The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR 2564 - Holy Redeemer School Khon Kaen

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prontipa.chum, 2022-10-26 05:03:03

SAR 2564 - HRK

SAR 2564 - Holy Redeemer School Khon Kaen

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปก ารศกึ ษา 2564

โรงเรียน มหาไถศ กึ ษาขอนแกน
รหสั โรงเรยี น 1140100040
182/1 หมูท่ี 4 ถนน ชาตะผดุง ตําบล/แขวง ในเมอื ง เขต/อาํ เภอ เมืองขอนแกน จงั หวดั ขอนแกน 40000
โทรศพั ท 043221463 โทรสาร 043327834

สังกัด
สํานกั งานคณะกรรมการสง เสริมการศึกษาเอกชน

กระทรวงศกึ ษาธิการ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปก ารศึกษา 2564

สว นท่ี 1 : บทสรุปของผบู ริหาร

      ดานคุณภาพผเู รยี น สถานศกึ ษากาํ หนดจดุ เนนใหผ ูเ รยี นมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นสงู ขนึ้ ตามเปาหมายทกี่ าํ หนดในการพฒั นาผูเรยี นรอ ยละ 87 โดยผูรบั ผดิ ชอบ
วางแผนกจิ กรรมท่ีหลากหลาย เชน โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น โครงการขุมทรัพยแ หง ปญ ญา โครงการพฒั นาคุณภาพผเู รยี นตามมาตรฐานสากลใน
ศตวรรษท่ี 21 มีผลการดาํ เนนิ การโครงการ กิจกรรม พบวา ผเู รยี นมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นสูงกวา เปา หมายท่ที างสถานศึกษากําหนด สถานศึกษาไดน ําผลจากการ
พฒั นาไปใชเ ปน ขอ มูลในการพัฒนาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นใหสงู ข้นึ อยา งตอเน่ือง        เปน ระบบ  นอกจากนั้น สถานศึกษาไดกําหนดจุดเนน ใหผ ูเรียนมคี ณุ ลกั ษณะท่ี
พงึ ประสงคต ามที่หลักสูตรกาํ หนดรอ ยละ 87 โดยผูร บั ผดิ ชอบวางแผนกจิ กรรมที่หลากหลาย เชน โครงการคุณธรรมนําชวี ิต โครงการมารยาทงามอยา งไทย พบวาผูเรยี น
มีคุณลกั ษณะและคานิยมทด่ี ีสูงกวา เปาหมายท่ีทางสถานศกึ ษากําหนด สถานศกึ ษาไดนาํ ผลจากการพฒั นาไปใชเปนขอมลู ในการพฒั นาผเู รยี นในดานนี้ใหสงู ขึ้นอยางตอ
เน่ือง เปนระบบ

       ดานกระบวนการบริหารและการจดั การ สถานศึกษากําหนดจดุ เนน สงเสริม สนบั สนุนดานการบรหิ ารจัดการทีเ่ ปนระบบแบบมีสว นรวม มสี ภาพแวดลอ มและการ
บริการทีเ่ ออ้ื ตอ การเรยี นรู จดุ เนนสง เสรมิ สนบั สนนุ อตั ลกั ษณแ ละเอกลักษณข องสถานศึกษาใหเดนชัด รวมถึงกําหนดจุดเนน สงเสริม สนับสนนุ ใหฝา ยบริหาร มีความ
รู ความสามารถในการใชเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมในการบรหิ ารจดั การ  ครูมคี วามรคู วามสามารถในการใชเ ทคโนโลยแี ละนวัตกรรมในการจดั การเรยี นรู และผเู รยี นมี
ความรู ความสามารถในการใชเทคโนโลยเี พ่ือคน ควาหาความรู สรา งช้ินงานและนาํ เสนอผลงาน มีผลการดําเนินงานโครงการ กจิ กรรม โดยผูร ับผดิ ชอบวางแผนกิจกรรม
ทหี่ ลากหลาย เชน โครงการโรงเรยี นนาอยู โครงการสมั พนั ธช ุมชน โครงการสงเสริมความรู ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี และนวตั กรรมของฝายบริหาร ครู และ
นักเรียน มีผลการดาํ เนินการโครงการ กจิ กรรมพบวา มีสภาพแวดลอมและการบริการท่เี ออื้ ตอการเรียนรู มีอัตลักษณแ ละเอกลกั ษณข องโรงเรียนเดน ชดั สถานศึกษามี
ส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยี สอดคลองกับการจัดการเรียนรูทท่ี ันสมัยอยางครบถว นบรรลุเปา หมายท่กี าํ หนด และนาํ ผลการดําเนินงานไปใชเปน ขอมูลสง เสริมในการจดั การ
เรียนรใู หม คี ุณภาพสงู ขึ้น

        ดา นกระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นนผูเ รียนเปนสําคญั สถานศึกษากาํ หนดจดุ เนนใหค รูมคี วามรู ความสามารถในการจัดการเรยี นรู ท่เี นน ผเู รียนเปนสาํ คัญ
สอดคลองกับบริบทของโรงเรียน ชุมชน และสังคม ครสู ามารถพฒั ฯาตนเอง ปฏิบตั ิงานตามบทบาทหนาทอี่ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม และเปนแบบอยา ง
ที่ดี ตามเปาหมายทีก่ าํ หนด รอยละ 87 โดยผรู ับผิดชอบวางแผนกิจกรรมทห่ี ลากหลาย เชน โครงการนเิ ทศภายในโรงเรยี น โครงการครดู ใี นดวงใจ โครงการสง เสรมิ ความ
รู ความสามารถในการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมของฝา ยบรหิ าร ครู และนกั เรยี น จากการดําเนนิ งานดงั กลาว พบวา ครูสามารถจัดการเรียนรูท ีเ่ นนผูเรียนเปน สาํ คญั
ผา นสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส เทคโนโลยี และนวัตกรรมไดอยางมีประสทิ ธภิ าพและเปนไปตามเปา หมายทก่ี ําหนด นําผลจากการดาํ เนินงานมาใชใ นการพัฒนาตนเอง และ
พัฒนาการจัดการเรยี นรู สง ผลใหผ เู รียนมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสูงขน้ึ

         จากการดาํ เนินงานทงั้ 3 มาตรฐาน ดังกลาว สถานศกึ ษาไดเผยแพรใ หผ ปู กครอง ผูใชบรกิ าร สาธารณชน และผทู ี่เกย่ี วขอ งรับทราบ ผานชอ งทางตา งๆ เชน การ
เย่ยี มบานนกั เรียน แผน พบั ประชาสมั พันธ เว็บไซตข องโรงเรยี น LINE facebook หรอื การแสดงผลงานของนักเรียนในวันวิชาการ  เปนตน

 

 

ตอนท่ี 1 ขอ มลู พืน้ ฐาน อาคาร (Bldg) : -
ตรอก (Alley) : -
โรงเรยี น (School Name) : มหาไถศ กึ ษาขอนแกน ถนน (Street) : ชาตะผดุง
ประเภทโรงเรยี น (School Type) : ในระบบ (สามญั ปกติ) เขต/อาํ เภอ (District) : เมืองขอนแกน
รหสั โรงเรยี น : 1140100040 รหสั ไปรษณีย (Post Code) : 40000
ทีอ่ ยู (Address) : 182/1 โทรสาร (Fax.) : 043327834
หมูท ่ี (Village No.) : 4
ซอย (Lane) : -
ตาํ บล/แขวง (Sub-district) : ในเมอื ง
จังหวดั (Province) : ขอนแกน
โทรศพั ท (Tel.) : 043221463

Page 2 of 52

อีเมล (E-mail) : [email protected] เฟซบกุ (Facebook) : มหาไถศ กึ ษาขอนแกน
เว็บไซต (Website) : www.hrk.ac.th
ไลน (Line) : hrk2018

ระดับทเ่ี ปด สอน

ปกติ (สามญั ศึกษา) : ประถมศึกษา, มธั ยมศกึ ษาตอนตน

Page 3 of 52

ตอนที่ 2 การนําเสนอผลการประเมินตนเอง ระดับคุณภาพ
ระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ยอดเยีย่ ม

1. มาตรฐานการศกึ ษา ยอดเยย่ี ม
ยอดเยี่ยม
มาตรฐานการศึกษา ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเ รียน ยอดเยย่ี ม
ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผเู รียน
ดีเลิศ
1. มีความสามารถในการอา น การเขียน การส่ือสาร และการคิดคาํ นวณ ยอดเยย่ี ม
2. มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห คดิ อยา งมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นและแกปญ หา
3. มคี วามสามารถในการสรา งนวตั กรรม ยอดเยย่ี ม
4. มคี วามสามารถในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สาร ยอดเย่ียม
5. มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา ยอดเย่ยี ม
6. มคี วามรทู กั ษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ี่ดตี อ งานอาชพี ยอดเยี่ยม
คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคข องผูเ รยี น ยอดเยี่ยม
7. การมคี ณุ ลกั ษณะและคานยิ มทด่ี ีตามท่สี ถานศกึ ษากาํ หนด ยอดเยี่ยม
8. ความภมู ใิ จในทอ งถิ่นและความเปนไทย ยอดเยี่ยม
9. การยอมรับท่จี ะอยูร วมกันบนความแตกตางและหลากหลาย ยอดเยี่ยม
10. สุขภาวะทางรางกายและจิตสงั คม ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ยอดเยย่ี ม
1. มเี ปาหมายวิสยั ทัศนและพนั ธกจิ ท่ีสถานศกึ ษากําหนดชดั เจน ยอดเยย่ี ม
2. มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา ยอดเยย่ี ม
3. ดําเนนิ งานพัฒนาวิชาการทีเ่ นนคณุ ภาพผูเ รยี นรอบดานตามหลักสูตรสถานศกึ ษาและทกุ กลุมเปา หมาย ยอดเยย่ี ม
4. พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชพี ยอดเยย่ี ม
5. จัดสภาพแวดลอ มทางกายภาพและสงั คมทีเ่ อ้อื ตอการจดั การเรียนรูอ ยางมคี ุณภาพ ยอดเยี่ยม
6. จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบริหารจดั การและการจดั การเรยี นรู ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นนผเู รียนเปน สําคญั ยอดเยี่ยม
1. จัดการเรยี นรูผ า นกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริง และสามารถนําไปประยุกตใ ชใ นชวี ิตได ยอดเยย่ี ม
2. ใชสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลงเรียนรูท ี่เอื้อตอ การเรียนรู
3. มกี ารบรหิ ารจดั การชั้นเรียนเชิงบวก
4. ตรวจสอบและประเมนิ ผเู รียนอยา งเปน ระบบ และนาํ ผลมาพฒั นาผูเรียน
5. มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรูและใหขอ มูลสะทอนกลับเพอ่ื พัฒนาปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู
สรปุ ผลการประเมินระดับขั้นพื้นฐาน

Page 4 of 52

2. หลกั ฐานสนบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเองตามระดับคณุ ภาพ
       1. ผเู รียนมีผลสัมฤทธ์ทิ างวชิ าการสงู โดยมผี ลระดบั ชาติ (O-NET) ของผูเรียนในระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 6 สงู กวา ระดบั จังหวดั ระดับสงั กดั และระดบั ประเทศ
ทกุ รายวชิ าอยางตอ เนอ่ื ง ปการศกึ ษา 2562-2564
       2. คา เฉล่ียของการทดสอบระดบั ชาติ (O-NET) ปการศกึ ษา 2564 รายวิชา ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ของผเู รียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 3 สูงกวาระดบั จังหวดั
ระดับสงั กัด และระดับประเทศ
       3. ผลการประเมินคณุ ภาพผเู รยี น (RT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 รวม 2 ดา น (ดานอา นออกเสียงและอา นรเู รื่อง) สูงขึน้ อยางตอ เน่ือง (ปการศกึ ษา 2562-2564) 
       4. ไดรบั รางวัลยอดเย่ยี ม ธนาคารสง เสริมการออม อยางตอเนอ่ื ง ปก ารศกึ ษา 2560-2564
       5. ผเู รียนมคี ุณลักษณะทพี่ งึ ประสงคแ ละคานิยมท่ีดีงามตามอัตลัษณท่ีโรงเรยี นกาํ หนดชัดเจน ไดรบั ความพึงพอใจจากผูป กครอง และผูม สี วนเกี่ยวของทกุ ปการ
ศกึ ษา
       6. ผบู ริหารสถานศึกษามกี ระบวนการบริหารและการจัดการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาทีช่ ัดเจน โดยมกี ารกาํ หนดเปา หมาย วิสยั ทัศน และพนั ธกิจ ตรงตามนโยบาย
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ตามแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา ปก ารศกึ ษา 2563-2565 มีการจดั ทาํ แผนปฏิบตั ิการประจาํ ป มีปฏิทนิ งานชดั เจน จัดใหม ีการเรยี นการ
สอนท่เี นนภาษาอังกฤษเพอื่ การสือ่ สาร  โดยครชู าวตางชาติ Intensive English Program (IEP) ในรายวิชาคณตฺ ศาสตร วิทยาศาสตร และภาษาอังกฤษ 
       7. ผูบรหิ าร บริหารโรงเรียนตามหลักธรรมาภบิ าล เปดโอกาสใหผมู ีสวนเก่ยี วขอ งมสี วนรวม ดาํ เนนิ การตามระบบ PDCA มกี ารกํากับ ติดตาม และประเมนิ ผลการ
บริหารและการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นอยา งเหมาะสม ชัดเจน และสง ผลใหโ รงเรียนมกี ารจดั การศกึ ษาอยา งมีคุณภาพและไดม าตรฐาน ผเู รียนทจี่ บการศกึ ษาระดับชัน้
มัธยมศึกษาปท ่ี 3 มีการศึกษาตอในระดับท่ีสงู ขึน้ ทัง้ ในระดบั โรงเรยี นเอกชนและรฐั บาล ผูปกครอง ผมู สี ว นเกีย่ วของทุกฝาย มคี วามพึงพอใจในการบรหิ ารและจัดการ
ศกึ ษาของผบู รหิ าร
       8. โรงเรียนมีระบบการประกันคณุ ภาพภายในท่ีมีประสทิ ธผิ ล โดยโรงเรยี นมีการดําเนนิ การตามกฎกระทรวงฯวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวธิ ีการประกันคุณภาพ
การศกึ ษาของสถานศึกษาอยา งตอ เน่อื ง มกี ารนําผลการประเมนิ คุณภาพทัง้ ภายในและภายนอก (สมศ.) ไปใชพ ฒั นาคณุ ภาพการศึกษาอยางสม่ําเสมอ มกี ารจัดประชมุ
ครู ผูปกครอง คณะกรรมการบริหารโรงเรียน เพอื่ นําขอเสนอแนะจากการประชมุ และการประเมนิ ความพงึ พอใจในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน มา
วเิ คราะห หาจุดเดน จดุ ควรพฒั นา และจดั ทาํ แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ป แกไ ขตามจดุ ทีค่ วรพฒั นา มคี ณะกรรมการประกันคณุ ภาพภายใน ดาํ เนินการตดิ ตาม ตรวจสอบ
และประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานอยา งสม่าํ เสมอ ทําใหพ อแม ผูปกครอง คณะกรรมการบริหารโรงเรยี น ชมุ ชน/ทอ งถนิ่ และผทู ่ีมีสว นเก่ียวขอ ง มคี วามม่ันใจตอ
ระบบการบรหิ ารและการจดั การของโรงเรียน และใหค วามรวมมือเปน อยางดี
       9. ครไู ดร ับการสนับสนุน สงเสรมิ ใหเขา รับการอบรมพฒั นาความรู ดา นการจดั ทาํ แผนการจดั การเรียนรู กระบวนการออกแบบการเรียนรูอ ยา งตอเนื่อง เขาใจและ
สามารถอธบิ ายขน้ั ตอน/วิธีการ การจดั ทําแผนการจดั การเรียนรทู ีเ่ นน กระบวนการคิด และการฝก ปฏบิ ตั ิไดอยา งชดั เจน และนาํ สกู ารปฏบิ ัติได
      10. นักเรยี นไดร บั การสงเสรมิ ใหเ ขารวมการแขง ขันทกั ษะวิชาการ และทักษะดา นอื่นๆ ทั้งองคก รภายในและภายนอกตลอดปการศึกษา

3. โรงเรียนมีแผนจะพัฒนาตนเองตอ ไปอยางไรใหไดม าตรฐานที่ดีขนึ้ กวาเดิม 1 ระดบั

1. จัดโครงการยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นอยา งตอเนื่อง
2. ดาํ เนนิ งานตามนโยบายของสช. และกระทรวงศึกษาธิการ (ปรบั ตมนโยบายแตล ะป)
3. การจดั การเรียนการสอนท่สี ง เสริม Active Learning, Coding, STEM Education
4. การสง เสรมิ ทักษะการอาน เขียน ภาษาไทย เพ่อื ใชเ ปน เครือ่ งมอื ในการเรียนรวู ิชาอน่ื
5. การจดั การเรียนรเู พ่ือสรางทกั ษะพื้นฐานทีเ่ ช่อื มโยงสูการสรา งอาชพี และมีงานทํา เชน ทกั ษะดา นกีฬาท่ีสามารถพฒั นาไปสูนกั กีฬามอื อาชีพ

ทกั ษะดานภาษา ทกั ษะดานดนตร-ี นาฏศิลป เปนตน
6. การพัฒนาครใู หมีความเชีย่ วชาญทั้งดา นความรูและคุณธรรม จริยธรรม และการใชส ่ือเทคโนโลยใี นการจัดการเรียนรู

4. นวัตกรรม/แบบอยางท่ดี ี (Innovation/Best Practice)
- นวตั กรรม/แบบอยางที่ดี : ธนาคารโรงเรียน
มาตรฐานดา น : มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเ รียน

5. ความโดดเดนของสถานศกึ ษา
- ธนาคารโรงเรยี น

Page 5 of 52

6. โรงเรยี นไดดาํ เนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร
- พฒั นาผูเ รียนใหมที กั ษะการคิดวเิ คราะห สามารถแกไขสถานการณเฉพาะหนาไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ โดยจัดการเรียนรูเ ชงิ รุก (Active Learning) จาก
ประสบการณจ รงิ หรือจากสถานการณจ าํ ลองผานการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคดิ เห็นเพื่อเปด โลกทัศนมุมมองรว มกนั ของผู
เรยี นและครูใหม ากขึ้น
- พัฒนาผเู รยี นใหมีความรอบรูแ ละทกั ษะชีวิต เพือ่ เปน เคร่ืองมอื ในการดํารงชวี ิตและสรา งอาชพี อาทิ การใชเ ทคโนโลยีดิจิทลั สุขภาวะและทัศนคติท่ดี ีตอการ
ดูแลสขุ ภาพ
- พัฒนาครใู หม ีทกั ษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเ ทคโนโลยีดิจทิ ัล ปญญาประดษิ ฐ และภาษาอังกฤษ รวมทงั้ การจดั การเรยี นการสอนเพื่อฝก ทกั ษะการ
คดิ วเิ คราะหอยา งเปนระบบและมเี หตุผลเปน ข้ันตอน
- สง เสริมใหใ ชภาษาทอ งถ่นิ รวมกับภาษาไทยเปนสื่อจดั การเรียนการสอนในพ้ืนท่ที ่ใี ชภ าษาอยา งหลากหลาย เพือ่ วางรากฐานใหผูเ รยี นมพี ฒั นาการดา นการคดิ
วเิ คราะห รวมทง้ั มที ักษะการสือ่ สารและใชภาษาท่สี ามในการตอ ยอดการเรยี นรูไ ดอ ยา งมีประสิทธิภาพ
- ปลูกฝง ผเู รียนใหม หี ลักคดิ ทถ่ี ูกตอ งดานคณุ ธรรม จริยธรรม และเปน ผูม ีความพอเพยี ง วินัย สุจริต จิตอาสา โดยกระบวนการลกู เสอื และยวุ กาชาด
- พัฒนาแพลตฟอรม ดจิ ทิ ัลเพื่อการเรยี นรู และใชดจิ ทิ ลั เปนเคร่อื งมอื การเรียนรู
- เสริมสรา งการรบั รู ความเขาใจ ความตระหนัก และสงเสรมิ คุณลกั ษณะและพฤตกิ รรมที่พงึ ประสงคด านสิ่งแวดลอม
- สนับสนนุ กจิ กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ
ลงชอื่ ........................................
(........กันตินนั ท แสนทํานา........)
ตาํ แหนง ผูอ ํานวยการ

Page 6 of 52

สวนที่ 2 : ขอ มลู พ้นื ฐาน อาคาร (B ldg) : -
ตรอก (Alley) : -
1. โรงเรยี น (School Name) : มหาไถศ กึ ษาขอนแกน (-) ถนน (Street) : ชาตะผดงุ
รหสั โรงเรยี น : 1140100040 เขต/อาํ เภอ (District) : เมอื งขอนแกน
ทอ่ี ยู (Address) : 182/1 รหสั ไปรษณยี  (Post Code) : 40000
หมทู ี่ (Village No.) : 4 โทรสาร (Fax.) : 043327834
ซอย (Lane) : -
ตาํ บล/แขวง (Sub-district) : ในเมือง เฟซบุก (Facebook) : มหาไถศ ึกษาขอนแกน
จังหวัด (Province) : ขอนแกน
โทรศัพท (Tel.) : 043221463
อเี มล (E-mail) : [email protected]
เว็บไซต (Website) : www.hrk.ac.th
ไลน (Line) : hrk2018

2. ระดบั ทีเ่ ปดสอน
ปกติ (สามัญศึกษา): : ประถมศึกษา, มัธยมศกึ ษาตอนตน

Page 7 of 52

3. ขอ มูลพื้นฐานแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา
ปรัชญา

กา วหนาเสมอ ดว ยความรู คคู ณุ ธรรม

วิสัยทัศน
ภายในปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นมหาไถศึกษาขอนแกน มุงพัฒนาสูมาตรฐานการศึกษา กา วหนาเทคโนโลยี นวัตกรรม นาํ สูม าตรฐานสากล บนพ้ืนฐานของความ
เปน ไทย

พนั ธกิจ
1. พัฒนาสมู าตรฐานการศึกษา 
     - พัฒนาคณุ ภาพผเู รียน
     - พฒั นาระบบบรหิ ารการจดั การศกึ ษา
     - พฒั นากระบวนการจดั การเรียนรูใหมีประสิทธิภาพ
     - พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในใหเ ขม แข็ง
2. กา วหนาเทคโนโลยี นวตั กรรม
     - สง เสริมการบรหิ ารการจดั การ การจดั การเรียนรู การใชเ ทคโนโลยี นวัตกรรม ใหม ีประสิทธภิ าพ
3. สูมาตรฐานสากล
     - พฒั นาการจัดการเรยี นรทู ่เี นนผูเ รียน มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล มีทักษะพน้ื ฐานของเด็กไทยในศตวรรษท่ี 21
4. บนพน้ื ฐานของความเปน ไทย
     - สงเสริมการจัดการเรียนรู สูค วามเปน ไทย

เปาหมาย
1. นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนสงู ขนึ้ ตามที่หลกั สูตรกาํ หนด
2. นกั เรียนมคี ุณลกั ษณะท่พี ึงประสงคตามทีห่ ลักสตู รกาํ หนด
3. ผูเรียนมีพฤตกิ รรมและลกั ษณะของความเปน ไทย
4. โรงเรียนมีการบรหิ ารจดั การอยา มีประสิทธิภาพ
5. โรงเรยี นมีอตั ลกั ษณและเอกลกั ษณข องโรงเรียนเดนชดั
6. ครมู คี วามรู ความสามารถในการจัดการเรียนรทู เี่ นน ผเู รยี นเปนสาํ คญั สอดคลอ งกบั บรบิ ทของโรงเรียน ชมุ ชน และสงั คม
7. ครผู ูส อนพัฒนาตนเอง ปฏิบตั งิ านตามบทบาทหนาท่ี อยางมปี ระสิทธภิ าพ มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และเปน แบบอยางที่ดี
8. โรงเรยี นมีระบบประกนั คุณภาพภายในท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ
9. ฝา ยบริหาร มีความรู ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยีและวตั กรรมในการบรหิ ารการจดั การ ครมู ีความรูค วามสามรถในการใชเ ทคโนโลยีและนวตั กรรมเพื่อใชใ น
การจัดการเรยี นรู และผูเรยี นมคี วามสามารถใชเทคโนโลยี เพ่ือคน หาความรู สรางชิน้ งานและนําเสนอผลงาน
10. ผเู รียนมคี ุณลักษณะตามมาตรฐานสากล มีทักษะพ้ืนฐานของเดก็ ไทย ในศตวรรษที่ 21

ยุทธศาสตรห รอื กลยทุ ธ
กลยทุ ธท ี่ 1  พัฒนาคุณภาพผเู รียน
กลยุทธท่ี 2  พัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจดั การศกึ ษาใหเ ปน ระบบ
กลยทุ ธท่ี 3  พฒั นากระบวนการจัดการเรียนรทู ่เี นนผเู รยี นเปนสําคัญ
กลยุทธท่ี 4  สง เสรมิ ใหมีการใชเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมในการบริหารการจัดการ การจัดการเรียนรู
กลยทุ ธที่ 5  สง เสริมมาตรการตามแนวปฏิรูปการศึกษา

Page 8 of 52

เอกลกั ษณ
โรงเรียนสงเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดว ยจติ ตารมณแ หงรักและรบั ใช

อัตลกั ษณ
มารยาทงามอยางไทย ใสใจภาษา จติ อาสาโดดเดน

Page 9 of 52

4. จํานวนนักเรียน

ระดับท่ีเปด สอน การจดั การเรยี น จาํ นวนหองเรียน จํานวนผเู รยี นปกติ จํานวนผเู รยี นท่มี ีความ รวมจํานวนผู
การสอน ชาย หญงิ ตองการพเิ ศษ เรียน

ชาย หญงิ

ระดับประถมศึกษา

ประถมศึกษาปท ี่ 1 หอ งเรยี นปกติ 4 - 121 - - 121
หอ งเรยี น EP - --- - -
- 151 - - 151
ประถมศกึ ษาปท่ี 2 หอ งเรยี นปกติ 4 --- - -
หอ งเรียน EP - - 167 - - 167
--- - -
ประถมศึกษาปท่ี 3 หอ งเรยี นปกติ 4 - 159 - - 159
หอ งเรียน EP - --- - -
- 147 - - 147
ประถมศึกษาปท่ี 4 หอ งเรียนปกติ 4 --- - -
หอ งเรียน EP - - 128 - - 128
--- - -
ประถมศึกษาปท ่ี 5 หอ งเรียนปกติ 4 - 873 - - 873
หองเรยี น EP -

ประถมศึกษาปที่ 6 หอ งเรียนปกติ 3
หอ งเรยี น EP -

รวม หอ งเรียนปกติ 23 หองเรยี น EP -

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน

มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 หอ งเรียนปกติ 2 - 56 - - 56
หองเรยี น EP - --- - -
- 31 - - 31
มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 หอ งเรยี นปกติ 1 --- - -
หองเรียน EP - - 29 - - 29
--- - -
มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 หอ งเรยี นปกติ 1 - 116 - - 116
หองเรยี น EP - - 989 - - 989

รวม หอ งเรยี นปกติ 4 หองเรียน EP -

รวมทั้งส้นิ หองเรยี นปกติ 27 หองเรียน EP -

Page 10 of 52

5. จํานวนผูบรหิ ารสถานศกึ ษา ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
5.1 ผบู ริหารสถานศึกษา
- นาย บวั ทอง บญุ ทอด
ตาํ แหนง : ผูแทนผูรับใบอนญุ าต (ผูแทนผูร บั ใบอนญุ าต)
ระดบั การศึกษา : ปรญิ ญาโท
- นางสาว กนั ตินนั ท แสนทํานา
ตําแหนง : ผอู ํานวยการโรงเรยี น (Thai School Director)
ระดับการศึกษา : ปรญิ ญาโท

5.2 จํานวนครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา (เฉพาะทบี่ รรจเุ ทาน้ัน)

5.2.1 สรปุ จาํ นวนครูและบุคลากรทางการศึกษา จาํ แนกวฒุ กิ ารศกึ ษาและประเภท/ตาํ แหนง

ประเภท/ตาํ แหนง จํานวนครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ป.เอก รวม

ตํ่ากวา ป.ตรี ป.ตรี ป.บณั ฑติ ป.โท

ผสู อนการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

ระดบั ประถมศกึ ษา

1. ครูไทย - 24 - 2 - 26

2. ครชู าวตางชาติ - 3 - - -3

ระดบั มัธยมศกึ ษา

1. ครไู ทย - 8 - - -8

2. ครชู าวตางชาติ - - - - --

รวม - 35 - 2 - 37

บคุ ลากรทางการศกึ ษา

- เจาหนาที่ธุรการ - 6 0 2 -8

บคุ ลากรอืน่ ๆ - - - - --

รวม - 6 0 2 - 8

รวมท้งั สน้ิ - 41 0 4 - 45

สรปุ อตั ราสวน จาํ นวนหอ ง จํานวนนักเรยี น จาํ นวนครู จํานวนผเู รียนตอครู จาํ นวนผเู รยี นตอหอง

สรุปอตั ราสว น 23 873 29 31:1 38:1
ผสู อนการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 4 116 8 15:1 29:1
ระดับประถมศึกษา
ระดบั มธั ยมศึกษา

Page 11 of 52

5.2.2 จํานวนครูจําแนกตามระดบั และกลมุ สาระการเรียนรู จาํ นวนครผู ูสอน

ระดับ/กลมุ สาระการเรียนรู ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษา รวม

ปฐมวยั ตรงเอก ไมต รงเอก ตรงเอก ไมต รงเอก 1
ภาษาไทย 6
คณติ ศาสตร - -1- 7
วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 4
สังคมศกึ ษา ศาสนา วฒั นธรรม 411 - 5
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 3
ศิลปะ 331 - 3
การงานอาชพี 3
ภาษาตา งประเทศ 3-1- 1
รวม 33
131 -
5.2.3 ตารางสรุปจาํ นวนครทู ่สี อนกิจกรรมพัฒนาผเู รยี น รวม
2-1-
กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น -
2-1- -
กิจกรรมนักเรยี น 28
- ลกู เสือ 2-1- -
- เนตรนารี -
- ยุวกาชาด - -1- -
- ผบู าํ เพญ็ ประโยชน -
- รักษาดนิ แดน (ร.ด.) 17 7 9 - -
- กิจกรรมชุมนุม ชมรม 28
จํานวนครูผสู อน
กจิ กรรมแนะแนว
กิจกรรมเพือ่ สงั คม และสาธารณประโยชน ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษา
รวม
--
--
23 5
--
--
--
--
--
23 5

Page 12 of 52

5.2.4 สรุปจํานวนครแู ละบุคลากรทางการลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาดและผบู ําเพ็ญประโยชน

ลกู เสือ/เนตรนารี /ยวุ กาชาด/ผบู ําเพญ็ ประโยชน จาํ นวนผูบังคบั บัญชา จํานวนวุฒทิ างลกู เสอื สถานะการจดั ตัง้ กองลกู เสือ
มีวฒุ ิ ไมมวี ุฒิ
-
ลกู เสอื เนตรนารี สาํ รอง - -- -
-
ลูกเสือ เนตรนารี สามัญ - -- -
-
ลูกเสอื เนตรนารี สามญั รนุ ใหญ - -- -

ลกู เสอื เนตรนารี วสิ ามัญ - --

ยุวกาชาด 6 --

ผูบําเพญ็ ประโยชน - --

รวม 6 - -

5.2.5 สรปุ จํานวนครูทท่ี ําหนา ทีค่ ดั กรอง และนกั เรียนทม่ี ีความตองการจาํ เปนพเิ ศษ (กรณโี รงเรียนมนี ักเรยี นพเิ ศษเรียนรว ม)

จาํ นวนครูทท่ี ําหนาทค่ี ัดกรอง จํานวนนักเรียนพเิ ศษ

ครทู ไี่ ดร ับการข้ึนทะเบียน เปน ผูค ดั กรองของกระทรวงศึกษาธกิ าร ครูทม่ี ีวุฒิทางการศึกษาพิเศษ ท้งั หมด ข้ึนทะเบียน ไมข ้นึ ทะเบียน

- - -- -

5.2.6 สรุปจํานวนครูท่ีเขารับการอบรมเกีย่ วกบั โรงเรียนคุณธรรม จํานวนครทู ี่เขารบั การอบรม ปทอ่ี บรม
- -
หนวยงานท่ีเขารบั การอบรม
-

Page 13 of 52

สวนที่ 3 : ผลการดําเนนิ งาน

1. ผลการดําเนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิการประจําปข องสถานศกึ ษา

1.1 ระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

ยุทธศาสตรที่ 1
พัฒนาคณุ ภาพผเู รยี น
โครงการ
1. โครงการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น

คา เปา หมาย

87.00 : ผเู รยี นมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นสูงขน้ึ ตามทห่ี ลกั สูตรสถานศกึ ษากาํ หนด

ผลสาํ เรจ็

96.63 : ผเู รยี นมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นสงู ข้นึ ตามที่หลักสูตรกาํ หนด

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเ รียน
ศึกษา

สอดคลองกับ - ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 การพฒั นาหลักสตู ร การเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล
ยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรที่ 2 การปฏิรปู ระบบทรัพยากรเพอื่ การศึกษาเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การเสริมสรางประสิทธภิ าพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ี่ 4 การสง เสรมิ การมีสว นรว มในการจัดและสนบั สนุนการศึกษาเอกชน
- ยุทธศาสตรท ี่ 5 การสง เสริมการศึกษานอกระบบเพอื่ สรางสังคมแหงการเรยี นรู
- ยทุ ธศาสตรท่ี 7 การพฒั นาระบบการบริหารจัดการสงเสริมการศึกษาเอกชน

สอดคลอ งกับตวั - จดั การศกึ ษาทุกระดับ ทกุ ประเภท โดยใชหลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมทัง้ แนวทางการจดั การเรยี นรูเชิงรกุ และการวดั ประเมนิ ผลเพ่ือพัฒนาผู
ช้วี ัดกระทรวง เรียน ท่ีสอดคลองกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหง ชาติ
ศึกษาธิการ
- สงเสริมการพฒั นากรอบหลักสตู รระดบั ทองถน่ิ และหลักสตู รสถานศึกษาตามความตอ งการจําเปนของกลุมเปาหมายและแตกตางหลากหลาย
ตามบริบทของพืน้ ที่

- พฒั นาผเู รยี นใหม ที ักษะการคิดวเิ คราะห สามารถแกไขสถานการณเ ฉพาะหนาไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ โดยจดั การเรยี นรเู ชงิ รุก (Active
Learning) จากประสบการณจ รงิ หรอื จากสถานการณจาํ ลองผานการลงมือปฏบิ ตั ิ ตลอดจนจัดการเรยี นการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เหน็ เพอ่ื
เปด โลกทัศนม ุมมองรว มกนั ของผูเรยี นและครูใหม ากขึน้

- พฒั นาผูเรยี นใหม คี วามรอบรแู ละทกั ษะชีวิต เพือ่ เปน เคร่ืองมือในการดํารงชีวติ และสรางอาชีพ อาทิ การใชเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั สขุ ภาวะและ
ทศั นคตทิ ี่ดีตอ การดแู ลสุขภาพ

- สงเสริมใหใ ชภ าษาทอ งถิน่ รวมกบั ภาษาไทยเปนสอ่ื จัดการเรียนการสอนในพนื้ ที่ท่ีใชภ าษาอยางหลากหลาย เพ่อื วางรากฐานใหผเู รียนมี
พัฒนาการดา นการคดิ วิเคราะห รวมท้งั มที กั ษะการส่อื สารและใชภ าษาท่ีสามในการตอยอดการเรยี นรไู ดอ ยา งมีประสิทธภิ าพ

- พฒั นาแพลตฟอรม ดิจทิ ลั เพอื่ การเรียนรู และใชด จิ ทิ ลั เปน เคร่ืองมอื การเรียนรู

- สง เสรมิ การพัฒนาสิ่งประดิษฐและนวัตกรรมทเ่ี ปนมติ รกบั ส่งิ แวดลอ ม ใหส ามารถเปนอาชีพและสรางรายได

2. โครงการขุมทรพั ยแ หง ปญ ญา

คาเปาหมาย

87.00 : ผูเรียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนสูงขน้ึ ตามท่ีหลักสูตรสถานศกึ ษากําหนด

ผลสําเร็จ

Page 14 of 52

96.63 : ผูเรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นสูงข้ึน ตามท่หี ลกั สูตรสถานศึกษากําหนด

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเรียน
ศกึ ษา

สอดคลองกับ - ยุทธศาสตรท่ี 1 การพฒั นาหลกั สูตร การเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล
ยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรที่ 2 การปฏิรปู ระบบทรัพยากรเพื่อการศึกษาเอกชน
- ยุทธศาสตรท ่ี 3 การเสริมสรา งประสิทธภิ าพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นเอกชน
- ยุทธศาสตรท่ี 4 การสง เสรมิ การมสี วนรว มในการจดั และสนับสนนุ การศึกษาเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ่ี 5 การสง เสริมการศกึ ษานอกระบบเพื่อสรางสังคมแหง การเรยี นรู
- ยทุ ธศาสตรท ี่ 7 การพฒั นาระบบการบริหารจัดการสงเสริมการศกึ ษาเอกชน

สอดคลอ งกับตัว - จัดการศกึ ษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใชห ลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมทัง้ แนวทางการจดั การเรยี นรเู ชงิ รกุ และการวัดประเมินผลเพื่อพฒั นาผู
ช้ีวัดกระทรวง เรยี น ท่สี อดคลองกบั มาตรฐานการศึกษาแหงชาติ
ศกึ ษาธิการ
- สง เสรมิ การพัฒนากรอบหลกั สตู รระดบั ทอ งถ่นิ และหลักสตู รสถานศกึ ษาตามความตอ งการจาํ เปน ของกลมุ เปาหมายและแตกตา งหลากหลาย
ตามบรบิ ทของพ้นื ท่ี

- พฒั นาผูเรียนใหม ที ักษะการคดิ วเิ คราะห สามารถแกไขสถานการณเ ฉพาะหนา ไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ โดยจดั การเรยี นรูเชงิ รกุ (Active
Learning) จากประสบการณจ ริงหรอื จากสถานการณจาํ ลองผา นการลงมอื ปฏิบตั ิ ตลอดจนจัดการเรยี นการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เหน็ เพอ่ื
เปด โลกทัศนมุมมองรว มกันของผเู รยี นและครใู หมากขนึ้

- พฒั นาผเู รียนใหม ีความรอบรแู ละทกั ษะชวี ิต เพื่อเปนเครื่องมอื ในการดาํ รงชวี ติ และสรา งอาชพี อาทิ การใชเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั สขุ ภาวะและ
ทัศนคตทิ ่ดี ีตอ การดูแลสขุ ภาพ

- พัฒนาครูใหม ีทกั ษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเทคโนโลยีดจิ ิทลั ปญญาประดษิ ฐ และภาษาอังกฤษ รวมทง้ั การจดั การเรยี นการสอน
เพือ่ ฝก ทักษะการคิดวเิ คราะหอ ยางเปน ระบบและมีเหตผุ ลเปน ขน้ั ตอน

- สงเสริมใหใ ชภ าษาทองถิน่ รว มกบั ภาษาไทยเปนสอื่ จดั การเรยี นการสอนในพ้นื ท่ีทใี่ ชภาษาอยา งหลากหลาย เพอื่ วางรากฐานใหผ เู รียนมี
พัฒนาการดา นการคิดวเิ คราะห รวมทัง้ มีทกั ษะการสอ่ื สารและใชภาษาทีส่ ามในการตอยอดการเรียนรูไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ

- พัฒนาแพลตฟอรม ดจิ ิทัลเพ่ือการเรียนรู และใชด จิ ทิ ัลเปน เครื่องมอื การเรยี นรู

- สงเสริมการพฒั นาสงิ่ ประดิษฐและนวตั กรรมทเี่ ปนมิตรกบั ส่ิงแวดลอ ม ใหสามารถเปน อาชพี และสรา งรายได

3. โครงการคุณธรรมนําชีวติ

คาเปา หมาย

87.00 : นกั เรียนมีคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคต ามท่ีหลักสูตรสถานศกึ ษากําหนด

ผลสาํ เร็จ

100.00 : นกั เรยี นมคี ณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคตามทีห่ ลักสตู รสถานศึกษากําหนด

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรยี น

สอดคลองกับยทุ ธศาสตร - ยุทธศาสตรท่ี 1 การพฒั นาหลักสูตร การเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล
สช. - ยุทธศาสตรท ี่ 2 การปฏิรูประบบทรัพยากรเพ่ือการศึกษาเอกชน
- ยทุ ธศาสตรที่ 3 การเสรมิ สรางประสทิ ธภิ าพการจดั การศึกษาของโรงเรียนเอกชน
- ยุทธศาสตรท่ี 4 การสงเสริมการมีสวนรวมในการจดั และสนับสนนุ การศึกษาเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท่ี 5 การสง เสริมการศึกษานอกระบบเพือ่ สรา งสงั คมแหง การเรียนรู
- ยทุ ธศาสตรท ี่ 7 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การสงเสรมิ การศกึ ษาเอกชน

สอดคลองกบั ตัวชี้วดั - จดั การศกึ ษาทกุ ระดบั ทุกประเภท โดยใชหลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมทงั้ แนวทางการจัดการเรียนรูเชงิ รกุ และการวดั ประเมนิ ผล
กระทรวงศึกษาธกิ าร เพ่ือพัฒนาผเู รียน ทส่ี อดคลอ งกับมาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ

Page 15 of 52

- สงเสรมิ การพัฒนากรอบหลกั สูตรระดับทอ งถิน่ และหลกั สูตรสถานศกึ ษาตามความตองการจําเปนของกลมุ เปา หมายและแตกตา ง
หลากหลายตามบริบทของพืน้ ท่ี

- พฒั นาผูเรียนใหม ีความรอบรูแ ละทกั ษะชวี ติ เพ่ือเปน เคร่อื งมือในการดํารงชีวติ และสรา งอาชีพ อาทิ การใชเ ทคโนโลยดี จิ ิทลั สุข
ภาวะและทัศนคติทดี่ ตี อการดูแลสขุ ภาพ

- ปลูกฝงผูเรยี นใหมีหลกั คิดท่ีถกู ตอ งดานคุณธรรม จริยธรรม และเปนผมู คี วามพอเพยี ง วินยั สุจรติ จิตอาสา โดยกระบวนการลูก
เสอื และยุวกาชาด

- เสรมิ สรา งการรบั รู ความเขา ใจ ความตระหนกั และสง เสรมิ คณุ ลกั ษณะและพฤติกรรมทพ่ี ึงประสงคด า นสิ่งแวดลอม

- สนบั สนนุ กิจกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ

4. โครงการมารยาทงามอยางไทย

คาเปาหมาย

87.00 : ผูเรยี นมพี ฤติกรรมและลักษณะของความเปน ไทย

ผลสําเร็จ

100.00 : ผเู รยี นมีพฤติกรรมและลักษณะของความเปน ไทย

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเรียน
ศกึ ษา

สอดคลอ งกบั - ยุทธศาสตรท ี่ 1 การพัฒนาหลักสตู ร การเรียนการสอน การวดั และประเมินผล
ยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท่ี 2 การปฏิรปู ระบบทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษาเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การเสรมิ สรา งประสิทธภิ าพการจดั การศึกษาของโรงเรียนเอกชน
- ยุทธศาสตรท ่ี 4 การสง เสรมิ การมีสว นรวมในการจัดและสนับสนนุ การศกึ ษาเอกชน
- ยทุ ธศาสตรที่ 5 การสงเสรมิ การศึกษานอกระบบเพอ่ื สรางสังคมแหงการเรยี นรู
- ยทุ ธศาสตรท่ี 7 การพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การสง เสรมิ การศกึ ษาเอกชน

สอดคลอ งกับตัว - จัดการศึกษาทกุ ระดับ ทุกประเภท โดยใชห ลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมท้ังแนวทางการจัดการเรยี นรเู ชงิ รกุ และการวัดประเมนิ ผลเพอ่ื พัฒนาผู
ช้ีวัดกระทรวง เรยี น ทส่ี อดคลองกับมาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ
ศึกษาธกิ าร
- สง เสริมการพัฒนากรอบหลกั สตู รระดบั ทองถ่ินและหลักสตู รสถานศกึ ษาตามความตอ งการจําเปนของกลุมเปาหมายและแตกตา งหลากหลาย
ตามบรบิ ทของพ้ืนท่ี

- พฒั นาผูเรียนใหม ีทกั ษะการคดิ วิเคราะห สามารถแกไขสถานการณเ ฉพาะหนาไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ โดยจัดการเรียนรเู ชงิ รกุ (Active
Learning) จากประสบการณจ ริงหรือจากสถานการณจาํ ลองผา นการลงมอื ปฏบิ ัติ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคิดเหน็ เพอ่ื
เปดโลกทัศนมมุ มองรวมกนั ของผูเรยี นและครใู หมากข้นึ

- พัฒนาแพลตฟอรม ดิจิทลั เพอ่ื การเรยี นรู และใชด จิ ทิ ลั เปนเครอื่ งมือการเรียนรู

ยุทธศาสตรท่ี 2
พัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การศึกษาใหเปน ระบบ
โครงการ
1. โครงการโรงเรยี นนา อยู

คา เปา หมาย

87.00 : โรงเรียนมีการบรหิ ารจดั การทีเ่ ปนระบบแบบมีสวนรว ม มสี ภาพแวดลอมและการบริการทีเ่ อื้อตอการเรยี นรู

ผลสาํ เรจ็

100.00 : โรงเรียนมกี ารบรหิ ารจัดการทเ่ี ปนระบบแบบมีสวนรว ม มีสภาพแวดลอมและการบรกิ ารทเ่ี ออื้ ตอ การเรียนรู

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

Page 16 of 52

ศึกษา

สอดคลองกับ - ยทุ ธศาสตรท่ี 2 การปฏิรูประบบทรัพยากรเพ่ือการศึกษาเอกชน
ยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรที่ 3 การเสรมิ สรา งประสทิ ธภิ าพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเอกชน
- ยุทธศาสตรที่ 4 การสง เสรมิ การมสี ว นรว มในการจัดและสนับสนุนการศึกษาเอกชน
- ยุทธศาสตรท่ี 7 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการสง เสริมการศกึ ษาเอกชน

สอดคลอ งกบั ตวั - จัดการศึกษาทกุ ระดบั ทุกประเภท โดยใชห ลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมทง้ั แนวทางการจดั การเรียนรเู ชิงรุกและการวดั ประเมินผลเพอื่ พัฒนาผู
ช้วี ดั กระทรวง เรียน ทส่ี อดคลอ งกบั มาตรฐานการศึกษาแหงชาติ
ศึกษาธิการ
- สงเสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดบั ทอ งถ่นิ และหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามความตอ งการจําเปน ของกลมุ เปาหมายและแตกตางหลากหลาย
ตามบริบทของพืน้ ที่

- พัฒนาผูเรยี นใหม ีทกั ษะการคิดวิเคราะห สามารถแกไ ขสถานการณเฉพาะหนาไดอยางมปี ระสิทธิภาพ โดยจดั การเรียนรูเ ชงิ รุก (Active
Learning) จากประสบการณจ ริงหรอื จากสถานการณจ าํ ลองผานการลงมือปฏิบตั ิ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคิดเหน็ เพือ่
เปด โลกทศั นม ุมมองรว มกันของผูเ รยี นและครูใหม ากขน้ึ

- พัฒนาผูเรยี นใหมคี วามรอบรแู ละทักษะชีวติ เพื่อเปน เครอ่ื งมอื ในการดาํ รงชีวิตและสรา งอาชีพ อาทิ การใชเทคโนโลยีดจิ ิทลั สขุ ภาวะและ
ทศั นคติทด่ี ตี อ การดูแลสุขภาพ

- พฒั นาครูใหม ที กั ษะ ความรู และความชํานาญในการใชเทคโนโลยีดิจทิ ัล ปญญาประดษิ ฐ และภาษาองั กฤษ รวมท้งั การจัดการเรยี นการสอน
เพื่อฝกทกั ษะการคิดวิเคราะหอยางเปนระบบและมีเหตผุ ลเปน ข้นั ตอน

- สงเสรมิ ใหใ ชภ าษาทอ งถิน่ รว มกับภาษาไทยเปน สือ่ จัดการเรียนการสอนในพืน้ ที่ทใ่ี ชภ าษาอยางหลากหลาย เพือ่ วางรากฐานใหผ ูเรยี นมี
พฒั นาการดานการคิดวเิ คราะห รวมท้งั มที กั ษะการสอ่ื สารและใชภ าษาทีส่ ามในการตอ ยอดการเรียนรไู ดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ

- ปลกู ฝงผเู รียนใหมหี ลกั คดิ ท่ีถกู ตอ งดา นคณุ ธรรม จริยธรรม และเปน ผมู ีความพอเพียง วนิ ัย สุจรติ จิตอาสา โดยกระบวนการลกู เสือ และยุว
กาชาด

- พัฒนาแพลตฟอรม ดิจทิ ลั เพ่อื การเรยี นรู และใชดิจทิ ัลเปน เครื่องมือการเรียนรู

- เสริมสรา งการรบั รู ความเขาใจ ความตระหนกั และสงเสริมคุณลกั ษณะและพฤตกิ รรมทพี่ งึ ประสงคด า นสิ่งแวดลอ ม

- สงเสรมิ การพัฒนาส่ิงประดษิ ฐและนวัตกรรมที่เปนมติ รกับสงิ่ แวดลอม ใหส ามารถเปน อาชีพและสรา งรายได

- สนบั สนนุ กจิ กรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ

2. โครงการสัมพนั ธช ุมชน

คา เปา หมาย

87.00 : โรงเรยี นมกี ารบรหิ ารจัดการที่เปนระบบแบบมสี วนรว ม มสี ภาพแวดลอมและการบริการทเ่ี ออื้ ตอการเรียนรู

ผลสําเร็จ

100.00 : โรงเรียนมกี ารบริหารจดั การทเ่ี ปนระบบแบบมสี วนรวม มสี ภาพแวดลอ มและการบรกิ ารทเ่ี อ้อื ตอ การเรียนรู

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

สอดคลองกบั ยทุ ธศาสตร - ยุทธศาสตรท่ี 3 การเสริมสรา งประสทิ ธิภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน
สช. - ยทุ ธศาสตรท่ี 4 การสงเสรมิ การมสี วนรวมในการจดั และสนับสนุนการศึกษาเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ่ี 7 การพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการสงเสรมิ การศกึ ษาเอกชน

สอดคลอ งกับตวั ชีว้ ดั - จัดการศกึ ษาทุกระดบั ทุกประเภท โดยใชหลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมทงั้ แนวทางการจดั การเรียนรูเชงิ รกุ และการวดั ประเมนิ ผล
กระทรวงศึกษาธิการ เพอ่ื พฒั นาผูเรยี น ที่สอดคลอ งกับมาตรฐานการศึกษาแหง ชาติ

- สงเสรมิ การพฒั นากรอบหลักสตู รระดบั ทอ งถ่นิ และหลกั สูตรสถานศกึ ษาตามความตองการจําเปนของกลมุ เปาหมายและแตกตา ง
หลากหลายตามบรบิ ทของพ้ืนท่ี

- เสรมิ สรา งการรบั รู ความเขา ใจ ความตระหนกั และสงเสรมิ คณุ ลกั ษณะและพฤตกิ รรมทีพ่ ึงประสงคดานสง่ิ แวดลอม

- สนับสนนุ กจิ กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ

Page 17 of 52

3. โรงเรียนโรงธรรม

คา เปา หมาย

87.00 : โรงเรียนมอี ัตลักษณและเอกลกั ษณของโรงเรยี นเดน ชัด

ผลสําเรจ็

100.00 : โรงเรียนมีอตั ลักษณแ ละเอกลักษณของโรงเรยี นเดนชัด

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

สอดคลองกบั ยทุ ธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรที่ 2 การปฏริ ูประบบทรัพยากรเพ่อื การศกึ ษาเอกชน
- ยุทธศาสตรที่ 3 การเสรมิ สรา งประสิทธิภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ่ี 4 การสง เสริมการมีสว นรว มในการจัดและสนบั สนุนการศึกษาเอกชน
- ยุทธศาสตรท่ี 5 การสงเสริมการศกึ ษานอกระบบเพือ่ สรา งสังคมแหง การเรยี นรู
- ยทุ ธศาสตรท ่ี 7 การพฒั นาระบบการบริหารจดั การสงเสรมิ การศึกษาเอกชน

สอดคลองกบั ตวั ช้วี ดั กระทรวง - สงเสริมการพฒั นากรอบหลกั สตู รระดบั ทองถ่ินและหลักสูตรสถานศึกษาตามความตอ งการจําเปนของกลมุ เปา หมายและแตก
ศกึ ษาธิการ ตา งหลากหลายตามบริบทของพ้ืนที่

- เสริมสรา งการรับรู ความเขาใจ ความตระหนัก และสง เสรมิ คณุ ลักษณะและพฤติกรรมทพ่ี ึงประสงคด านสงิ่ แวดลอ ม

ยุทธศาสตรที่ 3
พัฒนากระบวนการจัดการเรยี นรูท ่เี นน ผูเรยี นเปนสาํ คญั
โครงการ
1. โครงการนเิ ทศภายในโรงเรยี น

คาเปา หมาย

87.00 : ครมู ีความรู ความสามารถในการจัดการเรียนรู ทเ่ี นนผเู รียนเปน สาํ คัญ สอดคลองกับบริบทของโรงเรยี น ชมุ ชน และสังคม

ผลสําเรจ็

98.87 : ครมู ีความรู ความสามารถในการจัดการเรียนรู ท่ีเนนผเู รียนเปนสําคัญ สอดคลอ งกับบรบิ ทของโรงเรยี น ชุมชน และสงั คม

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นนผเู รยี นเปน สําคญั
ศึกษา

สอดคลอ งกับ - ยุทธศาสตรที่ 1 การพฒั นาหลกั สูตร การเรยี นการสอน การวัดและประเมนิ ผล
ยทุ ธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท ี่ 3 การเสรมิ สรางประสิทธิภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ี่ 4 การสง เสรมิ การมสี วนรวมในการจัดและสนับสนนุ การศกึ ษาเอกชน

สอดคลองกับตัว - จดั การศึกษาทุกระดับ ทกุ ประเภท โดยใชหลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนวทางการจดั การเรยี นรเู ชงิ รุกและการวดั ประเมินผลเพื่อพฒั นาผู
ช้วี ดั กระทรวง เรียน ทส่ี อดคลองกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหง ชาติ
ศึกษาธิการ
- สงเสรมิ การพฒั นากรอบหลักสตู รระดับทอ งถนิ่ และหลักสตู รสถานศกึ ษาตามความตอ งการจําเปน ของกลมุ เปา หมายและแตกตางหลากหลาย
ตามบรบิ ทของพ้นื ที่

- พฒั นาผเู รยี นใหมีทกั ษะการคิดวิเคราะห สามารถแกไ ขสถานการณเ ฉพาะหนาไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยจัดการเรยี นรเู ชิงรุก (Active
Learning) จากประสบการณจ รงิ หรือจากสถานการณจ าํ ลองผา นการลงมือปฏบิ ตั ิ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เห็นเพอ่ื
เปดโลกทศั นมุมมองรว มกันของผูเ รียนและครูใหม ากข้ึน

- พัฒนาผูเ รียนใหมคี วามรอบรูและทกั ษะชวี ิต เพือ่ เปนเครือ่ งมอื ในการดาํ รงชวี ิตและสรางอาชีพ อาทิ การใชเทคโนโลยีดิจทิ ลั สขุ ภาวะและ
ทัศนคตทิ ด่ี ตี อ การดูแลสุขภาพ

Page 18 of 52

- พัฒนาครูใหมที ักษะ ความรู และความชํานาญในการใชเ ทคโนโลยดี จิ ิทัล ปญ ญาประดษิ ฐ และภาษาองั กฤษ รวมทง้ั การจดั การเรียนการสอน
เพื่อฝกทักษะการคดิ วเิ คราะหอ ยา งเปน ระบบและมเี หตุผลเปนข้ันตอน

- สง เสริมใหใ ชภ าษาทองถน่ิ รว มกับภาษาไทยเปน สือ่ จัดการเรียนการสอนในพ้นื ทท่ี ่ใี ชภาษาอยางหลากหลาย เพื่อวางรากฐานใหผ เู รียนมี
พัฒนาการดา นการคดิ วิเคราะห รวมทั้งมที กั ษะการสื่อสารและใชภาษาท่สี ามในการตอ ยอดการเรยี นรูไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ

- พัฒนาแพลตฟอรม ดิจทิ ัลเพอื่ การเรียนรู และใชดิจทิ ัลเปน เครื่องมือการเรยี นรู

- สงเสริมการพฒั นาส่งิ ประดิษฐแ ละนวตั กรรมท่ีเปน มิตรกบั ส่ิงแวดลอ ม ใหสามารถเปน อาชีพและสรางรายได

2. โครงการครดู ใี นดวงใจ

คา เปา หมาย

87.00 : ครูผูสอนพฒั นาตนเอง ปฏิบัตงิ านตามบทบาทหนาทอ่ี ยา งมีประสทิ ธภิ าพ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และเปนแบบอยางท่ดี ี

ผลสาํ เรจ็

100.00 : ครผู สู อนพัฒนาตนเอง ปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหนา ท่ีอยางมปี ระสิทธภิ าพ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และเปนแบบอยางทด่ี ี

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นนผูเรียนเปนสาํ คัญ
ศึกษา

สอดคลอ งกับ - ยุทธศาสตรท่ี 1 การพฒั นาหลักสูตร การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล
ยทุ ธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท่ี 2 การปฏิรูประบบทรัพยากรเพื่อการศกึ ษาเอกชน
- ยุทธศาสตรท ่ี 3 การเสรมิ สรางประสทิ ธภิ าพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ี่ 4 การสงเสรมิ การมีสวนรว มในการจดั และสนับสนนุ การศึกษาเอกชน
- ยุทธศาสตรท่ี 5 การสง เสริมการศกึ ษานอกระบบเพื่อสรา งสงั คมแหงการเรยี นรู
- ยทุ ธศาสตรท่ี 7 การพฒั นาระบบการบริหารจดั การสงเสรมิ การศกึ ษาเอกชน

สอดคลองกับตวั - จัดการศกึ ษาทกุ ระดับ ทกุ ประเภท โดยใชห ลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมทง้ั แนวทางการจดั การเรยี นรเู ชงิ รกุ และการวดั ประเมนิ ผลเพอื่ พฒั นาผู
ช้ีวัดกระทรวง เรยี น ท่ีสอดคลอ งกับมาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ
ศึกษาธกิ าร
- สง เสรมิ การพฒั นากรอบหลักสตู รระดับทองถน่ิ และหลักสตู รสถานศึกษาตามความตอ งการจําเปนของกลมุ เปาหมายและแตกตางหลากหลาย
ตามบรบิ ทของพนื้ ท่ี

- พัฒนาผูเ รยี นใหมที ักษะการคิดวิเคราะห สามารถแกไขสถานการณเฉพาะหนาไดอ ยา งมีประสทิ ธิภาพ โดยจดั การเรียนรูเชิงรกุ (Active
Learning) จากประสบการณจ ริงหรือจากสถานการณจ าํ ลองผา นการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคดิ เหน็ เพอ่ื
เปดโลกทศั นม ุมมองรวมกนั ของผเู รยี นและครูใหม ากขึ้น

- พัฒนาผูเรียนใหมคี วามรอบรูแ ละทักษะชีวิต เพ่ือเปน เครือ่ งมอื ในการดํารงชีวิตและสรา งอาชพี อาทิ การใชเทคโนโลยดี ิจิทลั สขุ ภาวะและ
ทัศนคติท่ีดีตอการดูแลสขุ ภาพ

- พฒั นาครูใหม ีทักษะ ความรู และความชํานาญในการใชเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ปญญาประดษิ ฐ และภาษาองั กฤษ รวมทั้งการจดั การเรยี นการสอน
เพ่ือฝกทักษะการคดิ วเิ คราะหอ ยา งเปนระบบและมเี หตุผลเปน ขน้ั ตอน

- สงเสรมิ ใหใชภ าษาทอ งถ่ินรว มกบั ภาษาไทยเปนสื่อจดั การเรียนการสอนในพนื้ ที่ท่ีใชภ าษาอยา งหลากหลาย เพ่อื วางรากฐานใหผเู รียนมี
พัฒนาการดา นการคดิ วเิ คราะห รวมท้งั มีทกั ษะการส่ือสารและใชภาษาทีส่ ามในการตอ ยอดการเรียนรไู ดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ

- ปลูกฝง ผเู รียนใหม หี ลักคิดทถ่ี ูกตอ งดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม และเปน ผมู ีความพอเพยี ง วินยั สุจรติ จิตอาสา โดยกระบวนการลกู เสอื และยุว
กาชาด

- พัฒนาแพลตฟอรม ดจิ ิทลั เพ่ือการเรยี นรู และใชดจิ ิทัลเปน เครอ่ื งมอื การเรียนรู

- เสรมิ สรา งการรับรู ความเขาใจ ความตระหนกั และสง เสริมคณุ ลักษณะและพฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงคดานสิง่ แวดลอ ม

- สงเสรมิ การพฒั นาส่งิ ประดษิ ฐและนวัตกรรมท่ีเปนมิตรกบั สิง่ แวดลอ ม ใหสามารถเปนอาชีพและสรา งรายได

ยุทธศาสตรที่ 4
สง เสรมิ ใหมีการใชเ ทคโนโลยีและนวัตกรรมในการบริหารจดั การ การจัดการเรยี นรู
โครงการ

Page 19 of 52

1. โครงการสง เสริมความรู ความสามารถในการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมของฝา ยบริหาร ครูและนักเรยี น

คา เปา หมาย

87.00 : ฝา ยบรหิ าร ครู และนกั เรยี น มีความรู ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยีและนวัตกรรม

ผลสําเร็จ

100.00 : ฝา ยบริหาร ครู และนักเรียน มคี วามรู ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยแี ละนวัตกรรม

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
ศึกษา

สอดคลองกับ - ยุทธศาสตรท ี่ 1 การพฒั นาหลกั สตู ร การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล
ยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท่ี 2 การปฏิรปู ระบบทรัพยากรเพื่อการศกึ ษาเอกชน
- ยทุ ธศาสตรที่ 3 การเสรมิ สรางประสิทธิภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเอกชน
- ยุทธศาสตรที่ 4 การสงเสรมิ การมสี ว นรวมในการจัดและสนบั สนุนการศึกษาเอกชน
- ยทุ ธศาสตรที่ 7 การพฒั นาระบบการบริหารจัดการสง เสรมิ การศกึ ษาเอกชน

สอดคลอ งกบั ตวั - จัดการศกึ ษาทุกระดบั ทกุ ประเภท โดยใชหลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมทง้ั แนวทางการจดั การเรียนรเู ชิงรกุ และการวัดประเมินผลเพอื่ พฒั นาผู
ชี้วัดกระทรวง เรยี น ที่สอดคลองกบั มาตรฐานการศึกษาแหงชาติ
ศึกษาธิการ
- สง เสรมิ การพัฒนากรอบหลักสตู รระดบั ทอ งถิน่ และหลกั สตู รสถานศึกษาตามความตอ งการจาํ เปน ของกลุมเปา หมายและแตกตา งหลากหลาย
ตามบริบทของพน้ื ท่ี

- พฒั นาผูเรียนใหมีทักษะการคดิ วเิ คราะห สามารถแกไ ขสถานการณเฉพาะหนา ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ โดยจดั การเรียนรูเ ชงิ รกุ (Active
Learning) จากประสบการณจริงหรอื จากสถานการณจาํ ลองผา นการลงมือปฏบิ ัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชิงแสดงความคิดเหน็ เพ่อื
เปดโลกทัศนมุมมองรว มกนั ของผูเรียนและครูใหม ากขึ้น

- พฒั นาผูเ รียนใหมีความรอบรูแ ละทักษะชีวติ เพื่อเปน เครื่องมือในการดาํ รงชีวติ และสรา งอาชีพ อาทิ การใชเ ทคโนโลยดี ิจิทลั สุขภาวะและ
ทศั นคติที่ดีตอการดูแลสุขภาพ

- พัฒนาครูใหม ที กั ษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ปญญาประดิษฐ และภาษาอังกฤษ รวมท้ังการจัดการเรยี นการสอน
เพ่อื ฝก ทักษะการคิดวิเคราะหอยางเปน ระบบและมเี หตุผลเปนข้นั ตอน

- พฒั นาแพลตฟอรมดจิ ทิ ัลเพือ่ การเรยี นรู และใชด จิ ิทลั เปนเครือ่ งมือการเรียนรู

ยุทธศาสตรที่ 5
สง เสริมมาตรการตามแนวปฏริ ูปการศึกษา
โครงการ
1. โครงการพัฒนาคุณภาพผูเ รียนตามมาตรฐานสากลในศตวรรษท่ี 21

คา เปา หมาย

87.00 : ผเู รยี นมีคณุ ลกั ษณะตามมาตรฐานสากล มที กั ษะพ้นื ฐานของเดก็ ไทยในศตวรรษท่ี 21

ผลสําเรจ็

97.98 : ผเู รยี นมีคุณลักษณะตามมาตรฐานสากล มีทกั ษะพ้ืนฐานของเดก็ ไทยในศตวรรษท่ี 21

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รยี น
ศึกษา

สอดคลองกบั - ยทุ ธศาสตรท่ี 1 การพัฒนาหลักสตู ร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ยทุ ธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรที่ 2 การปฏริ ูประบบทรพั ยากรเพ่ือการศกึ ษาเอกชน
- ยุทธศาสตรท ี่ 3 การเสริมสรา งประสทิ ธิภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเอกชน
- ยุทธศาสตรที่ 4 การสงเสริมการมีสว นรว มในการจดั และสนับสนนุ การศกึ ษาเอกชน

Page 20 of 52

- ยทุ ธศาสตรท ่ี 5 การสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบเพื่อสรางสงั คมแหงการเรยี นรู
- ยุทธศาสตรท ี่ 7 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการสง เสริมการศกึ ษาเอกชน

สอดคลองกับตัว - จัดการศกึ ษาทุกระดับ ทกุ ประเภท โดยใชห ลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมท้งั แนวทางการจัดการเรียนรูเชงิ รุกและการวัดประเมนิ ผลเพ่ือพฒั นาผู
ชี้วัดกระทรวง เรยี น ทส่ี อดคลองกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหง ชาติ
ศึกษาธกิ าร
- สง เสริมการพฒั นากรอบหลกั สตู รระดับทองถ่นิ และหลักสูตรสถานศกึ ษาตามความตองการจาํ เปน ของกลมุ เปา หมายและแตกตา งหลากหลาย
ตามบริบทของพ้นื ที่

- พัฒนาผูเ รยี นใหมที ักษะการคิดวเิ คราะห สามารถแกไ ขสถานการณเ ฉพาะหนา ไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพ โดยจัดการเรยี นรเู ชิงรกุ (Active
Learning) จากประสบการณจ รงิ หรือจากสถานการณจ ําลองผา นการลงมือปฏบิ ตั ิ ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชิงแสดงความคดิ เห็นเพอ่ื
เปดโลกทศั นม มุ มองรวมกนั ของผูเรยี นและครใู หมากข้นึ

- พัฒนาผเู รยี นใหม คี วามรอบรูและทักษะชีวิต เพอ่ื เปนเครอื่ งมอื ในการดํารงชวี ิตและสรา งอาชีพ อาทิ การใชเ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั สุขภาวะและ
ทัศนคติที่ดีตอ การดูแลสขุ ภาพ

- สง เสริมใหใชภ าษาทองถน่ิ รวมกบั ภาษาไทยเปนส่อื จัดการเรยี นการสอนในพื้นท่ีทใ่ี ชภ าษาอยางหลากหลาย เพื่อวางรากฐานใหผเู รียนมี
พฒั นาการดา นการคดิ วิเคราะห รวมทัง้ มีทักษะการสือ่ สารและใชภ าษาท่ีสามในการตอ ยอดการเรยี นรูไ ดอ ยา งมีประสิทธิภาพ

- ปลูกฝง ผเู รยี นใหม ีหลกั คิดทถี่ ูกตองดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม และเปนผมู คี วามพอเพียง วินัย สจุ รติ จติ อาสา โดยกระบวนการลกู เสือ และยุว
กาชาด

- พฒั นาแพลตฟอรมดิจิทลั เพื่อการเรยี นรู และใชดจิ ทิ ัลเปน เคร่อื งมอื การเรียนรู

- เสริมสรา งการรบั รู ความเขา ใจ ความตระหนัก และสงเสรมิ คุณลักษณะและพฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงคด า นสงิ่ แวดลอม

- สงเสรมิ การพัฒนาสงิ่ ประดษิ ฐแ ละนวัตกรรมทีเ่ ปน มิตรกับสิ่งแวดลอม ใหสามารถเปนอาชพี และสรางรายได

- สนบั สนุนกจิ กรรมการปองกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ

2. โครงการยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน

คา เปา หมาย

87.00 : ผูเรยี นมีคุณลักษณะตามมาตรฐานสากล มีทกั ษะพ้ืนฐานของเด็กไทยในศตวรรษที่ 21

ผลสําเร็จ

96.63 : ผเู รยี นมคี ุณลักษณะตามมาตรฐานสากล มที ักษะพนื้ ฐานของเด็กไทยในศตวรรษท่ี 21

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู รยี น
ศกึ ษา

สอดคลอ งกบั - ยุทธศาสตรท่ี 1 การพฒั นาหลักสตู ร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ยุทธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท ่ี 2 การปฏิรปู ระบบทรัพยากรเพ่อื การศึกษาเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท่ี 3 การเสรมิ สรางประสิทธภิ าพการจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชน
- ยทุ ธศาสตรท ี่ 4 การสงเสริมการมีสว นรวมในการจัดและสนบั สนุนการศกึ ษาเอกชน
- ยุทธศาสตรที่ 7 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การสงเสรมิ การศกึ ษาเอกชน

สอดคลองกบั ตวั - จดั การศึกษาทุกระดบั ทุกประเภท โดยใชหลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมท้ังแนวทางการจดั การเรยี นรเู ชิงรกุ และการวัดประเมินผลเพอื่ พัฒนาผู
ชีว้ ัดกระทรวง เรียน ที่สอดคลองกบั มาตรฐานการศึกษาแหงชาติ
ศกึ ษาธิการ
- สง เสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดบั ทอ งถิน่ และหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามความตองการจาํ เปน ของกลมุ เปา หมายและแตกตางหลากหลาย
ตามบรบิ ทของพ้ืนท่ี

- พัฒนาผเู รียนใหม ที กั ษะการคดิ วเิ คราะห สามารถแกไ ขสถานการณเฉพาะหนาไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ โดยจัดการเรยี นรเู ชงิ รกุ (Active
Learning) จากประสบการณจ ริงหรือจากสถานการณจ ําลองผานการลงมอื ปฏิบตั ิ ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เห็นเพ่อื
เปด โลกทัศนมมุ มองรว มกันของผเู รียนและครูใหม ากขน้ึ

- พัฒนาผูเรียนใหมีความรอบรูและทักษะชีวติ เพ่ือเปนเคร่ืองมอื ในการดํารงชีวติ และสรา งอาชีพ อาทิ การใชเ ทคโนโลยีดจิ ิทลั สุขภาวะและ
ทศั นคติทีด่ ีตอการดแู ลสุขภาพ

Page 21 of 52

- สง เสริมใหใชภาษาทอ งถ่ินรวมกบั ภาษาไทยเปนสื่อจดั การเรยี นการสอนในพืน้ ทท่ี ่ใี ชภ าษาอยา งหลากหลาย เพือ่ วางรากฐานใหผูเรยี นมี
พฒั นาการดานการคดิ วิเคราะห รวมทง้ั มีทกั ษะการส่อื สารและใชภาษาที่สามในการตอยอดการเรียนรูไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ
- ปลกู ฝง ผเู รยี นใหม หี ลักคิดทถ่ี กู ตองดา นคุณธรรม จริยธรรม และเปนผมู ีความพอเพยี ง วินยั สุจริต จติ อาสา โดยกระบวนการลูกเสือ และยวุ
กาชาด
- พัฒนาแพลตฟอรมดจิ ิทลั เพื่อการเรียนรู และใชดิจิทัลเปนเครื่องมือการเรยี นรู
- เสริมสรา งการรับรู ความเขา ใจ ความตระหนัก และสงเสรมิ คณุ ลักษณะและพฤตกิ รรมท่ีพงึ ประสงคดา นส่งิ แวดลอ ม
- สง เสรมิ การพฒั นาสิ่งประดิษฐแ ละนวตั กรรมที่เปนมิตรกับส่งิ แวดลอ ม ใหส ามารถเปนอาชพี และสรา งรายได

Page 22 of 52

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผูเรียน

2.1 ระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

2.1.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พ้นื ฐาน O-NET
เปรยี บเทียบผลการทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 6
จํานวนนกั เรยี นทั้งหมด : 128

วิชา จาํ นวน คะแนนเฉล่ยี ระดบั คะแนนเฉลยี่ ผลการ ผลตางคะแนนเฉล่ีย รอยละของคะแนน แปลผลพัฒนาการ
นักเรยี นท่ีเขา ประเทศป 2564 ทดสอบ O-NET ป 64 เทียบป 63 เฉล่ยี ป 64 เทียบป 63 เทียบกับรอยละ 3

สอบ 2562 2563 2564

คณติ ศาสตร 120 36.83 39.29 35.56 42.16 +6.60 18.56 มีพฒั นาการ

วิทยาศาสตร 120 34.31 42.11 42.75 38.08 -4.67 -10.92 ไมม พี ัฒนาการ

ภาษาไทย 120 50.38 61.60 67.36 60.79 -6.57 -9.75 ไมมพี ฒั นาการ

ภาษา 120 39.22 56.50 70.35 58.05 -12.30 -17.48 ไมมพี ฒั นาการ
อังกฤษ

โรงเรยี นไมสอบวดั ผล หรือสอบไมค รบ
-

เปรยี บเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาติขัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) ของนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3
จํานวนนกั เรียนท้งั หมด : 29

วิชา จาํ นวน คะแนนเฉลยี่ ระดบั คะแนนเฉล่ียผลการ ผลตา งคะแนนเฉลี่ย รอยละของคะแนน แปลผลพฒั นาการ
นักเรียนทีเ่ ขา ประเทศป 2564 ทดสอบ O-NET ป 64 เทียบป 63 เฉล่ีย ป 64 เทียบป 63 เทยี บกับรอ ยละ 3

สอบ 2562 2563 2564

คณติ ศาสตร 25 24.47 26.35 23.23 23.43 +0.20 0.86 มีพัฒนาการแตไม
ถงึ รอยละ 3

วทิ ยาศาสตร 25 31.45 29.43 30.97 28.05 -2.92 -9.43 ไมม พี ัฒนาการ

ภาษาไทย 25 51.19 66.59 60.36 49.45 -10.91 -18.07 ไมมีพฒั นาการ

ภาษา 25 31.11 37.18 39.68 35.00 -4.68 -11.79 ไมมพี ัฒนาการ
องั กฤษ

โรงเรียนไมส อบวัดผล หรือสอบไมค รบ
-

Page 23 of 52

2.1.2 จาํ นวนและรอยละของนักเรียนท่มี ีผลการเรยี นระดับ 3 ขึ้นไป

ระดบั ประถมศกึ ษา

ระดับผลการเรียน

กลุมสาระการ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
เรยี นร/ู
รายวิชา จํานวน นกั เรยี น รอ ยละ จาํ นวน นักเรียน รอ ย จํานวน นักเรียน รอ ย จาํ นวน นักเรยี น รอยละ จาํ นวน นักเรียน รอยละ จํานวน นกั เรียน รอยละ
นกั เรยี น ผลเรยี น นักเรียน ผลเรียน ละ นกั เรียน ผลเรยี น ละ นกั เรียน ผลเรียน นักเรยี น ผลเรียน นักเรียน ผลเรยี น
3 ข้นึ ไป 3 ขนึ้ ไป 3 ขึ้นไป 3 ขนึ้ ไป 3 ขน้ึ ไป 3 ขึ้นไป

ภาษาไทย 121 121 100.00 151 145 96.03 167 164 98.20 159 159 100.00 147 86 58.50 128 114 89.06

คณิตศาสตร 121 121 100.00 151 146 96.69 167 160 95.81 159 153 96.23 147 118 80.27 128 89 69.53

วทิ ยาศาสตร
และ 121 121 100.00 151 146 96.69 167 164 98.20 159 127 79.87 147 107 72.79 128 125 97.66
เทคโนโลยี

สังคมศึกษา
ศาสนา และ 121 121 100.00 151 146 96.69 167 164 98.20 159 157 98.74 147 137 93.20 128 120 93.75
วฒั นธรรม

ประวัติศาสตร 121 121 100.00 151 146 96.69 167 161 96.41 159 158 99.37 147 137 93.20 128 124 96.88

สุขศกึ ษาและ 121 121 100.00 151 145 96.03 167 164 98.20 159 161 101.26 147 147 100.00 128 128 100.00
พลศึกษา

ศลิ ปะ 121 121 100.00 151 142 94.04 167 160 95.81 159 150 94.34 147 133 90.48 128 114 89.06

การงานอาชพี 121 121 100.00 151 146 96.69 167 164 98.20 159 154 96.86 147 132 89.80 128 118 92.19

ภาษาตาง 121 121 100.00 151 145 96.03 167 163 97.60 159 121 76.10 147 98 66.67 128 115 89.84
ประเทศ

ภาษาจีน 121 120 99.17 151 144 95.36 167 163 97.60 159 139 87.42 147 129 87.76 128 102 79.69

Ellis 121 121 100.00 151 146 96.69 167 164 98.20 159 156 98.11 147 143 97.28 128 116 90.63

วายนา้ํ เพื่อ 121 121 100.00 151 146 96.69 167 164 98.20 159 161 101.26 147 147 100.00 128 128 100.00
เอาชวี ิตรอด

Page 24 of 52

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน ระดับผลการเรยี น
เทอม 1
ม.1 ม.2 ม.3
กลมุ สาระการเรยี นร/ู
รายวชิ า จํานวน นกั เรียนผลเรียน รอ ย จาํ นวน นักเรียนผลเรยี น รอย จาํ นวน นกั เรียนผลเรียน รอย
นกั เรยี น 3 ขน้ึ ไป ละ นกั เรียน 3 ขึน้ ไป ละ นกั เรียน 3 ขนึ้ ไป ละ
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร 56 54 96.43 31 30 96.77 29 16 55.17
วิทยาศาสตรแ ละ
เทคโนโลยี 56 38 67.86 31 20 64.52 29 19 65.52
สังคมศกึ ษา ศาสนา
และวฒั นธรรม 56 47 83.93 31 23 74.19 29 22 75.86
ประวตั ศิ าสตร
สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 56 50 89.29 31 29 93.55 29 25 86.21
ศลิ ปะ
การงานอาชพี 56 53 94.64 31 28 90.32 29 23 79.31
ภาษาตา งประเทศ
ภาษาจนี 56 45 80.36 31 28 90.32 29 20 68.97
วทิ ยาการคํานวณ
Ellis 56 27 48.21 31 12 38.71 29 17 58.62
ภาษาญีป่ ุน
คณติ ศาสตรเพม่ิ เติม 56 49 87.50 31 25 80.65 29 22 75.86

56 47 83.93 31 10 32.26 29 18 62.07

56 42 75.00 31 19 61.29 29 17 58.62

56 45 80.36 31 17 54.84 29 19 65.52

56 41 73.21 31 15 48.39 29 19 65.52

56 47 83.93 31 10 32.26 29 24 82.76

56 39 69.64 31 10 32.26 29 20 68.97

Page 25 of 52

เทอม 2 ระดบั ผลการเรียน

กลุมสาระการเรยี นรู/ ม.1 ม.2 ม.3
รายวิชา
จํานวน นกั เรียนผลเรียน รอยละ จาํ นวน นกั เรียนผลเรียน รอยละ จาํ นวน นักเรยี นผล รอย
ภาษาไทย นกั เรยี น 3 ข้นึ ไป นักเรยี น 3 ขน้ึ ไป นักเรียน เรียน 3 ข้ึนไป ละ
คณติ ศาสตร
วิทยาศาสตรแ ละ 56 38 67.86 31 18 58.06 29 15 51.72
เทคโนโลยี
สงั คมศึกษา ศาสนา 56 36 64.29 31 20 64.52 29 15 51.72
และวฒั นธรรม
ประวัตศิ าสตร 56 36 64.29 31 22 70.97 29 28 96.55
สุขศึกษาและพลศกึ ษา
ศลิ ปะ 56 54 96.43 31 30 96.77 29 27 93.10
การงานอาชีพ
ภาษาตางประเทศ 56 53 94.64 31 29 93.55 29 25 86.21
ภาษาจนี
การออกแบบและ 56 44 78.57 31 29 93.55 29 25 86.21
เทคโนโลยี
Ellis 56 53 94.64 31 30 96.77 29 23 79.31
ภาษาญป่ี ุน
คณิตศาสตรเพมิ่ เตมิ 56 54 96.43 31 31 100.00 29 24 82.76

56 56 100.00 31 21 67.74 29 20 68.97

56 47 83.93 31 24 77.42 29 19 65.52

56 56 100.00 31 31 100.00 29 28 96.55

56 53 94.64 31 26 83.87 29 19 65.52

56 37 66.07 31 18 58.06 29 14 48.28

56 56 100.00 31 14 45.16 29 18 62.07

Page 26 of 52

2.1.3 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผเู รียนระดับชาติ (National Test : NT)
เปรียบเทียบผลการทดสอบสมรรถนะของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที่ 3
จํานวนนกั เรียนท้งั หมด : 167

จาํ นวน คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉล่ียผลการ ผลตางคะแนน รอยละของคะแนน แปลผลพัฒนา
นักเรียน ระดับประเทศป ทดสอบสมรรถนะ เฉลี่ย (ป 64 - เฉลย่ี ป 64 เทียบ การเทยี บกบั
สมรรถนะ เขาสอบ รอ ยละ 3

2564 2562 2563 2564 63) ป 63

ดานภาษา (Literacy) / ดา น 106 56.14 53.78 56.47 52.99 -3.48 -6.16 ไมมพี ฒั นาการ
ภาษาไทย (Thai Language)

ดานคํานวณ (Numeracy) / 106 49.44 51.38 44.66 42.66 -2.00 -4.48 ไมม พี ัฒนาการ
ดานคณิตศาสตร
(Mathematics)

ดา นเหตุผล (reasoning) - - --- - - -

โรงเรยี นไมสอบวดั ผล หรอื สอบไมค รบ
-

2.1.4 ผลการประเมินความสามารถดานการอานของผูเรยี น (Reading Test : RT)
เปรยี บเทยี บผลการทดสอบความสามารถดา นการอา นของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที่ 1
จาํ นวนนกั เรยี นทง้ั หมด : 121

ความสามารถ จาํ นวน คะแนนเฉล่ียระดับ คะแนนเฉล่ยี ผลการ ผลตา งคะแนน รอ ยละของคะแนน แปลผลพฒั นาการ
ดา นการอา น นกั เรียนเขา ประเทศป 2564 ทดสอบสมรรถนะ เฉลี่ย (ป 64 - เฉล่ยี ป 64 เทียบป 63 เทียบกบั รอ ยละ 3

สอบ 2562 2563 2564 63) 26.46 มพี ัฒนาการ
-10.72 ไมมพี ฒั นาการ
อา นรูเรื่อง 96 72.79 73.39 68.56 86.70 +18.14

อา นออกเสียง 96 69.95 61.35 71.61 63.93 -7.68

โรงเรยี นไมส อบวดั ผล หรอื สอบไมครบ
-

Page 27 of 52

2.1.5 ผลการประเมนิ ทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ดา นอิสลามศึกษา (I-NET) ของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม
เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาตดิ านอสิ ลามศึกษา (I-NET) ของนกั เรียนระดบั ตอนตน
จํานวนนกั เรียนทงั้ หมด : 128

วชิ า จาํ นวน คะแนนเฉลีย่ ระดบั คะแนนเฉลย่ี ผลการ ผลตา งคะแนนเฉลยี่ รอยละของคะแนนเฉลี่ย แปลผลพฒั นาการ
นกั เรียนเขา ประเทศป 2564 ทดสอบสมรรถนะ (ป 64 - 63) ป 64 เทียบป 63 เทยี บกับรอ ยละ 3

สอบ 2562 2563 2564 -

อัลกุ - 37.25 - - - - - -
รอานฯ
-
อลั หะ - 32.62 - - - - -
ดีษ -

อลั อะ - 35.26 - - - - - -
กีดะห
-
อัลฟก - 35.87 - - - - - -
ฮ -

อตั ตา - 43.50 - - - - -
รีค

อัลอัค - 58.68 - - - - -
ลาก

มลายู - 39.74 - - - - -

อาหรบั - 30.92 - - - - -

โรงเรยี นไมสอบวัดผล หรือสอบไมค รบ
-

Page 28 of 52

เปรียบเทยี บผลการทดสอบระดับชาติดา นอสิ ลามศกึ ษา (I-NET) ของนักเรยี นระดับตอนกลาง
จาํ นวนนักเรียนทงั้ หมด : 29

วชิ า จาํ นวน จาํ นวน คะแนนเฉลี่ยระดบั คะแนนเฉลย่ี ผลการ ผลตางคะแนน รอ ยละของคะแนน แปลผลพฒั นาการ
นกั เรยี น นักเรยี นเขา ประเทศป 2564 ทดสอบสมรรถนะ เฉลี่ย (ป 64 - เฉล่ยี ป 64 เทยี บป เทยี บกับรอยละ 3
ท้งั หมด
สอบ 2562 2563 2564 63) 63

อัลกุ 29.00 - 37.61 - - - - --
รอานฯ

อลั หะ 29.00 - 35.42 - - - - --
ดษี

อลั อะ 29.00 - 50.87 - - - - --
กดี ะห

อลั ฟก 29.00 - 36.17 - - - - --


อัตตา 29.00 - 42.56 - - - - --
รคี

อลั อัค 29.00 - 42.09 - - - - --
ลาก
--
มลายู 29.00 - 40.92 - - - - --

อาหรับ 29.00 - 27.92 - - - -

โรงเรยี นไมสอบวัดผล หรือสอบไมค รบ
-

Page 29 of 52

2.1.6 ผลการทดสอบความสามารถดา นภาษาอังกฤษ
คา ประเมินมาตรฐานภาษาองั กฤษ จากหนวยงานทดสอบภาษาอังกฤษที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง
ระดบั ประถมศึกษา

ระดบั จาํ นวน จํานวน ระดับผลการทดสอบความสามารถดา นภาษาอังกฤษ (Common ผา นการทดสอบอน่ื ๆ (TOEIC, IEFL,
ชั้น นกั เรยี น นักเรียน European Framework of Reference for Languages : CEFR) TOEFL เปรยี บเทียบตารางมาตรฐาน)
ทัง้ หมด เขาสอบ
Pre A1 A1 A2 B1 B2 C1 C2 -
-
ป.1 121 - - ------ -
-
ป.2 151 - - ------ -
-
ป.3 167 - - ------

ป.4 159 - - ------

ป.5 147 - - ------

ป.6 128 - - ------

ระดบั มัธยมศกึ ษา

ระดบั จํานวน จํานวน ระดับผลการทดสอบความสามารถดา นภาษาองั กฤษ (Common ผานการทดสอบอ่นื ๆ (TOEIC, IEFL,
ช้ัน นักเรยี น นักเรียน European Framework of Reference for Languages : CEFR) TOEFL เปรยี บเทยี บตารางมาตรฐาน)
ทงั้ หมด เขาสอบ
Pre A1 A1 A2 B1 B2 C1 C2
-
ม.1 56 - ------ -
ม.2 31 -
ม.3 29 - ------ -
ม.4 0 -
ม.5 0 - ------ -
ม.6 0 -
- ------ -
-
- ------ -
-
- ------ -

Page 30 of 52

3. นวัตกรรม/แบบอยางทีด่ ี (Innovation/Best Practice )

ชอื่ นวัตกรรม/แบบอยา งที่ดี ระดบั การศกึ ษา มาตรฐานดา น
ธนาคารโรงเรยี น ระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู รยี น

4. รางวัลท่สี ถานศกึ ษาไดร บั

ชื่อรางวัล ประเภท ระดบั หนว ยงานที่มอบ ปที่ไดรบั
รางวัล รางวลั รางวลั
รางวลั ธนาคารโรงเรียนกิจกรรมสง เสริมการออมยอดเย่ยี ม สถานศึกษา ภาค/ 2562
ประเทศ ธนาคารออมสนิ
รางวัลธนาคารโรงเรยี นกิจกรรมสง เสรมิ การออม ท่มี ยี อดการออมสูงสดุ สถานศึกษา 2562
ภาค/ ธนาคารออมสิน
รางวลั ธนาคารโรงเรยี นกิจกรรมสง เสริมการออม รางวลั ออมดีเดน สาย สถานศึกษา ประเทศ 2564
สามญั ศึกษา -
ภาค/
ประเทศ

5. ดาํ เนินงานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร (ปรับตามนโยบายแตล ะป)

ประเด็นตวั ชว้ี ดั

- พฒั นาผูเ รียนใหม ีทักษะการคิดวเิ คราะห สามารถแกไ ขสถานการณเฉพาะหนาไดอยางมีประสิทธภิ าพ โดยจดั การเรยี นรูเ ชงิ รุก (Active Learning) จากประสบการณ
จริงหรือจากสถานการณจําลองผา นการลงมือปฏบิ ัติ ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคิดเหน็ เพ่ือเปด โลกทศั นม ุมมองรวมกันของผูเรยี นและครูใหม าก
ขึ้น

- พฒั นาผเู รียนใหม คี วามรอบรูและทกั ษะชีวิต เพือ่ เปนเครือ่ งมือในการดาํ รงชีวติ และสรางอาชพี อาทิ การใชเ ทคโนโลยีดจิ ิทัล สขุ ภาวะและทศั นคติทีด่ ีตอ การดแู ล
สุขภาพ

- พฒั นาครูใหมีทักษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเ ทคโนโลยดี ิจิทัล ปญ ญาประดิษฐ และภาษาอังกฤษ รวมท้ังการจดั การเรียนการสอนเพ่อื ฝก ทกั ษะการคิด
วิเคราะหอ ยา งเปนระบบและมเี หตผุ ลเปน ข้นั ตอน

- สงเสริมใหใชภาษาทอ งถิน่ รว มกบั ภาษาไทยเปนสือ่ จดั การเรยี นการสอนในพน้ื ท่ที ่ีใชภาษาอยางหลากหลาย เพอื่ วางรากฐานใหผูเรียนมีพฒั นาการดา นการคดิ
วเิ คราะห รวมทง้ั มที กั ษะการส่อื สารและใชภ าษาที่สามในการตอยอดการเรียนรไู ดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ

- ปลกู ฝงผูเ รยี นใหมหี ลักคิดที่ถกู ตองดา นคณุ ธรรม จริยธรรม และเปน ผมู ีความพอเพยี ง วนิ ัย สจุ รติ จิตอาสา โดยกระบวนการลูกเสือ และยวุ กาชาด

- พัฒนาแพลตฟอรมดิจิทัลเพอ่ื การเรียนรู และใชดิจิทลั เปนเคร่อื งมือการเรยี นรู

- เสริมสรางการรับรู ความเขาใจ ความตระหนกั และสง เสรมิ คณุ ลักษณะและพฤติกรรมทีพ่ ึงประสงคดา นสิ่งแวดลอ ม

- สนบั สนุนกิจกรรมการปองกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบ

Page 31 of 52

6. ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกในรอบของ สมศ. ท่ีผา นมา ระดบั ผลการประเมิน
การประเมนิ รอบท่ี 3
ระดับคณุ ภาพ ผลการรับรอง
ระดบั

ระดบั ปฐมวัย --
ระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
ดี รบั รอง

การประเมินรอบที่ 4 ดานท่ี 1 ดา นที่ 2 ระดับผลการประเมนิ ดานที่ 4 ดานท่ี 5
- - ดา นที่ 3 - -
ระดับ - - -
ดเี ยยี่ ม ดเี ยย่ี ม ดเี ยี่ยม
ระดบั ปฐมวยั
ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

7. หนวยงานภายนอกท่โี รงเรียนเขา รว มเปน สมาชกิ
- สมาคมคณะกรรมการประสานและสง เสริมการศึกษาเอกชน
- สมาคมสภาการศกึ ษาคาทอลกิ แหง ประเทศไทย

Page 32 of 52

สวนท่ี 4 : การประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment)

1. ผลการประเมินรายมาตรฐาน
ระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเ รยี น
จาํ นวนเดก็ ทงั้ หมด : 989

การปฏิบัตงิ าน เปา จาํ นวนเด็กที่ ผลการ ผลการ
หมาย/ ผา นเกณฑท ่ี ประเมิน ประเมิน
ประเดน็ พิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม รอ ยละ (รอย คณุ ภาพ
ปฏิบัติ โรงเรียน
กําหนด (คน) ละ) ท่ไี ด

ผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการของผเู รียน

1. มคี วามสามารถในการอาน การเขียน การสอื่ สาร และการคดิ คํานวณ 87.00 989 100.00 ยอด
เยย่ี ม

1.1 รอ ยละของผเู รียนมีทกั ษะในการอานในแตละระดับชั้นตามเกณฑท ่ีสถาน √ - 989
ศกึ ษากาํ หนด

1.2 รอยละของผูเรียนมีทักษะในการเขยี นในแตละระดับชน้ั ตามเกณฑท ส่ี ถาน √ - 989
ศกึ ษากาํ หนด

1.3 รอยละของผเู รียนมีทักษะในการส่อื สารในแตล ะระดบั ช้ันตามเกณฑท่ี √- 989
สถานศกึ ษากาํ หนด

1.4 รอยละของผูเรยี นมีทักษะในการคิดคํานวณในแตล ะดับช้นั ตามเกณฑที่ √ - 989
สถานศกึ ษากาํ หนด

2. มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห คิดอยางมวี จิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และ 87.00 989 100.00 ยอด
แกป ญ หา เยี่ยม

2.1 รอยละของผูเ รียนมีความสามารถในการคิดจาํ แนกแยกแยะ ใครครวญ √- 989
ไตรต รองอยา งรอบคอบโดยใชเหตผุ ลประกอบการตัดสินใจ

2.2 รอ ยละของผเู รียนมีการอภปิ รายแลกเปลี่ยนความคดิ เห็น √- 989

2.3 รอ ยละของผูเรียนมีการแกปญ หาอยางมีเหตุผล √- 989

3. มีความสามารถในการสรา งนวตั กรรม 87.00 974 98.48 ยอด
เย่ียม

3.1 รอ ยละของผเู รยี นมีความสามารถในการรวบรวมความรูไดท้ังตัวเองและ √ - 974
การทาํ งานเปน ทีม

3.2 รอยละของผูเรียนสามารถเชือ่ มโยงองคค วามรูแ ละประสบการณมาใชใน √ - 974
การสรา งสรรคส ิ่งใหม ๆ อาจเปนแนวความคดิ โครงการ โครงงาน ชน้ิ งาน
ผลผลติ

4. มีความสามารถในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอ่ื สาร 87.00 989 100.00 ยอด
เยย่ี ม

Page 33 of 52

การปฏิบัติงาน เปา จาํ นวนเด็กที่ ผลการ ผลการ
หมาย/ ผานเกณฑท ่ี ประเมนิ ประเมนิ
ประเดน็ พิจารณา ปฏิบตั ิ ไม รอ ยละ (รอย คุณภาพ
ปฏิบตั ิ โรงเรยี น
กาํ หนด (คน) ละ) ที่ได

4.1 รอ ยละของผูเรยี นมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการ √ - 989
ส่อื สาร

4.2 รอยละของผเู รียนมีความสามารถในการนาํ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ √ - 989
ส่ือสารเพอื่ พัฒนาตนเองและสังคมในดานการเรียนรู การสือ่ สาร การทํางาน
อยางสรางสรรค และมีคุณธรรม

5. มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา 87.00 881 89.08 ดีเลิศ

5.1 รอ ยละของผูเรียนบรรลกุ ารเรียนรูตามหลักสตู รสถานศึกษา √- 881

6. มคี วามรูทกั ษะพ้นื ฐาน และเจตคติที่ดตี องานอาชีพ 87.00 989 100.00 ยอด
เย่ียม

6.1 รอยละของผเู รยี นมีความรู ทกั ษะพื้นฐานและเจตคติท่ีดใี นการศึกษาตอ √ - 989

6.2 รอยละของผเู รยี นมคี วามรู ทักษะพ้นื ฐานและเจตคติทดี่ ีในการจัดการ √- 989
การทํางานหรอื งานอาชพี

คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคของผเู รยี น

7. การมีคุณลักษณะและคา นยิ มที่ดีตามทีส่ ถานศกึ ษากําหนด 87.00 989 100.00 ยอด
เยี่ยม

7.1 รอ ยละของผูเรยี นมีพฤติกรรมเปน ผูทมี่ ีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎ √ - 989
กตกิ า

7.2 รอยละของผูเรยี นมีคา นยิ มและจติ สาํ นกึ ตามท่สี ถานศกึ ษากาํ หนด โดยไม √ - 989
ขัดกบั กฎหมายและวัฒนธรรมอนั ดีของสังคม

8. ความภมู ิใจในทองถ่ินและความเปนไทย 87.00 989 100.00 ยอด
เยีย่ ม

8.1 รอยละของผเู รียนมีความภมู ิใจในทองถ่ิน เห็นคุณคาของความเปนไทย √ - 989

8.2 รอยละของผูเ รียนมสี ว นรว มในการอนรุ กั ษว ัฒนธรรมและประเพณไี ทย √ - 989
รวมท้ังภมู ิปญ ญาไทย

9. การยอมรบั ท่ีจะอยรู ว มกนั บนความแตกตางและหลากหลาย 87.00 989 100.00 ยอด
เยย่ี ม

9.1 รอ ยละของผูเรียนยอมรับและอยรู ว มกนั บนความแตกตา งระหวา งบุคคล √ - 989
ในดา นเพศ วยั เชอ้ื ชาติ ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม ประเพณี

10. สุขภาวะทางรา งกายและจิตสังคม 87.00 989 100.00 ยอด
เยี่ยม

10.1 รอยละของผเู รียนมีการรกั ษาสุขภาพกาย สขุ ภาพจิต อารมณแ ละสงั คม √ - 989
และแสดงออกอยางเหมาะสมในแตล ะชว งวัย

Page 34 of 52

การปฏบิ ตั ิงาน เปา จาํ นวนเดก็ ที่ ผลการ ผลการ
หมาย/ ผานเกณฑที่ ประเมนิ ประเมนิ
ประเดน็ พิจารณา ปฏิบัติ ไม รอยละ (รอ ย คณุ ภาพ
ปฏิบตั ิ โรงเรยี น
10.2 รอ ยละของผเู รียนสามารถอยรู ว มกับคนอนื่ อยางมีความสขุ เขา ใจผอู นื่ กาํ หนด (คน) ละ) ที่ได
ไมม ีความขดั แยง กับผูอ นื่
√- 989
สรุปผลการประเมนิ
98.76 ยอด
เยยี่ ม

 

จุดเนนและกระบวนการพฒั นาทส่ี ง ผลตอ ระดับคุณภาพของมาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู รยี น

ดานผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผูเรยี น

1. มีความสามารถในการอา น การเขียน การส่ือสาร และการคดิ คาํ นวณ

1. กระบวนการพัฒนา

สถานศึกษามีการกาํ หนดนโยบายไวใ นพนั ธกิจขอท่ี 1 พฒั นาคณุ ภาพผเู รยี น ขอ ที่ 3 พัฒนากระบวนการจดั การเรยี นรใู หม ปี ระสทิ ธภิ าพและขอ ท่ี 5 พัฒนาการจัดการ
เรียนรทู ี่มุง ใหผูเรียนมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากลมีทักษะพ้ืนฐานของเด็กไทยในศตวรรษที่ 21 (การใชภาษาเพ่ือการส่ือสาร, การคดิ คาํ นวณ, คิดวเิ คราะห, นําเสนอผล
งาน)

กลยุทธขอท่ี 1 พัฒนาคุณภาพผูเรยี น ขอ ที่ 3 พฒั นากระบวนการจัดการเรยี นรทู เ่ี นนผูเรียนเปน สําคญั และขอ ที่ 6 สงเสริมมาตรการตามแนวปฏริ ูปการศกึ ษา

1.1 ในดา นการจัดการเรยี นรู  สถานศกึ ษาไดกาํ หนดใหครจู ัดการเรียนการสอนท่เี นน การอาน การเขยี น การส่ือสาร ในกลุมสาระการเรยี นรูต างๆ คอื ภาษาไทย

ภาษาตา งประเทศ และจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน การคดิ คํานวณ ในกลมุ สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร

2. ผลการดาํ เนินงาน

จากการดาํ เนนิ งานในดา นการจัดการเรยี นรูและการจดั โครงการ/กจิ กรรมเสริมตามทรี่ ะบุไว สงผลใหผ ูเรียนมีทกั ษะในดานการอาน การเขยี น และการสอ่ื สาร แตล ะ
ระดบั ชั้นไดต ามเกณฑท ส่ี ถานศึกษากําหนด สามารถใชภาษาไทย และภาษาองั กฤษเพอ่ื การสือ่ สารในชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสม ผเู รียนสามารถแสวงหาความรู
ดว ยตนเองจากแหลง เรียนรแู ละสอ่ื ตางๆรอบตวั สามารถใชดิจทิ ลั แพลตฟอรมเพื่อการเรยี นรูและเปนเครื่องมอื การเรียนรู มีทกั ษะการคิดคํานวณ การวิเคราะหโ จทย
ปญ หา และสามารถนําความรูทไ่ี ดรบั ไปใชป ระโยชนใ นการเรียนรูไ ดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ

2.1 ผลการประเมนิ คุณภาพผูเ รียนรายบุคคล (ปพ.5) ของผเู รยี นทีม่ ีผลการเรยี นระดับ 3 ข้นึ ไป
2.2 โครงการทเ่ี ก่ยี วของ

      1. โครงการขุมทรัพยแ หง ปญญา

      2.  โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น

      3.  โครงการสงเสริมความรู ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี และนวัตกรรมของฝายบริหาร ครแู ละนกั เรียน

      4.  โครงการพัฒนาคุณภาพผเู รียนตามมาตรฐานสากลในศตวรรษที่ 21

      2. มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ยี นความคดิ เห็นและแกป ญ หา
1. กระบวนการพฒั นา

สถานศึกษามีการกําหนดนโยบายไวใ นพันธกิจขอที่ 1 พฒั นาคณุ ภาพผเู รยี น ขอท่ี 3 พัฒนากระบวนการจัดการเรยี นรูใหมปี ระสิทธภิ าพ และ ขอ ท่ี 5 พฒั นาการจัดการ
เรียนรูที่มุงใหผูเรยี นมีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากล มที กั ษะพน้ื ฐานของเด็กไทยในศตวรรษท่ี 21 (การใชภ าษาเพ่อื การสือ่ สาร, การคดิ คาํ นวณ, คดิ วิเคราะห, นาํ เสนอผล
งาน)

กลยุทธขอ ท่ี 1 พฒั นาคณุ ภาพผเู รยี น ขอที่ 3 พัฒนากระบวนการจดั การเรยี นรูท ่ีเนน ผเู รยี นเปนสําคญั และขอ ที่ 5 สงเสริมมาตรการตามแนวปฏิรปู การศกึ ษา

1.1 ในดานการจัดการเรียนร ู สถานศึกษาไดกาํ หนดใหครจู ัดการเรยี นการสอนท่เี นนการคดิ วิเคราะห การอภปิ รายแลกเปลี่ยนความคดิ เห็น การแกป ญหา ในทุก

กลุมสาระการเรียนรู

2. ผลการดาํ เนนิ งาน

Page 35 of 52

จากการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนของครทู ไี่ ดจ ัดทําแผนการจดั การเรยี นรู ท่ีเนนใหผเู รียนไดฝ ก ทักษะการคดิ วิเคราะห และการแกปญ หาในสถานการณตา งๆ สง ผล
ใหผ ูเรียนมีทกั ษะดา นการคิดวิเคราะห เขียนสื่อความ และมีทักษะดานการคดิ วิเคราะห เขียนสอ่ื ความ และมีทักษะในการใชเหตผุ ลในการอภิปรายแสดงความคดิ เหน็
อยางสรา งสรรค และครูไดม ีกจิ กรรม/โครงการตางๆ ที่สงเสรมิ ใหนกั เรยี นไดม ีทักษะดา นการคิด และปฏิบตั อิ ยางเปน กระบวนการ สามารถนาํ ความรทู ไี่ ดร บั ไปปรบั ใชใ น
การเรียนรูวิชาอืน่ ๆ ไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ

2.1 โครงการทเ่ี กี่ยวขอ ง

      1. โครงการขุมทรพั ยแ หงปญ ญา

      2.  โครงการยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน

      3.  โครงการสง เสริมความรู ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยแี ละนวัตกรรมของฝายบริหาร ครู และนักเรยี น

      4.  โครงการพัฒนาคณุ ภาพผูเ รยี นตามมาตรฐานสากลในศตวรรษที่ 21

      3. มคี วามสามารถในการสรา งนวตั กรรม
1. กระบวนการพัฒนา

สถานศึกษามีการกําหนดนโยบายไวในพนั ธกจิ ขอท่ี 1 พฒั นาคณุ ภาพผูเรยี น  ขอ ท่ี 3 พฒั นากระบวนการจัดการเรยี นรใู หม ีประสทิ ธภิ าพ และ ขอ ที่ 5 พฒั นาการจัดการ
เรียนรทู ่มี ุงใหผูเรียนมคี ุณภาพตามมาตรฐานสากล มีทกั ษะพื้นฐานของเด็กไทยในศตวรรษที่ 21 (การใชภ าษาเพ่ือการสือ่ สาร, การคิดคํานวณ, คดิ วิเคราะห, นาํ เสนอผล
งาน)

กลยุทธข อที่ 1 พัฒนาคุณภาพผูเ รยี น  ขอ ท่ี 3 พฒั นากระบวนการจัดการเรียนรทู เ่ี นน ผเู รยี นเปนสาํ คัญ และ ขอ ท่ี 5 สงเสรมิ มาตรการตามแนวปฏริ ปู การศกึ ษา

1.1 ในดานการจดั การเรียนร ู สถานศกึ ษาไดกําหนดใหครูจัดการเรียนการสอนทีเ่ นนการสรางผลงาน นวตั กรรม โครงงาน ในกลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรแ ละ
เทคโนโลยี และกลมุ สาระการเรยี นรกู ารงานอาชีพ

2. ผลการดําเนินงาน

จากการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนของครทู ีไ่ ดจัดการเรียนรู ท่เี นนใหผเู รียนไดฝ กทักษะดานการสรางผลงานหรอื นวตั กรรม สง ผลใหผูเรียนมที กั ษะ สามารถนาํ ความรู
ที่ไดร บั ไปฝกฝน เพือ่ สรางผลงานหรือนวัตกรรมตอไป

2.1  โครงการที่เกีย่ วขอ ง
       1. โครงการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน

       2.  โครงการสงเสริมความรู ความสามารถในการใชเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมของฝา ยบรหิ าร ครูและนักเรยี น

       3.  โครงการพัฒนาคณุ ภาพผเู รยี นตามมาตรฐานสากลในศตวรรษที่ 21

       4. มีความสามารถในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร
1. กระบวนการพัฒนา

สถานศึกษามีการกาํ หนดนโยบายไวใ นพันธกิจขอ ที่ 4 สงเสรมิ การบรหิ ารจดั การ การจดั การเรียนรู การใชเทคโนโลยี นวัตกรรม ใหม ีประสิทธภิ าพ  ขอท่ี 5 พัฒนาการ
จัดการเรยี นรูทม่ี งุ ใหผเู รียนมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากล มีทักษะพ้ืนฐานของเดก็ ไทยในศตวรรษท่ี 21 (การใชภาษาเพอื่ การสื่อสาร, การคิดคาํ นวณ, คดิ วเิ คราะห, นํา
เสนอผลงาน)

กลยุทธขอที่ 8 ฝายบริหาร มีความรู ความสามารถในการใชเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมในการบรหิ ารจดั การ ครมู ีความรคู วามสามารถในการใชเ ทคโนโลยีและนวตั กรรม
เพ่ือใชใ นการจัดการเรยี นรู และผูเรียนมคี วามสามารถใชเทคโนโลยี เพือ่ คน ควาหาความรู สรา งชิ้นงานและนาํ เสนอผลงาน และขอท่ี 5 สง เสรมิ มาตรการตามแนวปฏิรูป
การศกึ ษา

1.1 ในดานการจดั การเรียนร ู สถานศึกษาไดก าํ หนดใหครูจดั การเรยี นการสอนท่เี นน ทกั ษะการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอ่ื สารในกลมุ สาระการเรียนรู

วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

2. ผลการดาํ เนนิ งาน

จากการจดั การเรียนการสอน และดาํ เนนิ งานตามโครงการ/กิจกรรม ตามที่ระบไุ ว สง ผลใหผเู รยี นมที กั ษะในดา นการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร สามารถใช
เทคโนโลยใี นชีวติ ประจําวันไดอยา งเหมาะสม ผูเรียนสามารถใชเทคโนโลยใี นการแสวงหาความรูดวยตนเองอยางมีประสทิ ธิภาพ

2.1 โครงการทีเ่ กี่ยวของ

    1. โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น

    2. โครงการสงเสรมิ ความรู ความสามารถในการใชเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมของฝายบริหาร ครแู ละนกั เรียน

    3.  โครงการพัฒนาคณุ ภาพผเู รยี นตามมาตรฐานสากลในศตวรรษที่ 21

    5. มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา
1. กระบวนการพฒั นา

Page 36 of 52

สถานศึกษากาํ หนดนโยบายไวใ นพันธกิจขอ ท่ี 1 พัฒนาคุณภาพผเู รียน  ขอ ท่ี 3 พัฒนากระบวนการจดั การเรยี นรใู หม ปี ระสิทธิภาพ และขอ ท่ี 5 พัฒนาการจดั การเรียนรู
ที่มงุ ใหผูเรียนมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากล มีทักษะพน้ื ฐานของเด็กไทยในศตวรรษที่ 21 (การใชภาษาเพ่อื การสอื่ สาร, การคดิ คํานวณ, คิดวิเคราะห, นําเสนอผลงาน) 
กลยุทธขอ ที่ 1 พฒั นาคณุ ภาพผเู รียน  ขอที่ 3 พัฒนากระบวนการจัดการเรยี นรทู เ่ี นนผเู รียนเปน สําคญั และขอ ที่ 5 สง เสรมิ มาตรการตามแนวปฏริ ูปการศกึ ษา
1.1 ในดา นการจัดการเรียนรู  สถานศกึ ษาไดก าํ หนดใหค รจู ดั การเรยี นการสอนทส่ี ง เสรมิ ผเู รียนในดา นผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน รวมท้งั การทดสอบระดบั ชาติ O-NET ป.6
และ ม.3, NT ป.3, RT ป.1 คอื
- ระดบั ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 และมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 จดั ใหม ชี ่ัวโมงติว O-NET ในวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และภาษาอังกฤษ โดยการนําแนวขอสอบ
O-NET สอนเสริมใหกบั นกั เรยี นตลอดปการศกึ ษา (Online)
- ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 3 จดั ใหม ชี ่วั โมงตวิ ในวชิ าภาษาไทยและคณิตศาส ตร โดยมีการนําแนวขอ สอบมาสอนเสรมิ ใหกบั นักเรยี นในภาคเรยี นที่ 2 (Online)
- ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที่ 1 มกี ารสอนเสริมดานการอานใหกับนกั เรยี นในคาบเรียนซอ มเสรมิ (15.00-16.00) ทกุ วัน

2. ผลการดําเนินงาน

จากการจัดการเรียนการสอนตา งๆ สงผลใหผ เู รยี นมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น (ดงั ตารางแนบ)

2.1 โครงการท่ีเกี่ยวของ

      1. โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
      2.  โครงการสง เสรมิ ความรู ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยแี ละนวัตกรรมของฝายบรหิ าร ครูและนกั เรียน
      3.  โครงการขุมทรพั ยแหงปญญา
      4.  โครงการพฒั นาคณุ ภาพผูเ รียนตามมาตรฐานสากลในศตวรรษที่ 21

      6. มคี วามรทู กั ษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ดี่ ใี นการจัดการ การทํางานหรอื อาชพี
1. กระบวนการพัฒนา

สถานศกึ ษากาํ หนดนโยบายไวในพันธกิจขอ ที่ 3 พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรใู หม ปี ระสิทธิภาพ  ขอที่ 4 สงเสรมิ การบริหารจัดการ การจดั การเรียนรู การใช
เทคโนโลยี นวตั กรรม ใหม ีประสทิ ธภิ าพ  ขอท่ี 5 พฒั นาการจัดการเรยี นรูท ม่ี ุงใหผูเ รยี นมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากล มีทกั ษะพ้นื ฐานของเดก็ ไทยในศตวรรษท่ี 21 (การ
ใชภ าษาเพ่ือการสื่อสาร, การคดิ คาํ นวณ, คดิ วเิ คราะห, นาํ เสนอผลงาน)
กลยุทธข อท่ี 1 พฒั นาคณุ ภาพผูเรยี น  ขอ ท่ี 3 พัฒนากระบวนการจัดการเรยี นรูท ี่เนนผูเ รยี นเปนสําคัญ และขอท่ี 5 สง เสรมิ มาตรการตามแนวปฏิรปู การศึกษา

1.1 ในดานการจัดการเรยี นร ู สถานศกึ ษาไดก าํ หนดใหค รจู ัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน ทกั ษะความพรอ มในการศึกษาตอ และทักษะชีวิตในศตวรรษท่ี 21
1.2  มแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรม  ทีส่ งเสรมิ ทกั ษะความพรอ มในการศกึ ษาตอ คือ  กจิ กรรมแนะแนว
2. ผลการดาํ เนินงาน

จากการจัดกจิ กรรมตามที่ระบไุ ว สง ผลใหผ เู รียนมเี จตคติที่ดีตอ งานอาชพี ในแตละระดับชนั้ สามารถนําความรูท่ไี ดรับไปใชใ นชวี ติ ประจําวนั ไดอยางเหมาะสม สามารถนาํ
ความรูทไ่ี ดไ ปตอ ยอดใหเ กดิ ประโยชนไดในอนาคต

ดานคุณลักษณะท่พี ึงประสงคข องผเู รียน
      1. การมคี ุณลักษณะและคานยิ มที่ดีตามที่สถานศกึ ษากาํ หนด
1. กระบวนการพัฒนา

สถานศกึ ษากําหนดนโยบายไวใ นพันธกิจขอที่ 1 พัฒนาคุณภาพผูเรยี น   เปา หมายขอท่ี 2 ผเู รียนมีคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงคตามทีห่ ลกั สตู รกําหนด

สถานศกึ ษากําหนดคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงคไ ว 9 ประการ คอื

       1. รักชาติ ศาสน กษตั รยิ 
       2. ซ่อื สตั ยสุจริต
       3. มีวินยั
       4. ใฝเ รยี นรู
       5. อยูอ ยางพอเพียง
       6. มุงม่ันในการทํางาน
       7. รักความเปน ไทย
       8. มีจิตสาธาณะ
       9. มีมารยาทงามอยางไทย

1.1 ในดานการจัดการเรียนร ู สถานศึกษาไดกาํ หนดใหค รจู ัดการเรียนการสอนท่ีเนน สง เสรมิ ตามคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค 9 ประการทง้ั 8 กลมุ สาระการเรยี นรู

Page 37 of 52

2. ผลการดําเนนิ งาน

จากการดาํ เนนิ งานการจัดการเรยี นการสอนตามท่ีระบไุ ว สง ผลใหผูเ รียนมคี ณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคท้งั 8 กลมุ สาระการเรยี นรู (คุณภาพระดบั ดี ขน้ึ ไป) คิดเปน รอ ยละ
100

2.1 กิจกรรม/โครงการทเี่ กย่ี วขอ ง

      1. โครงการคุณธรรมนาํ ชวี ติ

      2. กจิ กรรมธนาคารโรงเรียน

      3. โครงการพัฒนาคณุ ภาพผูเรียนตามมาตรฐานสากลในศตวรรษท่ี 21

      2. มคี วามภูมิใจในทองถนิ่ และความเปนไทย
1. กระบวนการพัฒนา

สถานศกึ ษากาํ หนดนโยบายเก่ยี วกบั การสง เสริมเรือ่ งความภมู ใิ จในทองถิน่ และความเปน ไทยไวใ นพนั ธกิจขอ ที่ 1 พฒั นาคุณภาพผเู รยี น เปาหมายที่ 3 ผูเรียนมพี ฤตกิ รรม
และลักษณะของความเปน ไทย

1.1 ในดานการจัดการเรยี นร ู สถานศกึ ษาไดก าํ หนดใหครจู ัดการเรียนการสอนท่เี นนสงเสริมความภมู ิใจในทองถิน่ และความเปน ไทย ในกลมุ สาระการเรียนรู

สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน (กิจกรรมชมุ นุม) และในกิจกรรมวนั สําคัญตางๆของไทย

2. ผลการดําเนินงาน

จากการดาํ เนนิ งานการจดั การเรียนการสอน และโครงการ/กจิ กรรมตามทร่ี ะบุไว สงผลใหผูเรียนมีคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค ในกลุมสาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม (คุณภาพระดบั ดีขึน้ ไป) คิดเปนรอยละ 100 กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน (กิจกรรมชมุ นุม) ผา นรอยละ 100 และวันสาํ คัญตางๆของไทย (คุณภาพระดับดีขนึ้
ไป)

2.1 กจิ กรรม/โครงการทเ่ี กี่ยวขอ ง

      1. โครงการคณุ ธรรมนําชีวติ

      2. กจิ กรรมชมุ นมุ (ชุมนมุ มารยาทไทย)

      3. โครงการมารยาทงามอยางไทย ใสใ จภาษา

      3. การยอมรบั ทจ่ี ะอยูร ว มกนั บนความแตกตางและหลากหลาย
1. กระบวนการพัฒนา

สถานศกึ ษากาํ หนดนโยบายไวใ นพันธกจิ ขอ ที่ 1 พฒั นาคุณภาพผเู รยี น  เปา หมายขอท่ี 2 นักเรียนมคี ณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคต ามทีห่ ลักสูตรกําหนด

1.1 ในดา นการจัดการเรียนรู

สถานศึกษาไดกําหนดใหค รูจดั การเรยี นการสอนท่เี นน สงเสรมิ การยอมรบั ทจ่ี ะอยูรวมกันบนความแตกตา งและหลากหลาย ในกลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา
และวฒั นธรรม

1.2 มีโครงการ/กจิ กรรมทีส่ ง เสริมการอยรู ว มกัน  คือ

     1. แผนงานกิจกรรมพฒั นาผเู รยี น   ประกอบดว ย

         - กจิ กรรมยวุ กาชาด

         - กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน  (MHK Volunteer)

     2. โครงการคณุ ธรรมนาํ ชีวิต

     3. โครงการพัฒนาคุณภาพผเู รียนตามมาตรฐานสากลในศตวรรษท่ี 21

2. ผลการดําเนนิ งาน

จากการดาํ เนนิ งานการเรียนการสอน กจิ กรรมชุมนมุ และโครงการ/กิจกรรมตามทรี่ ะบุไว สง ผลใหผเู รียนมกี ารยอมรับ ทจ่ี ะอยรู วมกันบนความแตกตา งและหลากหลาย

2.1 กิจกรรม/โครงการที่เกย่ี วขอ ง

      1. โครงการคณุ ธรรมนาํ ชีวิต

      2. กจิ กรรมยวุ กาชาด

      3. กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน (KRK Volunteer)

      4. โครงการพฒั นาคุณภาพผูเรยี นตามมาตรฐานสากลในศตวรรษท่ี 21

      4. สุขภาวะทางรางกายและจติ สังคม
1. กระบวนการพฒั นา

Page 38 of 52

สถานศกึ ษากําหนดนโยบายไวในพนั ธกิจขอ ท่ี 1 พฒั นาคณุ ภาพผเู รียน เปา หมายขอที่ 2 นักเรยี นมคี ณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคต ามที่หลักสูตรกําหนด

1.1 ในดา นการจัดการเรยี นรู

สถานศึกษาไดก าํ หนดใหค รูจัดการเรียนการสอนที่เนนสงเสรมิ สุขภาวะทางรา งกายและจิตสงั คม ในกลุมสาระการเรยี นรูสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา และกิจกรรมแนะแนว

1.2 มีกิจกรรม/โครงการทส่ี ง เสริมการอยูรวมกัน  คือ

      1. กิจกรรมแนะแนว
      2. กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน (MHK Volunteer)
      3. กิจกรรมสง เสรมิ สนุ ทรียภาพดานกฬี า

2. ผลการดาํ เนินงาน

จากการดําเนินงานจดั การเรียนการสอน กิจกรรมแนะแนว และกจิ กรรม/โครงการตามที่ระบุไว สงผลใหผเู รียนมีสขุ ภาวะทางรางกายและจติ สังคม (คุณภาพระดับดีขึ้น
ไป)

2.1 กิจกรรม/โครงการทเี่ ก่ยี วขอ ง

      - กจิ กรรมแนะแนว
      - กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน (MHK Volunteer)
      - กจิ กรรมสงเสริมอนามัยโรงเรยี น
      - กิจกรรมสงเสรมิ สุนทรียภาพดานกฬี า

Page 39 of 52

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
เปาหมาย 5 ขอ

การปฏบิ ัตงิ าน ผลการ

ประเด็นพจิ ารณา ไม ผล ประเมนิ
ปฏบิ ตั ิ
ปฏิบตั ิ สาํ เร็จ คุณภาพที่
ได

1. มเี ปา หมายวิสัยทัศนและพนั ธกิจที่สถานศกึ ษากําหนดชดั เจน 5.00 ยอดเยย่ี ม

1.1 กําหนดเปา หมายทส่ี อดคลอ งกบั บริบทของสถานศึกษา ความตองการของชุมชน ทองถ่ิน √-
วตั ถปุ ระสงคข องแผนการศกึ ษาชาติ นโยบายของรฐั บาลและตนสังกัด

1.2 กําหนดวิสยั ทศั น และพันธกิจ ทีส่ อดคลอ ง เชอื่ มโยงกบั เปา หมาย แผนยุทธศาสตรชาติ แผนการ √ -
ศึกษาแหง ชาติ นโยบายของรฐั บาลและตนสงั กดั

1.3 กาํ หนดเปา หมาย วิสยั ทศั น และพนั ธกิจ ทนั ตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม √-

1.4 นาํ เปา หมาย วสิ ัยทัศน และพนั ธกจิ ผานความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น √-

1.5 นาํ เปาหมาย วิสัยทศั น และพนั ธกิจของโรงเรยี นเผยแพรตอสาธารณชน √-

2. มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา 5.00 ยอดเย่ยี ม

2.1 มกี ารวางแผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาอยา งเปน ระบบ √-

2.2 มีการนําแผนไปปฏบิ ัติ ตดิ ตามตรวจสอบประเมนิ ผลและปรับปรงุ พฒั นางานอยา งตอเน่ือง √-

2.3 มกี ารบรหิ ารอัตรากําลัง ทรัพยากรทางการศกึ ษาจดั ระบบดูแลชวยเหลือนกั เรยี น และระบบการ √ -
นิเทศภายใน

2.4 สถานศกึ ษามีการนาํ ขอมูลมาใชในการพฒั นาสถานศกึ ษา √-

2.5 สถานศกึ ษาใหบ คุ ลากรและผูทีเก่ียวของทุกฝายมีสวนรว มในการวางแผน ปรบั ปรุง พัฒนา และ √ -
รวมรบั ผดิ ชอบตอ ผลการจัดการศึกษา

3. ดําเนนิ งานพฒั นาวิชาการทเี่ นน คุณภาพผูเรยี นรอบดา นตามหลักสูตรสถานศึกษาและทกุ กลุมเปาหมาย 5.00 ยอดเยี่ยม

3.1 บรหิ ารจดั การเกีย่ วกับงานวชิ าการ ในดา นการพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา √-

3.2 บรหิ ารจัดการเกย่ี วกับงานวิชาการ ในดา นการพัฒนาหลักสูตรตามความตองการของผเู รียน ที่ √-
สอดคลองกบั บรบิ ทของสถานศึกษา ชมุ ชน และทองถน่ิ

3.3 บริหารจดั การเกีย่ วกบั กิจกรรมเสริมหลกั สตู รที่เนนคณุ ภาพผเู รียนรอบดา นเชอื่ มโยงวิถีชวี ติ จรงิ √ -

3.4 กําหนดหลกั สตู รสถานศกึ ษาครอบคลมุ การจัดการเรียนการสอนทุกกลุมเปาหมาย √-

3.5 สถานศกึ ษามกี ารปรับปรงุ และพฒั นาหลกั สูตรใหทนั ตอ การเปล่ียนแปลงของสงั คม √-

4. พัฒนาครูและบุคลากรใหม ีความเชย่ี วชาญทางวิชาชีพ 5.00 ยอดเย่ยี ม

4.1 สงเสรมิ สนับสนุน พฒั นาครู บคุ ลากร ใหมคี วามเชีย่ วชาญทางวชิ าชพี √-

4.2 จดั ใหมชี มุ ชนการเรยี นรทู างวชิ าชีพ √-

4.3 นาํ ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชพี เขามาใชในการพัฒนางานและการเรียนรขู องผเู รยี น √-

Page 40 of 52

การปฏิบตั ิงาน ผลการ

ประเด็นพิจารณา ไม ผล ประเมนิ
ปฏิบตั ิ
ปฏบิ ัติ สําเรจ็ คณุ ภาพที่
ได

4.4 มีการตรวจสอบ ทบทวน การปฏบิ ตั งิ านของครู บคุ ลากร ท่ีมผี ลตอการเรียนรขู องผูเ รยี น √-

4.5 ถอดบทเรียนเพอื่ สรางนวัตกรรมหรอื วธิ กี ารท่ีเปนแบบอยา งทีด่ ที ีส่ ง ผลตอการเรียนรขู องผูเรียน √ -

5. จัดสภาพแวดลอ มทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอการจัดการเรียนรูอยา งมคี ุณภาพ 5.00 ยอดเยยี่ ม

5.1 จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพภายในหอ งเรียน ที่เอ้อื ตอการเรียนรู และคาํ นงึ ถึงความปลอดภยั √ -

5.2 จัดสภาพแวดลอ มทางกายภาพภายนอกหองเรียนทีเ่ ออ้ื ตอการเรียนรู และคํานึงถงึ ความปลอดภัย √ -

5.3 จัดสภาพแวดลอมท่สี งเสรมิ ใหผ เู รยี นเกดิ การเรียนรเู ปนรายบุคคล และเปนกลมุ √-

5.4 จัดสภาพแวดลอมทางสังคม ท่ีเอ้ือตอ การจัดการเรยี นรู และมีความปลอดภยั √-

5.5 จัดใหผ เู รยี นไดใ ชป ระโยชนจากการจดั สภาพแวดลอ มตามศกั ยภาพของผูเรยี น √-

6. จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู 5.00 ยอดเยี่ยม

6.1 ไดศ ึกษาความตองการเทคโนโลยีสารสนเทศทเี่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา √-

6.2 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหารจดั การและการจัดการเรียนรทู ีเ่ หมาะสมกับสภาพของ √ -
สถานศึกษา

6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ บริหารจดั การและการจัดการเรียนรทู ่ีเหมาะสมกับสภาพ √ -
ของสถานศึกษา

6.4 ใหบรกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใชในการบรกิ ารจัดการและการจดั การเรียนรทู เี่ หมาะสมกับ √ -
สภาพของสถานศึกษา

6.5 ติดตามผลการใชบ ริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษาเพอ่ื ใชในการบรกิ ารจัดการ √ -
และการจัดการเรียนรูที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา

สรุปผลการประเมนิ 5.00 ยอดเยี่ยม

 

จุดเนนและกระบวนการพฒั นาทส่ี งผลตอ ระดบั คุณภาพของมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

       1. มเี ปาหมาย วิสัยทศั นแ ละพนั ธกจิ ที่สถานศกึ ษากําหนดชัดเจน
1. กระบวนการพฒั นา

สถานศกึ ษากําหนดนโยบายเพ่ือวางแผนพฒั นาองคก รไวในแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ปการศึกษา 2563-2565 โดยมกี ารกําหนดคาเปา หมาย วสิ ัยทัศน พนั ธ
กิจอยางชัดเจน สามารถดําเนินงานพัฒนาดานวชิ าการทีเ่ นน คณุ ภาพผูเ รยี นทกุ กลุมเปาหมายอยางรอบดานตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา ดานพฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหมี
ความเชีย่ วชาญทางการสอน มรี ะบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื สนับสนนุ การสอน และการบรหิ ารจัดการ รวมทงั้ ปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ มภายในโรงเรียน มกี ารบรหิ าร
จดั การทเี่ ปนระบบท้งั ในสว นการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา นาํ ไปสกู ารจัดทาํ แผนปฏิบตั ิการประจําป ปก ารศึกษา 2564 เพื่อดาํ เนนิ การใหเปนไปตามแผนท่วี าง
ไว มีการตดิ ตามตรวจสอบประเมนิ ผลทกุ กิจกรรม เพือ่ นาํ ขอ มลู ไปสงเสริมพัฒนาในปการศกึ ษา 2565

ดาํ เนินการพัฒนาตามนโยบาย มีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม  คือ

- จดั ทําแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา

- จดั ทาํ แผนปฏบิ ัติการประจาํ ป

- จัดทาํ ปฏิทนิ งาน

Page 41 of 52

- กํากบั ติดตามการดาํ เนนิ งานและรายงานผล

2. ผลการดาํ เนินงาน

มกี ารเสนอขอความเห็นชอบ/อนมุ ัติ ในการใช

2.1 แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปก ารศึกษา 2563-2565 โดย นายบวั ทอง บุญทอด ประธานคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน

2.2 แผนปฏบิ ตั ิการประจําป ปฏทิ ินงาน ปก ารศึกษา 2564 โดยนางสาวกนั ตนิ ันท  แสนทํานา ผูอํานวยการโรงเรยี น

2.3 มีเปา หมาย วิสัยทศั น และพนั ธกจิ ที่สถานศกึ ษากาํ หนดไวในแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ปก ารศึกษา 2563-2565 ชดั เจน

สอดคลอ ง เชอ่ื มโยงกบั เปาหมาย แผนยุทธศาสตรชาติ แผนการศกึ ษาชาติ นโยบายของรัฐและตนสังกดั

2.4 มกี ารกําหนดเปา หมาย วิสยั ทัศน และพันธกิจใหทนั ตอ การเปลย่ี นแปลงของสังคม และไดรบั ความพึงพอใจจากผทู ่ีมสี ว นเก่ียวของทกุ ฝา ย

2.5 มีระบบกํากบั ติดตามการดําเนินงานและรายงานผลอยางตอ เนอ่ื ง

      2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา

1. กระบวนการพฒั นา

สถานศึกษากาํ หนดนโยบายไวใ นพันธกิจขอ ท่ี 2 พัฒนาระบบบรหิ าร การบริหารจัดการศึกษา เปา หมายขอที่ 4 โรงเรียนมีการบริหารจดั การทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ กลยุทธข อ
ท่ี 2 พัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการศกึ ษาใหเปน ระบบ

2. ผลการดําเนนิ งาน

2.1 มีการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาอยา งเปน ระบบทกุ ๆ 3 ป บุคลากรและผูทม่ี ีสวนเกี่ยวขอ งทุกฝายมสี วนรวมในการวางแผน ปรบั ปรุง พฒั นา และรว ม
รับผิดชอบตอ ผลการจดั การศึกษา

2.2 มกี ารนําแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาไปปฏิบตั ิ โดยจดั ทาํ เปนแผนปฏบิ ตั ิการประจําป มกี ารตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล รายงานผล หลงั จากดาํ เนินการ
เสรจ็ สนิ้ และนาํ ผลไปปรับปรงุ พัฒนางานอยางตอ เนือ่ ง

2.3 มีการบรหิ ารอัตรากําลงั ครบตามเกณฑกําหนด มกี ารบรหิ ารทรพั ยากรทางการศกึ ษา มีการจัดระบบดูแลชวยเหลอื นกั เรียน และระบบการนิเทศภายในทกุ ปการ
ศกึ ษา

3. โครงการท่เี กีย่ วของ

    1. โครงการโรงเรียนนาอยู

    2. โครงการนเิ ทศภายใน

    3. โครงการพฒั นาผูเรียนตามมาตรฐานสากลในศตวรรษท่ี 21

    3. ดาํ เนินงานพฒั นาคุณภาพวิชาการที่เนนคุณภาพผเู รียนรอบดานตามหลักสูตรสถานศกึ ษาและทกุ กลมุ เปา หมาย
1. กระบวนการพัฒนา

สถานศกึ ษากาํ หนดนโยบายไวในพันธกจิ ขอ ที่ 2 พัฒนาระบบบริหารการจัดการศกึ ษา เปา หมายขอ ที่ 4 โรงเรียนมีการบรหิ ารจดั การทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ กลยุทธขอ ที่ 2
พฒั นาคุณภาพการบริหารจัดการศึกษาใหเปนระบบ กลยทุ ธข อ ที่ 3 พฒั นากระบวนการจัดการเรียนรทู ่ีเนน ผูเรยี นเปนสาํ คญั

2. ผลการดําเนนิ งาน

มกี ารบรหิ ารจัดการเกย่ี วกับงานวิชาการ ในดานหลกั สูตรสถานศกึ ษาทุกปการศกึ ษา โดยยึดหลกั ใหส อดคลอ งกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการการ
ศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน และหนว ยงานตนสงั กดั ทนั ตอการเปลย่ี นแปลงของสงั คม ซึ่งหลักสตู รมุงเนนตามความตองการของผูเรียนทกุ กลมุ เปา หมาย อยา งรอบดา น สอดคลอง
กับบริบทของสถานศึกษา ชมุ ชน ทอ งถน่ิ และวถิ ีชีวิต

     4. พัฒนาครูและบุคลากรใหม คี วามเช่ียวชาญทางวชิ าชพี
1. กระบวนการพัฒนา

สถานศึกษากําหนดนโยบายไวในพนั ธกิจขอที่ 2 พัฒนาระบบบรหิ ารการจดั การศกึ ษา พนั ธกจิ ขอ ที่ 3 พัฒนากระบวนการจัดการเรยี นรูใหมปี ระสทิ ธิภาพ เปา หมายขอ ท่ี
4 โรงเรียนมกี ารบริหารจดั การที่มปี ระสิทธภิ าพ เปา หมายขอท่ี 6 ครมู คี วามรูความสามารถในการจดั การเรียนรทู ่ีเนนผูเรยี นเปน สาํ คัญ สอดคลองกบั บริบทของโรงเรียน
ชมุ ชน เปาหมายขอที่ 7 ครูผูส อนพัฒนาตนเอง ปฏิบตั ิงานตามบทบาทหนา ท่อี ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเปนแบบอยางที่ดี กลยุทธข อที่ 2 พัฒนา
คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการศกึ ษาใหเปนระบบ กลยทุ ธขอ ที่ 3 พฒั นากระบวนการจัดการเรียนรทู ี่เนน ผเู รยี นเปน สําคญั

2. ผลการดําเนินงาน

2.1 มีการสงเสริม สนบั สนนุ พัฒนาครู บุคลากร ใหมคี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ

2.2 จัดใหมีชุมชนการเรยี นรทู างวชิ าชพี (PLC) ในโรงเรยี นโดยผูบรหิ ารและครูมกี ารประชุม ปรึกษาหารอื ในฝายบริหาร ในกลมุ สาระการเรียนรู การนเิ ทศชน้ั เรยี น การ
ประชมุ สามัญประจาํ เดอื น การแบงปนความรู/ประสบการณจากการเขารบั การอบรม/การสัมมนา ศกึ ษาดูงาน

2.3 มกี ารนิเทศภายใน เพอ่ื ตรวจสอบ ทบทวน การปฏิบัตงิ านของครู บคุ ลากร ทีม่ ีผลตอ การเรียนรขู องผูเ รียน

Page 42 of 52

2.4 มีการวางแผนทีจ่ ะพัฒนา การถอดบทเรยี น เพื่อสรางนวตั กรรมหรือวธิ ีการท่ีเปน แบบอยา งท่ดี ีที่จะสงผลตอการเรียนรขู องผเู รยี น

     5. มกี ารจดั สภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมทเี่ อ้อื ตอ การจัดการเรียนรูอยางมีคณุ ภาพ
1. กระบวนการพฒั นา

สถานศึกษากําหนดนโยบายไวใ นพนั ธกจิ ขอท่ี 2 พฒั นาระบบบริหารการจัดการศกึ ษา เปาหมายขอท่ี 4 โรงเรียนมกี ารบริหารจัดการทเ่ี ปน ระบบแบบมสี ว นรวม มสี ภาพ
แวดลอ มและการบรกิ ารทีเ่ อื้อเดนชัด กลยุทธข อที่ 2 พฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจัดการศึกษาใหเ ปน ระบบ

2. ผลการดําเนินงาน

2.1 มกี ารจดั สภาพแวดลอมทางกายภาพ ทางสงั คม ท้ังภายในและภายนอกหอ งเรียนที่เอ้อื ตอการเรียนรู เกดิ การเรยี นรูเปน รายบคุ คลและเปน กลมุ และผูเรยี นไดใช
ประโยชนต ามศักยภาพ และคาํ นึงถงึ ความปลอดภยั เชน สระวายนํ้า และหอ งเรยี น หอ งสมดุ หองวทิ ยาศาสตร หองภาษาจนี หองเรยี นโปรแกรม (ELLIS) หอง
คอมพวิ เตอร หองดนตร-ี นาฏศลิ ป

3. โครงการที่เกย่ี วของ

    1. โครงการโรงเรยี นนาอยู

        6. มีการจดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นรู
1. กระบวนการพัฒนา

สถานศกึ ษากาํ หนดนโยบายไวใ นพนั ธกิจขอ ที่ 2 พัฒนาระบบบรหิ ารการจดั การศึกษา เปาหมายขอ ที่ 4 โรงเรียนมีการบรหิ ารจัดการทเ่ี ปนระบบแบบมีสวนรว ม มสี ภาพ
แวดลอมและการบริการทีเ่ อ้อื เดนชัด เปาหมายขอ ท่ี 8 ฝา ยบรหิ ารมีความรคู วามสามารถในการใชเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม ในการบรหิ ารจดั การ ครมู คี วามรูความ
สามารถในการใชเ ทคโนโลยี และนวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอน ผเู รียนมีความรคู วามสามารถในการใชเ ทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อคน ควา หาความรู สรา งช้นิ
งาน และนําเสนอผลงาน กลยุทธข อที่ 2 พฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการศึกษาอยางใหระบบ กลยทุ ธขอ ท่ี 4 สงเสรมิ ใหมกี ารใชเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมในการบริหาร
จดั การ

2. ผลการดาํ เนินงาน

สถานศกึ ษาไดศึกษาความตอ งการเทคโนโลยีสารสนเทศทเ่ี หมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา และใหท นั ตอการเปลยี่ นแปลงของสงั คมในศตวรรษท่ี 21 มีการจัดระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศ พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศท่เี หมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา ใหบ รกิ ารและตดิ ตามผลการใชบริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของ
สถานศึกษา เพอ่ื ใชใ นการบรหิ ารจดั การ และการจดั การเรียนรูท ี่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา เชน การตดิ ตง้ั ระบบอนิ เทอรเ ต็ ภายในโรงเรยี น เพ่ือการบรหิ าร
จดั การรอบดา น

3. โครงการท่ีเก่ียวของ

    1. โครงการสง เสริมความรูความสามารถในการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมของฝายบริหาร ครแู ละนักเรยี น
 
 
 

Page 43 of 52

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน ผเู รยี นเปน สาํ คญั
จํานวนครูท้งั หมด : 37

การปฏบิ ตั งิ าน เปา จํานวนครทู ่ผี า น ผลการ ผลการ
หมาย/ เกณฑที่โรงเรียน ประเมนิ ประเมนิ
ประเดน็ พจิ ารณา ปฏิบตั ิ ไม รอ ยละ กาํ หนด (คน) (รอ ยละ) คณุ ภาพที่
ปฏิบตั ิ
ได

1. จดั การเรยี นรูผา นกระบวนการคดิ และปฏิบัติจริง และสามารถนําไปประยกุ ตใชใ นชีวติ ได 87.00 37 100.00 ยอดเย่ียม

1.1 จดั กจิ กรรมการเรียนรตู ามมาตรฐานการเรียนรู ตัวชว้ี ัดของ √ - 37
หลกั สูตรสถานศึกษาท่เี นนใหผูเรียนไดเรียนรู โดยผานกระบวนการคิด
และปฏบิ ตั จิ ริง

1.2 มแี ผนการจัดการเรียนรทู ี่สามารถนาํ ไปจดั กจิ กรรมไดจ รงิ √- 37

1.3 มีรปู แบบการจัดการเรยี นรเู ฉพาะสําหรบั ผูทมี่ คี วามจาํ เปน และ √- 37
ตองการความชวยเหลือพเิ ศษ

1.4 ฝก ทกั ษะใหผ เู รยี นไดแสดงออก แสดงความคิดเหน็ สรปุ องคค วามรู √ - 37
และนําเสนอผลงาน

1.5 สามารถจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู หผ เู รยี นสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ ชใ น √ - 37
ชวี ิตประจําวนั ได

2. ใชส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลงเรียนรูทีเ่ อื้อตอการเรียนรู 87.00 34 91.89 ยอดเยย่ี ม

2.1 ใชส ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรยี นรู √- 37

2.2 ใชแหลงเรียนรู และภมู ปิ ญญาทอ งถนิ่ ในการจัดการเรยี นรู √- 28

2.3 สรา งโอกาสใหผูเรียนไดแ สวงหาความรูด วยตนเองจากส่ือท่หี ลาก √ - 37
หลาย

3. มกี ารบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี นเชงิ บวก 87.00 37 100.00 ยอดเยี่ยม

3.1 ผูสอนมกี ารบริหารจดั การชัน้ เรียน โดยเนน การมปี ฏสิ ัมพันธเชงิ บวก √ - 37

3.2 ผสู อนมกี ารบรหิ ารจดั การชน้ั เรียน ใหเดก็ รักครู ครูรักเด็ก และเดก็ √ - 37
รักเดก็ เดก็ รกั ที่จะเรียนรู สามารถเรยี นรรู ว มกนั อยา งมคี วามสุข

4. ตรวจสอบและประเมินผูเ รยี นอยางเปน ระบบ และนาํ ผลมาพฒั นาผเู รียน 87.00 37 100.00 ยอดเยีย่ ม

4.1 มกี ารตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรูอยา งเปน √- 37
ระบบ

4.2 มขี ั้นตอนโดยใชเครอ่ื งมือและวิธีการวัดและประเมนิ ผลทีเ่ หมาะสม √ - 37
กับเปา หมายในการจัดการเรยี นรู

4.3 เปด โอกาสใหผ เู รยี นและผมู สี ว นเก่ียวของมสี ว นรวมในการวดั และ √ - 37
ประเมนิ ผล

4.4 ใหขอมูลยอ นกลบั แกผเู รียนเพอ่ื นําไปใชในการพฒั นาการเรยี นรู √ - 37

5. มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรูและใหข อมลู สะทอนกลบั เพอ่ื พฒั นาปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู 87.00 37 100.00 ยอดเยี่ยม

Page 44 of 52

การปฏิบตั ิงาน เปา จํานวนครูที่ผา น ผลการ ผลการ
หมาย/ เกณฑท ่โี รงเรียน ประเมิน ประเมิน
ประเด็นพิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม รอ ยละ กาํ หนด (คน) (รอ ยละ) คุณภาพท่ี
ปฏิบัติ
ได

5.1 และผูมีสว นเกีย่ วขอ งรวมกันแลกเปลย่ี นความรแู ละประสบการณ √ - 37
ในการจดั การเรยี นรู

5.2 นําขอ มลู ปอ นกลบั ไปใชใ นการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจดั การเรียนรู √ - 37
ของตนเอง

สรุปผลการประเมนิ 98.38 ยอดเยี่ยม

 

จดุ เนน และกระบวนการพฒั นาท่สี ง ผลตอ ระดบั คุณภาพของมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผเู รียนเปน สําคญั

       1. จดั การเรียนรูผานกระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ ริง และสามารถนําไปประยกุ ตใ ชใ นชีวิตได
1. กระบวนการพัฒนา

สถานศกึ ษามนี โยบายสนบั สนุนศักยภาพครู กําหนดไวในพันธกิจของโรงเรียน ขอ ท่ี 3 พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรูใ หม ปี ระสทิ ธิภาพ เปาหมายขอ ที่ 6 ครมู คี วามรู
ความสามารถในการจดั การเรยี นรทู เ่ี นน ผูเ รยี นเปน สําคัญ สอดคลองกบั บริบทของโรงเรยี น ชมุ ชน เปาหมายขอ ท่ี 7 ครูผสู อนพฒั นาตนเอง ปฏิบตั ิงานตามบทบาทหนาที่
อยา งมีประสิทธภิ าพ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และเปน แบบอยางท่ดี ี กลยุทธข อ ท่ี 3 พฒั นากระบวนการจัดการเรยี นรทู ีเ่ นน ผูเรียนเปน สาํ คญั

2. ผลการดาํ เนนิ งาน

สถานศึกษามีการสนบั สนนุ สงเสรมิ ใหครเู ขารบั การอบรมดา นวิชาการอยางตอ เนอ่ื ง จากการเขา รับการอบรมและการจัดนเิ ทศภายใน สง ผลให

2.1 ครูผสู อนสามารถจัดกิจกรรมการเรยี นรูตามมาตรฐานการเรยี นรู ตวั ชีว้ ดั ของหลกั สตู รสถานศกึ ษา ท่เี นนใหผ เู รยี นไดเรียนรู โดยผานกระบวนการคิด และปฏบิ ตั ิจริง

2.2 ครมู ีแผนการเรียนรูท ส่ี ามารถนาํ ไปจดั กจิ กรรมไดจ รงิ

2.3 ครฝู กทักษะใหผ เู รยี นไดแ สดงออก แสดงความคิดเหน็ สรุปองคค วามรู ทง้ั ในชนั้ เรียนและนอกหองเรียนอยูเสมอ และสามารถนาํ ไปประยกุ ตใชใ นชีวิตประจําวนั ได

3. โครงการทเ่ี กี่ยวขอ ง

    1. โครงการครดู ใี นดวงใจ

    2. โครงการปรบั ปรุงหลกั สูตร

    3. โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน

    4. โครงการคณุ ธรรมนําชีวติ

    5. โครงการขมุ ทรพั ยแ หง ปญ ญา

    6. โครงการสงเสรมิ ความรู ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยีและนวตั กรรมของฝายบริหาร ครู และนกั เรยี น

    7. โครงการพฒั นาคุณภาพผูเรียนตามมาตรฐานสากลในศตวรรษท่ี 21

    8. โครงการนิเทศภายใน

        2. มกี ารใชส อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลงเรียนรทู ี่เออื้ ตอการเรียนรู
1. กระบวนการพัฒนา

สถานศึกษามนี โยบายสนบั สนนุ ศักยภาพครู กําหนดไวใ นพันธกิจของโรงเรยี น ขอท่ี 3 พัฒนากระบวนการจัดการเรยี นรูใหมปี ระสทิ ธภิ าพ เปา หมายขอที่ 6 ครูมีความรู
ความสามารถในการจดั การเรยี นรทู ่ีเนน ผูเ รยี นเปนสําคญั สอดคลองกบั บรบิ ทของโรงเรยี น ชมุ ชน เปาหมายขอ ที่ 7 ครูผสู อนพฒั นาตนเอง ปฏิบัตงิ านตามบทบาทหนาท่ี
อยา งมปี ระสิทธิภาพ มคี ุณธรรม จริยธรรม และเปน แบบอยา งที่ดี กลยทุ ธข อ ที่ 3 พฒั นากระบวนการจัดการเรียนรทู เี่ นนผูเรยี นเปนสําคัญ

2. ผลการดําเนนิ งาน

สถานศึกษามกี ารจัดแหลง เรียนรู หองปฏบิ ัตกิ าร เพ่อื สนบั สนนุ การเรยี นของผเู รียนอยา งชดั เจน กลา วคือ โรงเรยี นมีหองสมดุ แหลงเรยี นรใู นหอ งเรียน ปายนิเทศ หอ ง
ปฏบิ ัติการวิทยาศาสตร หอ งปฏบิ ัติการภาษาจนี หองปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร หอ งปฏบิ ัติการภาษาองั กฤษ หอ งดนตร-ี   นาฏศิลป เพ่อื ใหน ักเรียนไดเรียนรจู ากแหลง
เรียนรูท ีห่ ลากหลาย ไดสืบคน ขอ มูลตา งๆ

Page 45 of 52

สถานศกึ ษามีการสนบั สนุนใหครูใชสอ่ื การประยุกตใ ชด จิ ิทลั แพลตฟอรมในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน สงเสรมิ สนับสนุนใหครูมศี กั ยภาพดา นสอื่ และเทคโนโลยี
และกระตุนใหค รูผลิตส่ือการสอนและใชสอื่ การสอนอยา งสม่ําเสมอ

2.1 ครผู สู อนคดิ เปน รอยละ 100 มกี ารกําหนดส่ือ อปุ กรณ เทคโนโลยใี นแผนการจัดการเรียนรูไวอ ยางชัดเจน

2.2 มีการใชแหลงเรยี นรทู ้ังภายในและภายนอกหอ งเรยี นในการจัดการเรียนรู

2.3 มีการสรางโอกาสใหผูเรียนไดแ สวงหาความรูดว ยตนเองจากสื่อทหี่ ลากหลาย

3. โครงการที่เกยี่ วขอ ง

    1. โครงการพฒั นาคณุ ภาพผูเรยี นตามมาตรฐานสากลในศตวรรษท่ี 21

    2. โครงการยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น

    3. โครงการขุมทรพั ยแหง ปญ ญา

    4. โครงการนเิ ทศภายใน

    5. โครงการคุณธรรมนาํ ชวี ิต

    6. กิจกรรมทัศนศึกษา

    7. โครงการสง เสรมิ ความรู ความสามารถในการใชเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมของฝา ยบรหิ าร ครู และนักเรยี น

        3. มีการบริหารจดั การช้ันเรียนเชงิ บวก
1. กระบวนการพัฒนา

สถานศกึ ษามแี นวทางในการสงเสริม สนับสนุนใหค รูสามารถจดั การบรหิ ารช้ันเรยี นเชงิ บวกได กลา วคือ มีการกาํ หนดพันธกิจขอ ท่ี 3 พฒั นากระบวนการจดั การเรยี นรู็ให
มปี ระสทิ ธิภาพ เปาหมายขอท่ี 6 ครมู ีความรูค วามสามารถในการจดั การเรยี นรูทีเ่ นนผูเรยี นเปนสาํ คัญ สอดคลองกบั บรบิ ทของโรงเรียน ชมุ ชน เปาหมาย ขอ ทึ่ี 7 ครูผู
สอนพัฒนาตนเอง ปฏิบตั ิงานตามบทบาทหนาที่อยา งมีประสิทธภิ าพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเปน แบบอยา งทด่ี ี กลยุทธข อ ท่ี 3 พัฒนากระบวนการจดั การเรียนรทู ่เี นน
ผูเ รยี นเปน สําคัญ

2. ผลการดําเนนิ งาน

ครไู ดร ับการอบรมหรือเขารว มพฒั นาจติ ใจที่เกี่ยวของกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู เขารวมโครงการนิเทศภายใน สถานศึกษาจัดใหม ีชุมชนการเรียนรทู าง วชิ าชีพ (PLC) สง
ผลใหค รูมีการบริหารจัดการชนั้ เรียนโดยเนนการปฏิสัมพันธเชิงบวก ใหเดก็ รักครู ครูรักเดก็ และเดก็ รักเดก็ เด็กรกั ที่จะเรยี นรู และสามารถเรยี นรูรวมกนั อยางมคี วามสขุ

3. โครงการทเี่ กี่ยวของ

    1. โครงการพัฒนาคณุ ภาพผเู รียนตามมาตรฐานสากลในศตวรรษท่ี 21

    2. โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน

    3. โครงการขุมทรพั ยแ หงปญญา

    4. โครงการนิเทศภายใน

    5. โครงการคณุ ธรรมนําชวี ติ

    6. กิจกรรมทศั นศกึ ษา

    7. โครงการครดู ีในดวงใจ

   8. โครงการสงเสรมิ ความรู ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยีและนวัตกรรมของฝา ยบริหาร ครู และนักเรยี น

       4. ตรวจสอบและประเมินผเู รยี นอยา งเปนระบบ และนาํ ผลมาพฒั นาผเู รียน
1. กระบวนการพฒั นา

สถานศึกษามีแนวทางในการสง เสรมิ สนบั สนุน ใหครูสามารถตรวจสอบ และประเมนิ ผูเรียนอยางเปนระบบ และนาํ ผลมาพัฒนาผูเรียนได  กลาวคือ มกี ารกาํ หนดพนั ธ
กิจขอ ที่ 3 พฒั นากระบวนการจัดการเรียนรูใหมีประสทิ ธิภาพ เปาหมายขอ ที่ 6 ครมู คี วามรู ความสามารถในการจัดการเรยี นรทู ี่เนน ผูเรยี นเปนสําคัญ สอดคลองกบั
บรบิ ทของโรงเรยี น ชุมชน เปาหมาย ขอ ท่ี 7 ครูผูสอนพฒั นาตนเอง ปฏิบตั ิงาน ตามบทบาทหนา ทีอ่ ยางมปี ระสิทธิภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเปน แบบอยา งท่ีดี
กลยุทธข อ ท่ี 3 พฒั นากระบวนการจัดการเรยี นรูทีเ่ นน ผเู รยี นเปนสําคญั

2. ผลการดาํ เนนิ งาน

2.1 สถานศกึ ษามีวิธีการสรางความเชื่อม่นั ในการควบคมุ ประสิทธภิ าพการวดั และประเมินผลของสถานศกึ ษาอยา งเปน ระบบ กลา วคอื มกี ารอบรมพฒั นาครดู านการจัด
กจิ กรรมการเรียนการสอนทกุ กลมุ สาระการเรยี นรูจ ากหนวยงานภายนอกและภายในสถานศึกษา และมีโครงการนเิ ทศภายใน มีการตรวจแผนการจัดการเรียนรู โดย
หัวหนากลมุ สาระฯและหวั หนาวชิ าการ จัดใหม กี ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู ตรงตามมาตรฐานการเรยี นรแู ละตวั ชีว้ ัดตามทห่ี ลักสตู รกําหนด และมีคูมือการวัดและ
ประเมนิ ผลการเรียนรขู องสถานศกึ ษาอยางชัดเจน มรี ะบบการตรวจขอ สอบท่ีครูผูส อนออกขอ สอบไว มกี ารตรวจทานคะแนนสอบอยา งละเอียด สามารถตรวจสอบได

2.2 ครผู สู อนเปดโอกาสใหนกั เรยี นมสี วนรวมในการวดั และประเมินผล เชน ใหส รา งคําถามจากเนือ้ หาท่ีเรียน หรอื จากการนาํ เสนองาน

Page 46 of 52

2.3 ครูผสู อนใหข อมลู ยอ นกลบั แกผเู รยี นเพื่อนาํ ไปใชใ นการพฒั นาการเรยี นรู เชน อธบิ ายเพ่มิ เตมิ ในกรณีที่นักเรียนทาํ แบบฝกหดั หรือขอสอบไมถ ูกตอ ง

3. โครงการทเ่ี ก่ียวขอ ง

    1. โครงการนิเทศภายใน
    2. โครงการครดู ีในดวงใจ

        5. มีการแลกเปล่ยี นเรียนรูและใหขอ มลู สะทอนกลบั เพอ่ื พฒั นาปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรขู องตนเอง
1. กระบวนการพัฒนา

สถานศึกษามีแนวทางสงเสรมิ สนบั สนุนดา นน้ี กลา วคือ มกี ารกาํ หนดพนั ธกิจขอ ที่ 3 พัฒนากระบวนการจดั การเรยี นรูใหมีประสิทธิภาพ เปา หมายขอที่ 3 พฒั นา
กระบวนการจดั การเรยี นรใู หมีประสทิ ธิภาพ เปาหมายขอท่ี 6 ครูมคี วามรู ความสามารถในการจัดการเรยี นรูที่เนน ผเู รียนเปนสาํ คญั สอดคลอ งกับบรบิ ทของโรงเรยี น
ชมุ ชน เปาหมายขอ ที่ 7 ครูผูส อนพฒั นาตนเอง ปฏิบตั ิงานตามบทบาทหนา ท่ีอยางมปี ระสทิ ธิภาพ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และเปนแบบอยา งทดี่ ี กลยทุ ธขอท่ี 3 พฒั นา
กระบวนการจัดการเรียนรทู ีเ่ นน ผูเรียนเปน สําคัญ

2. ผลการดาํ เนินงาน

สถานศึกษามีวธิ ีการสนบั สนนุ ใหครแู ลกเปลี่ยนเรยี นรู และการใหข อมลู สะทอนกลบั เพอ่ื พฒั นาการจดั การเรียนรู กลา วคือ ในการนิเทศการสอน ผูน ิเทศจะมกี ารใหขอมูล
สะทอ นกลบั กบั ผรู ับการนิเทศ  นอกจากน้ี ในการประชุมสามญั ประจําเดอื น ครูท่ีไดร ับการอบรมจากหนว ยงาน/องคก รภายนอก กจ็ ะแบง ปน ประสบการณ/ความรทู ี่ได
รบั ใหก ับเพ่อื ครูเพอื่ พัฒนาการสอน ทั้งน้ยี ังรวมถงึ การประชมุ กลุม ยอ ย การประชมุ กลุมสาระการเรยี นรู และการแลกเปล่ยี นเรียนรูจากความรูที่ไดจ ากการใชเ ทคโนโลยี
ของฝายบริหารและครู

3. โครงการที่เกย่ี วของ

    1. โครงการนเิ ทศภายใน
    2. โครงการสงเสริมความรู ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยีและนวัตกรรมของฝายบริหาร ครแู ละนักเรียน
    3. โครงการครูดีในดวงใจ

Page 47 of 52

2. สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับคุณภาพ
ระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานการศึกษา ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รียน ยอดเยย่ี ม
ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผเู รยี น ยอดเยย่ี ม
ยอดเยย่ี ม
1. มีความสามารถในการอาน การเขยี น การสอื่ สาร และการคิดคาํ นวณ
2. มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห คดิ อยางมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ และแกปญหา ดเี ลศิ
3. มีความสามารถในการสรา งนวัตกรรม ยอดเยี่ยม
4. มีความสามารถในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอ่ื สาร
5. มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา ยอดเยี่ยม
6. มีความรูทักษะพ้นื ฐาน และเจตคติทีด่ ีตอ งานอาชพี ยอดเยย่ี ม
คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคข องผเู รยี น ยอดเยย่ี ม
7. การมีคุณลกั ษณะและคา นยิ มท่ีดตี ามที่สถานศกึ ษากาํ หนด ยอดเยย่ี ม
8. ความภมู ิใจในทองถิ่นและความเปน ไทย ยอดเยี่ยม
9. การยอมรับท่จี ะอยูรว มกนั บนความแตกตา งและหลากหลาย ยอดเยี่ยม
10. สขุ ภาวะทางรางกายและจติ สงั คม ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ยอดเยี่ยม
1. มเี ปาหมายวิสัยทศั นและพนั ธกิจทส่ี ถานศึกษากาํ หนดชดั เจน ยอดเยย่ี ม
2. มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา ยอดเยย่ี ม
3. ดาํ เนนิ งานพัฒนาวิชาการที่เนน คุณภาพผเู รยี นรอบดานตามหลักสูตรสถานศึกษาและทกุ กลมุ เปา หมาย ยอดเย่ียม
4. พัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหมคี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี ยอดเยย่ี ม
5. จัดสภาพแวดลอ มทางกายภาพและสงั คมท่ีเอ้ือตอ การจดั การเรยี นรูอยางมคี ณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม
6. จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนบั สนุนการบริหารจดั การและการจดั การเรยี นรู ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน ผเู รียนเปน สาํ คัญ ยอดเยี่ยม
1. จดั การเรยี นรผู านกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ ริง และสามารถนําไปประยุกตใ ชในชีวติ ได ยอดเยย่ี ม
2. ใชส ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรยี นรทู ีเ่ ออื้ ตอ การเรียนรู ยอดเยี่ยม
3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชงิ บวก ยอดเยย่ี ม
4. ตรวจสอบและประเมนิ ผเู รยี นอยางเปนระบบ และนําผลมาพัฒนาผเู รยี น
5. มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรูและใหขอมูลสะทอนกลับเพ่อื พัฒนาปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู
สรปุ ผลการประเมินระดับขั้นพืน้ ฐาน

Page 48 of 52

3. จุดเดน

ระดบั ขน้ั พืน้ ฐาน
คณุ ภาพของผูเรยี น
โรงเรยี นมหาไถศ ึกษาขอนแกน มีการพฒั นาผูเรียนอยางรอบดา น มคี วามรู ความสามารถทง้ั ดา นวชิ าการ และมีความสามารถทางดานเทคโนโลยี พัฒนาตนเเองไดอ ยาง
เตม็ ศักยภาพ ใฝเ รียนรู เปนพลเมอื งทดี่ ี และมีทกั ษะในศตวรรษที่ 21 สง ผลใหการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ขน้ั พื้นฐาน (O-NET) ระดบั ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 6 มี
คา เฉลี่ยสูงกวา ระดับประเทศทุกวชิ า และระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 มีคา เฉลีย่ วชิ าภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สูงกวา ระดับประเทศ ผูเรียนไดร บั รางวลั ตางๆ ในการ
แขงขันทักษะวิชาการ รวมทงั้ รางวลั ในดา นคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงคของผูเ รียนทั้งระดับจงั หวดั และระดบั ประเทศ
กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
โรงเรยี นมหาไถศึกษาขอนแกนมรี ะบบกลไกในการประกันคุณภาพภายในทีเ่ ปนระบบและมปี ระสิทธิภาพ มกี ารบริหารจัดการของผูบรหิ าร มนี วตั กรรมการบริหารท่ีมี
คุณภาพ โดยมีการกําหนดเปาหมาย วิสัยทศั น พันธกิจไวอยา งชัดเจน สอดคลอ งกบั บรบิ ทของโรงเรยี นตามความตอ งการของชมุ ชน วัตถปุ ระสงคข องแผนพฒั นาการ
ศกึ ษาชาติ นโยบายของรฐั และตน สงั กัด ทนั ตอ การเปล่ยี นแปลงของสงั คม ดําเนนิ การพฒั นางานวิชาการ เนนคณุ ภาพผูเรยี นรอบดา นตามทหี่ ลักสตู รสถานศึกษากาํ หนด
รวมทัง้ มีการจดั กจิ กรรมสงเสรมิ และปลูกฝง ใหผเู รียนเปน ท้ังคนเกงและคนดี พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ใหม ีความเช่ยี วชาญตรงตามความตอ งการ ใหสามารถ
สรา งและพฒั นานวัตกรรมการเรียนการสอนไดอ ยา งมีประสิทธภิ าพ และเปนชมุ ชนแหง การเรยี นรทู างวิชาชีพ
กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นนผูเรียนเปนสาํ คญั
โรงเรียนมหาไถศกึ ษาขอนแกน มีส่อื เทคโนโลยี ในการจัดการเรยี นการสอนท่ที ันสมยั มคี วามพรอ มดานการพัฒนาการเรยี นการสอน ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาของ
โรงเรยี นมหาไถศ ึกษาขอนแกน มคี วามรู ความสามารถ และมคี วามตัง้ ใจในการคิดและวางแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ผลิตสอื่ การสอน สรางนวัตกรรมการ
เรียนรู โดยใชเ ทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา สอดคลองและเหมาะสมกับความตอ งการของผูเ รยี นในยุค Thailand 4.0 เพื่อมุงพฒั นาความรูความสามารถของนักเรียนอยาง
เต็มตามศักยภาพ รวมทั้งโรงเรียนยังไดร บั ความรวมมอื จากชุมชน องคกรอ่ืนๆ ทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน ไดเ ขามามีสวนรว ม และใหค วามรว มมือ สนับสนุน สงเสรมิ การ
จัดการเรียนรูใหครบ สมบรู ณ

4. จุดควรพัฒนา

ระดบั ขัน้ พน้ื ฐาน
คุณภาพของผเู รยี น
พฒั นากระบวการคิด การฝก ทักษะดา นการแสดงความคดิ เหน็ การคน หาวธิ แี กป ญ หา จดั กิจกรรมสง เสริมความสามารถในการสรางนวัตกรรม และใหค วามรแู ละทักษะ
พ้นื ฐานในการสรางนวัตกรรมเพ่มิ เติม เพ่อื สงเสรมิ ใหผ ูเรยี นเขา รวมการแขง ขันระดับชาติ และนานาชาตมิ ากขนึ้ และพฒั นาใหผเู รยี นมีความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี
สารสนเทศ เพอื่ พัฒนาตนเองและสังคม ในดา นการเรียนรู การส่ือสาร การทํางานอยางสรางสรรค และรวมทงั้ สง เสรมิ การพัฒนาทางดานคณุ ธรรมและจริยธรรม โดยจดั
กิจกรรมสง เสรมิ ใหนักเรยี นไดแ สดงออกถงึ ความภูมิใจในทอ งถิน่ และมีความรบั ผิดชอบตอสงั คมอยางหลากหลาย
กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
พัฒนาการบริหารจดั การขอ มูลสารสนเทศภายในโรงเรยี น เพ่ือใชใ นการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น โดยบรู ณาการขอมลู ใหสามารถใชใ นการบริหารจัดการงาน
ทุกกลุมบริหารของโรงเรียน ใหมคี วามเช่อื มโยงบนฐานขอมูลเดยี วกัน เพอ่ื ลดความซาํ้ ซอนของงาน
กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน ผเู รียนเปน สําคัญ
สงเสริมใหครใู ชก ระบวนการวิจัย เพอ่ื พัฒนาการจัดการเรยี นการสอน สงเสรมิ ใหเกดิ การพัฒนาทกั ษะทางภาษาองั กฤษเพ่อื การส่ือสาร และสงเสรมิ ใหค รูมีความรู ความ
สามารถในการใชเ ทคโนโลยที ห่ี ลากหลายในการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน ผเู รยี นเปนสําคัญ

5. แนวทางการพัฒนา

1. พัฒนาศกั ยภาพของผเู รยี นใหส ามารถเขา รว มการแขง ขันในระดับชาตแิ ละเวทโี ลก
2. พฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรยี นรู
3. พัฒฯาการบริหารจดั การดว ยระบบคุณภาพ หลักสูตร กระบวนการเรียนร็ู การนิเทศการสอนและงานวิจยั
4. เสริมสรา งชมุ ชนการเรยี นรทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) อยางเปนระบบ
5. เสริมสรา งบุคคลแหง การเรียนรใู นการใชภาษาองั กฤษเพอื่ การสอ่ื สาร
6. สง เสริมผูเรยี นรว มกิจกรรมที่แสดงออกถงึ ความภมู ใิ จในทอ งถิน่ และความเปน ไทย

Page 49 of 52


Click to View FlipBook Version