั ไมเ่ สรจ็ สนิ้
๑. จาํ นวนขอ้ มูลทด่ี ินและแผนท่ีรปู แปลงทีด่ ิน โครงการ
ทีจ่ ดั เก็บในระบบภูมิสารสนเทศ (GIS)
 ยังไม่เสร็จสน้ิ
๒. ร้อยละของขอ้ มลู ที่ดนิ และแผนท่ีรูปแปลงมี รอ้ ยละ
ความครบถว้ นถูกตอ้ ง โครงการ

จากตารางที่ ๓ พบว่าแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ ของกรมที่ดิน สัมฤทธ์ิผลตาม
ตัวช้ีวัดของประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ และเป้าหมายที่กําหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี
มากกว่าร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป ยกเว้น ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ : พัฒนาบริหารจัดการระบบสารสนเทศที่ดิน
๑.จํานวนข้อมูลที่ดินและแผนที่รูปแปลงท่ีดินจัดเก็บในระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) ๒. ร้อยละของข้อมูลที่ดินและ
แผนท่ีรูปแปลงมีความครบถ้วนสมบูรณ์ ยังไม่บรรลุผล เนื่องจาก อยู่ระหว่างดําเนินโครงการ ยังไม่เสร็จสิ้น
โครงการระยะที่ ๒

- ๖๐ -

๒. เพอื่ ศึกษาระดบั ความเชอื่ ม่นั ของประชาชนทม่ี กี ารใหบ้ รกิ ารของกรมทีด่ ิน
ตารางที่ ๔ – ๑๒ แสดงจํานวนและร้อยละเก่ียวกับข้อมูลพ้ืนฐานของประชาชนผู้ตอบ

แบบสอบถาม
ตารางที่ ๔

เพศ จาํ นวน รอ้ ยละ
ชาย ๒๑๑ ๔๗.๘๐
หญิง ๒๓๐ ๕๒.๒๐
รวม ๔๔๑ ๑๐๐.๐๐

ตารางที่ ๕

อายุ จาํ นวน ร้อยละ
๒๐-๓๐ ปี ๓๖ ๘.๒๐

๓๑-๔๐ ปี ๑๐๕ ๒๓.๘๐

๔๑-๕๐ ปี ๑๕๔ ๓๔.๙๐

๕๐ ปีขน้ึ ไป ๑๔๖ ๓๓.๑๐
รวม ๔๔๑ ๑๐๐.๐๐

ตารางที่ ๖ จาํ นวน รอ้ ยละ
๑๔๒ ๓๒.๒๐
ระดบั การศกึ ษา ๒๒.๙๐
ต่ํากว่า ปวช. ๑๐๑ ๓๗.๒๐
ปวช.,ปวส. ๑๖๔ ๗.๗๐
ปรญิ ญาตรี
สงู กวา่ ปริญญาตรี ๓๔ ๑๐๐.๐๐

รวม ๔๔๑

- ๖๑ -

ตารางท่ี ๗

อาชีพ จํานวน ร้อยละ
รบั ราชการ/พนักงานรัฐวสิ าหกจิ ๖๐ ๑๓.๖๐
๑๔๘ ๓๓.๖๐
เกษตรกร ๑๗๒ ๓๙.๐๐
ค้าขาย/ประกอบธรุ กิจ ๔๓ ๙.๘๐
๑๘ ๔.๑๐
พนกั งาน/ลูกจ้าง
อ่นื ๆ ๔๔๑ ๑๐๐.๐๐

รวม

ตารางท่ี ๘ จํานวน ร้อยละ

มาขอใชบ้ รกิ ารจาก ๗๖ ๑๗.๒๐
สํานกั งานท่ดี นิ เปน็ ครง้ั แรก ๓๖๕ ๘๒.๘๐
๔๔๑ ๑๐๐.๐๐
ใช่
ไมใ่ ช่
รวม

ตารางท่ี ๙ จาํ นวน ร้อยละ

เปรยี บเทยี บระยะเวลา ๒๕๕ ๕๗.๘๐
การใหบ้ รกิ ารกับคร้งั ก่อน ๑๓๕ ๓๐.๖๐
๕๑ ๑๑.๖๐
รวดเร็ว ๔๔๑ ๑๐๐.๐๐
เหมอื นเดิม

ชา้ ลง

รวม

ตารางที่ ๑๐ - ๖๒ - รอ้ ยละ

การจดทะเบยี นสิทธิ จํานวน ๒๒.๒๓
และนิตกิ รรม ๒๒.๐๐
ขาย ๙๘ ๑๘.๘๒
ให้ ๙๗ ๔.๓๑
จาํ นอง ๘๓ ๖.๘๑
ไถถ่ อน ๑๙ ๘.๖๒
ประเมินราคา ๓๐
อนื่ ๆ ๓๘ ๘๒.๗๙

(ผู้จดั การมรดก,มรดก) ๓๖๕ รอ้ ยละ
รวม ๔.๐๙
๓.๖๓
ตารางท่ี ๑๑ จํานวน ๗.๔๙
๑๘ ๐.๖๘
การรังวดั ๑๖ ๑๕.๘๙
ออกโฉนด ๓๓
แบ่งแยก ๓ รอ้ ยละ
สอบเขต ๐.๙๑
๗๐ ๐.๒๓
อน่ื ๆ ๐.๒๓
รวม
๑.๓๗
ตารางท่ี ๑๒ จํานวน

อนื่ ๆ
ขอคดั /ถา่ ยเอกสาร ๑
ตรวจสอบหลกั ทรพั ย์

รอ้ งเรียน

รวม ๖

- ๖๓ -

จากตารางที่ ๑ – ๑๒ พบว่าประชาชนที่ตอบแบบสอบถาม จํานวน ๔๔๑ ราย แยกเป็น
เพศชาย จํานวน ๒๑๑ ราย คิดเป็นร้อยละ ๔๗.๘๐ เพศหญิง จํานวน ๒๓๐ ราย คิดเป็นร้อยละ ๕๒.๒๐ ราย
โดยมีอายุในช่วงอายุ ๔๑ – ๕๐ ปี มากที่สุด จํานวน ๑๕๔ ราย คิดเป็นร้อยละ ๓๔.๙๐ ราย มีอายุในช่วง ๒๐ – ๓๐ ปี
น้อยท่ีสุด จํานวน ๓๖ ราย คิดเป็นร้อยละ ๘.๒๐ ประชาชนมีระดับการศึกษาช้ันต่ํากว่าปริญญาตรี มากที่สุด
จํานวน ๑๖๔ ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ ๓๗.๒๐ สาํ เรจ็ การศกึ ษาสูงกว่าปริญญาตรี นอ้ ยทส่ี ุด จํานวน ๓๔ ราย คิดเป็น
ร้อยละ ๗.๗๐ โดยประกอบอาชีพค้าขาย/ประกอบธุรกิจ มากท่ีสุด จํานวน ๑๗๒ ราย คิดเป็นร้อยละ ๓๙.๐๐
ประกอบอาชีพ อ่ืนๆ น้อยที่สุด จํานวน ๑๘ ราย คิดเป็นร้อยละ ๔.๑๐ โดยไม่ได้มาขอใช้บริการจากสํานักงาน
ท่ีดินเป็นครั้งแรก มากที่สุด จํานวน ๓๖๕ ราย คิดเป็นร้อยละ ๘๒.๘๐ มาขอใช้บริการจากสํานักงานที่ดินเป็น
ครง้ั แรก นอ้ ยทีส่ ดุ จํานวน ๗๖ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๒๐ โดยเปรยี บเทียบระยะเวลาการให้บริการกับครั้งก่อน
มีความรวดเรว็ มากทีส่ ดุ จํานวน ๒๕๕ ราย คิดเป็นร้อยละ ๕๗.๘๐ โดยเปรียบเทียบระยะเวลาการให้บริการกับ
ครั้งกอ่ นมคี วามช้าลง นอ้ ยทส่ี ดุ จํานวน ๕๑ ราย คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๑.๖๐ โดยมีการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
การขาย มากทส่ี ดุ จํานวน ๙๘ ราย คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๒๓ โดยมีการไถถ่ อน น้อยที่สุด จํานวน ๑๙ ราย คิดเป็น
ร้อยละ ๔.๓๑ โดยมีการรังวัดสอบเขต มากท่ีสุด จํานวน ๓๓ ราย คิดเป็นร้อยละ ๗.๔๙ โดยมีการรังวัดอ่ืนๆ
นอ้ ยทสี่ ดุ จาํ นวน ๓ ราย คดิ เปน็ ร้อยละ ๐.๖๘ โดยด้านอ่ืนๆ มีการขอคัด/ถ่ายเอกสาร มากท่ีสุด จํานวน ๔ ราย
คิดเป็นร้อยละ ๐.๙๑ โดยด้านตรวจสอบหลักทรัพย์ และร้องเรียน น้อยที่สุด จํานวนอย่างละ ๑ ราย คิดเป็น
ร้อยละ ๐.๒๓ ตามลําดับ

- ๖๔ -

ตารางท่ี ๑๓ แสดงความคดิ เห็นของประชาชนเกย่ี วกบั ความเช่ือมนั่ ตอ่ การใหบ้ ริการของกรมท่ีดิน

ลําดับ ประเดน็ ความเช่ือมน่ั พอใจมาก พอใจ ระดบั ความเชอ่ื มั่น
ท่ี
(๙๐-๑๐๐%) (๘๐-๘๙%) ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทสี่ ดุ X รอ้ ยละ S.D. ไมเ่ ช่ือมน่ั
ความเชือ่ มน่ั ในการเกดิ ประโยชน์
สุขของประชาชน ๒๖๕ (๗๐-๗๙%) (๖๐-๖๙%) (๕๐-๕๙%)
๒๑๓
๑. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึง ๗๒ ๒๑๐ ๘๑ ๑๙ ๑ ๓.๘๖ ๗๗.๒๐ ๐.๗๕๔ ๓
ประโยชน์ของประชาชน ๑๓๖ ๒๐๐ ๖๘ ๒๑
๑๒๙ ๒๐๐ ๗๖ ๒๒ ๑ ๔.๐๔ ๘๐.๘๐ ๐.๘๕๑ ๒
๒. เจ้าหน้าที่มีการปฏิบัติงานอย่าง ๑๓๔ ๘๑ ๒๕
ซอ่ื สตั ย์ สุจรติ ๑๘๗ ๒ ๔.๑๑ ๘๒.๒๐ ๐.๘๓๑ ๒
๑๔๕ ๑๙๘ ๗๐ ๒๕
๓. เจ้าหน้าท่ีมีการปฏิบัติงานโปร่งใส ๑๙๗ ๑ ๔.๐๐ ๘๐.๐๐ ๐.๘๖๙ -
สามารถตรวจสอบได้ ๒๐๘
๑ ๔.๐๕ ๘๑.๐๐ ๐.๘๐๑ -
๔. สาํ นกั งานที่ดนิ มกี ารรบั ฟงั ความ ๑๖๔
คดิ เห็นข้อเสนอแนะจากบคุ คล ๑๒๒
ทั่วไป และหนว่ ยงานภายนอก ๑๙๕

๕. ประชาชนไดร้ บั คําช้แี จงหรือการ ๑๔๙
แกไ้ ขปัญหากรณีมีการรอ้ งเรยี น
เกยี่ วกับการปฏิบตั ิงานทไ่ี มถ่ ูกตอ้ ง
เหมาะสมของเจ้าหนา้ ท่ี
ความเชอ่ื มัน่ ในการเกดิ ผล
สมั ฤทธต์ิ ่อภารกิจของรฐั

๖. เจา้ หนา้ ทที่ ี่ให้บริการมคี วาม ๑๓๓ ๙๐ ๓๐ ๑ ๓.๙๖ ๗๙.๒๐ ๐.๘๗๔ -
รับผดิ ชอบในการปฏิบตั ิหนา้ ที่เปน็ ๑๔๘ ๗๕ ๑๙
อยา่ งดี ๑๕๔ ๗๐ ๑๘ ๑ ๔.๐๘ ๘๑.๖๐ ๐.๘๑๖ -
๑๑๗ ๙๓ ๒๒
๗. เจา้ หน้าที่มคี วามรู้ ความสามารถ ๑ ๔.๑๐ ๘๒.๐๐ ๐.๘๔๐ ๑
ความชํานาญ เกยี่ วกบั งานที่ ๑๗๓ - ๓.๙๖ ๗๙.๒๐ ๐.๘๔๓ ๑
รับผิดชอบเปน็ อย่างดี ๑๙๘
๑๒๗ ๘๒ ๒๑ ๑ ๔.๑๑ ๘๒.๒๐ ๐.๘๓๓ -
๘. เจา้ หน้าทมี่ คี วามม่งุ ม่นั ยนิ ดี เต็ม ๘๙ ๓๒ - ๔.๑๑ ๘๒.๐๐ ๐.๘๗๓ -
ใจในการให้บรกิ าร ๑๘๐
๙๘ ๒๐ ๑ ๓.๙๗ ๘๐.๐๐ ๐.๘๑๓ -
๙. เจ้าหน้าที่มกี ารใหค้ าํ แนะนาํ และ
คาํ ปรกึ ษาทส่ี ามารถนําไปปฏิบัติได้ ๙๐ ๒๐ ๒ ๔.๑๐ ๘๒.๐๐ ๐.๘๓๒ -

ความเชื่อมน่ั ในการมีประสิทธิ
ภาพ
๑๐. สาํ นักงานท่ีดินมกี ารเปดิ เผย
ขอ้ มูลขา่ วสารให้ประชาชนทราบ
๑๑. สาํ นักงานที่ดนิ มีการเปดิ โอกาส
ให้ประชาชนเข้ามามสี ว่ นรว่ ม
ในกิจกรรม
๑๒. สาํ นกั งานที่ดินมีการใช้เทคโนโลยี
และอปุ กรณต์ ่างๆท่ีทันสมยั เพอื่
เพิม่ ประสิทธิภาพใน
การดาํ เนนิ งาน
๑๓. สํ า นั ก ง า น ที่ ดิ น มี ก า ร แ จ้ ง ใ ห้
ประชาชนทราบถงึ สทิ ธิตา่ งๆใน
การรับบรกิ ารจากหน่วยงาน

- ๖๕ -

ระดบั ความเชอื่ มัน่

ลําดบั ประเด็นความเชื่อมั่น พอใจ ปานกลาง นอ้ ย น้อยทสี่ ุด X ร้อยละ S.D. ไมเ่ ชื่อม่นั
ท่ี พอใจมาก ๔.๐๔ ๘๐.๘๐ ๐.๘๖๖ -
(๘๐-๘๙%) (๗๐-๗๙%) (๖๐-๖๙%) (๕๐-๕๙%)
(๙๐-๑๐๐%)
๑๘๐ ๗๓ ๓๐ ๒
๑๔. ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูล ๑๕๖
ขา่ วสารไดง้ ่ายและสะดวก ๑๑๘

ความเช่ือมน่ั ในการลดขัน้ ตอน
การปฏบิ ตั งิ าน

๑๕. สาํ นกั งานที่ดนิ มขี ั้นตอน ๑๘๖ ๑๑๑ ๒๔ ๒ ๔.๐๕ ๘๑.๐๐ ๐.๗๒๐ -
การให้บริการท่เี หมาะสม

ตารางที่ ๑๓ แสดงความคิดเห็นของประชาชนเก่ยี วกับความเช่อื ม่ันต่อการใหบ้ ริการของกรมท่ดี ิน

ลาํ ดบั ประเดน็ ความเช่ือมน่ั มากทส่ี ุด มาก ระดับความเชอื่ มนั่
ท่ี
(๙๐-๑๐๐%) (๘๐-๘๙%) ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทส่ี ดุ X รอ้ ยละ S.D. ไมเ่ ชอ่ื มั่น
ความเช่อื ม่นั ในการลดขนั้ ตอน
การปฏิบัติงาน ๑๑๘ (๗๐-๗๙%) (๖๐-๖๙%) (๕๐-๕๙%)
๑๗๘
๑๕. สํานักงานท่ดี ินมีขัน้ ตอน ๑๘๖ ๑๑๑ ๒๔ ๒ ๔.๐๕ ๘๑.๐๐ ๐.๗๒๐ -
การให้บริการทีเ่ หมาะสม ๑๕๘ ๑๑๗ ๗๓ ๓๑ ๑ ๔.๐๕ ๘๑.๐๐ ๐.๘๕๕ -

๑๖. สํานกั งานที่ดินมีการช้ีแจงหรอื ให้ ๑๘๗ ๑๘๐ ๑๑๒ ๒๓ ๒ ๔.๐๖ ๘๑.๒๐ ๐.๘๒๑ -
ข้อมูลกระบวนการและ ๑๑๕
วธิ ีปฏิบัตงิ านเก่ียวกบั การบริการ ๑๓๘ ๑๐๔ ๑๙ - ๓.๙๙ ๗๙.๘๐ ๐.๘๕๐ -
ใหผ้ ู้รบั บรกิ ารทราบ ๒๐๒ ๒๐๖ ๑๐๒ ๒๑ ๑ ๔.๑๔ ๘๒.๘๐ ๐.๘๑๕ -
๒๒๑
๑๗. สํานักงานทีด่ ินมรี ะยะเวลาการ ๑๑๕ ๒๑๗ ๙๒ ๒๗ ๑ ๓.๙๒ ๗๘.๔๐ ๐.๘๕๔ -
ให้บรกิ ารที่เหมาะสม ๑๑๒ ๔,๗๘๐
๑๑๑ ๙๑ ๑๗ - ๓.๙๗ ๗๙.๔๐ ๐.๗๘๔ -
ความเช่อื มน่ั ในการอาํ นวยความ ๒,๓๒๙ ๑ ๓.๙๒ ๗๘.๔๐ ๐.๘๗๔ ๑
สะดวกและการตอบสนองความ ๘๐ ๓๑ ๓๓ ๔.๐๓ ๘๐.๖๐ ๐.๘๐๐ ๑๐
ตอ้ งการของประชาชน
สํานกั งานท่ีดนิ จดั ใหม้ ีการตอบ ๒,๐๔๖ ๕๑๔
๑๘. คําถาม/ให้คําแนะนาํ แกป่ ระชาชน
๑๙. สาํ นักงานทด่ี นิ มีการดําเนินการ
ตามขอ้ เสนอแนะและขอ้ รอ้ งเรียน
จากประชาชนรวมทั้งแจง้ ผลให้
ทราบตามกาํ หนดระยะเวลา
๒๐. สาํ นกั งานที่ดนิ มีการนาํ เทคโนโลยี
มาใช้ในการส่ือสารและอํานวย
ความสะดวกแก่ประชาชน
๒๑. ประชาชนไดร้ ับบรกิ ารทมี่ ีคณุ ภาพ
ถกู ต้อง ครบถว้ น

๒๒. ประชาชนไดร้ ับบรกิ ารที่
สะดวก รวดเรว็

รวม

- ๖๖ -

จากตารางท่ี ๑๓ พบว่า ระดับความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับความเช่ือม่ันต่อการให้บริการ
ของกรมที่ดินส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์มาก (ร้อยละ ๘๐.๐๐ – ๘๒.๘๐) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อคําถาม จะเห็นว่า
เจ้าหน้าท่ีปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงประโยชน์ของประชาชน อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง มีค่าเฉล่ียต่ําสุดท่ี ๓.๘๖
หรอื ร้อยละ ๗๗.๒๐ โดยสาํ นักงานทีด่ นิ มกี ารดําเนนิ การตามข้อเสนอแนะและข้อร้องเรียนจากประชาชน รวมทั้ง
แจ้งผลใหท้ ราบตามกําหนดระยะเวลา อยใู่ นเกณฑ์พอใจมาก มีคา่ เฉล่ียสงู สุดที่ ๔.๑๔ หรือรอ้ ยละ ๘๒.๘๐

โดยสรุปในภาพรวม ประชาชนมีความเชื่อม่ันต่อการให้บริการของกรมท่ีดิน อยู่ในเกณฑ์มาก
คา่ เฉลย่ี ๔.๐๓ หรือรอ้ ยละ ๘๐.๖๐

- ๖๗ -

ตารางท่ี ๑๔ – ๒๐ แสดงจํานวนและร้อยละเก่ียวกับข้อมูลพ้ืนฐานของประชาชน/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
(องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ) เกี่ยวกบั ความเชือ่ มัน่ ต่อการให้บรกิ ารของกรมท่ีดิน

ตัวชีว้ ัด “ที่ดนิ ของรัฐที่ออกหนงั สอื สาํ คญั สาํ หรับที่หลวงแล้ว มีการดูแลการใช้ประโยชน์
อยา่ งเหมาะสม ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐”

ตารางท่ี ๑๔ จาํ นวน ร้อยละ
๒๗ ๗๗.๑๐
เพศ ๘ ๒๒.๙๐
ชาย ๓๕ ๑๐๐.๐๐
หญิง
รวม

ตารางท่ี ๑๕ จาํ นวน ร้อยละ
๒ ๕.๗๐
อายุ ๑๐ ๓๔.๓๐
๒๐-๓๐ ปี ๑๖ ๔๕.๗๐
๓๑-๔๐ ปี ๗ ๒๐.๐๐
๔๑-๕๐ ปี
๕๐ ปีขน้ึ ไป ๓๕ ๑๐๐.๐๐

รวม

ตารางท่ี ๑๖ จาํ นวน ร้อยละ
๒ ๕.๗๐
ระดับการศกึ ษา ๑ ๒.๙๐
ตาํ่ กว่า ปวช. ๑๔ ๔๐.๐๐
ปวช.,ปวส. ๑๘ ๕๑.๔๐
ปริญญาตรี
สูงกว่าปริญญาตรี ๓๕ ๑๐๐.๐๐
รวม

- ๖๘ -

ตารางที่ ๑๗ จํานวน ร้อยละ
๓๐ ๘๕.๗๐
อาชีพ ๒ ๕.๗๐
รบั ราชการ/พนกั งานรฐั วิสาหกิจ ๓ ๘.๖๐
๐ ๐.๐๐
เกษตรกร ๐ ๐.๐๐
ค้าขาย/ประกอบธุรกจิ
๓๕ ๑๐๐.๐๐
พนกั งาน/ลกู จา้ ง
อ่ืนๆ
รวม

ตารางท่ี ๑๘ จํานวน ร้อยละ

มาขอใช้บรกิ ารจาก ๖ ๑๗.๑๐
สํานักงานที่ดนิ เปน็ ครั้งแรก ๒๙ ๘๒.๙๐
๓๕ ๑๐๐.๐๐
ใช่
ไมใ่ ช่
รวม

ตารางที่ ๑๙ จํานวน ร้อยละ

เปรยี บเทยี บระยะเวลา ๒๑ ๖๐.๐๐
การใหบ้ ริการกับครงั้ กอ่ น ๑๑ ๓๑.๔๐
๓ ๘.๖๐
รวดเร็ว ๓๕ ๑๐๐.๐๐
เหมอื นเดมิ

ช้าลง

รวม

- ๖๙ -

ตารางที่ ๒๐ ประเภทงานบริการทม่ี าติดตอ่

การจดทะเบยี นสิทธิ จาํ นวน ร้อยละ
และนติ ิกรรม
ขาย ๔ ๒๒.๒๓
ให้ ๕ ๒๗.๗๘
จํานอง ๑ ๕.๕๖
ไถถ่ อน ๓ ๑๖.๖๔
ประเมนิ ราคา ๔ ๒๒.๒๓
อืน่ ๆ ๑ ๕.๕๖

(ผู้จัดการมรดก,มรดก) ๑๘ ๑๐๐.๐๐

รวม

การรงั วดั จํานวน ร้อยละ
ออกโฉนด ๑๐ ๖๖.๖๗
แบ่งแยก ๒ ๑๓.๓๔
สอบเขต ๑ ๖.๖๕
๒ ๑๓.๓๔
อน่ื ๆ
๑๕ ๑๐๐.๐๐
รวม

อืน่ ๆ จาํ นวน รอ้ ยละ
ขอคัด/ถ่ายเอกสาร ๑ ๕๐.๐๐
ตรวจสอบหลักทรัพย์ ๑ ๕๐.๐๐

ร้องเรยี น ๒ ๑๐๐.๐๐

รวม

จากตารางท่ี ๑๔ – ๒๐ พบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีตอบแบบสอบถาม จํานวน
๓๕ ราย แยกเป็น เพศชาย จํานวน ๒๗ ราย คิดเป็นร้อยละ ๗๗.๑๐ เพศหญิง จํานวน ๘ ราย คิดเป็นร้อยละ
๒๒.๙๐ ราย โดยมีอายุในช่วงอายุ ๔๑ – ๕๐ ปี มากท่ีสุด จํานวน ๑๖ ราย คิดเป็นร้อยละ ๔๕.๗๐ ราย มีอายุ
ในช่วง ๕๐ ปีขึ้นไป น้อยท่ีสุด จํานวน ๗ ราย คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๐๐ ประชาชนมีระดับการศึกษาช้ันสูงกว่า
ปริญญาตรี มากท่ีสุด จํานวน ๑๘ ราย คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๔๐ สําเร็จการศึกษาปวช.,ปวส. น้อยที่สุด จํานวน
๑ ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒.๙๐ โดยประกอบอาชีพรับราชการ/พนกั งานรฐั วิสาหกิจ มากท่ีสดุ จาํ นวน ๓๐ ราย

- ๗๐ -

คิดเป็นร้อยละ ๘๕.๗๐ ประกอบอาชีพเกษตรกร น้อยที่สุด จํานวน ๒ ราย คิดเป็นร้อยละ ๕.๗๐ โดยไม่ได้
มาขอใช้บริการจากสํานักงานที่ดินเป็นคร้ังแรก มากที่สุด จํานวน ๒๙ ราย คิดเป็นร้อยละ ๘๒.๙๐ มาขอใช้
บริการจากสํานักงานที่ดินเป็นคร้ังแรก น้อยที่สุด จํานวน ๖ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๑๐ โดยเปรียบเทียบ
ระยะเวลาการให้บริการกับครั้งก่อนมีความรวดเร็ว มากท่ีสุด จํานวน ๒๑ ราย คิดเป็นร้อยละ ๖๐.๐๐
โดยเปรียบเทยี บระยะเวลาการให้บรกิ ารกับคร้งั กอ่ นมีความชา้ ลง น้อยที่สุด จํานวน ๓ ราย คิดเป็นรอ้ ยละ ๘.๖๐
โดยมีการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ให้ มากที่สุด จํานวน ๕ ราย คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๗๘ โดยมีการจํานอง
และอ่นื ๆ(ผู้จัดการมรดก,มรดก) นอ้ ยท่ีสดุ จํานวนด้านละ ๑ ราย คดิ เปน็ ร้อยละ ๕.๕๖ โดยมีการรังวัดออกโฉนด
มากที่สุด จํานวน ๑๐ ราย คิดเป็นร้อยละ ๖๖.๖๗ โดยมีการรังวัดสอบเขต น้อยท่ีสุด จํานวน ๑ ราย คิดเป็น
ร้อยละ ๖.๖๕ โดยด้านอื่นๆ มีการขอคัด/ถ่ายเอกสาร และตรวจสอบหลักทรัพย์ เท่ากัน จํานวนอย่างละ ๑ ราย
คดิ เป็นรอ้ ยละ ๕๐.๐๐ ตามลาํ ดบั

- ๗๑ -

ตารางที่ ๒๑ แสดงความคิดเห็นของประชาชน/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน) เกี่ยวกับความเชื่อม่ันต่อ
การให้บริการของกรมท่ีดิน

ลาํ ดบั ประเดน็ ความเชอื่ มัน่ มากทส่ี ดุ มาก ระดบั ความเชอื่ มัน่
ท่ี
(๙๐-๑๐๐%) (๘๐-๘๙%) ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทสี่ ดุ X รอ้ ยละ S.D. ไม่เช่ือมัน่
ความเชอื่ มนั่ ในการเกดิ ประโยชน์
สุขของประชาชน ๒๐ (๗๐-๗๙%) (๖๐-๖๙%) (๕๐-๕๙%)

๑. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึง ๘ ๕ ๑ ๑ ๓.๙๕ ๗๙.๐๐ ๐.๘๓๒ -
ประโยชนข์ องประชาชน

๒. เจ้าหน้าท่ีมีการปฏิบัติงานอย่าง ๑๖ ๑๒ ๕ ๑ ๑ ๔.๑๘ ๘๓.๖๐ ๐.๘๒๑ -
ซอ่ื สัตย์ สจุ รติ ๑๓
๑๑ ๑๖ ๓ ๑ ๑ ๔.๐๓ ๘๐.๖๐ ๐.๘๖๑ ๑
๓. เจ้าหน้าที่มีการปฏิบัติงานโปร่งใส ๑๔
สามารถตรวจสอบได้ ๑๒ ๗ ๔ ๑ ๓.๘๐ ๗๖.๐๐ ๐.๘๕๕ -
๑๙
๔. สาํ นักงานท่ีดนิ มีการับฟงั ความ ๑๘ ๑๒ ๕ ๔ - ๔.๐๓ ๘๐.๖๐ ๐.๘๙๙ -
คดิ เหน็ ขอ้ เสนอแนะจากบคุ คล ๑๒
ทว่ั ไป และหน่วยงานภายนอก ๘ ๑๑ ๓ ๑ ๑ ๔.๓๒ ๘๖.๔๐ ๐.๘๗๓ -

๕. ประชาชนไดร้ บั คําชแ้ี จงหรือการ ๑๓ ๑๔ ๓ - - ๔.๔๓ ๘๘.๖๐ ๐.๘๘๕ -
แกไ้ ขปัญหากรณมี กี ารรอ้ งเรยี น ๑๕
เก่ยี วกับการปฏบิ ตั งิ านท่ีไม่ถกู ต้อง ๑๖ ๑๕ ๖ ๑ ๑ ๔.๐๓ ๘๐.๖๐ ๐.๘๗๔ -
เหมาะสมของเจ้าหนา้ ที่
ความเชื่อมัน่ ในการเกดิ ผล ๑๕ ๑๓ ๑๒ ๑ ๑ ๓.๗๕ ๗๕.๐๐ ๐.๘๔๖ -
สมั ฤทธต์ิ ่อภารกจิ ของรฐั
๑๕ ๑๒ ๘ ๒ - ๔.๐๓ ๘๐.๖๐ ๐.๘๓๒ -
๖. เจ้าหน้าท่ีทใ่ี หบ้ รกิ ารมคี วาม
รบั ผิดชอบในการปฏิบตั ิหน้าท่เี ปน็ ๑๐ ๔ ๕ ๑ ๓.๙๕ ๗๙.๐๐ ๐.๘๕๑ -
อย่างดี
๑๒ ๗ - - ๔.๒๖ ๘๕.๒๐ ๐.๘๕๔ -
๗. เจา้ หน้าที่มคี วามรู้ ความสามารถ
ความชาํ นาญ เกยี่ วกับงานที่ ๑๐ ๗ ๓ - ๔.๐๖ ๘๑.๒๐ ๐.๘๑๒ -
รบั ผิดชอบเปน็ อย่างดี
๑๐ ๖ ๓ ๑ ๔.๐๐ ๘๐.๐๐ ๐.๘๕๕ -
๘. เจ้าหน้าทมี่ คี วามมงุ่ ม่ัน ยินดี เตม็
ใจในการให้บริการ

๙. เจา้ หนา้ ท่ีมกี ารให้คาํ แนะนําและ
คําปรึกษาทส่ี ามารถนําไปปฏิบตั ิ
ได้
ความเชื่อมน่ั ในการมปี ระสิทธิ
ภาพ

๑๐. สํานกั งานที่ดนิ มีการเปดิ เผย
ขอ้ มลู ขา่ วสารใหป้ ระชาชนทราบ

๑๑. สํานกั งานที่ดนิ มีการเปดิ โอกาส
ให้ประชาชนเข้ามามสี ว่ นร่วม
ในกิจกรรม

๑๒. สาํ นกั งานที่ดนิ มีการใชเ้ ทคโนโลยี
และอปุ กรณ์ตา่ งๆทีท่ ันสมัยเพอ่ื
เพมิ่ ประสิทธิภาพใน
การดําเนินงาน

๑๓. สํ า นั ก ง า น ท่ี ดิ น มี ก า ร แ จ้ ง ใ ห้
ประชาชนทราบถึงสิทธิต่างๆใน
การรบั บรกิ ารจากหนว่ ยงาน

๑๔. ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูล
ข่าวสารได้งา่ ยและสะดวก

- ๗๒ -

ตารางที่ ๒๑ แสดงความคิดเห็นของประชาชน/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน) เก่ียวกับความเชื่อม่ันต่อ
การให้บริการของกรมท่ีดิน

ลําดบั ประเดน็ ความเช่อื มน่ั มากท่ีสุด มาก ระดับความเชอื่ มัน่
ท่ี ปานกลาง น้อย นอ้ ยทีส่ ดุ X รอ้ ยละ S.D. ไม่เชื่อมน่ั
(๙๐-๑๐๐%) (๘๐-๘๙%)
ความเช่อื ม่นั ในการลดขั้นตอน (๗๐-๗๙%) (๖๐-๖๙%) (๕๐-๕๙%)
การปฏบิ ตั งิ าน ๑๒
๑๓ ๙ - - ๔.๑๕ ๘๑.๒๐ ๐.๘๑๗ -
๑๕. สํานกั งานทดี่ ินมีข้นั ตอน ๑๔ ๖ ๒ - ๔.๑๒ ๘๓.๐๐ ๐.๘๔๒ -
การใหบ้ รกิ ารที่เหมาะสม ๑๔ ๑๐
๑๕ ๕ ๒ ๓ ๓.๙๒ ๗๘.๔๐ ๐.๘๑๕ -
๑๖. สํานักงานท่ดี นิ มกี ารชแ้ี จงหรือให้ ๑๒
ข้อมูลกระบวนการและ ๑๒ ๗ ๗ ๘ - ๓.๙๒ ๗๘.๔๐ ๐.๘๓๓ -
วิธปี ฏิบัตงิ านเกีย่ วกับการบรกิ าร ๑๗
ใหผ้ ู้รับบริการทราบ ๑๗ ๘ ๕ ๕ ๑ ๓.๙๘ ๗๙.๖๐ ๐.๘๕๕ -

๑๗. สํานักงานทด่ี ินมรี ะยะเวลาการ ๘ ๘ ๒ - ๔.๑๕ ๘๓.๐๐ ๐.๘๓๑ -
ให้บรกิ ารทีเ่ หมาะสม ๘
๒๔๗
ความเชอื่ มัน่ ในการอํานวยความ
สะดวกและการตอบสนองความ
ต้องการของประชาชน
สาํ นกั งานทด่ี นิ จดั ให้มีการตอบ
๑๘. คําถาม/ให้คําแนะนาํ แกป่ ระชาชน

๑๙. สาํ นักงานทด่ี นิ มีการดาํ เนินการ
ตามข้อเสนอแนะและขอ้ ร้องเรียน
จากประชาชนรวมทัง้ แจง้ ผลให้
ทราบตามกาํ หนดระยะเวลา

๒๐. สาํ นกั งานทด่ี ินมกี ารนําเทคโนโลยี
มาใช้ในการส่ือสารและอาํ นวย
ความสะดวกแก่ประชาชน

๒๑. ประชาชนได้รับบริการที่มคี ณุ ภาพ ๑๔ ๑๐ ๒ ๑ ๓.๙๒ ๗๘.๔๐ ๐.๘๒๙ -
ถกู ต้อง ครบถ้วน ๑๗ ๖๓ ๑ ๔.๐๖ ๘๑.๒๐ ๐.๘๕๒ -
๒๙๖ ๑๘๒ ๕๑ ๑๕ ๔.๐๕ ๘๑.๐๐ ๐.๘๕๒ -
๒๒. ประชาชนไดร้ ับบรกิ ารท่ี
สะดวก รวดเร็ว

รวม

จากตารางที่ ๒๑ พบว่า ระดับความคิดเห็นของประชาชน/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น) เกี่ยวกับความเชื่อม่ันต่อการให้บริการของกรมท่ีดินส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ (ร้อยละ ๘๐.๐๐ – ๘๘.๖๐)
เมอื่ พิจารณาเป็นรายข้อคาํ ถาม จะเห็นวา่ เจา้ หน้าที่มีการให้คําแนะนําและคําปรึกษาที่สามารถนําไปปฏิบัติได้ อยู่
ในเกณฑ์ปานกลาง มีค่าเฉล่ียต่ําสุดที่ ๓.๗๕ หรือร้อยละ ๗๕.๐๐ โดยเจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถ ความชํานาญ
เก่ยี วกบั งานท่ีรบั ผิดชอบเปน็ อย่างดี อยู่ในเกณฑม์ าก มคี ่าเฉลย่ี สูงสุดที่ ๔.๔๓ หรอื ร้อยละ ๘๘.๖๐

โดยสรุปในภาพรวม ประชาชน/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) เก่ียวกับความ
เช่ือมนั่ ตอ่ การให้บรกิ ารของกรมทีด่ นิ สว่ นใหญอ่ ยใู่ นเกณฑ์มาก ค่าเฉล่ีย ๔.๐๕ หรอื รอ้ ยละ ๘๑.๐๐

- ๗๓ -

ตารางท่ี ๒๒ แสดงความคิดเห็นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเก่ียวกับท่ีดินของรัฐท่ีออกหนังสือสําคัญ
สาํ หรับท่หี ลวงแลว้ มีการดูแลการใช้ประโยชนอ์ ย่างเหมาะสม

ลาํ ดับท่ี รายการ มี ไม่มี เหตผุ ล

๑. ที่สาธารณประโยชน์ท่ีได้มีการออกหนังสือ ๒๘ ๗ ไ ม่ มี เ พ ร า ะ ชํ า รุ ด สู ญ ห า ย

สําคัญสําหรับท่ีหลวงแล้ว ยังคงมีป้ายช่ือ เนื่องจากได้มีการออกหนังสือ

ท่ี ส า ธ า ร ณ ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ ห ลั ก เ ข ต ที่ ดิ น สําคัญสําหรับท่ีหลวงมานานแล้ว

สาธารณประโยชนอ์ ยู่ หรอื ไม่ ป้ายช่ือ และหลักเขตจึงชํารุด

ทรุดโทรม และสูญหายไปตาม

สภาพและระยะเวลา ยังไม่มีการ

สํารวจเพื่อปรับปรุงซ่อมแซมใหม่

เ นื่ อ ง จ า ก ไ ม่ ไ ด้ ต้ั ง ง บ ป ร ะ ม า ณ

เพื่อการนี้

๒. ทส่ี าธารณประโยชนม์ ีการบุกรกุ หรือไม่ หากมี ๒๖ ๙ ๒.๑ มกี ารบุกรุก

ได้มีการดําเนนิ การอยา่ งไร - เกิดจากการที่ชาวบ้านไม่มีที่อยู่

อาศัย จึงเข้าจับจองท่ีดินเพื่ออยู่

อ า ศั ย แ ล ะ ทํ า ก า ร เ ก ษ ต ร เ ป็ น

เวลานานแล้ว โดยไม่รู้ว่าที่ดิน

บริเวณนั้นเป็นท่ีดินของรัฐ เมื่อมี

การบอกกล่าวจะไม่ยอมรับและ

เรียกร้องขอความเป็นธรรมอ้าง

ค ว า ม เ ดื อ ด ร้ อ น เ พ่ื อ ใ ห้ รั ฐ ใ ห้

ความช่วยเหลือเรื่องทดี่ นิ ทํากิน

- ผู้บุกรุก มี ๒ กลุ่มใหญ่ๆ คือ

ป ร ะ ช า ช น ใ น พื้ น ที่ ท่ี ถื อ ค ร อ ง

ท่ีสาธารณประโยชน์เพื่อทํากิน

ด้วยตนเอง และกลุ่มผู้มีอิทธิพลใน

ท้องถิ่นเป็นกลุ่มที่เป็นนายหน้าค้า

ที่ดินโดยให้ชาวบ้านถือครองที่ดิน

แทนโดยรวมตัวกันต่อต้านไม่ให้

หน่วยงานท้องถิ่นเข้าไปบริหาร

จดั การทด่ี นิ ของรัฐในพืน้ ที่

๒.๒ การดาํ เนินการกบั ผ้บู ุกรกุ

๑. กรณีชาวบ้านเป็นผู้บุกรุก

เดิมที่อยู่อาศัยมานานแล้ว เพ่ือ

เปน็ การบรรเทาความเดอื ดรอ้ น

- ๗๔ -

ตารางท่ี ๒๒ แสดงความคิดเห็นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกี่ยวกับท่ีดินของรัฐที่ออกหนังสือสําคัญ
สาํ หรับทห่ี ลวงแลว้ มีการดูแลการใชป้ ระโยชน์อยา่ งเหมาะสม

ลําดับที่ รายการ มี ไมม่ ี เหตผุ ล

ของประชาชนในพื้นท่ี จะใช้วิธี

ผ่อนผันให้ชาวบ้านเข้าอยู่อาศัย

และใช้ประโยชน์จากท่ีดินเพ่ือทํา

การเกษตรเล้ียงชีพ โดยให้ทํา

หนังสือรับสภาพ กําหนดจํานวน

เนื้อทท่ี ําประโยชนแ์ ต่ละครอบครัว

ให้ชัดเจนเพื่อป้องกันการบุกรุก

เพ่ิมเติม และรับทราบว่าที่ดินที่ใช้

ทําประโยชน์เป็นท่ีดินของรัฐ และ

จะต้องส่งมอบคืนต่อราชการหาก

มกี ารบอกกล่าวโดยไม่มขี ้อโตแ้ ยง้ ใดๆ

๒. ใช้มาตรการดําเนินคดีการทาง

กฎหมาย เช่น ให้ออกจากที่ดิน,

การแจง้ ความ ,การบงั คบั คดี

๓. จัดทําโครงการจัดที่ดินทํากิน

และท่อี ยอู่ าศัยใหก้ ับประชาชน

ทย่ี ากจน

๔. ไม่มีการดําเนินการหรือใช้

ม า ต ร ก า ร บั ง คั บ ใ ด ๆ ท้ อ ง ถิ่ น

จึงต้องปล่อยให้จับจองเต็มพ้ืนที่

รอให้หน่วยงานทางส่วนกลาง ใช้

ม า ต ร ก า ร บั ง คั บ แ ล ะ จั ด ส่ ง

เ จ้ า ห น้ าท่ี เ ข้ าม าดํ า เ นิ น ก า ร

คุ้ ม ค ร อ ง ป้ อ ง กั น ที่ ดิ น ข อ ง รั ฐ

โดยตรง

- ๗๕ -

ตารางท่ี ๒๒ แสดงความคิดเห็นขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเกี่ยวกับที่ดินของรัฐท่ีออกหนังสือสําคัญ
สําหรบั ที่หลวงแลว้ มกี ารดแู ลการใชป้ ระโยชน์อยา่ งเหมาะสม

ลําดับท่ี รายการ มี ไม่มี เหตุผล

๓. ห น่ ว ย ง า น ไ ด้ มี ก า ร จั ด ทํ า แ น ว เ ข ต ที่ ๒๙ ๖ ไ ม่ มี ก า ร จั ด ทํ า แ น ว เ ข ต ท่ี

สาธารณประโยชน์ที่ได้มีการรังวัดออกหนังสือ ส า ธ า ร ณ ป ร ะ โ ย ช น์ เ พ ร า ะ

สาํ คัญสําหรับท่หี ลวงไว้แล้ว หรือไมอ่ ย่างไร ไ ม่ ท ร า บ แ น ว เ ข ต ที่ ดิ น ชั ด เ จ น

ปั จ จุ บั น ส ภ า พ พ้ื น ท่ี ร อ บ แ ป ล ง

เปล่ียนไปมีท่ีดินท่ีมีเอกสารสิทธิ

เป็นโฉนดที่ดิน,นส.๓ , นส.๓ ก

ข อ ง ช า ว บ้ า น ล้ อ ม ร อ บ ท่ี ดิ น

สาธารณประโยชน์

๔. หน่วยงานได้มีการประชาสัมพันธ์ให้ราษฎร ๓๒ ๓ -มีการประชาสัมพันธ์ให้ราษฎร

ในพื้ น ท่ี ท ร า บ ห รื อ ป ร ะ ก า ศ ก า ร เ ป็ น ที่ ในพนื้ ท่ที ราบ

สาธารณประโยชน์ หรือไม่อย่างไร โดยวิธีประชาสัมพันธ์ส่งเสียงตาม

สายชุมชนในหมู่บ้าน,การประชุม

กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน รวมทั้งปลูกฝัง

ให้ชาวบ้าน ชุมชนในพื้นท่ีช่วยกัน

ดูแลท่ีดินสาธารณประโยชน์ไม่ให้

มีผู้มาบุกรุก ,จัดทําโครงการต่าง

เช่น โครงการเศรษฐกิจพอเพียง ,

โครงการอนุรักษ์พ้ืนที่สีเขียว ,

โครงการป่าชุ่มน้ํา , โครงการป่า

ชมุ ชน

-ไม่มี เพราะ ไม่ทราบว่ามีหน้าที่

ต้องจัดเก็บไว้ที่องค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิน่ ดว้ ย

- ๗๖ -

ตารางที่ ๒๒ แสดงความคิดเห็นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเก่ียวกับที่ดินของรัฐที่ออกหนังสือสําคัญ
สาํ หรบั ท่ีหลวงแล้ว มีการดูแลการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม

ลาํ ดับท่ี รายการ มี ไมม่ ี เหตุผล
๕. หน่วยงานได้มีการจัดทําสําเนาหนังสือ ๓๑ ๔ -มีการจัดทําสําเนาหนังสือ

สํ า คั ญ สํ า ห รั บ ท่ี ห ล ว ง แ ล ะ ท ะ เ บี ย น ที่ สําคัญสําหรับที่หลวง และ
ทะเบียนท่ีสาธารณประโยชน์
สาธารณประโยชน์เก็บไว้ท่ีองค์กรปกครอง เก็บไว้ท่ี องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น โดยต้ังแฟ้มจัดเก็บ
ส่วนทอ้ งถน่ิ หรอื ไมอ่ ยา่ งไร โดยเฉพาะ

- ไม่มี เพราะ ไม่ทราบว่ามี
หน้าท่ีต้องจัดเก็บไว้ท่ีองค์กร
ปกครองส่วนท้องถนิ่ ด้วย

๖. ประชาชนได้ใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ ๓๕ - -มีการใชป้ ระโยชนต์ าม

การใช้ประโยชนร์ ่วมกัน หรือไม่อยา่ งไร เชน่ วตั ถปุ ระสงคใ์ หใ้ ช้ประโยชน์

หนองนํ้าสาธารณประโยชน์ ศาลาประจํา ร่วมกนั เช่น หนองน้ํา

หมู่บา้ น ท่สี าธารณประจําหมบู่ ้าน เปน็ ต้น สาธารณประโยชน์ใช้กกั

เก็บน้ําไว้ใช้ในหมู่บา้ น , ป่าชา้

สาธารณประโยชนใ์ ช้ประกอบ

ฌาปนกิจ, สระนํา้

สาธารณประโยชน์ใช้สร้างอา่ ง

เกบ็ น้าํ เพ่อื ใช้ประโยชน์

การเกษตรของชาวบ้าน

ดขี น้ึ ไมด่ ีขึ้น

๗. หน่วยงานมกี ารพฒั นาปรับปรงุ -ดีขนึ้ เน่ืองจากมีขอบเขตทีด่ ิน
สาธารณประโยชน์ ท่ีไดม้ กี ารออกหนงั สือ และหลกั ฐานทางราชการชัดเจน
สําคัญสาํ หรบั ท่หี ลวงแลว้ ใหป้ ระชาชนใช้ เปน็ การปอ้ งกันการบกุ รกุ เช่น
ประโยชนร์ ่วมกันตามวตั ถปุ ระสงค์ ดีขึ้น หนองนา้ํ สาธารณประโยชน์ ได้
หรอื ไม่ อย่างไร จัดทําเป็นโครงการพฒั นา

- ๗๗ -

ตารางท่ี ๒๒ แสดงความคิดเห็นขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเกี่ยวกับที่ดินของรัฐท่ีออกหนังสือสําคัญ
สําหรับที่หลวงแล้ว มีการดูแลการใช้ประโยชนอ์ ยา่ งเหมาะสม

ลาํ ดบั ที่ รายการ มี ไมม่ ี เหตผุ ล

ขดุ ลอกแหล่งนา้ํ ตนื้ เขนิ เพอ่ื กัก

เก็บน้ําไว้ใชใ้ นหน้าแลง้ และ

สามารถ ต้ังงบประมาณ

ประจาํ ปใี นการพัฒนาปรับปรุง

สาธารณประโยชนไ์ ด้

ท่ีสาธารณประโยชนป์ ระจาํ

หมูบ่ า้ น มีการปรบั ปรุงพัฒนา

เปน็ สวนสาธารณะ,ทพ่ี ักผอ่ น

ของหมบู่ ้าน

มี ไม่มี

๘. หนว่ ยงานได้มีการปลกู จติ สาํ นกึ ให้ ๓๕ - - มีการปลูกจติ สาํ นกึ โดย

ประชาชนในพื้นที่มีความรัก หวงแหน และ การทํากจิ กรรมร่วมกนั ใน
ร่วมกันในการปกปอ้ ง คุ้มครองป้องกนั ท่ี วันสําคัญตา่ งๆ เช่น ทาํ บุญ
สาธารณประโยชน์ หรอื ไม่ อย่างไร ตกั บาตรในวันสําคัญทางศาสนา

, ปลูกป่า ปล่อยสตั ว์นา้ํ ในวนั

เฉลิมพระชนมพรรษาฯ ,

โครงการสาํ นกึ รักบา้ นเกิด

เพอ่ื ใหช้ าวบ้านเห็นความสําคญั

รู้สึกหวงแหนทด่ี นิ ไมป่ ล่อยให้

นายทนุ มากวา้ นซื้อทดี่ นิ

๙. หนว่ ยงานไดเ้ ปิดโอกาสให้ประชาชนในพ้ืนที่ ๓๕ - -มีส่วนร่วม โดยให้ชาวบ้าน

ไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นร่วมในการดูแลรักษา และ ช่วยกนั ดแู ลรักษาทส่ี าธารณะ
คุ้มครองป้องกนั หรือไม่อย่างไร ไมใ่ หม้ ีการบกุ รุกเพิ่มขนึ้ และ

ดแู ลรกั ษาพื้นท่ีให้คงสภาพเดมิ

เชน่ แหลง่ นา้ํ ตืน้ เขนิ จดั ทํา

กิจกรรมใหช้ ว่ ยกันขดุ ลอกและ

นาํ ดินไปขายเป็นรายได้ให้

- ๗๘ -

ตารางที่ ๒๒ แสดงความคิดเห็นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเก่ียวกับที่ดินของรัฐท่ีออกหนังสือสําคัญ
สาํ หรับทห่ี ลวงแล้ว มกี ารดูแลการใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งเหมาะสม

ลําดบั ที่ รายการ มี ไมม่ ี เหตุผล

แตล่ ะครอบครวั , โครงการปลกู

ปา่ ทดแทน เพอื่ รกั ษาธรรมชาติ

ใหค้ งอยกู่ ับชุมชนเปน็ การ

ปอ้ งกันภัยแล้งกจิ กรรมปลอ่ ย

สตั วน์ ํา้ สบู่ ึงสาธารณประโยชน์

ประจําหม่บู า้ น และให้ชาวบา้ น

สามารถเข้ามาจบั สตั ว์น้ําขาย

เป็นรายไดเ้ สริมใหก้ ับครอบครัว

รวม ๒๘๖ ๒๙

รอ้ ยละ ๙๐.๗๙ ๙.๒๑

จากตารางที่ ๒๒ พบว่าความคิดเห็นขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นเก่ียวกับที่ดินของรัฐท่ีออกหนังสือสําคัญ
สาํ หรับทห่ี ลวงแล้ว มีการดูแลการใชป้ ระโยชน์อย่างเหมาะสม ร้อยละ ๙๐.๗๙

๓. เพอื่ ทราบปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะของการดําเนินงานตามแผนฯ

๓.๑ ความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ๔ ปี

กรมที่ดินได้จัดทําแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ตามภารกิจท่ีสอดคล้องกับประเด็นนโยบายของรัฐบาล
ตามแผนการบริหารราชการแผ่นดนิ รวม ๓ ดา้ น คอื

นโยบายที่ ๔ นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต ประเด็น : สร้างหลักประกันความม่ันคงในศักดิ์ศรี
ความเป็นมนษุ ย์ รวมถึงใหโ้ อกาสประชาชนท่มี ีฐานะยากจนได้มีทีอ่ ยู่อาศัยเปน็ ของตนเอง

นโยบายท่ี ๕ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ประเด็น : สร้างความเป็นธรรมและลด
ความเหลอ่ื มลํ้าในการใชป้ ระโยชน์ทดี่ ินและทรัพยากรธรรมชาติ

นโยบายที่ ๘ นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ประเด็น : ประสิทธิภาพการบริหารราชการ
แผ่นดิน

มีวัตถุประสงค์เพ่ือใหบ้ คุ ลากรทุกหน่วยงานในสังกัดของกรมท่ีดิน และสํานักงานที่ดินทราบทิศทาง
ในภาพรวมของกรมทดี่ นิ ตามภารกิจตา่ งๆ และใชเ้ ป็นแนวทางในการดาํ เนินงานขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์ของรัฐบาล
กระทรวงมหาดไทย และยุทธศาสตรก์ รมทีด่ ินให้เกดิ ผลเป็นรปู ธรรม และบรรลุผลสัมฤทธต์ิ ่อภารกจิ ภาครฐั

- ๗๙ -

โดยรวมอย่างมีประสิทธิภาพเป็นไปในแนวทางเดียวกันสามารถตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมองค์การ
และประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ๕ ประเด็น คอื

ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี ๑ : พัฒนาระบบการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเพ่ือความมั่นคงในการ
ถือครองทีด่ ิน

ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการท่ีดินของรฐั ให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ
ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ : พัฒนาระบบงานบรกิ ารในสาํ นักงานทีด่ ิน
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ : พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การองคก์ ารตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๕ : พัฒนาการบรหิ ารจัดการระบบสารสนเทศทด่ี ิน

การบรหิ ารงานท่ดี นิ ใหม้ ีประสิทธิภาพ ประสทิ ธผิ ล

๑) ในการบริหารงานท่ีดินได้มีการติดป้ายประกาศ กระบวนงาน ขั้นตอน ระยะเวลาการใช้บริการให้แก่
ประชาชนทราบ

๒) จัดสถานท่ใี หบ้ ริการขอ้ มูลขา่ วสาร และป้ายตดิ ประกาศประชาสมั พันธข์ ่าวสารตา่ ง ๆ

๓) จัดตั้งศูนย์ดํารงธรรมสํานักงานท่ีดินจังหวัดรับเร่ืองราวร้องทุกข์เก่ียวกับที่ดินของประชาชน เพ่ือให้
สามารถแก้ปัญหาหรือให้คําแนะนําได้ทันทีในเบื้องต้น เป็นการบรรเทาความเดือดร้อนและสร้าง
ความพึงพอใจตอ่ ผรู้ บั บรกิ าร

๔) พัฒนาระบบงานบริการของสํานักงานท่ีดินให้อยู่ในระบบอิเล็กทรอนิกส์เพ่ือให้ประชาชนมี
ความเชื่อมน่ั ในระบบงานทะเบียนท่ถี กู ต้อง รวดเร็ว โปร่งใส และเป็นธรรม

การพฒั นาบุคลากรให้บรรลุผลตามเปา้ ประสงค์

๑) พัฒนาบุคลากรโดยยึดหลักสมรรถนะและบริหารจัดการความรู้ให้สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์
เพือ่ ให้บุคลากรมีความพร้อมและมีขีดความสามารถในการปฏิบัติงานเพื่อให้บริการประชาชนอย่างมี
คุณธรรม จรยิ ธรรม โปร่งใส และรวดเร็ว

๒) จดั โครงการฝึกอบรมเสรมิ สร้างสมรรถนะ พฒั นาบคุ ลากร โดยเชญิ วทิ ยากรผูท้ รงคุณวุฒิมาให้ความรู้
แก่เจ้าหนา้ ทภ่ี ายในหนว่ ยงาน

๓) จัดส่งเจ้าหน้าท่ีเข้าร่วมฝึกอบรม ศึกษาดูงาน และศึกษาหาความรู้กับหน่วยงานต่าง ๆ เช่น
สาํ นกั งานจงั หวัด , กรมที่ดิน , สาํ นักงาน ป.ป.ช. ฯลฯ

๔) จัดประชุมประจําเดือนเพ่ือนําระเบียบ กฎหมาย หนังสือเวียนใหม่ๆ มาช้ีแจง ทําความเข้าใจ และ
แนะนําแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้องให้แก่เจ้าหน้าท่ีทุกคนในหน่วยงานเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้
ถูกต้องเป็นไปในแนวทางเดียวกนั

- ๘๐ -

๕) มีการให้เจ้าหน้าท่ีแต่ละคนรายงานและติดตามงานค้างประจําเดือนเสนอให้หัวหน้าฝ่าย และ
เจ้าพนักงานที่ดินทราบทุกเดือน เพ่ือสะดวกในการตามงานและกระตุ้นให้เจ้าหน้าท่ีมีความ
รับผดิ ชอบในการสะสางงานคา้ งในมือให้ลดลงเพอื่ เปน็ ผลงานในการประเมินความดีความชอบ

ให้การส่งเสริม ยกย่อง และชมเชยเจ้าหน้าท่ีที่ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความต้ังใจ มีผลงานดีเด่นได้รับ
คําชมเชยจากผู้รับบริการ โดยนํามาพิจารณาความดีความชอบประจําปี และแจ้งกรมที่ดินทราบเพ่ือเป็นขวัญ
และกาํ ลงั ใจแกเ่ จา้ หนา้ ท่ี และเป็นแรงจูงใจใหแ้ ก่เจ้าหนา้ ทีผ่ ตู้ ง้ั ใจปฏบิ ัตงิ านอย่างเต็มความรู้ความสามารถ

โครงการศนู ย์ขอ้ มลู ท่ดี ินและแผนที่แหง่ ชาติ ระยะที่ ๑ ข้อมลู ที่ดินและแผนทีม่ คี วามครบถว้ น ถูกต้อง

๑) เป็นโครงการท่ีมีเป้าประสงค์เพื่อให้ฐานข้อมูลทะเบียนท่ีดินทั่วประเทศถูกต้อง ครบถ้วน เพื่อพัฒนา
ระบบงานด้านการจัดการข้อมูลที่ดินและแผนท่ีรูปแปลงให้เป็นศูนย์กลางการให้บริการด้านภูมิ
สารสนเทศอย่างมปี ระสิทธภิ าพ โดยจะตอ้ งมกี ารปรบั แก้ให้ถูกต้อง สมบูรณ์และเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ
เพื่อให้บริการประชาชน ภาครัฐ และภาคเอกชน ในการตรวจสอบการถือกรรมสิทธ์ิท่ีดิน การถือ
ครองที่ดิน และการประมวลผลวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับที่ดินได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมี
ประสทิ ธภิ าพ

๒) การนําเข้าข้อมูลตามโครงการศูนย์ข้อมูลที่ดินและแผนที่แห่งชาติ ระยะที่๑ มีความครบถ้วนแต่การ
เชื่อมโยงข้อมูลภาพลักษณก์ ับข้อมูลรปู แปลงทด่ี นิ ยังไม่สามารถเชื่อมโยงได้ทัง้ หมด ขณะน้ีอยู่ระหว่าง
สาํ นกั งานที่ดินดําเนินการตรวจสอบ แก้ไข และส่งให้บรษิ ทั นําเข้าขอ้ มูลเพ่มิ เติม

๓) ในการจัดเก็บข้อมูลท่ีดินของเอกสารสิทธิที่ดินประเภทหนังสือรับรองการทําประโยชน์ (น.ส.๓/ น.ส. ๓ ก
น.ส.๓ ข มีขอ้ มูลไม่ครบถ้วน เนื่องจากไม่มรี ะวาง, งานเดินสํารวจไม่ได้ลงระวาง โฉนดรุ่นเก่ามีข้อมูล
ไมค่ รบถว้ น ฯลฯ

๔) ปญั หาดา้ นรังวัดคอื เลขท่ีดินซ้ํา เลขท่ีโฉนดซํ้า ข้อเสนอแนะคอื อยากให้เปน็ แผนทชี่ ้ัน ๑ ทงั้ หมด
๕) ควรแต่งต้ังเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลระบบโดยตรง ปัจจุบันยังให้บริษัทเป็นผู้ดูแล หากมีการส่งมอบงาน

เรียบร้อยแล้วเกิดปญั หาภายหลงั จะไม่มีผู้รับผดิ ชอบท่ีมีความร้คู วามสามารถโดยตรง

๓.๒ ปัญหาอุปสรรคในการนําแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ไปปฏิบัติ หรือปัญหา อุปสรรคการให้บริการใน
สํานักงานท่ดี ิน

๑) งานหลกั ของกรมทด่ี ินคือ การใหบ้ ริการประชาชนในการจดทะเบยี นสิทธแิ ละนิติกรรม และการรังวัด
ท่ีดิน ปัจจุบันปริมาณงานมีเพ่ิมขึ้น แต่อัตรากําลังคนมีอยู่อย่างจํากัดไม่เพียงพอในการปฏิบัติงานหลายๆด้าน
และมีกรอบอัตรากําลังว่างแต่ไม่มีผู้มาดํารงตําแหน่งตามที่ได้รับแต่งต้ังขอช่วยราชการท่ีอื่น ทําให้การปฏิบัติงาน
ไม่บรรลุผลตามเป้าหมายเท่าท่ีควร ถึงแม้จะมีการนําเทคโนโลยีเข้ามาใช้ได้บางส่วน แต่ยังคงต้องให้ความสําคัญ
กับบคุ ลากรผ้ปู ฏิบัติงานเป็นหลัก

- ๘๑ -

๒) การขาดแคลนอัตรากําลังเจ้าหน้าที่โดยเฉพาะตําแหน่ง หัวหน้างาน / หัวหน้าฝ่าย / เจ้าพนักงานที่ดิน
จงั หวัด / สาขา ทําให้ตอ้ งมกี ารสับเปล่ยี นเจ้าหนา้ ทไ่ี ปรกั ษาการในตําแหน่งเปน็ เวลานาน

๓) อุปกรณ์ เครื่องมือ เคร่ืองใช้ไม่ทันสมัย เคร่ืองคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพต่ําและใช้งานมาเป็น
เวลานาน ทําให้การทํางานลา่ ชา้ และระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศขดั ขอ้ งบอ่ ย

๔) เครื่องมือในการรังวัด กล้องประมวลผลฯ มีน้อยไม่เพียงพอต่อช่างรังวัดใช้ในการปฏิบัติงาน หรือไม่
ชํารุดทรุดโทรมไม่สามารถใช้งานได้ เป็นปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานทําให้งานรังวัดล่าช้า และคิวนัดรังวัด
นานมา

๕) อาคารสถานที่ , สถานที่จอดรถ คับแคบ ชํารุดทรุดโทรม ไม่มีงบประมาณในการก่อสร้างใหม่ หรือ
ซ่อมแซมโดยเฉพาะสํานักงานที่ดินจังหวัด สาขา ที่ใช้สถานท่ีของอาคารสํานักงานที่ดินอําเภอเดิมจะอยู่รวมกับ
บรเิ วณอําเภอ ซึง่ คับแคบไมส่ ามารถกอ่ สร้างเพิม่ เตมิ หรือขยายพ้นื ท่ีได้ เม่อื มปี ระชาชนมาติดต่อจํานวนมากทาํ ให้
ไม่ไดร้ บั ความสะดวก

๖) เจา้ หน้าที่ขาดความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ในการปฏบิ ัติงาน โดยเฉพาะข้าราชการบรรจุใหม่
ยังไม่ผ่านการฝึกอบรมจากส่วนกลาง ส่งให้ไปปฏิบัติหน้าที่ทันทีแล้วจึงเรียกมาอบรมข้าราชการบรรจุใหม่
ภายหลัง ทาํ ใหเ้ ปน็ ภาระกับสํานักงานท่ีดินซ่ึงมีเจ้าหน้าท่ีไม่เพียงพออยู่แล้วต้องมาคอยสอนงานและควบคุมดูแล
เอาใจใส่เจ้าหน้าท่ี ทําให้งานปัจจุบันล่าช้า และเส่ียงต่อความผิดพลาด โดยเฉพาะปัจจุบันมี พระราชบัญญัติ
การอาํ นวยความสะดวกใช้บงั คับแล้ว ทําให้เจา้ หนา้ ท่ตี ้องเพ่มิ ความระมดั ระวงั มากขึ้น

๗) ระบบงานบริหารงานบุคคลของกรมท่ีดิน มีการแต่งตั้ง โยกย้ายบ่อย โดยไม่มีการแต่งตั้งบุคคลมา
ทดแทนตําแหน่งท่ีว่างลง และไม่มีนโยบายให้ผัดการเดินทาง ทําให้การทํางานไม่ต่อเน่ืองและเป็นภาระหนัก
ตอ่ หวั หนา้ หนว่ ยงานทจ่ี ะต้องบริหารคน บรหิ ารงานทีเ่ พิม่ ขึน้

๘) ระบบสารสนเทศปัจจุบันยังไม่สมบูรณ์ มีปัญหาบ่อยเข้าข้อมูลไม่ได้ การแก้ไขใช้เวลานาน ทําให้
งานสะดุด สร้างความไม่พอใจแก่ผู้มาใช้บริการต้องรอนานโดยเฉพาะในวันส้ินเดือนท่ีมีคนใช้บริการจํานวนมาก

๙) เม่ือมีพระราชบัญญัติการอํานวยความสะดวกฯบังคับใช้ทําให้เจ้าหน้าที่ทํางานมากขึ้น ยากขึ้น
แตอ่ ตั รากําลงั มีไมเ่ พยี งพอทจ่ี ะใหบ้ ริการตามทป่ี ระกาศไว้ ควรกําหนดระยะเวลาการทาํ งานใหเ้ หมาะสม

๑๐) ยานพาหนะ เช่น รถยนต์ราชการเก่ามากใช้งานมานานกว่า ๑๐ ปี แล้ว สภาพไม่ปลอดภัย
เสียและซอ่ มบอ่ ยส้ินเปลืองค่าใช้จา่ ย

๑๑) ช่างรังวัดส่วนใหญ่อายุมากแล้ว ประสิทธิภาพทํางานน้อยลง ประกอบกับช่างรังวัดมีไม่เพียงพอ
ทําให้งานรงั วัดล่าชา้

๑๒) เจ้าหน้าท่ีทําแต่งาน ไม่มีเวลาศึกษาระเบียบคําส่ัง เท่าท่ีควร เนื่องจากทํางานมากทําให้งานไม่มี
คณุ ภาพ

๑๓) การจัดที่ดินให้แก่ประชาชนท่ียากจนในท่ีดินสาธารณประโยชน์ แม้ว่าไม่มีผู้บุกรุก แต่มีคนจน
ในหมบู่ ้าน ผา่ นประชาคมแลว้ ก็ควรจดั หาทด่ี นิ ใหเ้ ขาดว้ ย

- ๘๒ -

ปัญหา อปุ สรรคเกย่ี วกบั การบรหิ ารจดั การทดี่ นิ ของรัฐ
๑) ผมู้ อี ํานาจหนา้ ที่ดแู ลรักษาทด่ี นิ ของรฐั ไม่ร้บู ทบาทและอํานาจหน้าทีข่ องตนเอง
๒) เร่ืองการออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง (นสล.) หน่วยงานส่วนท้องถิ่นที่มีหน้าที่ดูแล

รักษาไม่ให้ความสําคัญ หรือไม่ตั้งงบประมาณในการขอรังวัดออกหนังสือสําคัญสําหรับท่ีหลวง จึงไม่มายื่นเร่ือง
ขอออกหนังสือสําคัญสําหรับท่ีหลวง ทําให้ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดท่ีต้ังไว้ตามแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ของกรมที่ดิน
ไม่ไดผ้ ลตามเป้าหมาย และกรมทด่ี ินไมส่ ามารถควบคุมไดถ้ ้าหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องไมใ่ ห้ความร่วมมอื

๓) การจัดการท่ีดินของรัฐ หน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีดูแลรักษาไม่ทราบแนวเขตที่ดินของรัฐที่แท้จริง
ทําให้ข้อเท็จจริงที่ได้จากการสํารวจข้อมูลท่ีดินของรัฐที่มีผู้บุกรุกไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงเป็นปัญหาและ
อปุ สรรคในการดาํ เนินการในเรอ่ื งการบริหารจัดการการใชป้ ระโยชน์ทีด่ ินของรัฐ

๔) การจัดที่ดินให้แก่ประชาชนท่ียากจนให้ได้รับการจัดท่ีดินทํากินและอยู่อาศัยไม่มี
การดําเนินการ,ขาดการประชาสัมพันธ์ และไม่ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เช่น กํานัน
ผใู้ หญบ่ ้าน ผ้นู าํ ทอ้ งถ่นิ ประชาคมหมบู่ ้าน ฯลฯ โดยเฉพาะชาวบ้านผู้บุกรุกได้เข้าอยู่อาศัยและทําการเกษตรโดย
ใช้พื้นท่ีจํานวนมากมาเป็นเวลานานต้ังแต่สมัยปู่ย่าตายายไม่ยอมรับการจัดท่ีดินทํากินเพราะจะได้ท่ีดินจํานวน
น้อยลง การทําประชาคมแต่ละคร้ังไม่ได้รับการสนับสนุน หน่วยงานราชการไม่สามารถเข้าไปดําเนินการ หรือ
ขับไล่ได้ ทําให้ไมไ่ ดผ้ ลการดาํ เนินการตามเปา้ หมายตัวช้ีวดั ที่กรมทด่ี ินต้ังไว้

๓.๓ ความต้องการให้กรมท่ีดินสนับสนุนเพ่ือให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสําเร็จตามเจตนารมณ์และ
วตั ถปุ ระสงคข์ องแผนฯ ๔ ปี

๑) เพ่มิ กรอบอตั รากาํ ลังเจ้าหน้าทผี่ ู้ปฏบิ ตั ิงาน โดยเฉพาะตาํ แหน่งที่ขาดแคลน คอื ช่างรังวัด
๒) จัดส่งเจ้าหน้าท่ีทดแทนตําแหน่งว่างท่ีโยกย้ายทันที โดยเฉพาะตําแหน่ง หัวหน้างาน /
หวั หน้าฝ่าย / เจา้ พนกั งานทีด่ นิ จงั หวัด / สาขา
๓) กรณีเจ้าหน้าท่ีไปปฏิบัติหน้าท่ีทางส่วนแยกที่ไม่มีกรอบอัตรากําลังของตัวเอง ขอให้
จดั เจา้ หน้าทจี่ ากสว่ นกลางมาทดแทน
๔) จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเคร่ืองปร้ินเตอร์ท่ีมีประสิทธิภาพสูง ทันสมัย เพื่อรองรับการ
ประมวลผลข้อมลู ท่มี ีประสทิ ธิภาพ ความรวดเรว็ และใหม้ จี าํ นวนเพยี งพอกับเจา้ หน้าท่ี ๑ คน ตอ่ ๑ เครอื่ ง
๕) จัดหาเคร่ืองมือและกล้องประมวลผลฯ ใช้งานฝ่ายรังวัดให้เพียงพอกับ ช่างรังวัด ๑ คน
ตอ่ ๑ ตวั
๖) ปรับปรุงและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้ทันสมัยในทุกด้าน สามารถเชื่อมโยงกันได้ท้ัง
ระบบ เพอ่ื ใหก้ ารรายงานข้อมูลต่างๆ มปี ระสิทธิภาพ ประสทิ ธผิ ล
๗) การสร้างบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถเพ่ือให้สามารถปฏิบัติงานตามแผนได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ ประสิทธิผล โดยมีการฝึกอบรมเจา้ หนา้ ทผี่ ู้ปฏิบัติงานแต่ละฝา่ ยให้มีความรู้ความสามารถเกย่ี วกับ

- ๘๓ -

งานในหน้าที่เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้ถูกต้อง รวดเร็ว และมีความพร้อมในการเตรียมเข้าสู่ระบบ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เพื่อไม่ให้เป็นภาระตอ่ สาํ นักงานท่ดี ินใน การสอนงาน ฯ

๘) ต้ังงบประมาณสนับสนุนในการก่อสร้าง ต่อเติม ปรับปรุงอาคารสถานท่ี บ้านพักข้าราชการ
สร้างภูมิทัศนท์ ีส่ วยงาม เพอื่ เป็นการสรา้ งภาพลกั ษณ์ทีด่ ีตอ่ หนว่ ยงาน และกรมทีด่ ิน

๙) ปรับปรุง แก้ไข ระเบียบกฎหมายต่างๆ ให้ทันสมัยอยู่เสมอเหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน และ
ออกแนวทางปฏบิ ัตทิ ีช่ ัดเจนเพื่อใหส้ ามารถนําไปปฏิบตั ใิ นแนวทางเดยี วกัน

๓.๔ ขอ้ คิดเหน็ หรอื ข้อเสนอแนะของเจา้ พนักงานท่ดี ินจังหวดั /สาขา/เจา้ หนา้ ที่
๑) การจัดทําแผนเพ่ือให้สอดคล้องและเชื่อมโยงกับนโยบายของรัฐบาลแล้ว กรมท่ีดินต้องปรับตัวใน

ดา้ นการจัดทําแผนเพื่อรอบรับและให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงในปัจจุบันท้ังการเปล่ียนแปลงภายในองค์กรคือ นโยบาย
ผู้บริหารระดับสูงของกรมที่ดิน และภายนอกองค์กรคือ นโยบายรัฐบาล และกระทรวงมหาดไทย จึงต้องมีการพัฒนา
ปรับปรุง และปรับแผนให้เหมาะสมอยู่ตลอดเวลา มีการนําระบบการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ท่ีมีประสิทธิภาพ
เหมาะสมกับเทคโนโลยีที่เปล่ียนแปลงไป โดยเน้นเป้าหมายสู่การบริการที่เป็นเลิศ ถูกต้อง รวดเร็ว โปร่งใส และเป็น
ธรรม สามารถตรวจสอบได้

๒) ในการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ ควรคํานึงถึงส่วนประกอบในด้านต่าง ๆ ที่สามารถผลักดันไปสู่
การปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายตามตัวช้ีวัดท่ีตั้งไว้ และจะต้องคํานึงถึงตัวแปรท่ีไม่สามารถควบคุมได้ด้วย เช่น
หน่วยงานราชการอืน่ องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชน สภาพพื้นที่ วฒั นธรรม ประเพณแี ต่ละทอ้ งถน่ิ

๓) การสร้างบุคลากรท่ีมีคุณภาพ มีความรู้ความสามารถเหมาะสมตรงตามตําแหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง
โดยปลูกฝังค่านยิ ม ทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรมให้แกข่ ้าราชการทกุ ระดับ

๔) ให้การศึกษา ฝึกอบรม พัฒนาบุคลากรด้านระบบไอที สารสนเทศต่าง ๆ ที่กรมที่ดินกําลังพัฒนา
เพื่อนาํ มาใช้ในงานดา้ นตา่ งๆ ให้มีความเช่อื มโยงกนั ทุกระบบ เพือ่ ใหส้ มารถปฏบิ ัติงานไดถ้ ูกต้อง รวดเรว็

๕) มีระบบงานบริหารงานบุคคลที่โปร่งใส ชัดเจน มีสายงานท่ีสามารถเติบโตในตําแหน่งท่ีได้รับ
แต่งตั้งเพื่อความก้าวหน้า มั่นคง อย่างเท่าเทียมกัน เพื่อไม่ให้บุคลากรเปล่ียนสายงานกันมาก ทําให้บางตําแหน่ง
ขาดแคลน เช่น เจา้ หนา้ ทกี่ ารเงิน , เจา้ หนา้ ท่ีธุรการ , เจา้ หนา้ ที่พสั ดุ

๖) การพิจารณาแตง่ ตั้ง โยกย้าย ไม่ควรทําบ่อย และต้องมีการพิจารณาจัดส่งเจ้าหน้าที่มาปฏิบัติ
หน้าที่แทนในตําแหน่งนั้นทันทีเพื่อไม่ให้เกิดสะดุดและการทํางานไม่ต่อเน่ือง รวมท้ังเป็นภาระต่อสํานักงานที่ดิน
กรณีย้ายแล้วไมม่ ีคนมาแทน เนอ่ื งจากกรมท่ดี นิ ไม่มีนโนบายให้เจา้ หน้าที่ผัดการเดินทาง

๗) จดั ทาํ คมู่ ือรวบรวมระเบียบ กฎหมายในการปฏิบัติงานแจกจ่ายให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานทุก
คนอย่างท่ัวถึง โดยใช้งบประมาณของกรมที่ดินถือเป็นการจัดการองค์ความรู้ให้แก่เจ้าหน้าท่ีเพ่ือให้สามารถยึดถือ
แนวทางระเบียบ กฎหมายในการอา้ งอิงและศึกษาไดด้ ้วยตนเอง

๘) เพิ่มช่องทางติดต่อส่ือสาร หมายเลขโทรศัพท์คอลเซ็นเตอร์ ในการติดต่อกับกรมที่ดิน
เพอ่ื สร้างภาพลกั ษณท์ ด่ี แี ละเขา้ ถึงปญั หาของประชาชนได้ตรง

- ๘๔ -

๙) ข้าราชการบรรจุใหม่ โดยเฉพาะตําแหน่งนักวิชาการที่ดิน ช่างรังวัด ควรฝึกอบรมหลักสูตร
เฉพาะดา้ นก่อนออกปฏบิ ัติงานจริง

๑๐) อยากให้แผนที่กรมที่ดินเป็นแผนที่ช้ันหน่ึงทั้งหมด และให้มีหมุดหลักฐานแผนที่ให้
ครอบคลุมท่วั ประเทศ

๑๑) ปรับบทบาทภารกจิ ของกรมท่ดี นิ ใหม่ ในด้านการจดทะเบียนฯ โดยมีหนา้ ที่จดทะเบียนอย่าง
เดียว ส่วนค่าธรรมเนียมภาษีอากรให้ไปเสียที่หน่วยงานอ่ืน เช่น กรมสรรพากร องค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน
ท้องถิ่น แล้วนําใบเสร็จมาจดทะเบียนซ่ึงจะสามารถแก้ปัญหาการทุจริต ทําให้ความรับผิดชอบน้อยลง ประชาชน
สะดวกรวดเร็ว เช่น ธนาคาร หรอื ขนส่ง

๑๒) ให้ปรับแก้ระเบียบกฎหมาย เช่น ให้ใช้ ท.ด. ๑ เป็นสัญญาของนิติกรรมน้ันด้วย เพื่อความ
สะดวก รวดเร็ว ลดข้อร้องเรียนเมื่อเปรียบเทียบกับ ปกครอง ,ขนส่ง ปรับแนวคิดมาจากขนส่ง กรมการปกครอง
(ทาํ บตั รประชาชน) ท.ด. ๑ ฉบบั เดยี ว ถา้ ประชาชนอยากได้ให้ขอถา่ ยเอกสาร

๓.๕ ขอ้ เสนอแนะขององคก์ ารปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ

๑) ขอให้กรมทดี่ นิ จดั สง่ เจา้ หนา้ ทมี่ าให้ความรเู้ รอื่ งการดแู ลรักษาที่สาธารณประโยชน์/ท่ีดินของรฐั

๒) ใหค้ วามสะดวกรวดเร็วในการตดิ ตอ่ กบั สํานักงานท่ดี ิน โดยเฉพาะเร่อื งขอรังวดั ออกหนังสือ
สําคัญสําหรบั ท่ีหลวงซึ่งควิ รังวดั นาน

๓) เพ่มิ เจ้าหน้าท่รี งั วัดให้มากขนึ้ ปจั จุบันมนี อ้ ยไมเ่ หมาะสมกับปริมาณงานท่มี ากขึน้ ทุกปี ทําให้
คิวรงั วัดนานมาก

๔) ให้ความสะดวกในการขอเข้าดูระวางแผนที่ การช้ีตําแหน่งที่ดินในการระวังแนวเขตที่ดินของรัฐ
๕) ให้มีการประชาสัมพันธ์ข่าวสารเก่ียวกับท่ีดิน /กฎหมายที่ดิน / ระเบียบต่าง ๆ ให้ท่ัวถึงเร่งรัด
๖) ดําเนินการเร่ือง การขอใช้/ขอถอนสภาพที่ดินสาธารณประโยชน์ ให้รวดเร็ว ควรมีเจ้าหน้าท่ีให้
คําปรึกษาและแนะนําโดยตรง ปัจจุบันใช้เวลานานเมื่อเจ้าหน้าที่ท่ีรับเร่ืองย้ายไปแล้วคนใหม่มารับงานต้องมาเริ่ม
เรื่องใหม่ และเรื่องใช้ระยะเวลานานไม่ทันปีงบประมาณทําให้งบประมาณท้องถิ่นตกไปไม่สามารถดําเนินการได้ทัน
๗) การคุ้มครองดูแลที่สาธารณประโยชน์/ที่ดินของรัฐ มีหลายหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เช่น กรมป่าไม้
กรมธนารักษ์ , สภาปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) , กรมท่ีดิน , องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อํานาจหน้าที่
ซํ้าซ้อนกัน ทําให้หน่วยงานไม่ทราบว่าตนเองมีหน้าที่อย่างไร เช่น ท่ีสาธารณประโยชน์ มีอําเภอร่วมกับองค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถิน่ เป็นผมู้ ีอาํ นาจดแู ล ตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. ๒๔๕๗ (แก้ไขเพ่ิมเติมโดย
พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๑) บางท้องท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินไม่ทราบ
อํานาจหน้าท่ีของตนเองคิดว่าเป็นหน้าที่ของอําเภอ หรือกรมท่ีดิน จึงปล่อยให้มีการบุกรุกโดยเสรีและไม่มีมาตรการ
คมุ้ ครองปอ้ งกนั หรือดําเนนิ การตามกฎหมายแตอ่ ยา่ งใด

- ๘๕ -

๘) การดําเนินการเก่ียวกับท่ีดินสาธารณะ/ที่ดินของรัฐ ขอให้ส่งเจ้าหน้าที่จากส่วนกลางโดยตรงมา
ดําเนินการ โดยให้ท้องถ่ินเป็นผู้ให้การสนับสนุน เน่ืองจากติดปัญหามวลชน/ผู้มีอิทธิพลในพื้นทีทํา ให้ไม่สามารถ
ดําเนินการได้ หรอื ชาวบา้ นไม่ใหค้ วามรว่ มมอื เท่าที่ควร

๙) ให้มีการออกกฎหมายและระเบียบวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการคุ้มครองป้องกันที่ดินของรัฐโดยเฉพาะ
ใหอ้ าํ นาจกบั ท้องถ่ินในการดําเนินการกบั ผบู้ ุกรกุ ใหช้ ัดเจน และกาํ หนดโทษเด็ดขาดเพ่ือบังคับใช้ได้ตามกฎหมายและ
ผู้บุกรุกได้เกิดความเกรงกลัวไม่กล้ากระทําผิด เช่น การจับกุม การขับไล่ได้ทันทีโดยไม่ต้องไปฟ้องศาล หรือ
ดําเนินการตามข้ันตอนกระบวนการยุติธรรม เนื่องจากใช้เวลานานและมีค่าใช้จ่ายในการฟ้องคดี สร้างภาระมาก
ใหก้ ับทอ้ งถิน่ จงึ ไม่มีการดูแลทีด่ นิ ของรัฐอยา่ งแท้จริง

๑๐) ให้กรมท่ีดินเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทําโครงการจัดท่ีดินทํากิน มีโครงการคลินิกที่ดิน
เพ่ือให้ความรู้เก่ียวกับท่ีดินของรัฐให้แก่ผู้นําท้องถิ่น เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นที่เก่ียวข้อง และชาวบ้านให้มีความสํานึกใน
คุณคา่ รักและหวงแหนที่ดินของรัฐ เน่ืองจากกรณีมีข้อพิพาทเก่ียวกับเรื่องที่ดินชาวบ้านจะรับฟังและให้ความเช่ือถือ
รวมท้งั ขอ้ แนะนําจากกรมทด่ี นิ มากกว่าทางท้องถน่ิ เอง

๑๑) เร่งรัดการออกเอกสารสิทธิทุกประเภทให้ถูกต้อง ครบถ้วนทุกแปลง เพ่ือป้องกันปัญหาข้อ
พพิ าทการแย่งกรรมสทิ ธ์ิ หรอื การบกุ รกุ ท่ดี ินของรัฐ

๑๒) ให้ความสะดวกในการขอใช้ข้อมลู ทด่ี นิ เพ่อื ประโยชน์ในการทาํ แผนทภ่ี าษี
๑๓) เมื่อสํานักท่ีดินดําเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงนิติกรรมใดๆ ขอให้มีหนังสือแจ้งหรือส่ง
หลักฐานการจดทะเบียนไปให้ทางท้องถิ่นซ่งึ ที่ดนิ ตงั้ อยู่ทราบดว้ ย เพื่อประโยชนใ์ นการจดั เกบ็ ภาษบี าํ รงุ ท้องที่

บทที่ ๕
สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

โครงการประเมินผล แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ กรมท่ีดิน
กระทรวงมหาดไทย คร้ังมีมีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ๔
ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ ของกรมที่ดิน ว่ามีผลการดําเนินงานเป็นไปตามตัวชี้วัดของประเด็นยุทธศาสตร์
เป้าประสงค์ กลยุทธ์ และเป้าหมายท่ีกําหนดไว้ในแผนฯ หรือไม่อย่างไร เพื่อศึกษาระดับความเชื่อมั่นของ
ประชาชนที่มีต่อการให้บริการของกรมท่ีดิน และเพ่ือทราบปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะของการ
ดําเนินงานตามแผนฯ อันจะนําไปสู่การทบทวนแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ใหม่ในระยะต่อไป และเพ่ือเป็น
แนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการให้บริการของกรมท่ีดินให้มปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผลยงิ่ ขึ้น โดยใช้รปู แบบ
การประเมินของ Tyler ซึง่ ยึดวตั ถปุ ระสงค์เป็นแนวทางในการประเมิน กลุม่ ตวั อยา่ งผใู้ ห้ข้อมลู รวมทั้งส้ิน ๕๑๖ ราย
ได้แก่ ประชาชนผู้มาติดต่อขอรับบริการ จํานวน ๔๔๑ ราย เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด/สาขา/เจ้าหน้าที่
จํานวน ๔๐ ราย เจ้าหน้าท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จํานวน ๓๕ ราย เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล
ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด/สาขา แบบสอบถามประชาชน/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
เกี่ยวกับความเช่ือม่ันต่องานบริการของกรมท่ีดิน แบบสอบถามองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกี่ยวกับที่
สาธารณประโยชน์ท่ีได้มีการออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวงแล้ว ได้รับการดูแลรักษาการใช้ประโยชน์อย่าง
เหมาะสม การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา และเจ้าหน้าที่ในฝ่ายทะเบียน
สํานักงานที่ดิน สัมภาษณ์ประชาชนท่ีมาติดต่อขอรับบริการในสํานักงานท่ีดิน สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ินโดยส่งเจ้าหน้าท่ีออกไปสัมภาษณ์และจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่ ๑๓ จังหวัด ๓๕ สํานักงาน
รวม ๔ ครั้ง ศึกษาจากเอกสารและรายงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ของกรมท่ีดิน
และสอบถามหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เช่น สํานักมาตรฐานการออกหนังสือสําคัญ สํานักจัดการที่ดินของรัฐ
สํานักเทคโนโลยสี ารสนเทศ สํานักงานโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศทีด่ นิ และกองฝึกอบรม

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย สถิติการบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ
ค่าเฉลี่ยมัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรม SPSS for Window ในการ
ประมวลผล

๑. สรปุ ผลการประเมิน ดงั น้ี
๑) แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ ของกรมที่ดิน สัมฤทธิ์ผลตาม

ตัวชี้วัดของประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ และเป้าหมายทก่ี าํ หนดไว้ในแผน ๔ ปี มากกว่าร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป
ยกเว้นตัวชี้วัดเก่ียวกับจํานวนข้อมูลท่ีดินและแผนที่รูปแปลงที่ดินที่จัดเก็บในระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) และ
ร้อยละของข้อมูลท่ีดินและแผนที่รูปแปลงมีความครบถ้วน ถูกต้อง ซึ่งเป็นตัวชี้วัดในโครงการศูนย์ข้อมูลที่ดินและ
แผนท่ีแห่งชาติ ระยะท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๖ ต่อเนื่อง ๒๕๕๗) ระยะท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๘ ต่อเนื่อง ๒๕๕๙)
ยงั ไมบ่ รรลผุ ล เนือ่ งจากอยรู่ ะหวา่ งดาํ เนินการโครงการต่อเน่ืองถงึ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙

- ๘๗ -

๒) ประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการในสํานักงานที่ดินมีความเชื่อม่ันต่อการให้บริการของ
กรมท่ีดินอยู่ในเกณฑ์มาก (ร้อยละ ๘๐.๖๐) โดยส่วนใหญ่เช่ือมั่นเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่มีการปฏิบัติงานโปร่งใส
ตรวจสอบได้ (รอ้ ยละ ๘๒.๒๐) เจา้ หนา้ ที่มคี วามมุ่งมน่ั ยนิ ดีเต็มใจในการให้บริการ (ร้อยละ ๘๒) และสํานักงานท่ีดิน
มีการเปิดเผยข้อมลู ข่าวสารใหป้ ระชาชนทราบ (ร้อยละ ๘๒.๒๐)

๓) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความเชื่อมั่นต่อการให้บริการของ
กรมทดี่ ิน อยใู่ นเกณฑ์มาก (ร้อยละ ๘๑) โดยส่วนใหญ่เช่ือม่ันในเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานอย่างซื่อสัตย์สุจริต (ร้อย
ละ ๘๓.๖๐) เจ้าหน้าที่ให้บริการมีความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าท่ีเป็นอย่างดี (ร้อยละ ๘๖.๔๐) และ
เจา้ หน้าท่มี ีความรู้ ความสามารถ ความชํานาญเกีย่ วกบั งานทีร่ ับผิดชอบเปน็ อยา่ งดี (ร้อยละ ๘๘.๖๐)

๔) ปญั หาอปุ สรรค ขอ้ คิดเหน็ หรอื ขอ้ เสนอแนะของสาํ นักงานที่ดนิ จังหวดั /สาขา/เจ้าหนา้ ท่ี
(๑) การจัดทําแผนเพื่อให้สอดคล้องและเชื่อมโยงกับนโยบายของรัฐบาลแล้ว กรมที่ดินต้อง

ปรับตัวในด้านการจัดทําแผนเพ่ือรองรับและให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงในปัจจุบันท้ังการเปลี่ยนแปลงในองค์กร
คือนโยบายผู้บรหิ ารระดบั สูงของกรมทีด่ ิน และภายนอกองค์กรคือ นโยบายรัฐบาลและกระทรวงมหาดไทย จึง
ต้องมีการพัฒนา ปรับปรุง และปรับแผนให้เหมาะสมอยู่ตลอดเวลา มีการนําระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
แนวใหม่ที่มีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นเป้าหมายสู่การบริการที่เป็นเลิศ
ถูกต้อง รวดเร็ว โปร่งใส และเป็นธรรม สามารถตรวจสอบได้ และในการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ ควร
คํานึงถึงส่วนประกอบในด้านต่าง ๆ ท่ีสามารถผลักดันไปสู่การปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้
และจะต้องคํานึงถึงตัวแปรที่ไม่สามารถควบคุมได้ด้วย เช่น หน่วยงานราชการอ่ืน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ประชาชน สภาพพ้ืนที่ วัฒนธรรม ประเพณีแต่ละท้องถิ่น เห็นควร ให้จัดทําแผนคร้ังต่อไปให้สอดคล้องกับ
ความตอ้ งการสว่ นภูมภิ าคดว้ ย

(๒) การขาดแคลนอัตรากําลังเจ้าหน้าที่โดยเฉพาะตําแหน่งหัวหน้างาน/หัวหน้าฝ่าย/
เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขาหรือมีการแต่งตั้งโยกย้ายบ่อย โดยไม่มีการแต่งต้ังบุคคลมาทดแทนตําแหน่งท่ีว่างลง
ไม่มีนโยบายให้ผัดการเดินทาง ทําให้การทํางานไม่ต่อเนื่อง ปัจจุบันปริมาณงานเพ่ิมมากข้ึน แต่อัตรากําลังท่ีมี
อยู่อยา่ งจํากัด ไม่เพียงพอตอ่ การปฏิบัติงานหลาย ๆ ด้าน ถึงแม้จะมีการนําเทคโนโลยีเข้ามาช่วยได้บางส่วนแต่
ยังคงต้องให้ความสําคัญกับบุคลากรผู้ปฏิบัติงานเป็นหลัก เห็นควรให้จัดส่งเจ้าหน้าที่ทดแทนตําแหน่งว่างท่ี
โยกยา้ ยทันทีโดยเฉพาะหัวหน้างาน/หัวหน้าฝ่าย/เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด/สาขา ควรเพ่ิมกรอบอัตรากําลังเจ้าหน้าท่ี
กรณีเจ้าหน้าที่ไปปฏิบัติหน้าที่ทางส่วนแยกท่ีไม่มีกรอบอัตรากําลังของตนเอง ขอให้ส่งเจ้าหน้าท่ีจากส่วนกลาง
มาทดแทนก่อน และช่างรังวัดส่วนใหญ่มีอายุมากแล้ว ประสิทธิภาพการทํางาน ลดน้อยลงประกอบกับช่างรังวัด
มีไม่เพียงพอทําให้งานบริการล่าช้า เห็นควรเพ่ิมกรอบอัตรากําลังช่างรังวัดหรืออัตรากําลังมาทดแทน กรณีช่าง
รงั วัดเกษยี ณอายุ

- ๘๘ -

(๓) ระบบงานบริหารงานบุคคลของกรมท่ีดินยังไม่สร้างความก้าวหน้าให้แก่บุคลากร
เห็นควรให้มีระบบงานบริหารบุคคลท่ีโปร่งใส เป็นธรรม ชัดเจน มีสายงานท่ีสามารถเติบโตในตําแหน่งที่ได้รับ
แต่งตั้งเพื่อความก้าวหน้าม่ันคง อย่างเท่าเทียมกัน เพ่ือไม่ให้บุคลากรเปล่ียนสายงานกันมาก ทําให้บาง
ตาํ แหน่งขาดแคลน เช่น เจา้ พนักงานการเงิน ธรุ การ พสั ดุ

(๔) เจ้าหน้าที่ขาดความรู้ความสามารถประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะ
ข้าราชการบรรจุใหม่ ยังไม่ผ่านการฝึกอบรมจากส่วนกลาง ส่งให้ไปปฏิบัติหน้าท่ีทันที จึงเรียกมาอบรม
ข้าราชการบรรจุใหม่ภายหลัง ทําให้เป็นภาระกับสํานักงานที่ดิน ซึ่งมีเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพออยู่แล้ว ต้องมาคอย
สอนงาน และควบคุมดูแลเอาใจใส่เจ้าหน้าที่ ทําให้งานปัจจุบันล่าช้าและเส่ียงต่อความผิดพลาดโดยเฉพาะ
ปจั จุบนั มี พ.ร.บ. การอํานวยความสะดวก ฯ ใช้บังคับแล้ว เจ้าหน้าที่ต้องเพ่ิมความระมัดระวังมากขึ้น จึงเห็นควร
ให้จัดฝึกอบรมข้าราชการบรรจุใหม่ก่อนส่งไปปฏิบัติหน้าที่จริงตําแหน่งละ ๑ เดือน ในตําแหน่งนักวิชาการ
ทีด่ นิ และชา่ งรังวดั

(๕) อุปกรณ์เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ไม่ทันสมัย เช่น เคร่ืองคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพตํ่า
เพราะใช้งานมานานทําให้การทํางานล่าช้า เห็นควรจัดหาคอมพิวเตอร์พร้อมเคร่ืองปร้ินเตอร์ท่ีมีประสิทธิภาพสูง
ทันสมัย เพื่อรองรับการประมวลผลข้อมูลท่ีมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และให้มีจํานวนเพียงพอกับเจ้าหน้าท่ี ๑ คน
ต่อ ๑ เครื่อง และระบบสารสนเทศในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมปัจจุบันยังไม่สมบูรณ์ มีปัญหาเข้าถึง
ขอ้ มูลไม่ไดต้ ้องแก้ไขเปน็ เวลานาน ทําใหง้ านบริการตอ้ งสะดุด สรา้ งความไม่พอใจแกผ่ ู้มาใช้บริการ เพราะต้อง
รอนานโดยเฉพาะในวันส้ินเดือนมีผู้มาใช้บริการเป็นจํานวนมาก เห็นควรปรับปรุงและพัฒนาระบบข้อมูล
สารสนเทศให้ทันสมัยทุกด้านสามารถเช่ือมโยงกันได้ท้ังระบบ เพ่ือให้การรายงานข้อมูล มีประสิทธิภาพ
ประสทิ ธิผล รวมทงั้ บรกิ ารประชาชนได้อยา่ งสะดวกรวดเรว็

(๖) เครื่องมือรังวัด เช่น กล้องสํารวจและประมวลผล มีน้อยไม่เพียงพอต่อช่าง
รังวัด เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานหรือมีแต่ไม่สามารถใช้งานได้ เช่น ชํารุด เห็นควรจัดหาเครื่องมือรังวัดให้
เพียงพอต่อช่าง ๑ คน ต่อ ๑ เครื่อง เพื่อความรวดเร็วในการปฏิบัติงานและกรณีช่างรังวัดย้ายให้นําติดตัว
ไปดว้ ย เพอ่ื ใหม้ ีการดแู ลบาํ รงุ รักษาอย่างตอ่ เนือ่ ง

(๗) เมื่อมี พ.ร.บ. การอํานวยความสะดวกฯ บังคับใช้ ทําให้เจ้าหน้าที่ทํางานมากขึ้น
ยากข้ึน แต่อัตรากําลังเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอท่ีจะให้บริการได้ทันกําหนดตามเวลาท่ีประกาศไว้ เห็นควรให้ มีการ
กําหนดเวลาในการทํางาน เช่น เปิดให้บริการ ๘.๓๐ น. – ๑๕.๓๐ น. หรือ ๑๖.๐๐ น. เพื่อให้เจ้าหน้าท่ี
สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยความรอบคอบและลดการจดทะเบียนผิดพลาดที่เป็นเหตุให้ต้องมีการแก้ไขหรือเพิก
ถอนการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม และสามารถปฏิบัติงานอื่นได้ด้วย เช่น งานตรวจสอบหลักทรัพย์
งานออกโฉนด แบง่ แยก ประกาศ ฯลฯ

- ๘๙ -

(๘) ควรปรับบทบาทภารกิจของกรมที่ดินใหม่ ในด้านการจดทะเบียนฯ โดยมีหน้าท่ี
ในการจดทะเบียนฯ เพียงอย่างเดียว ส่วนค่าธรรมเนียม ภาษี อากร ให้ไปเสียทางสรรพากรหรือท้องถ่ินแล้ว
นาํ ใบเสร็จมาจดทะเบียนฯ ซึง่ จะสามารถแก้ปัญหาการทจุ รติ ความรบั ผิดชอบของเจ้าหนา้ ท่ีน้อยลง ประชาชน
ไดร้ บั การบรกิ ารทโ่ี ปร่งใส เปน็ ธรรม

(๙) ควรปรบั แกร้ ะเบียบ กฎหมาย เช่น ให้ใช้ ท.ด.๑ เป็นคําขอและสัญญาของนิติกรรม
ด้วย เพ่อื ความสะดวก รวดเร็ว ทาํ ใหป้ ระหยัดงบประมาณค่ากระดาษค่าหมึกพิมพ์ ลดปญั หาข้อรอ้ งเรียนล่าช้า
หรือไม่โปร่งใสสุจริต ยุติธรรม โดยนําแนวคิดมาจากการทําบัตรประชาชนของกรมการปกครอง หรือการต่อภาษี
รถยนตข์ องกรมการขนสง่

(๑๐) เห็นควรให้แผนที่ของกรมท่ีดินเป็นแผนที่ชั้นหน่ึงท้ังหมด และให้ดําเนินการ
สรา้ งหมุดหลกั ฐานแผนทีใ่ ห้ครอบคลมุ ทวั่ ประเทศเพ่ือเปน็ มาตรฐานสากล

(๑๑) การจัดท่ีดินทํากินให้แก่ประชาชนท่ียากจนในท่ีดินสาธารณประโยชน์ถึงแม้ว่า
จะไม่เป็นประชาชนท่ีเข้าไปครอบครองทําประโยชน์ ถ้าเป็นประชาชนท่ียากจนจริง ซึ่งเป็นคนในหมู่บ้าน
มีประชาคมแล้ว ถ้ามีท่ีดินและหมู่บ้านพร้อม ก็ควรจะจัดสรรให้กับประชาชนท่ียากจน แต่ไม่ได้ เข้าไป
ครอบครองทําประโยชน์ด้วย จะทําใหป้ ระชาชนทยี่ ากจนพงึ พอใจและเป็นการชว่ ยเหลือคนยากจนอีกทางหน่ึง

๒. อธิปรายผล
จากการประเมินผลแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ ของกรมท่ีดินใน

พื้นท่ี ๑๓ จังหวัด ๓๕ สํานักงาน ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์และสาขา ตาคลี บรรพตพิสัย ลาดยาว
อุทัยธานี และสาขาบ้านไร่ ชัยนาท และสาขาหันคา อ่างทอง สุโขทัยและสาขาสวรรคโลก พิษณุโลก สาขา
พรหมพิราม วังทอง บางระกํา พิจิตรและสาขาตะพานหิน บางมูลนาก เลย และสาขาวังสะพุง เชียงคาน
หนองบัวลําภู และสาขาศรีบุญเรือง อุดรธานีและสาขาหนองหาน กุมภวาปี นครศรีธรรมราช และสาขา ท่าศาลา
ทุ่งสง ร่อนพิบูลย์ กระบ่ีและสาขาอ่าวลึก พังงาและสาขาตะกั่วทุ่ง จากการสัมภาษณ์เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด/
สาขา/เจ้าหน้าท่ี ๔๐ ราย สอบถามประชาชนท่ีมาติดต่อขอรับบริการในสํานักงาน จํานวน ๔๔๑ ราย และ
สอบถามองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน จํานวน ๓๕ ราย สรุปผลการอภปิ รายรายประเดน็ ดังนี้

๑) จากผลการประเมินพบว่าแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ ของกรมท่ีดิน
สัมฤทธ์ิผล ตามตัวช้ีวัดของประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ และเป้าหมายท่ีกําหนดไว้ในแผนฯ ๔ ปี
มากกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ยกเว้นตวั ช้ีวัดเกี่ยวกับจํานวนข้อมูลท่ีดินและแผนที่รูปแปลงที่ดินท่ีจัดเก็บในระบบ
ภูมิสารสนเทศ (GIS) และร้อยละของข้อมูลที่ดินและแผนที่รูปแปลงมีความครบถ้วนถูกต้อง ยังไม่บรรลุผล
เน่ืองจากตัวชี้วัดดังกล่าว เป็นตัวช้ีวัดโครงการศูนย์ข้อมูลที่ดินและแผนท่ีแห่งชาติ ระยะท่ี ๑ (พ.ศ.๒๕๕๖
ต่อเนื่องปี ๒๕๕๗) ระยะท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๕๘ ต่อเนื่องปี ๒๕๕๙ ขณะน้ีอยู่ระหว่างดําเนินโครงการยังไม่เสร็จส้ิน
ไม่สามารถวัดผลสัมฤทธ์ิได้ ดังนั้นได้การดําเนินการโครงการศูนย์ข้อมูลฯ ต่อไป ควรจะให้มีคณะทํางานควบคุม
กาํ กับดูแลอย่างใกล้ชิด รวมทัง้ ใหม้ ีคณะทํางานตดิ ตามและประเมินผลโครงการเป็นระยะฯ เพ่อื ทราบปัญหา

- ๙๐ -

อปุ สรรค รวมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไขให้แก่สํานักงานท่ีดินและผู้รับจ้างนําเข้าข้อมูล ซ่ึงจะนําไปสู่ผลสัมฤทธ์ิ
ตามวัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายท่ีกาํ หนดไวต้ อ่ ไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

๒) จากปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะของเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา/เจ้าหน้าท่ี
เกี่ยวกับการให้บริการประชาชนของสํานักงานที่ดิน เน่ืองจากปัจจุบันได้มีพระราชบัญญัติการอํานวยความ
สะดวกในการพิจารณาอนญุ าตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ มีผลบงั คับใชเ้ ม่ือวนั ท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ทํา
ให้เจ้าหน้าที่ต้องทํางานมากขึ้นและยากข้ึน แต่อัตรากําลังเจ้าหน้าท่ีมีไม่เพียงพอ ทําให้การปฏิบัติงานไม่ทันตาม
กําหนดเวลาท่ีประกาศไว้เห็นควรให้มีกําหนดระยะเวลาในการทํางานเปิดให้บริการเวลา ๐๘.๓๐ น. – ๑๕.๓๐
น. ตามเวลาท่ีเจ้าหน้าที่การเงินต้องปิดบัญชีทําการเพื่อนําส่งเงิน หรือกําหนดจํานวนปริมาณให้บริการ วันละ
ไม่เกิน ๑๐๐ รายของจังหวัด หรือ ๕๐ รายของสาขา เป็นต้น เพื่อให้เจ้าหน้าที่ได้มีเวลาพักผ่อนบ้าง และ
นําเวลาท่ีเหลือไปทํางานประเภทอื่น เช่น งานแบ่งแยก ออกโฉนด ฯลฯ ซึ่งจะทําให้เจ้าหน้าท่ีมีขวัญและ
กาํ ลังใจในการทํางานและราชการได้ประโยชน์มากข้ึนด้วย

๓) การแก้ไขภาพลักษณ์ท่ีดีให้แก่กรมท่ีดิน ในเร่ืองความไม่โปร่งใส ไม่สุจริต ไม่
ยุติธรรม เห็นควรปรับบทบาทภารกิจของกรมที่ดินใหม่ ในด้านการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม โดยให้มี
หน้าท่ีในการจดทะเบียนฯ เพียงอย่างเดียว ส่วนค่าธรรมเนียม ภาษี อากร ให้ประชาชนไม่เสียทาง
กรมสรรพากรหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แล้วนําใบเสร็จมาจดทะเบียนฯ ซึ่งจะสามารถแก้ไขปัญหาการ
ทุจริตประพฤติมชิ อบของเจา้ หน้าทแ่ี ละเจา้ หน้าท่มี คี วามรับผดิ ชอบน้อยลง เป็นผลใหป้ ระชาชนได้รับความ พึง
พอใจด้านการบรกิ ารท่ีโปร่งใสเ่ ป็นธรรม

๓. ขอ้ เสนอแนะในการจดั ทําแผนปฏบิ ัติราชการและการให้บริการของกรมที่ดนิ
๑) ในการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล

เห็นควรให้กองแผนงานนําผลการประเมินโครงการคร้ังนี้หรือผลการประเมินโครงการอ่ืน เช่น โครงการพัฒนา
ระบบสารสนเทศที่ดิน โครงการศูนย์ข้อมูลที่ดินและแผนท่ีแห่งชาติ มาเป็นองค์ประกอบในการวิเคราะห์การ
จัดทําแผนเพื่อให้สอดรับกับความต้องการของหน่วยงาน และสอดคล้องเชื่อมโยงกับนโยบายของรัฐบาล
นโยบายของกระทรวงมหาดไทย นโยบายของผู้บริหารระดับสูงกรมท่ีดิน รวมท้ังให้สอดคล้องกับความต้องการ
ของภูมิภาคด้วย และต้องมีการพัฒนา ปรับปรุง และปรับแผนให้เหมาะสมอยู่ตลอดเวลา เพ่ือให้ดําเนินงาน
ตามแผนบรรลผุ ลตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

๒) การขาดแคลนอัตรากําลังเจ้าหน้าที่โดยเฉพาะตําแหน่งหัวหน้างาน/หัวหน้าฝ่าย
เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา เป็นปัญหาสําคัญในการบริหารงานบุคคลของจังหวัด เห็นควรให้กองการ
เจ้าหน้าท่ีพิจารณาเร่งรัดดําเนินการแต่งตั้งเจ้าหน้าท่ีทดแทนในตําแหน่งท่ีว่างโดยทันที และให้มีการวิเคราะห์
การใช้อัตรากําลังอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นข้อมูลไปประกอบการวางแผนและเกล่ียอัตรากําลังให้มีความสอดคล้อง
และเหมาะสมกับปริมาณงาน รวมทั้งกําหนดกลยุทธ์ แผนงานหรือแนวทางในการแก้ไขปัญหาการขาดแคลน
อัตรากําลังท่ีชัดเจน เป็นรูปธรรม โดยเฉพาะปัญหาการขาดแคลนช่างรังวัดในสํานักงานที่ดิน ซึ่งเป็นปัญหา
สําคญั และเรง่ ดว่ นทเี่ กิดข้ึนในขณะน้ี

- ๙๑ -

๓) ระบบบริหารงานบุคคลของกรมท่ีดินยังขาดความโปร่งใสและชัดเจนใน
ความก้าวหน้า เห็นควรปรับปรุงแก้ไขระเบียบบริหารงานบุคคลของกรมท่ีดินให้ทันสมัยเป็นปัจจุบันสอดคล้อง
รองรบั กบั ระเบยี บกฎหมายท่ีเปลี่ยนไป โดยจัดทําเส้นทางความก้าวหน้าในแต่ละตําแหน่ง การข้ามสายงาน รวมท้ัง
หลักเกณฑ์และเส้นทางในการก้าวสู่ตําแหน่งผู้บริหารในตําแหน่งเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขา เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด
(อาํ นวยการตน้ /อํานวยการสงู ) ที่ชัดเจน ประกาศให้ทุกคนทราบ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณากําหนด
เส้นทางก้าวหน้าและพัฒนาตนเองไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ตอ่ ไป

๔) ข้าราชการบรรจุใหม่ โดยเฉพาะนักวิชาการที่ดิน ขาดความรู้ ความสามารถ
ประสบการณ์ในการทํางาน เพราะไมผ่ ่านการฝึกอบรมจากส่วนกลาง ส่งให้ไปปฏิบัติหน้าท่ีโดยทันที ปัจจุบัน
มี พ.ร.บ.การอํานวยความสะดวกฯ ใช้แล้วต้องระมัดระวังมากย่ิงข้ึน เห็นควรให้กองการเจ้าหน้าที่และ
กองฝกึ อบรมปรับหลกั สตู รการพฒั นาข้าราชการบรรจใุ หม่ โดยให้ตําแหน่งนกั วิชาการท่ดี นิ หรอื ชา่ งรังวัดอบรม
หลกั สูตรเฉพาะอยา่ งนอ้ ย ๑ เดอื น กอ่ นออกไปปฏิบัตหิ น้าที่ จะทําใหเ้ พิ่มขีดความสามารถในการทํางาน และ
ไม่เพิ่มภาระให้กับสาํ นักงานอกี ดว้ ย

๕) กรณีเคร่ืองคอมพิวเตอร์มีอายุการใช้งานนานกว่า ๕ ปี บางเครื่องเริ่มเส่ือมสภาพ
ชํารุด ทรุดโทรม ไม่สามารถซ่อมแซมได้ ทําให้การประมวลผลล่าช้า ประชาชนต้องใช้เวลาในการทําธุรกรรม
เป็นเวลานาน ในเรื่องครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ สํานักเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ดําเนินการสํารวจครุภัณฑ์
คอมพิวเตอร์ท่ีมีอายุการใช้งานเกิน ๕ ปี ท่ัวประเทศ เฉพาะรายการเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เมื่อปี พ.ศ.
๒๕๕๗ รวมส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ประมาณ ๖,๘๐๙ ชุด ซ่ึงกรมที่ดินได้มีการจัดหาครุภัณฑ์ให้
สํานักงานท่ีดินเฉล่ียปีละ ๒๐๐ ชุด นอกจากนี้ สํานักงานที่ดินยังได้รับการจัดสรรครุภัณฑ์จากโครงการศูนย์
ข้อมูลท่ีดินและแผนที่แห่งชาติ (ระยะที่ ๑) ปี ๒๕๕๖ ต่อเนื่องปี ๒๕๕๗ ในพื้นที่ภาคเหนือและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ จํานวน ๓,๓๓๘ ชุด สําหรับโครงการศูนย์ข้อมูลท่ีดินและแผนท่ีแห่งชาติ (ระยะที่ ๒)
ปี ๒๕๕๘ จะจัดสรรในพ้ืนท่ีภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ จํานวน ๑,๑๗๘ ชุด รวมทั้งหมดท่ี
จัดหาไปแล้ว ๔,๗๑๖ ชุด คงเหลืออีก ๒,๐๙๓ ชุด ท่ียังไม่ได้จัดหาให้สํานักงานท่ีดิน เพ่ือให้เจ้าหน้าที่ได้ใช้
ปฏิบัติงานอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน จึงเห็นควรให้สํานักเทคโนโลยีสารสนเทศ ดําเนินการจัดทําโครงการ
ทดแทนเคร่อื งคอมพิวเตอรท์ มี่ ีอายุการใชง้ านเกิน ๕ ปี เพอ่ื ให้เพียงพอต่อการใช้งาน และให้บริการประชาชน
อย่างมีประสิทธิภาพ สะดวกและรวดเร็วย่ิงขึ้น และเพ่ือให้ระบบสารสนเทศในการจดทะเบียนสิทธิและนิติ
กรรม มีความพร้อมและสมบูรณ์สามารถเชื่อมโยงกันได้ทั้งระบบ ควรพิจารณาจัดหาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และ
อุปกรณ์สามารถเช่ือมโยงกันได้ทั้งระบบ โดยจัดหาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูงมา
รองรับระบบใหมใ่ ห้ทนั สมัย รวดเร็ว ทันต่อความตอ้ งการของประชาชน

๖) เคร่ืองมือรังวัด เช่น กล้องสํารวจและประมวลผล มีน้อยไม่เพียงพอต่อช่างรังวัด
เห็นควรให้สํานักมาตรฐานและส่งเสริมการรังวัด สํานักงานคณะกรรมการช่างรังวัดเอกชนและกองแผนงาน
รว่ มกนั พิจารณาแนวทางการสนบั สนนุ งบประมาณในการจดั หาเคร่ืองมอื ให้เพียงพอต่อการปฏบิ ตั ิงานในสดั สว่ น

- ๙๒ -

๑ คน ต่อ ๑ เครือ่ ง และกําหนดมาตรการในการใช้เครื่องและการบํารุงรักษาไว้ด้วย กรณีช่างย้ายไปควรนํา
ตดิ ตวั ไปดว้ ย เพือ่ บาํ รุงรักษาอย่างต่อเนื่อง

๗) เน่ืองจากปัจจบุ นั ได้มี พ.ร.บ.การอาํ นวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทาง
ราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ มีผลบังคับใช้เมื่อวันท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ทําให้เจ้าหน้าท่ีต้องทํางานมากข้ึนและ
ยากขึ้น แต่อัตรากําลังเจ้าหน้าท่ีมีไม่เพียงพอต่อผู้มาติดต่อขอรับบริการ ทําให้การให้บริการล่าช้าไม่ทันต่อความ
ต้องการของผู้รับบริการและไม่เป็นที่พึงพอใจเท่าที่ควร และเห็นควรให้กองการเจ้าหน้าที่ สํานักมาตรฐานการ
ทะเบียนท่ีดินและกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร พิจารณาความเป็นไปได้ในการกําหนดเวลาในการทํางานของสํานักงาน
ท่ีดินใหม่ เช่น เปิดให้บริการเวลา ๐๘.๓๐ – ๑๕.๓๐ น. ตามเวลาที่เจ้าหน้าที่การเงินต้องปิดบัญชีเพื่อนําส่งเงิน
หรือกําหนดปริมาณให้บริการวันละไม่เกิน ๑๐๐ ราย / สํานักงานท่ีดินจังหวัดหรือ ๕๐ ราย / สํานักงานท่ีดิน
สาขา เป็นต้น เพื่อให้เจ้าหน้าที่ได้มีเวลาที่เหลือไปทํางานประเภทอ่ืน เช่น งานตรวจสอบหลักทรัพย์ มรดก
ใบแทน แบ่งแยก ออกโฉนด การตรวจสอบและปรบั ปรุงฐานขอ้ มูล ฯลฯ ซึง่ จะทําให้เจ้าหน้าที่มีขวญั และกําลงั ใจ
ในการทํางาน สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยความรอบคอบ ลดการจดทะเบียนผิดพลาด ที่เป็นเหตุให้ต้องมีการแก้ไขหรือ
เพิกถอนการจดทะเบียนสิทธแิ ละนิตกิ รรม และราชการได้ประโยชนม์ ากข้นึ ดว้ ย

๘) การแก้ไขภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่กรมท่ีดินในเรื่องความไม่โปร่งใส ไม่สุจริต ไม่ยุติธรรม
ตามที่เป็นข่าวอย่างต่อเนื่อง กรมที่ดินควรมีการทบทวนบทบาทภารกิจใหม่โดยเฉพาะในด้านการจดทะเบียนสิทธิและ
นิติกรรม โดยให้มีหน้าท่ีในการจดทะเบียน ฯ ในฐานะนายทะเบียนเพียงอย่างเดียว ส่วนการรับชําระเงิน
ค่าธรรมเนียม ภาษี อากร ให้ประชาชนไปชําระทางกรมสรรพากรหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน แล้วนํา
ใบเสรจ็ รับเงินมาจดทะเบียนฯ เหมือนกับต่างประเทศ ซ่ึงจะสามารถแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบของ
เจา้ หนา้ ท่ี รวมท้งั ภาพลักษณท์ ี่ดขี องกรมทดี่ นิ ได้อีกทางหนึ่ง

๙) เห็นควรให้สํานักกฎหมาย และสํานักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน พิจารณาศึกษาความ
เป็นไปได้ในการปรับปรุง แก้ไขระเบียบ กฎหมาย เช่น ให้ใช้ ท.ด.๑ เป็นคําขอและสัญญาของนิติกรรม และเอกสาร
ข้ันตอนท่ีไม่จําเป็น เพ่ือให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว ประหยัดงบประมาณ ลดปัญหาข้อ
ร้องเรียนล่าช้า ไม่โปร่งใส ไม่สุจริต ไม่ยุติธรรมแล้ว เม่ือกรมที่ดินพัฒนาระบบสารสนเทศท่ีดิน เป็นระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ และมีการจดทะเบียน Online ท่ัวประเทศ เอกสารต่าง ๆ อยู่ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถ
ตรวจสอบได้ ไมจ่ ําเปน็ ต้องมีเอกสารมากมาย ควรเปน็ สํานักงานไรก้ ระดาษ Paperless ในอนาคต

๑๐) ระบบงานแผนที่ของกรมทด่ี นิ มีมานานกว่า ๑๑๔ ปีแล้ว แต่แผนที่ยังมีหลายมาตรฐาน จึง
เหน็ ควรใหส้ ํานักเทคโนโลยที ําแผนท่ีพิจารณาจัดทาํ แผนที่ของกรมทด่ี ินให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน และเป็นแผนที่
ชนั้ หน่งึ ทัง้ หมด และสรา้ งหมดุ หลักฐานแผนท่ีให้ครอบคลมุ ทัว่ ประเทศเพือ่ เป็นมาตรฐานสากล

๑๑) การจัดที่ดินทํากินให้แก่ประชาชนท่ียากจนในท่ีดินสาธารณประโยชน์ ในภารกิจของ
กรมท่ีดิน ได้จัดให้แก่ประชาชนที่ครอบครองทําประโยชน์ในท่ีดินสาธารณประโยชน์ตามจํานวนท่ีครอบครอง แต่ไม่เกิน
๑๕ ไร่ ในกรณีที่ประชาชนที่ยากจนเป็นคนสัญชาติไทย แต่ไม่ได้ครอบครองทําประโยชน์ที่ดินสาธารณประโยชน์

- ๙๓ -

กรณีนี้รัฐบาลมีนโยบายจัดท่ีดินทํากินให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล โดยคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ
(คทช.) คณะอนกุ รรมการจดั ที่ดิน ได้กาํ หนดนโยบายในการจดั ท่ีดินทํากินให้ชุมชน ดังนี้

(๑) จัดท่ีดินให้ทํากินและใช้ประโยชน์ในรูปแบบแปลงรวมหรือลักษณะชุมชน
โดยอาศัยอาํ นาจตามกฎหมายของแต่ละหนว่ ยงานเจา้ ของพ้นื ท่ี

(๒) ไมใ่ หก้ รรมสทิ ธิ์ ห้ามจําหนา่ ยจ่ายโอนหรอื เปลยี่ นมือ
(๓) ดําเนินการเฉพาะพ้ืนท่ีคณะกรรมการจัดหาท่ีดินได้ส่งมอบให้ดําเนินการ
เท่านั้น ปัจจบุ ันสง่ มอบระยะท่ี ๑ จาํ นวน ๔ จงั หวดั ๖ พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ระยะที่ ๒ จํานวน ๘ จังหวัด ๘
พืน้ ทีป่ า่ สงวนแหง่ ชาติ และพืน้ ที่ ส.ป.ก. จาํ นวน ๔ จงั หวดั ๔ พนื้ ท่ี
๔. ข้อเสนอแนะในการประเมนิ ครัง้ ตอ่ ไป
จากการประเมินผลแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ ของกรมที่ดิน
ครั้งน้ีได้ดําเนินการเพียง ๑๓ จังหวัด ๓๕ สํานักงานเท่าน้ัน เพ่ือให้การจัดทําแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ใน
คร้ังตอ่ ไป มีความครบถว้ นสมบรู ณ์ เหน็ ควรให้มกี ารประเมนิ ให้ครอบคลมุ จงั หวดั /สาขาท่ัวประเทศ

- ๙๔ -

บรรณานุกรม

 เสนาะ ติเยาว,์ หลักการบริหาร.กรุงเทพฯ:โรงพมิ พม์ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,๒๕๔๓
 ธงชัย สนั ตวิ งศ,์ หลักการจดั การ.กรุงเทพฯ:ไทยวัฒนาพานิชย,์ ๒๕๓๑
 อทุ ยั เลาหวิเชยี ร,รฐั ประศาสนศาสตร:์ ลกั ษณะวชิ าและมิติตา่ งๆ. กรุงเทพ:สาํ นักพิมพเ์ สมาธรรม,๒๕๔๔

www.coj.go.th/oppb/userfile/km planning๐๕๑๑๐๘.pdf
 พนิต เขม็ ทอง มโนทศั น์ของการตดิ ตามและประเมนิ ผล คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ,

มีนาคม ๒๕๔๔
 รายงานการประเมินผล แผนปฏบิ ัติราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ กรมทดี่ ิน กระทรวงมหาดไทย

กองแผนงาน กรมท่ีดนิ กันยายน ๒๕๕๘

คณะผูจ้ ดั ทํา

 นางภูริถี เพชรชะเอม นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชาํ นาญการพเิ ศษ
 นางสาวปทั มา เหลืองเพชรงาม นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชาํ นาญการ
 นายกรกช ชิระปัญญา วิศวกรรังวดั ชํานาญการ (ชว่ ยราชการ)
 นางสาวพนดิ า เต็งทับทิม พนกั งานวเิ คราะหน์ โยบายและแผน

ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version