สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่ เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการนำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม และนำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำหนดให้ สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้ สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำไปใช้ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่ เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการนำไปใช้ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 1. อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดง จำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 2. เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับ ไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์ต่างๆ จำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 - การอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวน - หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักและ การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูป กระจาย - การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวน 3. บอก อ่าน และเขียนเศษส่วนแสดง ปริมาณสิ่งต่างๆ และแสดงสิ่งต่างๆ ตามเศษส่วนที่กำหนด 4. เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากัน โดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัว ส่วน เศษส่วน - เศษส่วนที่มีตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับ ตัวส่วน - การเปรียบเทียบและเรียงลำดับ เศษส่วน 5. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค สัญลักษณ์แสดงการบวกและประโยค สัญลักษณ์แสดงการลบของจำนวนไม่ เกิน 100,000 และ 0 6. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค สัญลักษณ์ แสดงการคูณของจำนวน 1 หลักกับจำนวนไม่เกิน 4 หลัก และ จำนวน 2 หลักกับจำนวน 2 หลัก 7. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค สัญลักษณ์ แสดงการหารที่ตัวตั้งไม่เกิน 4 หลัก ตัวหาร 1 หลัก การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวน นับไม่เกิน 100,000 และ 0 - การบวกและการลบ - การคูณ การหารยาวและการหารสั้น - การบวก ลบ คูณ หารระคน - การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ ปัญหา พร้อมทั้งหาคำตอบ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 8. หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน ของจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 9. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน ของจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 10. หาผลบวกของเศษส่วนที่มีตัวส่วน เท่ากันและผลบวกไม่เกิน 1 และหาผล ลบของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน 11. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการ บวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันและ ผลบวกไม่เกิน 1 และโจทย์ปัญหาการ ลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน การบวก การลบเศษส่วน - การบวกและการลบเศษส่วน - การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ ปัญหาการลบเศษส่วน สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม และนำไปใช้ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 1. ระบุจำนวนที่หายไปในแบบรูปของ จำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเท่าๆ กัน แบบรูป - แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง ทีละเท่าๆ กัน สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำหนดให้ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 - - สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 1. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับเงิน 2. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา เงิน - การบอกจำนวนเงินและเขียนแสดง จำนวนเงิน แบบใช้จุด - การเปรียบเทียบจำนวนเงินและการ แลกเงิน - การอ่านและเขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย - การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน เวลา - การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที - การเขียนบอกเวลาโดยใช้มหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) และการอ่าน - การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที - การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างชั่วโมงกับนาที - การอ่านและการเขียนบันทึกกิจกรรมที่ ระบุเวลา - การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและ ระยะเวลา 3. เลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวที่ เหมาะสมวัดและบอกความยาวของสิ่ง ต่างๆ เป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร 4. คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็น เซนติเมตร 5. เปรียบเทียบความยาวระหว่าง เซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับ เซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จาก สถานการณ์ต่างๆ ความยาว - การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและ มิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร - การเลือกเครื่องมือวัดความยาวที่ เหมาะสม - การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและ เป็นเซนติเมตร - การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว - การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 6. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วยเป็น เซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและ เซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร 7. เลือกใช้เครื่องชั่งที่เหมาะสม วัดและ บอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม 8. คาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและเป็น ขีด 9. เปรียบเทียบน้ำหนักระหว่างกิโลกรัม และกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จาก สถานการณ์ต่างๆ 10. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม กับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม น้ำหนัก - การเลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสม - การคาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและ เป็นขีด - การเปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม - การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนัก 11. เลือกใช้เครื่องตวงที่เหมาะสม วัดและ เปรียบเทียบปริมาตร ความจุเป็นลิตร และมิลลิลิตร 12. คาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร 13. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับปริมาตรและความจุที่มีหน่วย เป็นลิตรและมิลลิลิตร น้ำหนัก - การวัดปริมาตรและความจุเป็นลิตร และมิลลิลิตร - การเลือกเครื่องตวงที่เหมาะสม - การคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็น ลิตร - การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุ โดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับ มิลลิลิตร ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวงกับ มิลลิลิตร - การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตร และความจุที่มีหน่วยเป็นลิตรและ มิลลิลิตร สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 1. ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกน สมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร รูปเรขาคณิตสองมิติ - รูปที่มีแกนสมมาตร สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 1. เขียนแผนภูมิรูปภาพ และใช้ข้อมูลจาก แผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของ โจทย์ปัญหา 2. เขียนตารางทางเดียวจากข้อมูลที่เป็น จำนวนนับ และใช้ข้อมูลจากตารางทาง เดียวในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา การเก็บรวบรวมข้อมูลและการนำเสนอ ข้อมูล - การเก็บรวบรวมข้อมูลและจำแนก ข้อมูล - การอ่านและการเขียนแผนภูมิรูปภาพ - การอ่านและการเขียนตารางทางเดียว (one – way table) สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำไปใช้ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 - -
รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 200 ชั่วโมง/ปี ศึกษาการอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ หลัก ค่าของเลขโดด ในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบจำนวน การเรียงลำดับจำนวน แบบ รูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นและลดลง การบวกจำนวนนับที่มีผลบวกไม่เกิน 100,000 การบวกจำนวนสามจำนวนที่มี ผลบวกไม่เกิน 100,000 โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการบวก การลบจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน 100,000 การ ลบจำนวนสามจำนวน การหาตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบ โจทย์ปัญหาและการ สร้างโจทย์ปัญหาการลบ การคูณจำนวนหนึ่งหลักกับจำนวนไม่เกินสี่หลัก การคูณกับจำนวนสองหลักกับจำนวน สองหลัก โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการลบ การหารที่มีตัวตั้งไม่เกินสี่หลักและตัวหารมีหนึ่งหลัก การหา ตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณและการหาร โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการหาร การวัด ความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร การเลือกเครื่องมือวัดความ ยาวที่เหมาะสม การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและ เป็นเซนติเมตร การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์ ระหว่างหน่วยความยาว โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว รูปที่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร การบอก อ่าน และเขียนเศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน การเปรียบเทียบเศษส่วน การเรียงลำดับเศษส่วน การบวก เศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน โจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วน การวัดและ บอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม การเลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสม การคาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัม และเป็นขีด การเปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับน้ำหนัก การวัดปริมาตรและความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร การเลือกเครื่องตวงที่เหมาะสม การคาดคะเน ปริมาตรและความจุเป็นลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและ ความจุโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับ มิลลิลิตร ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวงกับมิลลิลิตร โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุที่มีหน่วยเป็นลิตรและ มิลลิลิตร การเก็บรวบรวมข้อมูลและจำแนกข้อมูล การอ่านและเขียนแผนภูมิรูปภาพ การอ่านและเขียนตารางทาง เดียว การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที การเขียนบอกเวลาและการอ่าน การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างชั่วโมงกับนาที การอ่านและการเขียนบันทึกกิจกรรมที่ระบุ เวลา โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา เงินเหรียญและธนบัตรชนิดต่างๆ การบอกจำนวนเงินและเขียนแสดง จำนวนเงินแบบใช้จุดและการอ่าน การเปรียบเทียบจำนวนเงินและการแลกเงิน การอ่านและการเขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน การบวก ลบ คูณ หารระคน โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน คำอธิบายรายวิชา
โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การเชื่อมโยง การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการ ที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มี ความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และมีความเชื่อมั่นในตนเอง ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11 ค 1.2 ป.3/1 ค 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11, ป.3/12, ป.3/13 ค 2.2 ป.3/1 ค 3.1 ป.3/1, ป.3/2 รวม 28 ตัวชี้วัด
บทที่/เรื่อง เวลา (ชั่วโมง) ภาคเรียนที่ 1 บทที่ 1 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 บทที่ 2 การบวกและการลบจำนวนนับไม่เกิน 100,000 บทที่ 3 เวลา บทที่ 4 รูปเรขาคณิต บทที่ 5 แผนภูมิรูปภาพและตารางทางเดียว บทที่ 6 เศษส่วน บทที่ 7 การคูณ 18 28 16 2 7 16 18 รวมภาคเรียนที่ 1 105 โครงสร้างเวลาเรียน ภาคเรียนที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) จำนวนนับไม่เกิน 100,000 ค 1.1 ป.3/1 ป.3/2 จำนวนนับที่ไม่เกิน 100,000 และ 0 สามารถอ่าน และเขียนแทนด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ จำนวนต่าง ๆ จะมีค่ามากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับจำนวนหลักและค่าของตัวเลขในแต่ละ หลักที่จะทำให้จำนวนมีค่าแตกต่างกัน ซึ่งจำนวน นับที่ไม่เกิน 100,000 จะเป็นการบอกจำนวนที่มี ตัวเลขที่ไม่เกินหกหลัก จำนวนนับไม่เกิน 100,000 สามารถนำมาเปรียบเทียบกันได้ โดยมีค่าเท่ากัน หรือไม่เท่ากันและค่าไม่เท่ากันอาจมีค่ามากกว่า หรือน้อยกว่ากันอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น โดยใช้ เครื่องหมาย = ≠ > < แสดงการเปรียบเทียบ การ เรียงลำดับจำนวน หลาย ๆ จำนวน ทำได้โดยการ เปรียบเทียบจำนวนทุก ๆ จำนวน แล้วเรียงลำดับ จำนวนจากน้อยไปมาก หรือจากมากไปน้อย 18 โครงสร้างรายวิชา
แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ เรื่อง จำนวน (ชั่วโมง) วัน/เดือน/ปี ที่สอน 1 การอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวน 1 16 พ.ค. 66 2 การอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวน 1 17 พ.ค. 66 3 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียน ตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย 1 18 พ.ค. 66 4 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียน ตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย 1 19 พ.ค. 66 5 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียน ตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย 1 22 พ.ค. 66 6 การเปรียบเทียบจำนวน 1 23 พ.ค. 66 7 การเปรียบเทียบจำนวน 1 24 พ.ค. 66 8 การเปรียบเทียบจำนวน 1 25 พ.ค. 66 9 การเรียงลำดับจำนวน 1 26 พ.ค. 66 10 การเรียงลำดับจำนวน 1 29 พ.ค. 66 11 แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 3 1 30 พ.ค. 66 12 แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 5 1 31 พ.ค. 66 13 แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 8 1 1 มิ.ย. 66 14 แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 10 1 2 มิ.ย. 66 15 แบบรูปของจำนวนที่ลดลงทีละ 3 1 5 มิ.ย. 66 16 แบบรูปของจำนวนที่ลดลงทีละ 5 1 6 มิ.ย. 66 17 แบบรูปของจำนวนที่ลดลงทีละ 8 1 7 มิ.ย. 66 18 แบบรูปของจำนวนที่ลดลงทีละ 10 1 8 มิ.ย. 66 รวม 18 กำหนดการสอน แผนการจัดการเรียนรู้ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับไม่เกิน 100,000
เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 1.ความถูกต้องของเนื้อหา เนื้อหาสาระของ ผลงานถูกต้อง ครบถ้วน เนื้อหาสาระของ ผลงานถูกต้องเป็น ส่วนใหญ่ เนื้อหาสาระของ ผลงานถูกต้อง บางประเด็น เนื้อหาสาระของ ผลงานไม่ถูกต้อง เป็นส่วนใหญ่ 2. รูปแบบ การนำเสนอ น่าสนใจและ เหมาะสมกับ สถานการณ์ การนำเสนอถูกต้อง เป็นส่วนใหญ่ การนำเสนอ ถูกต้องบางส่วน การนำเสนอไม่ เป็นไปตามเกณฑ์ 3. ความเป็นระเบียบ ผลงานมีความ เป็นระเบียบ ผลงานส่วนใหญ่มี ข้อบกพร่อง เล็กน้อย ผลงานมี ข้อบกพร่อง บางส่วน ผลงานไม่มีความ เป็นระเบียบ เกณฑ์ประเมินคุณภาพ 10 - 12 คะแนน หมายถึง ดีมาก ระดับ 4 4 - 6 คะแนน หมายถึง พอใช้ ระดับ 2 7 - 9 คะแนน หมายถึง ดี ระดับ 3 1-3 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง ระดับ 1 เกณฑ์การให้คะแนนด้านทักษะและกระบวนการทำงาน ทักษะและกระบวนการ: การให้เหตุผล ทักษะและกระบวนการ : การแก้ปัญหา คะแนน:ระดับคุณภาพ ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น 4 : ดีมาก ใช้กระบวนการแก้ปัญหาได้สำเร็จ อย่างมีประสิทธิภาพ อธิบายถึงเหตุผล หลักการและขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้เข้าใจชัดเจนนำมาซึ่งคำตอบที่ถูกต้อง คะแนน:ระดับคุณภาพ ความสามารถในการให้เหตุผลที่ปรากฏให้เห็น 4 : ดีมาก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล 3 : ดี มีการอ้างอิงที่ถูกต้องบางส่วน และเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ 2 : พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตุสมผลในการประกอบการตัดสินใจ 1 : ควรปรับปรุงแก้ไข มีความพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ
3 : ดี ใช้กระบวนการแก้ปัญหาได้สำเร็จ แต่น่าจะอธิบายถึงเหตุผล หลักการและขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้ดีกว่านี้ 2 : พอใช้ มีกระบวนการแก้ปัญหา สำเร็จเพียงบางส่วน อธิบายถึงเหตุผล หลักการและขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้บางส่วน 1 : ควรปรับปรุงแก้ไข มีร่องรอยการแก้ปัญหาบางส่วน เริ่มคิดใช้เหตุผล หลักการและขั้นตอน ในการแก้ปัญหา แล้วหยุด อธิบายต่อไม่ได้ แก้ปัญหาไม่สำเร็จ ทักษะ และกระบวนการ: การเชื่อมโยง สรุปองค์ความรู้ คะแนน:ระดับ คุณภาพ ความสามารถในการเชื่อมโยงที่ปรากฏให้เห็น 4 : ดีมาก นำความรู้ หลักการ และวิธีการทางคณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงกับสาระคณิตศาสตร์ หรือกิจกรรมที่ต้องใช้องค์ความรู้ที่เรียนได้ถูกต้องทุกกิจกรรมเพื่อช่วยในการแก้ปัญหา หรือประยุกต์ใช้ได้อย่างสอดคล้องและเหมาะสม 3 : ดี นำความรู้ หลักการ และวิธีการทางคณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงกับสาระคณิตศาสตร์ หรือกิจกรรมที่ต้องใช้องค์ความรู้ที่เรียนได้เป็นส่วนใหญ่ เพื่อช่วยในการแก้ปัญหาหรือประยุกต์ใช้ได้บางส่วน 2 : พอใช้ นำความรู้ หลักการ และวิธีการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับสาระคณิตศาสตร์หรือ กิจกรรมที่ต้องใช้องค์ความรู้ที่เรียนได้บางส่วน 1 : ควรปรับปรุง แก้ไข นำความรู้ หลักการ และวิธีการทางคณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงยังไม่เหมาะสม สรุป องค์ความรู้ที่ได้ เกณฑ์การให้คะแนนด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ : นักเรียนใฝ่เรียนรู้ คะแนน : ระดับ คุณภาพ คุณลักษณะที่ปรากฏให้เห็น 3 : ดีมาก - มีความสนใจ / ความตั้งใจตลอดระยะเวลาการเรียนรู้ 2 : ดี - มีความสนใจ / ความตั้งใจเป็นบางครั้ง 1 : พอใช้ - มีความสนใจ / ความตั้งใจในระยะเวลาสั้นๆ ชอบเล่นในเวลาเรียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์: นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน คะแนน : ระดับ คุณภาพ คุณลักษณะที่ปรากฏให้เห็น 3 : ดีมาก - ส่งงานก่อนหรือตรงกำหนดเวลานัดหมาย - รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและปฏิบัติตนเองจนเป็นนิสัย 2 : ดี - ส่งงานช้ากว่ากำหนด แต่ได้มีการติดต่อชี้แจงผู้สอน มีเหตุผลที่รับฟังได้ - รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและปฏิบัติตนเองจนเป็นนิสัย 1 : พอใช้- ส่งงานช้ากว่ากำหนด - ปฏิบัติงานโดยต้องอาศัยการชี้แนะ แนะนำ ตักเตือนหรือให้กำลังใจ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 รายวิชาคณิตศาสตร์3 ค13101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง การอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย เวลาเรียน 1 ชั่วโมง และตัวหนังสือแสดงจำนวน สอนวันที่..........เดือน..................พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ....................................................................................................................................................................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผล ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.3/1อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 สาระสำคัญ จำนวนนับที่ไม่เกิน 100,000 และ 0 เป็นจำนวนที่ประกอบด้วยหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย หลักพัน หลัก หมื่น และหลักแสน สามารถอ่านและเขียนแทนด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ ซึ่งต้องใส่ เครื่องหมายจุลภาค (,) ทุกช่วงสามตำแหน่งของจำนวนโดยนับจากหลักหน่วยไปทางซ้ายมือ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 ได้(K) 2. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 ได้ถูกต้อง (P) 3. อ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย แสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 ได้ถูกต้อง 4. นำความรู้เกี่ยวกับการอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 ไปใช้แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้(A) สาระการเรียนรู้ การอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวน ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชื่อมโยง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน จากนั้นแนะนำแผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย และแสดง ให้เห็นว่าเมื่อนำแผ่นตารางร้อยมา 10 แผ่น ชวนนักเรียนนับไปทีละแผ่นพร้อมกัน 100 200 300 400 500 600 700 800 900 และ1,000 เพื่อจะแนะนำว่ารูปลูกบาศก์เกิดจากการซ้อนกัน ของแผ่นตารางร้อย 10 แผ่น ได้รูป ลูกบาศก์พัน 1 รูป 2. ครูอาจวาดภาพให้นักเรียนดูเพื่อแสดงให้เห็นว่า การใช้ภาพแสดงจำนวนที่มีค่ามากนั้นอาจไม่สะดวก เนื่องจากใช้เวลาและพื้นที่มากในการเขียน และเพื่อความรวดเร็วในการอ่านครูจึงแนะนำสื่อชุดลูกคิด ซึ่ง ประกอบด้วยหลักลูกคิดและลูกคิด และแนะนำการใช้หลักลูกคิดทีละหลัก แล้วให้นักเรียนช่วยกันใส่ลูกคิดให้ตรง หลักตามจำนวนในรูปภาพในหนังสือเรียนหน้า 6 ในกรณีที่มีชุดลูกคิดเพียงพอ อาจให้นักเรียนจับกลุ่มกันและใส่ ลูกคิดให้ตรงตามจำนวนที่กำหนดให้ พร้อมทั้งให้บอกจำนวนที่แสดงในหลักลูกคิด จากนั้นให้เขียนตัวเลขฮินดูอา รบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวน 3. ครูจัดกิจกรรมโดยให้นักเรียนดูหลักลูกคิด แล้วครูแนะนำว่าแต่ละหลักจะมีลูกคิดได้เพียง 9 ลูก ถ้าใส่ครบ 10 ลูกจะต้องนำลูกคิดในหลักนั้นออกแล้วใส่ลูกคิดในหลักถัดไปทางซ้าย 1 ลูกเป็นเช่นนี้ทุกหลัก จากนั้นครูใส่ลูกคิด ในหลักลูกคิดแสดงจำนวนนับ 1,235
ครูถามนักเรียนว่า - จำนวนลูกคิดในหลักหน่วยมีกี่ลูกและแสดงจำนวนใด (5 ลูก แสดงจำนวน 5) - จำนวนลูกคิดในหลักสิบมีกี่ลูกและแสดงจำนวนใด (3 ลูก แสดงจำนวน 30) - จำนวนลูกคิดในหลักร้อยมีกี่ลูกและแสดงจำนวนใด (2 ลูก แสดงจำนวน 200) - จำนวนลูกคิดในหลักพันมีกี่ลูกและแสดงจำนวนใด (1 ลูก แสดงจำนวน 1,000) ครูสรุปการเขียนแสดงจำนวนบนกระดานดังนี้ ตัวเลขฮินดูอารบิก 1,235 ตัวเลขไทย ๑,๒๓๕ ตัวหนังสือ หนึ่งพันสองร้อยสามสิบห้า ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียนใส่ลูกคิดในหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย หลักพันโดยแต่ละหลักไม่เกิน 9 ลูกหรือบหลักไม่ ต้องใส่ลูกคิด แล้วให้นักเรียนบอกจำนวนลูกคิดในแต่ละหลัก เขียนตัวเลขฮินดู-อารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือ เช่น 5,403 ให้นักเรียนเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ 5,403 บนกระดานจะได้ ตัวเลขฮินดูอารบิก 5,403 ตัวเลขไทย ๕,๔๐๓ ตัวหนังสือ ห้าพันสี่ร้อยสาม 1. ครูนำลูกคิดใส่ในหลักพัน 10 ลูกแล้วถามนักเรียนว่าลูกคิดแสดงจำนวนใด (10 พัน) ครูแนะนำว่า 10 พัน คือ 1 หมื่น แล้วแนะนำว่าจะต้องนำลูกคิดทั้ง 10 ลูกออกแล้วใส่ลูกคิดในหลักถัดไปทางซ้ายของหลักพัน 1 ลูกแทน ครูแนะนำว่าหลักถัดไปทางซ้ายของหลักพันเรียกว่าหลักหมื่น ดังนั้นลูกคิดในหลักหมื่น 1 ลูกแสดงจำนวน 1 หมื่น ครู เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจำนวน 1 หมื่น หมื่น พัน ร้อย สิบ หมื่น พัน ร้อย สิบ
ตัวเลขฮินดูอารบิก 10,000 ตัวเลขไทย ๑๐,๐๐๐ ตัวเลขหนังสือ หนึ่งหมื่น 1. ใส่ลูกคิดในหลักหมื่นจนครบ 10 ลูกแล้วถามนักเรียนว่าลูกคิดแสดงจำนวนใด (10 หมื่น) 2. ครูแนะนำว่า 10 หมื่นคือ 1 แสนแล้วแนะนำต้องนำลูกคิดในหลักหมื่น 10 ลูกออกแล้วใส่ลูกคิดในหลัก ถัดไปทางซ้ายของหลักหมื่น 1 ลูกแทนครูแนะนำว่าหลักถัดไปทางซ้ายของหลักหมื่นเรียกว่าหลักแสนแล้วร่วมกันสรุป ความสัมพันธ์ต่างๆ ดังนี้ 10 หน่วย คือ 1 สิบ 10 สิบ คือ 1 ร้อย 10 ร้อย คือ 1 พัน 10 พัน คือ 1 หมื่น 10 หมื่น คือ 1 แสน 1. ครูจัดลูกคิดแสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 ให้นักเรียนบอกจำนวนพร้อมทั้งเขียนตัวเลขฮินดูอา รบิกตัวเลขไทยและตัวหนังสือ 2 – 3 ตัวอย่าง เช่น 32,090 56,143 80,755 ครูเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลข ไทยและตัวหนังสือแสดงจำนวนบนกระดาน แล้วให้นักเรียนจัดลูกคิดแสดงจำนวนตามครูที่กำหนด 3 – 4 ตัวอย่าง เช่น 21,645 43,706 50,289 64,507 2. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 1 การอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดง จำนวน เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกิจกรรมในใบ งานที่ 1 ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนนับที่มากกว่า 999 แต่ไม่เกิน 100,000 เลขโดดทางซ้ายของหลักร้อยอยู่ในหลักพัน เลขโดดทางซ้ายของหลักพันอยู่ในหลักหมื่น เลขโดด ทางซ้ายของหลักหมื่นอยู่ในหลักแสน สื่อการเรียนรู้ 1. ลูกคิดหรือหลักลูกคิด 2. ใบงานที่ 1 การอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน 1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 50% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ การประเมิน 2.ด้านทักษะ กระบวนการ (P) สังเกตพฤติกรรมด้าน ทักษะกระบวนการ แบบสังเกตพฤติกรรม ด้านทักษะ กระบวนการ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป 3.ด้านคุณลักษณะที่ พึงประสงค์(A) สังเกตพฤติกรรมด้าน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ แบบสังเกตพฤติกรรม ด้านคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป เกณฑ์การประเมินผลจากการทำใบกิจกรรม ใบงาน แบบฝึกปฏิบัติกิจกรรม ใช้เกณฑ์ดังนี้ 80% ขึ้นไป หมายถึง ดีมาก 70-79% หมายถึง ดี 60-69% หมายถึง ปานกลาง 50-59% หมายถึง ผ่าน ต่ำกว่า 50% หมายถึง ปรับปรุง
3
ความเห็นของหัวหน้างานวิชาการ ครูเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูสอดแทรกหลักคุณธรรม จริยธรรม ในแผนการจัดการเรียนรู้ / แผนการจัดประสบการณ์ ครูเขียนแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดประสบการณ์ ตรงตามเนื้อหาของหลักสูตรแกนกลาง ครูเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ / แผนการจัดประสบการณ์ ไม่ตรงตามเนื้อหาของหลักสูตรแกนกลาง ควรปรับปรุง เนื่องจาก ..................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ).......................................................หัวหน้างานวิชาการ (นางกาญจน์ชนา ชินวานิชย์เจริญ) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ ความเห็นของผู้บริหาร ครูควรกำกับติดตามนักเรียนที่มีผลการเรียนต่ำเป็นกรณีพิเศษ ครูควรสังเกตพฤติกรรมและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนเป็นรายบุคคล หากมีปัญหาให้ครูนำไปจัดทำ วิจัยในชั้นเรียน หรือ PLC ต่อไป ครูควรหาเทคนิคการสอนที่หลากหลายมาใช้ในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (ลงชื่อ)..................................................รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ (นายสำราญ ราตรีหว่าง) รองผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล 1 โพศรี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 รายวิชาคณิตศาสตร์ 3 ค13101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง การอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย เวลาเรียน 1 ชั่วโมง และตัวหนังสือแสดงจำนวน สอนวันที่........เดือน............พ.ศ......... ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ....................................................................................................................................................................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.3/1 อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 สาระสำคัญ หลักเลขประกอบหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย หลักพัน หลักหมื่น และหลักแสน โดยแต่ละหลักจะมีค่า ประจำหลักเป็น 1, 10, 100, 1000, 10,000 และ 100,000 ตามลำดับ ทำให้เลขโดดที่อยู่หลักต่างกันของจำนวนนับ มีค่าต่างกัน ยกเว้น 0 อยู่ในหลักใดก็ยังมีค่าเท่ากับ 0 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 ได้(K) 2. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 ได้ถูกต้อง (P) 3. อ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย แสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 ได้ถูกต้อง 4. นำความรู้เกี่ยวกับการอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 ไปใช้แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้(A) สาระการเรียนรู้ การอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวน
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชื่อมโยง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับหลักลูกคิดแต่ละหลัก โดยครูสาธิตการใช้ลูกคิดหน้า ชั้นเรียน แล้วตั้งคำถามให้นักเรียนตอบ ดังนี้ ครูถามนักเรียนว่า - หลักลูกคิดด้านขาวมือสุดใช้แทนจำนวนในหลักใด (หลักหน่วย) - หลักลูกคิดถัดจากหลักหน่วยไปทางซ้ายมือใช้แทนจำนวนในหลักใด (หลักสิบ) - หลักลูกคิดถัดจากหลักสิบไปทางซ้ายมือใช้แทนจำนวนในหลักใด (หลักร้อย) - หลักลูกคิดถัดจากหลักร้อยไปทางซ้ายมือใช้แทนจำนวนในหลักใด (หลักพัน) - หลักลูกคิดถัดจากหลักพันปทางซ้ายมือใช้แทนจำนวนในหลักใด (หลักหมื่น) 2. ครูขออาสาสมัครนักเรียน 1 คน ออกมาหยิบลูกคิดใสในหลักลูกคิด แสดงจำนวนไม่เกิน 100,000 ตามความต้องการของนักเรียน แล้วนักเรียนทั้งชั้นอ่านตัวเลขที่แทนด้วยหลักลูกคิดนั้น หมื่น พัน ร้อย สิบ
3. ครูนำลูกคิดใส่ในหลักลูกแสดงจำนวนนับ 3,052 ดังรูป ครูตั้งคำถามให้นักเรียนตอบดังนี้ - หลักพันมีลูกคิดจำนวนกี่ลูก และแสดงจำนวนใด (3 ลูก แสดงจำนวน 3,000) - หลักร้อยมีลูกคิดจำนวนกี่ลูก และแสดงจำนวนใด (0 ลูก แสดงจำนวน 0) - หลักสิบมีลูกคิดจำนวนกี่ลูก และแสดงจำนวนใด (5 ลูก แสดงจำนวน 50) - หลักหน่วยมีลูกคิดจำนวนกี่ลูก และแสดงจำนวนใด (2 ลูก แสดงจำนวน 2) - หลักลูกคิดแสดงจำนวนใด อ่านว่า อย่างไร (3,052 อ่านว่า สามพันห้าสิบสอง) ขั้นสอน 1. ครูแจกบัตรภาพต่อไปนี้ให้นักเรียนกลุ่มละ 4 ใบ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนวงกลมแทนลูกคิดลง ในบัตรภาพให้สอดคล้องกับจำนวนที่กำหนดให้ 37,028 40,869 57,475 38,009 หมื่น พัน ร้อย สิบ หมื่น พัน ร้อย สิบ หมื่น พัน ร้อย สิบ หมื่น พัน ร้อย สิบ หมื่น พัน ร้อย สิบ
นักเรียนช่วยกันเขียนตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจำนวน ดังนี้ 37,028 ๓๗,๐๒๘สามหมื่นเจ็ดพันยี่สิบแปด 40,869 ๔๐,๘๖๙สี่หมื่นแปดร้อยหกสิบเก้า 57,475 ๕๗,๔๗๕ห้าหมื่นเจ็ดพันสี่ร้อยเจ็ดสิบห้า 38,009 ๓๘,๐๐๙สามหมื่นแปดพันเก้า 2. ครูแจกบัตรภาพหลักลูกคิดให้นักเรียนกลุ่มละ 4 ใบให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนจำนวนแทนลูกคิด ลงในบัตรภาพให้สอดคล้องกับภาพที่กำหนดให้ นักเรียนช่วยกันเขียนตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจำนวน ดังนี้ 17,592 ๑๗,๕๙๒หนึ่งหมื่นเจ็ดพันห้าร้อยเก้าสิบสอง 53,156 ๕๓,๑๕๖ห้าหมื่นสามพันหนึ่งร้อยห้าสิบหก 47,232 ๔๗,๒๓๒สี่หมื่นเจ็ดพันสองร้อยสามสิบสอง 63,236 ๖๓,๒๓๖หกหมื่นสามพันสองร้อยสามสิบหก 1. ครูติดบัตรตัวเลขแสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 บนกระดาน 3-4 จำนวน แล้วสาธิตการอ่านแต่ละ จำนวนให้นักเรียนฟัง โดยให้นักเรียนร่วมกันอ่านตาม หมื่น พัน ร้อย สิบ หมื่น พัน ร้อย สิบ หมื่น พัน ร้อย สิบ หมื่น พัน ร้อย สิบ 94,354 50,280 38,753 85,427
2. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 2 การอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวน เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 2 ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้จำนวนนับที่ไม่เกิน 100,000 สามารถอ่านและ เขียนแทนด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ ซึ่งการบอกจำนวนไม่เกิน 100,000 จะเป็นการบอก จำนวนที่มีตัวเลขไม่เกินหกหลัก สื่อการเรียนรู้ 1. ลูกคิดหรือหลักลูกคิด 2. บัตรภาพ บัตรตัวเลข 3. ใบงานที่ 2 การอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน 1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 50% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ การประเมิน 2.ด้านทักษะ กระบวนการ (P) สังเกตพฤติกรรมด้าน ทักษะกระบวนการ แบบสังเกตพฤติกรรม ด้านทักษกระบวนการ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป 3.ด้านคุณลักษณะที่ พึงประสงค์(A) สังเกตพฤติกรรมด้าน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ แบบสังเกตพฤติกรรม ด้านคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป เกณฑ์การประเมินผลจากการทำใบกิจกรรม ใบงาน แบบฝึกปฏิบัติกิจกรรม ใช้เกณฑ์ดังนี้ 80% ขึ้นไป หมายถึง ดีมาก 70-79% หมายถึง ดี 60-69% หมายถึง ปานกลาง 50-59% หมายถึง ผ่าน ต่ำกว่า 50% หมายถึง ปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 รายวิชาคณิตศาสตร์ 3 ค13101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลข เวลาเรียน 1 ชั่วโมง แสดงจำนวนในรูปกระจาย สอนวันที่..........เดือน.........พ.ศ........... ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ....................................................................................................................................................................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผล ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.3/1 อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 สาระสำคัญ หลักเลขประกอบหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย หลักพัน หลักหมื่น และหลักแสน โดยแต่ละหลักจะมีค่า ประจำหลักเป็น 1, 10, 100, 1000, 10,000 และ 100,000 ตามลำดับ ทำให้เลขโดดที่อยู่หลักต่างกันของจำนวนนับ มีค่าต่างกัน ยกเว้น 0 อยู่ในหลักใดก็ยังมีค่าเท่ากับ 0 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลักพร้อมทั้งเขียนตัวเลขแสดงจำนวนนับไม่เกิน 1,000 ในรูป กระจายได้(K) 2. เขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจายได้ถูกต้อง (P) 3. นำความรู้เกี่ยวกับหลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย ไป ใช้แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้(A) สาระการเรียนรู้ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชื่อมโยง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจำนวนนับไม่เกิน 100 โดยครูเตรียมมัดไม้มัดละ 10 จำนวน 3 มัดกับไม้อีก 4 อันแล้วถามคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบ ดังนี้ - มีมัดไม้อยู่กี่มัด กับไม้อีกกี่อัน (3 มัดกับอีก 4 อัน) - มีไม้ทั้งหมดกี่อัน (สามสิบสี่อัน) - เขียนตัวเลขแสดงจำนวนไม้ทั้งหมดได้อย่างไร (34 หรือ ๓๔) - 34 แทนจำนวนกี่สิบกับกี่หน่วย (3 สิบกับ 4 หน่วย) - 3 ทางซ้ายอยู่ในหลักใด (หลักสิบ) และ 4 ทางขวาอยู่ในหลักใด (หลักหน่วย) - เลขโดด 3 ในหลักสิบมีค่าเท่าใด (30) เลขโดด 4 ในหลักหน่วยมีค่าเท่าใด (4) ขั้นสอน 1. ครูเขียนจำนวนนับสองจำนวนบนกระดานเช่น 58 แล้วถามนักเรียนว่า - เลขโดด 5 อยู่ในหลักใด มีค่าเท่าไร (หลักสิบ มีค่า 50) - เลขโดด 8 อยู่ในหลักใด มีค่าเท่าไร (หลักหน่วย มีค่า 8) 2. ครูจัดกิจกรรมทำนองเดียวกันอีก 3 – 5 จำนวนเช่น 65 76 89 95 99 จากนั้นครูยกตัวอย่างจำนวน นับที่เลขโดดในหลักสิบและหลักหน่วยเป็นจำนวนเดียวกัน เช่น 11 22 33 ให้นักเรียนบอกหลักและค่าของเลขโดด ในแต่ละหลัก 3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป เลขโดดตัวเดียวกันถ้าอยู่ในหลักต่างกันจะมีค่าต่างกัน 4. ครูยกตัวอย่างจำนวนสามหลัก เช่น 120 และ 549 ให้นักเรียนบอกหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละ หลัก โดยครูถามนักเรียนดังนี้ 120 เลขโดด 1 อยู่ในหลักใด มีค่าเท่าไร(หลักร้อย มีค่า 100) เลขโดด 2 อยู่ในหลักใด มีค่าเท่าไร(หลักสิบ มีค่า 20) เลขโดด 0 อยู่ในหลักใด มีค่าเท่าไร(หลักหน่วย มีค่า 20) 549 เลขโดด 5 อยู่ในหลักใด มีค่าเท่าไร(หลักร้อย มีค่า 500)
เลขโดด 4 อยู่ในหลักใด มีค่าเท่าไร(หลักสิบ มีค่า 40) เลขโดด 9 อยู่ในหลักใด มีค่าเท่าไร(หลักหน่วย มีค่า 9) 5. ครูยกตัวอย่างจำนวนนับ 495 แล้วถามนักเรียนดังต่อไปนี้ 495 เลขโดด 9 อยู่ในหลักใด มีค่าเท่าไร(หลักสิบ มีค่า 90) 495 เลขโดด 5 อยู่ในหลักใด มีค่าเท่าไร(หลักหน่วย มีค่า 5) ครูถามนักเรียนว่า จำนวนนับ 495 เลขโดด 9 กับ เลขโดด 5 มีค่าต่างกันเท่าไร คิดได้อย่างไร (85 คิดได้จาก 9 อยู่ในหลักสิบมีค่า 90 และ 5 อยู่ในหลักหน่วยมีค่า 5 ดังนั้น 90–5 = 85) 6. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 3 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนใน รูปกระจาย เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกิจกรรมใน ใบงานที่ 3 ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้จำนวนนับที่มีสามหลัก เลขโดดทางขวาอยู่ใน หลักหน่วย เลขโดดทางซ้ายของหลักหน่วยอยู่ในหลักสิบ เลขโดดทางซ้ายของหลักสิบอยู่ในหลักร้อย สื่อการเรียนรู้ 1. มัดไม้ 2. ใบงานที่ 3 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจา การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน 1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 50% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ การประเมิน 2.ด้านทักษะ กระบวนการ (P) สังเกตพฤติกรรมด้าน ทักษะกระบวนการ แบบสังเกตพฤติกรรม ด้านทักษะ กระบวนการ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป 3.ด้านคุณลักษณะที่ พึงประสงค์(A) สังเกตพฤติกรรมด้าน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ แบบสังเกตพฤติกรรม ด้านคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป เกณฑ์การประเมินผลจากการทำใบกิจกรรม ใบงาน แบบฝึกปฏิบัติกิจกรรม ใช้เกณฑ์ดังนี้ 80% ขึ้นไป หมายถึง ดีมาก 70-79% หมายถึง ดี 60-69% หมายถึง ปานกลาง 50-59% หมายถึง ผ่าน ต่ำกว่า 50% หมายถึง ปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 รายวิชาคณิตศาสตร์ 3 ค13101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลข เวลาเรียน 1 ชั่วโมง แสดงจำนวนในรูปกระจาย สอนวันที่....... เดือน.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ................................................................................................................................................................ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการ ของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.3/1อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจำนวนนับ ไม่เกิน 100,000 และ 0 สาระสำคัญ หลักเลขประกอบหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย หลักพัน หลักหมื่น และหลักแสน โดยแต่ละ หลักจะมีค่าประจำหลักเป็น 1, 10, 100, 1000, 10,000 และ 100,000 ตามลำดับ ทำให้เลขโดดที่อยู่ หลักต่างกันของจำนวนนับมีค่าต่างกัน ยกเว้น 0 อยู่ในหลักใดก็ยังมีค่าเท่ากับ 0 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลักพร้อมทั้งเขียนตัวเลขแสดงจำนวนนับไม่เกิน 1,000 ในรูปกระจายได้(K) 2. เขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจายได้ถูกต้อง (P) 3. นำความรู้เกี่ยวกับหลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนใน รูปกระจาย ไปใช้แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้(A) สาระการเรียนรู้ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชื่อมโยง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจำนวนนับไม่เกิน 1,000 โดยติด บัตรภาพลูกคิดแสดงจำนวน 652 บนกระดานดังนี้ ครูถามคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบ ดังนี้ - บัตรภาพแสดงจำนวนใด (หกร้อยห้าสิบสอง) - เขียนตัวเลขแสดงจำนวนได้อย่างไร (652 หรือ ๖๕๒) - 652 เป็นจำนวนที่มีกี่ร้อย (6 ร้อย) กับกี่สิบ (5 สิบ) กับกี่หน่วย (2 หน่วย) - 6 อยู่ในหลักใด (หลักร้อย) มีค่าเท่าใด (600) - 5 อยู่ในหลักใด (หลักสิบ) มีค่าเท่าใด (50) - 2 อยู่ในหลักใด (หลักหน่วย) มีค่าเท่าใด (2) - 315 เขียนในรูปกระจายได้อย่างไร (315 = 300 + 10 + 5) หมื่น พัน ร้อย สิบ
ขั้นสอน 1. ครูติดบัตรภาพลูกคิดแสดงจำนวน 8,173 บนกระดานดังนี้ ครูถามคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบ ดังนี้ - บัตรภาพแสดงจำนวนใด (แปดพันหนึ่งร้อยเจ็ดสิบสาม) - เขียนตัวเลขแสดงจำนวนได้อย่างไร (8,173 หรือ ๘,๑๗๓) - 8,173 เป็นจำนวนที่มีกี่พัน (8 พัน) กับกี่ร้อย (1 ร้อย) กับกี่สิบ (7 สิบ) กับกี่หน่วย (3 หน่วย) - 8 อยู่ในหลักใด (หลักพัน) มีค่าเท่าใด (8,000) - 1 อยู่ในหลักใด (หลักร้อย) มีค่าเท่าใด (100) - 7 อยู่ในหลักใด (หลักสิบ) มีค่าเท่าใด (70) - 3 อยู่ในหลักใด (หลักหน่วย) มีค่าเท่าใด (3) -8,173 เขียนในรูปกระจายได้อย่างไร (8,173 = 8,000 + 100 + 70 + 3) 2. ครูยกตัวอย่างจำนวนนับ เช่น 6,301 ให้นักเรียนช่วยกันตอบคำถามต่อไปนี้ - 6 อยู่ในหลักใด (หลักพัน) มีค่าเท่าใด (3,000) - 3 อยู่ในหลักใด (หลักร้อย) มีค่าเท่าใด (300) - 0 อยู่ในหลักใด (หลักสิบ) มีค่าเท่าใด (0) - 1 อยู่ในหลักใด (หลักหน่วย) มีค่าเท่าใด (1) - 6,301 เขียนในรูปกระจายได้อย่างไร (6,301 = 6,000 + 300 + 0 + 1) ครูแนะนำว่า 6,301 = 6,000 + 300 + 0 + 1 สามารถเขียนในรูปกระจายได้อีก แบบดังนี้ 6,301 = 6,000 + 300 + 1 3. ครูบอกจำนวนนับแล้วให้ตัวแทนนักเรียนออกมาเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูป กระจายบนกระดานดังนี้ 2,430 = 2,000 + 400 + 30 5,261 = 5,000 + 200 + 60 + 1 1,245 = 1,000 + 20 + 40 + 5 9,720 = 9,000 + 700 + 20 หมื่น พัน ร้อย สิบ
4. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 4 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลข แสดงจำนวนในรูปกระจาย เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและ นักเรียนร่วมกันเฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 4 ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนนับ ใดๆ ในรูปกระจายเป็นการเขียนในรูปการบวกค่าของเลขโดดในหลักต่างๆ ของจำนวนนั้น สื่อการเรียนรู้ 1. บัตรภาพลูกคิด 2. ใบงานที่ 4 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดง จำนวนในรูปกระจาย การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน 1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 50% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ การประเมิน 2.ด้านทักษะ กระบวนการ (P) สังเกตพฤติกรรมด้าน ทักษะกระบวนการ แบบสังเกตพฤติกรรม ด้านทักษะ กระบวนการ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป 3.ด้านคุณลักษณะที่ พึงประสงค์(A) สังเกตพฤติกรรมด้าน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ แบบสังเกตพฤติกรรม ด้านคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป เกณฑ์การประเมินผลจากการทำใบกิจกรรม ใบงาน แบบฝึกปฏิบัติกิจกรรม ใช้เกณฑ์ดังนี้ 80% ขึ้นไป หมายถึง ดีมาก 70-79% หมายถึง ดี 60-69% หมายถึง ปานกลาง 50-59% หมายถึง ผ่าน ต่ำกว่า 50% หมายถึง ปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 รายวิชาคณิตศาสตร์3 ค13101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลข เวลาเรียน 1 ชั่วโมง แสดงจำนวนในรูปกระจาย สอนวันที่....... เดือน.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ................................................................................................................................................................ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การ ดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.3/1 อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจำนวน นับไมเกิน 100,000 และ 0 สาระสำคัญ หลักเลขประกอบหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย หลักพัน หลักหมื่น และหลักแสน โดยแต่ละ หลักจะมีค่าประจำหลักเป็น 1, 10, 100, 1000, 10,000 และ 100,000 ตามลำดับ ทำให้เลขโดดที่อยู่ หลักต่างกันของจำนวนนับมีค่าต่างกัน ยกเว้น 0 อยู่ในหลักใดก็ยังมีค่าเท่ากับ 0 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลักพร้อมทั้งเขียนตัวเลขแสดงจำนวนนับไม่เกิน 1,000 ในรูปกระจายได้(K) 2. เขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจายได้ถูกต้อง (P) 3. นำความรู้เกี่ยวกับหลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนใน รูปกระจาย ไปใช้แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้(A) สาระการเรียนรู้ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชื่อมโยง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนจำนวนนับไม่เกิน 10,000 โดยครูยกตัวอย่าง 2,496 โดยครูติดบัตรภาพ หลักลูกคิดแสดงจำนวน 2,496 บนกระดานดังนี้ ครูถามคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบ ดังนี้ - บัตรภาพหลักลูกคิดแสดงจำนวนใด (สองพันสี่ร้อยเก้าสิบหก) - เขียนตัวเลขแสดงจำนวนได้อย่างไร (2,496 หรือ ๒,๔๙๖) - 2,496 เขียนในรูปกระจายได้อย่างไร (2,496 = 2,000 + 400 + 90 + 6) ขั้นสอน 1. ครูกำหนดจำนวนห้าหลัก ให้นักเรียนช่วยกันใส่ลูกคิดแสดงจำนวนที่กำหนดให้ทีละ จำนวน เช่น 38,047 62,365 ครูตรวจสอบความถูกต้อง แล้วครูติดบัตรภาพหลักลูกคิดที่แสดงจำนวน 38,047 บนกระดาน หมื่น พัน ร้อย สิบ หมื่น พัน ร้อย สิบ
ครูถามคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบ ดังนี้ - บัตรภาพหลักลูกคิดแสดงจำนวนใด (สามหมื่นแปดพันสี่สิบเจ็ด) - เขียนตัวเลขแสดงจำนวนได้อย่างไร (38,047 หรือ ๓๘,๐๔๗) - 38,047 เป็นจำนวนกี่หมื่น (3 หมื่น) กับกี่พัน (8 พัน) กับกี่ร้อย (0 ร้อย) กับกี่สิบ (4 สิบ) กับกี่หน่วย (7 หน่วย) - 3 อยู่ในหลักใด (หลักหมื่น) มีค่าเท่าใด (30,000) - 8 อยู่ในหลักใด (หลักพัน) มีค่าเท่าใด (8,000) - 0 อยู่ในหลักใด (หลักร้อย) มีค่าเท่าใด (0) - 4 อยู่ในหลักใด (หลักสิบ) มีค่าเท่าใด (40) - 7 อยู่ในหลักใด (หลักหน่วย) มีค่าเท่าใด (7) - 38,047 เขียนในรูปกระจายได้อย่างไร (38,047 = 30,000 + 8,000 + 40 + 7) 2. ครูแนะนำการเขียน 62,365 ในรูปกระจายดังนี้ 62,365 = 60,000 + 2,000 + 300 + 60 + 5 3. ครูติดบัตรภาพลูกคิดแสดงจำนวน 100,000 ครูถามคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบ ดังนี้ - บัตรภาพหลักลูกคิดแสดงจำนวนใด (หนึ่งแสน) - เขียนตัวเลขแสดงจำนวนได้อย่างไร (100,000 หรือ ๑๐๐,๐๐๐) 4. ครูยกตัวอย่างจำนวนนับที่มากกว่า 10,000 แต่น้อยกว่า 100,000 เช่น 40,740 บน กระดานให้นักเรียนช่วยกันบอกค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก ดังนี้ 4 ในหลักหมื่นมีค่าเท่าใด (40,000) 0 ในหลักพันมีค่าเท่าใด (0) 7 ในหลักร้อยมีค่าเท่าใด (700) 4 ในหลักสิบมีค่าเท่าใด (40) 0 ในหลักหน่วยมีค่าเท่าใด (0) หมื่น พัน ร้อย สิบ
หลังจากนั้น ครูให้นักเรียนช่วยกันตอบคำถามต่อไปนี้ - 40,740 เขียนในรูปกระจายได้อย่างไร (40,740 = 40,000 + 700 + 40) - ค่าของเลขโดด 4 ในหลักสิบและหลักหมื่นต่างกันหรือไม่(ต่างกัน) ถ้าต่างกัน ต่างกันอยู่เท่าใด (40,000 – 40 = 39,960) - ค่าของเลขโดด 0 ในหลักหน่วยและหลักพันต่างกันหรือไม่ (ไม่ต่างกัน) 5. ครูยกตัวอย่างทำนองเดียวกันนี้อีก 1-2 ตัวอย่างเช่น 25,713 78,406 6. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 5 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลข แสดงจำนวนในรูปกระจาย เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและ นักเรียนร่วมกันเฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 5 ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนใดๆ ในรูปกระจาย เป็นการเขียนในรูปการบวกค่าของเลขโดดในหลักต่างๆ ของจำนวนนั้น และเลขโดด เดียวกันถ้าอยู่ในหลักต่างกันจะมีค่าต่างกัน ยกเว้น 0 สื่อการเรียนรู้ 1. บัตรภาพลูกคิด 2. ใบงานที่ 5 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดง จำนวนในรูปกระจาย
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน 1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 50% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ การประเมิน 2.ด้านทักษะ กระบวนการ (P) สังเกตพฤติกรรมด้าน ทักษะกระบวนการ แบบสังเกตพฤติกรรม ด้านทักษะ กระบวนการ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป 3.ด้านคุณลักษณะที่ พึงประสงค์(A) สังเกตพฤติกรรมด้าน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ แบบสังเกตพฤติกรรม ด้านคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป เกณฑ์การประเมินผลจากการทำใบกิจกรรม ใบงาน แบบฝึกปฏิบัติกิจกรรม ใช้เกณฑ์ดังนี้ 80% ขึ้นไป หมายถึง ดีมาก 70-79% หมายถึง ดี 60-69% หมายถึง ปานกลาง 50-59% หมายถึง ผ่าน ต่ำกว่า 50% หมายถึง ปรับปรุง
ความเห็นของหัวหน้างานวิชาการ ครูเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูสอดแทรกหลักคุณธรรม จริยธรรม ในแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัด ประสบการณ์ ครูเขียนแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดประสบการณ์ ตรงตามเนื้อหาของหลักสูตร แกนกลาง ครูเขียนแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดประสบการณ์ ไม่ตรงตามเนื้อหาของ หลักสูตรแกนกลาง ควรปรับปรุง เนื่องจาก .................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ (ลงชื่อ) หัวหน้างานวิชาการ (นางกาญจน์ชนา ชินวานิชย์เจริญ) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ ความเห็นของผู้บริหาร ครูควรกำกับติดตามนักเรียนที่มีผลการเรียนต่ำเป็นกรณีพิเศษ ครูควรสังเกตพฤติกรรมและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนเป็นรายบุคคล หากมีปัญหาให้ครู นำไปจัดทำวิจัยในชั้นเรียน หรือ PLC ต่อไป ครูควรหาเทคนิคการสอนที่หลากหลายมาใช้ในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง (ลงชื่อ) รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ (นายสำราญ ราตรีหว่าง) รองผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล 1 โพศรี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 รายวิชาคณิตศาสตร์3 ค13101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง การเปรียบเทียบจำนวน เวลาเรียน 1 ชั่วโมง สอนวันที่....... เดือน.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ................................................................................................................................................................ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการ ของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.3/2 เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์ต่างๆ สาระสำคัญ จำนวนนับไม่เกิน 100,000 สามารถนำมาเปรียบเทียบกันได้ โดยมีค่าเท่ากันหรือไม่เท่ากัน และค่าไม่เท่ากันอาจมีค่ามากกว่าหรือน้อยกว่ากันอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น โดยใช้เครื่องหมาย = ≠ > < แสดงการเปรียบเทียบ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เปรียบเทียบจำนวนนับไม่เกิน 100,000 ที่มีจำนวนหลักไม่เท่ากันได้(K) 2. เขียนเปรียบเทียบจำนวนนับไม่เกิน 100,000 ว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่เท่ากัน และมีค่า มากกว่าหรือน้อยกว่าได้ถูกต้อง 3. เขียนเปรียบเทียบจำนวนนับไม่เกิน 100,000 โดยใช้เครื่องหมาย = ≠ > < ได้ถูกต้อง (P) 4. นำความรู้เกี่ยวกับการเปรียบเทียบจำนวนไปใช้แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้(A) สาระการเรียนรู้ การเปรียบเทียบจำนวน ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชื่อมโยง 3. ความสามารถในการให้เหตุผล
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนการเปรียบเทียบจำนวนนับสองจำนวนที่ไม่เกิน 1,000 โดยครูยกตัวอย่าง มาครั้งละ 2 จำนวนให้นักเรียนเปรียบเทียบจำนวนใดมากกว่า น้อยกว่าหรือเท่ากับ โดยให้เหตุผล ประกอบแล้วเขียนประโยคสัญลักษณ์แสดงการเปรียบเทียบบนกระดานเช่น 2. นักเรียนร่วมกันสรุปการเปรียบเทียบจำนวน ดังนี้ 1) เปรียบเทียบจำนวนหลักก่อน จำนวนใดมีจำนวนหลักมากกว่าจำนวนนั้นจะ มากกว่า 2) ถ้าจำนวนหลักเท่ากัน ให้เปรียบเทียบค่าของเลขโดดในหลักทางซ้ายสุดก่อน ถ้า ค่าของเลขโดดในหลักทางซ้ายสุดของจำนวนใดมากกว่า จำนวนนั้นจะมากกว่าถ้าค่าของเลขโดดใน หลักทางซ้ายสุดของทั้งสองจำนวนเท่ากันให้เปรียบเทียบค่าของเลขโดดในหลักถัดไปทางขวาทีละหลัก ขั้นสอน 1. ครูเขียนตัวเลขแสดงจำนวนนับสองจำนวนที่ไม่เกิน 100,000 โดยทั้งสองมีจำนวน หลักไม่เท่ากับบนกระดาน เช่น ครูถามคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบ ดังนี้ - จำนวนสองจำนวนนี้เท่ากันหรือไม่ (ไม่เท่ากัน) - จำนวนทางซ้ายมือมีกี่หลัก (5 หลัก) 316 > 87 268 < 452 254 > 248 199 < 209 918 = 918 0 = 0 52,582 5,248