รวมราชกิจจานุเบกษา เขตทางทะเลและเขตแดนทางทะเล นักศึกษาหลักสูตรวิทยาลัยการทัพเรือ รุ่นที ๕๖ รวบรวมและจัดทําโดย
Our Sea Our Home หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที ทรงคุณค่า ของการประกาศเขตทางทะเลและเขตแดนทางทะเลของไทย รวบรวมจากราชกิจจานุเบกษาที สืบค้นไปในอดีตกว่า 60 ปี บรรพบุรุษของไทย ประกาศเขตทางทะเล อย่างถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ ภายใต้กฎหมายทุกฉบับ หน้าทีของเราคือ รู้จัก เข้าใจ และรักษาไว้
หลักเขตแดน คือหลักเขตสําหรับใช้ระบุ กําหนด เขตแดนระหว่างรัฐ หลักอ้างอิงเขตแดน คือหลักเขตสําหรับอ้างอิงตําแหน่งของเขตแดน มักใช้ในกรณี ที ไม่สามารถสร้างหลักเขตแบบถาวรได้ในบริเวณเขตแดน เช่น บริเวณกึ งกลางปากแม่นํ า บริเวณชายทะเล จึงใช้หลักอ้างอิงเขตแดนที สร้างขึ นบนแผ่นดินที มีความมั นคง หรือลักษณะทางธรรมชาติที เป็ นที เด่นชัดในการอ้างอิงว่า เขตแดนอยู่ ณ ที ใดจากหลักอ้างอิงเขตแดน เช่น “เขตแดนระหว่างกรุงสยามกับอินโดจีนของฝรั งเศสนั น ตั งแต่ชายฝั งทะเลที ตรงข้ามยอดเขาที สูงที สุดของเกาะกูด” หลักอ้างอิงเขตแดนคือยอดเขาที สูงที สุดของเกาะกูด เขตแดนคือชายฝั งทะเลที อยู่ตรงข้ามยอดสูงสุดของเกาะกูด สาระน่ารู้
รวมราชกิจจานุเบกษาเขตทางทะเลและเขตแดนทางทะเล พิมพ์ครั้งแรก พฤษภาคม พุทธศักราช 2567 จำ นวน 1,000 เล่ม ISBN 978-616-91800-5-0 ISBN (E-book) 978-616-91800-6-7 จัดทำ โดย นักศึกษาหลักสูตรวิทยาลัยการทัพเรือ รุ่นที่ 56 กรมยุทธศึกษาทหารเรือ กองทัพเรือ 106 หมู่ 3 ตำ บลศาลายา อำ เภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 พิมพ์ที่ บริษัทแอดวานซ์ กราฟี จํากัด 503 ถ.อิสรภาพ แขวงบ้านช่างหล่อ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท์: 062-456-4855 E-mail: [email protected]
คํานํา อาณาเขตทางทะเลและเขตแดนทางทะเลของประเทศไทย (น่านนํ าไทย) มีความ สาคัญอย่างยิ ํ ง เนื องจากอาณาเขตทางทะเลเป็ นการระบุขอบเขตอํานาจอธิปไตย และ สทธิอธิปไตยในการแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติทั งที มีชีวิต เช่น ิ การประมง และไม่มีชีวิต เช่น แหล่งก๊าซธรรมชาติใต้พื นท้องทะเล สาหรับเขตแดน ํ ทางทะเลคือพรมแดนระหว่างประเทศทางทะเล ที ปั จจุบันมีทั งสถานะที ตกลงกัน เรียบร้อยแล้ว และที ยังอยู่ระหว่างการเจรจาเพื อหาข้อยุติกับประเทศเพื อนบ้าน น่านนํ าไทย เปรียบเสมือนถุงเงินถุงทองที ขนาบซ้าย (ทะเลอันดามัน) ขวา (อ่าวไทย) ด้ามขวานทองของไทย ความรู้ความเข้าใจเกี ยวกับน่านนํ าไทย จึงเป็ นของคนไทยทุกคน นักศกษาหลักสูตรวิทยาลัยการทัพเรือ รุ่นที 56 ได้รวบรวมเอกสารหลักฐานต่าง ึ ๆ ที เกี ยวข้อง เพื อใช้เป็ นแหล่งข้อมูลอ้างอิงเกี ยวกับอาณาเขตทางทะเลและเขตแดน ทางทะเลของประเทศไทย เอกสารแบ่งเป็ นสองสวน คือ ส ่ วนแรกเป็ นการประกาศ ่ เขตทางทะเลต่าง ๆ ของประเทศไทย สวนที สองเป็ นความตกลงเกี ยวกับเขตแดน ่ ทางทะเลกับประเทศเพื อนบ้าน โดยทําการเรียงลําดับของเอกสารตามลักษณะ ภูมิประเทศจากด้านเหนือของทะเลอันดามัน แล้วลงมาด้านใต้คือช่องแคบมะละกา ผ่านช่องแคบมะละกาแล้วเข้าอ่าวไทย เอกสารที ได้รวบรวมไว้ในหนังสอเล่มนี ื เป็ นการทําสาเนาจากต้นฉบับ เอกสารบางส ํ วนอาจมีความไม่ชัดเจน หรือมีร่องรอย ่ ของหมึกพิมพ์อยู่บ้างก็เป็ นไปตามข้อมูลที ปรากฎบนต้นฉบับ นักศกษาหลักสูตรวิทยาลัยการทัพเรือรุ่นที 56 หวังเป็ นอย่างยิ ึ งว่าเอกสารฉบับนี จะ เป็ นประโยชน์ต่อผู้ที สนใจเกี ยวกับอาณาเขตและเขตแดนทางทะเลของประเทศไทย อีกทั งยังเป็ นการช่วยสงเสริมให้เกิดความรู้ความเข้าใจที ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ ่ เกี ยวกับอาณาเขตทางทะเลและเขตแดนทางทะเลของประเทศไทย นักศึกษาหลักสูตรวิทยาลัยการทัพเรือ รุ่นที 56
นักศกษาวิทยาลัยการทัพเรือ รุ่นที ึ 56 น.อ.ก่อเกียรติ บุญปก น.อ.กันตพัฒน์ ชูศิริ น.อ.โกมล คงบุญรักษ์ น.อ.คมสันติ ดีประเสริฐ น.อ.จักรณรงค์ เหมนิธิ น.อ.จามร พูลเนียม น.อ.หญิง แจ่มใส พันทวี น.อ.ชลิต เย็นฉํ า น.อ.ชํานาญ จันทร์สุวรรณ์ น.อ.ณดลเดช บุตรสุด น.อ.ณฤทธิ พิชิตชโลธร น.อ.เดช คุรุรัตน์ น.อ.ธนเดช กุลณาวรรณ์ น.อ.นพดล กําปั นทอง น.อ.นฤพล วีระจิตต์ น.อ.นิรุตติ มาทอง น.อ.บุญส่ง แวววงศ์ น.อ.ปรวัฒน์ สอาดเอี ยม น.อ.ประภากร กู้ประเสริฐ น.อ.ปาลพล วุฒิสุพงส์ น.อ.พิเชษฐ เข็มทอง น.อ.พิษณุ สุขยอด น.อ. ผศ.ไพรัช ทัตตะทองคํา น.อ.ภูวณัฏฐ์ โภคพรสิษฐ์ น.อ.ยศ แก้วกําเนิด น.อ.รณภพ รามัญจิต น.อ.โรมรัน วังบรรพต น.อ.วัชรินทร์ พานิชเจริญ น.อ.วิวัฒน์ ขุนพรรณราย น.อ.ศานิต จงรักษ์ น.อ.กังวาล มินวงษ์ น.อ.เกียรติศักดิ ด้วงพรหมโพธิ น.อ.คมสัน จันทรางศุ น.อ.จงเจริญ แจ้งจุล น.อ.จัตวา ศรีเลื อนสร้อย น.อ.จุมพล นาคสุวรรณ น.อ.ชลเขตต์ หิรัญพิศ น.อ.ชัยเดช เทียนทอง น.อ.โชคสถิตย์ บุญถม น.อ.ณรงค์ สุขพ่อค้า น.อ.ดิเรก ขจรรัตน์ น.อ.ทิวากร นุกิจ น.อ.นที หงษ์ทอง น.อ.นพิพัฒน์ รัตนพิทักษ์ น.อ.นิพัทธ์ วิบูลย์กิจวรกุล น.อ.บพิธ ทศเทพพิทักษ์ น.อ.ปรเมศวร์ ไศลบาท น.อ.ประจักษ์ สกุลพรรณ์ น.อ.ปริยวิศร์ สังข์ทองจีน น.อ.พันธ์ยศ พัฒนะธราพงศ์ น.อ.พิทยา มณีกาญจน์ น.อ.พีรเมธ เวชชานุเคราะห์ น.อ.ภิญโญ ธรรมสุวรรณ น.อ.มาฆะพงศ์ ดาราพันธุ์ น.อ.รชฏนันท์ ละลิ ว น.อ.เรวัต ตระกูลไทยพิชิต น.อ.วริทธิ พันธุ์ จันทร์ดี น.อ.วิทิต วิสุทธิวงศ์ น.อ.ศักดิ ดา พัวทรัพย์เจริญ น.อ.ศิริเทพ ประทุมมา น.อ.กรุง บุญจันทร์ศรี น.อ.กัมปนาท สํารวมจิตร น.อ.ขจรวัฒน์ อยู่วัฒนะ น.อ.คีรีรัฐ อุดรวงค์ น.อ.จักรี อยู่ประเสริฐ น.อ.หญิง จินตนา สันติสุขคง น.อ.ชนวีร์ พานแผ้ว น.อ.ชัยณรงค์ เขียวขุนศรี น.อ.ชุติกร วงศ์ปรีดี น.อ.ณตฐพล ชุ่มธิ น.อ.ณัฐพล บุญมาทัต น.อ.ทรงวิทย์ เรืองไวทย น.อ.ธนพล กล่อมนาค น.อ.นพศิษฐ์ เพียรชอบ น.อ.นันทพันธ์ ชํานาญไตรภพ น.อ.บทชาย บุญล้อม น.อ.เบญจรงค์ คล้ายนิล น.อ.ประกิต รําพึงกุล น.อ.ปราโมทย์ กิติวนารัตน์ น.อ.พันตรี มะลิมาตย์ น.อ.พิเชษฐ์ สายสินธุ์ น.อ.พีรพงษ์ สมบัติวงศ์ น.อ.หญิง ภัทราภรณ์ ทวีชัย น.อ.มงคล ศรแก้ว น.อ.ยัญ พรหมแพทย์ น.อ.รวีกฤษฎิ ล้อเลิศวิไล น.อ.วรรณะ ฤทธิชัย น.อ.วิชัย ผลิตวานนท์ น.อ.ศราวุธ แผ่นทอง น.อ.ศิระ ศรีสวัสดิ
นักศกษาวิทยาลัยการทัพเรือ รุ่นที ึ 56 น.อ.ศิวเสก มงคล น.อ. ผศ.ศุภสิทธิ คงดี น.อ.สมนึก ชูวงศ์อภิชาติ น.อ.สมาน เฉลิมพงษ์ น.อ.สันติศักดิ สนองผล น.อ.สุรเจษฎ์ ศรีวัชรกุล น.อ.สุริยะ ศรีษะโคตร น.อ.อดิเรก จําสนอง น.อ.อนุพงศ์ สัมภัตตะกุล น.อ.อาคเนย์ บุญมี น.อ.อิทธิพันธ์ ปรักมาศ น.อ.เกียรติศักดิ สมศรี พ.อ.ณัฐวัฒน์ จันทร์สว่าง พ.ต.อ.ปฐม อุ่นอบ นายภูริธัช วัชรสินธุ์ นายทัศมะ อินทโกสุม นางสาวภัคพศุตม์ เลขะกุล น.อ.Tea Kimheang (กัมพูชา) น.อ.ศุภณัฐ วรรณดี น.อ.สมเจษฎ์ พ่วงรักษ์ น.อ.สมศักดิ แท่นทอง น.อ.สันตสันต์ สายแก้ว น.อ.สุชาติ แก้วผลึก น.อ.สุรพงษ์ เชาว์เพชรไพโรจน์ น.อ.เสถียร มูลศรี น.อ.อนวัช หงษ์สวัสดิ น.อ.หญิง อรอุสาห์ เชียงกูล น.อ.อิทธิพล ประสิทธิ ดํารง น.อ.หญิง กุลธิดา บัณฑราภิวัฒน์ พ.อ.โชคชัย ชิงชนะกุล น.อ.อติโรจน์ สุขบาง นางสาวกานต์พิชชา สูริประเสริฐ นายทวีศักดิ รัตนจันทรานนท์ นายปิ ยวัฒน์ รุ่งสุข นายศรัณยู ลิ มวงศ์ น.อ.ศิวะดล ผลวงษ์ น.อ.สกล กลิ นคําหอม น.อ.สมยศ เทวศรัญยดิษฐ์ น.อ. ผศ.สมาน ได้รายรัมย์ น.อ.สาธิต เรืองเพชร น.อ.สุรชัย อภิกุลรุ่งเรือง น.อ.สุวีร์ เผ่าทองศุข น.อ.อติชาต พรประสิทธิ น.อ.อรรถพล เดชะคุปต์ น.อ.อิทธิเชษฐ์ มูลลิสาร น.อ.อุดมศิน ผิวแดง น.อ.เฉลิม มณีสถิตย์ น.อ.ยศวัจน์ โพธิ เขียว นายกังวาลย์ บัวจีบ นายยุทธชัย จิตอารีรัตน์ นายปฐมภูม สุทธิสมณ์ นายพิสิษฐ์ สุนทรภูติวงศ์ น.อ.Srijit Menon (อินเดีย)
สารบัญ ความรู้ทัวไปเกี ยวกับกฎหมายทะเล 1 2 3 4 5 นิยามศัพท์ด้านเทคนิคกฎหมายทะเล Maritime Zones การประกาศอาณาเขตทางทะเลของประเทศไทย แผนที อาณาเขตทางทะเลของประเทศไทย ความเป็ นมา EEZ ด้านทะเลอันดามัน การประกาศอาณาเขตทางทะเลของประเทศไทย 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื อง อ่าวไทยตอนใน พ.ร.บ.กําหนดเขตจังหวัดในอ่าวไทยตอนใน พ.ศ.2502 ประกาศกําหนดความกว้างของทะเลอาณาเขตของ ประเทศไทย ประกาศ เรื อง ใช้อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื อง เส้นฐานตรงและน่านนํ า ภายในของประเทศไทย ประกาศกําหนดเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะของราชอาณาจักรไทย ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะของราชอาณาจักรไทย ด้านทะเลอันดามัน ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื อง เส้นฐานตรงและน่านนํ า ภายในของประเทศไทยบริเวณที สี ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื อง เส้นฐานตรงและน่านนํ า ภายในของประเทศไทย ฉบับที 2 (พ.ศ.2536) ประกาศเขตต่อเนื องของราชอาณาจักรไทย เขตแดนทางทะเลไทย-เมียนมา 17 18 ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยและรัฐบาล แห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่าว่าด้วยการ แบ่งเขตทางทะเลระหว่างประเทศทั งสองในทะเลอันดามัน ประกาศใช้ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย และรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า ว่าด้วยการแบ่งเขตทางทะเลระหว่างประเทศทั งสอง ในทะเลอันดามัน (พร้อมคําแปล) 1 3 4 5 6 9 10 19 21 23 28 32 34 38 40 42 8 43 45 53
สารบัญ เขตแดนทางทะเลไทย-อินเดีย 19 20 ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับ รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐอินเดียว่าด้วยการแบ่งเขตก้นทะเล ระหว่างประเทศทั งสองในทะเลอันดามัน ประกาศใช้ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักร ไทยกับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐอินเดียว่าด้วยการแบ่งเขต ก้นทะเลระหว่างประเทศทั งสองในทะเลอันดามัน จุดร่วมสามฝ่ าย ไทย-อินเดีย-อินโดนีเซีย 21 22 ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย รัฐบาล แห่งสาธารณรัฐอินเดียและรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐ อินโดนีเซีย เกี ยวกับการกําหนดจุดร่วมสามฝ่ าย และ การแบ่งเขตที เกี ยวข้องของประเทศทั งสามในทะเลอันดามัน ประกาศใช้ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักร ไทย รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐอินเดีย และรัฐบาลแห่ง สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เกี ยวกับการกําหนดจุดร่วมสามฝ่ าย และการแบ่งเขตที เกี ยวข้องของประเทศทั งสาม ในทะเลอันดามัน เขตแดนทางทะเล ไทย-อินโดนีเซีย 23 24 25 ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับ รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซียว่าด้วยการแบ่งเขต ไหล่ทวีประหว่างประเทศทั งสองในตอนเหนือของช่องแคบ มะละกาและในทะเลอันดามัน ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับ รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ว่าด้วยการแบ่งเขต ก้นทะเลระหว่างประเทศทั งสองในทะเลอันดามัน ประกาศใช้ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย กับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ว่าด้วยการแบ่งเขต ก้นทะเลระหว่างประเทศทั งสองในทะเลอันดามัน 61 62 77 80 101 104 108 111 79 103
สารบัญ เขตแดนทางทะเล ไทย-อินโดนีเซีย-มาเลเซีย 26 ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซียและรัฐบาลแห่ง มาเลเซีย ว่าด้วยการแบ่งเขตไหล่ทวีปในตอนเหนือของ ช่องแคบมะละกา เขตแดนทางทะเล ไทย-มาเลเซีย 27 28 29 30 31 32 33 34 บันทึกความเข้าใจระหว่างราชอาณาจักรไทยและมาเลเซีย เกี ยวกับการจัดตั งองค์กรร่วมเพื อแสวงประโยชน์จาก ทรัพยากรในพื นดินใต้ทะเลในบริเวณที กําหนดของไหล่ทวีป ของประเทศทั งสองในอ่าวไทย ประกาศใช้บันทึกความเข้าใจระหว่างราชอาณาจักรไทยและ มาเลเซีย เกี ยวกับการจัดตั งองค์กรร่วมเพื อแสวงประโยชน์ จากทรัพยากรในพื นดินใต้ทะเลในบริเวณที กําหนดของ ไหล่ทวีปของประเทศทั งสองในอ่าวไทย บันทึกความเข้าใจระหว่งราชอาณาจักรไทยและมาเลเซียว่า ด้วยการแบ่งเขตไหล่ทวีประหว่างประเทศทั งสองในอ่าวไทย ประกาศใช้บันทึกความเข้าใจระหว่างราชอาณาจักรไทยและ มาเลเซียว่าด้วยการแบ่งเขตไหล่ทวีประหว่างประเทศทั งสอง ในอ่าวไทย สนธิสัญญาระหว่างราชอาณาจักรไทยและมาเลเซียเกี ยวกับ การแบ่งเขตทะเลอาณาเขตของประเทศทั งสอง ราชอาณาจักรไทย และมาเลเซีย ประกาศใช้สนธิสัญญาระหว่างราชอาณาจักรไทยและ มาเลเซียเกี ยวกับการแบ่งเขตทะเลอาณาเขตของประเทศ ทั งสอง ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะของราชอาณาจักรไทย ด้านอ่าวไทยส่วนที ประชิดกับเขตเศรษฐกิจจําเพาะของ ประเทศมาเลเซีย พระราชบัญญัติองคก์กรร่วมไทย-มาเลเซีย พ.ศ.2533 114 119 127 129 132 134 138 141 144 113 118
สารบัญ เขตแดนทางทะเล ไทย-กัมพูชา 36 37 บันทึกความเข้าใจระหว่างราชอาณาจักรไทยและราช อาณาจักรกัมพูชาเกี ยวกับพื นที อ้างสิทธิทับซ้อนกันของ ไหล่ทวีป ความเป็ นมา MOU 2544 เขตแดนทางทะเล ไทย-เวียดนาม 35 ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยและ รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามว่าด้วย การแบ่งเขตทางทะเลระหว่างประเทศทั งสองในอ่าวไทย 165 166 174 175 179
เขตแดนทางทะเลด้านอันดามัน 43 เขตแดนทางทะเลด้านอ่าวไทย ไทย - เมยีนมา ไทย - เมยีนมา - อนิเดยี ไทย - อนิเดยี ไทย - อนิเดยี- อนิ โดนเีซยี ไทย - อนิ โดนเีซยี ไทย - อนิ โดนเีซยี- มาเลเซยี ไทย - มาเลเซยี ไทย - เวยีดนาม ไทย - กมัพชูา 60 118 165 61 79 103 113 174 การประกาศเขตแดนทางทะเลของประเทศไทย หน้า 10-20 สารบัญ
นิยามศพท์ด้านเทคนิค ั กฎหมายทะเล เส้นฐาน (Baseline) คือจุดเริ มต้นที ใช้สําหรับวัดความกว้างของระยะของอาณาเขตทางทะเล ออกไปในทะเล โดยเส้นฐานแบ่งได้เป็ น 3 ชนิด คือ เส้นฐานปกติ (Normal Baseline) สําหรับชายฝั งที มีความราบเรียบโดยวัดจากแนวนํ าลงตํ า ที แสดงบนแผนที เดินเรือมาตราส่วนใหญ่ของรัฐชายฝั ง เส้นฐานตรง (Straight Baseline) สําหรับชายฝั งที มีความเว้าแหว่ง ไม่ราบเรียบ มีเกาะหรือหินเรียงรายตามแนวชายฝั ง และเส้นฐานชนิดสุดท้ายคือ เส้นฐานรัฐหมู่เกาะเป็ นเส้นฐานตรงประเภทหนึ งใช้สําหรับรัฐชายฝั งที มี ลักษณะเป็ นหมู่เกาะ เช่น ญี ปุ่ น อินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ อาณาเขตทางทะเล (Maritime Zones) คือระยะหรือความกว้างของเขตทางทะเลที วัดออกจากเส้นฐานออกไป ในทะเล โดยเขตทางทะเลประกอบด้วย น่านนํ าภายใน ซึ งจะอยู่ระหว่าง เส้นฐานตรงกับแผ่นดินของรัฐชายฝั ง ทะเลอาณาเขต อยู่ถัดจากน่าน นํ าภายในออกไปในทะเล เขตต่อเนื อง เขตเศรษฐกิจจําเพาะ/ไหล่ทวีป ถัดจากเขตเศรษฐกิจจําเพาะคือเขตทะเลหลวง หากเทียบเคียงเพื อให้ เห็นภาพก็พอเปรียบได้กับเขตการปกครองบนบก เช่น หมู่บ้าน ตําบล อําเภอ จังหวัด และประเทศ เขตแดนทางทะเล (Maritime Boundary) คือพรมแดนระหว่างประเทศทางทะเล สิทธิอธิปไตย (Sovereign Right) คืออาณาเขตทางทะเลที รัฐชายฝั งมีสิทธิแต่เพียงรัฐเดียวในการแสวง ประโยชน์ทางธรรมชาติทั งที มีชีวิต เช่น การประมง และไม่มีชีวิต เช่น ก๊าซธรรมชาติ ได้แก่ เขตต่อเนื อง และเขตเศรษฐกิจจําเพาะ UNCLOS 1982 UNCLOS 1982, Article 7 Straight Baseline 1 2 1 2 อํานาจอธิปไตย (Sovereignty) คืออาณาเขตทางทะเลที การบังคับใช้กฎหมายเหมือนบนบกของรัฐ ชายฝั ง ได้แก่ น่านนํ าภายใน และทะเลอาณาเขต 1
นิยามศพท์ด้านเทคนิค ั กฎหมายทะเล ไหล่ทวีป (Continental Shelf) คือพื นท้องทะเลและดินใต้ผิวดินที มีความต่อเนื องจากชายฝั งออกไปในทะเล พื นท้องทะเล (Seabed) คือหน้าผิวท้องทะเลที เป็ นแหล่งที อยู่อาศัยของปะการัง สัตว์หน้าผิวดิน พื นดินใต้ท้องทะเล (Subsoil) คือพื นดินที อยู่ใต้พื นท้องทะเล ก้นทะเล (Seabed) เป็ นคําที ปรากฏในข้อตกลงเขตทางทะเลระหว่าง ไทย อินเดีย และอินโดนีเซีย เนื องจากบริเวณที ทําข้อตกลงเรื องเขตแดนทางทะเล ระหว่างกันมีความลึกมากเกิน 200 เมตร จึงไม่เป็ นไปตามนิยามของไหล่ทวีป ตาม UNCLOS 1958 ที กําหนดให้ไหล่ทวีปมีความลึก 200 เมตร ไทย อินเดีย และอินโดนีเซีย จึงใช้คําว่า “ก้นทะเล” แทนคําว่า “ไหล่ทวีป” โดยคําว่า ก้นทะเลคือบริเวณที ลึกที สุดตามลักษณะทางกายภาพพื นท้องทะเล ก้นทะเล อาจเปรียบได้กับ ร่องนํ าลึก ที ใช้สําหรับการกําหนดเขตแดนตามลํานํ า UNCLOS 1958 มิได้กําหนดระยะของไหล่ทวีปจากชายฝั ง กําหนดไว้แต่เพียงที ความลึกนํ า 200 เมตร ทําให้เกิดความเสีย เปรียบทางกายภาพต่อรัฐชายฝั งที ไม่มีไหล่ทวีป เช่น ทะเลอันดามัน ของไทย ที มีความลึกนํ ามากกว่า 200 เมตร ส่งผลให้ประเทศไทย ไม่มีไหล่ทวีปเชิงกายภาพ แต่ UNCLOS 1982 กําหนดให้ใหล่ทวีป มีระยะไม่เกิน 200 ไมล์ทะเล (1 ไมล์ทะเล = 1.852 กิโลเมตร) เพื อลดความเสียเปรียบเชิงกายภาพของรัฐชายฝั งที ไม่มีไหล่ทวีป UNCLOS 1982 จึงได้บัญญัติ EEZ ขึ น โดยหมายรวมถึงมวลนํ า พื นท้องทะเล และดินใต้ผิวดิน UNCLOS 1982 บัญญัติให้ ไหล่ทวีป มีระยะเท่ากับ EEZ คือ 200 ไมล์ทะเล หมายรวมถึง ทราย ดิน โคลน หิน Ibid. 6 3 4 5 3 6 4 5 เส้นมัธยะ (Median Line) คือเส้นกึ งกลางระหว่างรัฐชายฝั ง โดยมีความคดเคี ยวไปตามลักษณะ ของชายฝั งที ถูกนํามาเป็ นจุดควบคุมในการสร้างเส้นมัธยะ โดยระยะทาง ระหว่างจุดควบคุมของแต่ละคู่ไปยังเส้นมัธยะมีความยาวเท่ากัน 2
อาณาเขต ทางทะเล เส้นฐาน (Baseline) เป็ นจุดเริ มต้นในการวัดความกว้างอาณาเขตทางทะเล น่านนํ าภายใน (Internal Water) พื นที ทางทะเลที อยู่ระหว่างเส้นฐานกับแผ่นดิน เปรียบเสมือนกับแผ่นดินของรัฐชายฝั ง การบังคับใช้กฎหมายเหมือนกับแผ่นดิน ของรัฐชายฝั ง ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) มีระยะไม่เกิน 12 ไมล์ทะเลจากเส้นฐาน เปรียบเสมือน กับแผ่นดินของรัฐชายฝั ง การบังคับใช้กฎหมายเหมือนกับแผ่นดินของรัฐชายฝั ง รวมถึงห้วงอากาศ มวลนํ า พื นท้องทะเล (seabed) และดินใต้ผิวดิน (subsoil) เขตต่อเนื อง (Contiguous Zone) มีระยะไม่เกิน 24 ไมล์ทะเลจากเส้นฐาน รัฐชายฝั ง บังคับใช้กฎหมายได้ 4 ฉบับ ได้แก่ ศุลกากร การคลัง การเข้าเมือง และการสุขาภิบาล เป็ นส่วนหนึ งของ EEZ เขตเศรษฐกิจจําเพาะ มีระยะไม่เกิน 200 ไมล์ทะเลจากเส้นฐาน ประกอบด้วยมวลนํ า seabed และ subsoil รัฐชายฝั งมีสิทธิ แต่เพียงรัฐเดียวในการสํารวจและแสวงหา ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติทั งที มีชีวิต และไม่มีชีวิต การสร้างเกาะเทียม การวิจัย วิทยาศาสตร์ทางทะเล การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การแสวงหาประโยชน์อื น ๆ รัฐอื น ที ต้องการเข้ามาดําเนินการต่าง ๆ ข้างต้น ต้องได้รับความยินยอมจากรัฐชายฝั ง 3
การประกาศอาณาเขตทางทะเลของประเทศไทย ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื อง อ่าวไทยตอนใน พ.ร.บ.กําหนดเขตจังหวัดในอ่าวไทยตอนใน พ.ศ.2502 ประกาศกําหนดความกว้างของทะเลอาณาเขตของ ประเทศไทย เรื องที ว.ด.ป. หมายเหตุ มีค่าพิกัด22 ก.ย.2502 23 ก.ย.2502 6 ต.ค.2509 11 มิ.ย.2513 18 พ.ค.2516 23 ก.พ.2524 18 ก.ค.2531 17 ส.ค.2535 2 ก.พ.2536 14 ส.ค.2538 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 มีค่าพิกัด 12 ไมล์ทะเล จากเส้นฐาน มีค่าพิกัด มีค่าพิกัด 200 ไมล์ทะเล จากเส้นฐาน มีค่าพิกัด มีค่าพิกัด มีค่าพิกัด 24 ไมล์ทะเล จากเส้นฐาน ที มา : ราชกิจจานุเบกษา ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื อง เส้นฐานตรงและน่านนํ าภายในของประเทศไทย ประกาศกําหนดไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะของราชอาณาจักรไทย ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะของราชอาณาจักรไทย ด้านทะเลอันดามัน ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื อง เส้นฐานตรงและน่านนํ าภายในของประเทศไทย บริเวณที สี ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื อง เส้นฐานตรงและน่านนํ าภายในของประเทศไทย ฉบับที 2 ประกาศเขตต่อเนื องของราชอาณาจักรไทย 4
แผนที อาณาเขตทางทะเลของประเทศไทย แผ่นดินไทยที สมบูรณ์ ประกอบด้วยแผ่นดินที เปรียบเสมือนด้ามขวานทอง และอาณาเขตทางทะเลที เปรียบเสมือนกับถุงเงินถุงทอง ขนาบข้างซ้าย ขวาของด้ามขวานทอง ซึ งมีพื นที ประมาณ 60 % ของพื นที ทางบก 5
ความเป็ นมา EEZ ด้านทะเลอันดามัน ข้อตกลงเขตแดนทางทะเลกับประเทศเพื อนบ้านด้านทะเลอันดามัน (ก่อน UNCLOS 1982) UNCLOS 1982 อนุสญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 (United Natio ัns Convention on the Law of the Sea : UNCLOS 1982) คือระบบกฎหมายและระเบียบที ครอบคลุมในมหาสมุทรและทะเลของโลกโดยกําหนดกฎเกณฑ์ที ควบคุมการใช้มหาสมุทรและทรัพยากรทั งหมดโดยรวบรวมกฎดั งเดิมสําหรับการใช้ประโยชน์ จากมหาสมุทรไว้ในเครื องมือเดียวและในขณะเดียวกันก็แนะนําแนวคิดและระบอบกฎหมายใหม่ ๆ อนุสัญญาดังกล่าวยังจัดให้มีกรอบการทํางานสําหรับการพัฒนาเพิ มเติมในด้านกฎหมายทะเล โดยเฉพาะ เช่น การแบ่งเขตแดนทางทะเลระหว่างรัฐ การแสวงหาประโยชน์จากทะเลอย่างยั งยืน 6
ความเป็ นมา EEZ ด้านทะเลอันดามัน เมื อมีการบัญญัติ EEZ ไว้ใน UNCLOS 1982 ประเทศไทยนําข้อตกลงเขตแดนทางทะเลกับประเทศเพื อนบ้านด้านทะเล อันดามันมาประกาศเป็ นเขต EEZ ด้านทะเลอันดามัน เมื อ 18 กรกฎาคม 2531 7
เขตเศรษฐกิจจําเพาะ (Exclusive Economic Zone) ได้ ถูกบัญญัติไว้ใน UNCLOS 1982 เพื อเป็ นเขตทางทะเล สํ าหรับรัฐชายฝั งที ไม่มีไหล่ทวีป รัฐที ไม่มีไหล่ทวีป คือ รัฐที มีพื นท้องทะเลต่อเนื องจาก ชายฝั งออกไปในลักษณะเป็ นหุบเหว (ความลึกมีการ เปลี ยนแปลงอย่างฉับพลัน และมากกว่า 200 เมตร) รัฐที มีไหล่ทวีป คือ รัฐที มีพื นท้องทะเลต่อเนื องจากชายฝั ง ออกไปในลักษณะของเนินเขา (ความลึกมีการเปลี ยนแปลง อย่างช้า ๆ จนถึงความลึก 200 เมตร) สาระน่ารู้
การประกาศเขตทางทะเลของประเทศไทย 8
UNCLOS 1982 บัญญัติเรื องต่าง ๆ เกี ยวกับทะเลไว้ 320 ข้อ ตามข้อ 308 กําหนดให้ UNCLOS 1982 มีผลบังคับใช้ ภายหลัง 12 เดือน หลังจากประเทศที 60 ได้ให้สัตยาบัน โดยประเทศ Guyana ให้สัตยาบันเป็ นลําดับที 60 เมื อวันที 16 พฤศจิกายน 2537 ส่งผลให้ UNCLOS 1982 มีผลบังคับใช้โดยสมบูรณ์เมื อ 16 พฤศจิกายน 2538 ประเทศไทยให้สัตยาบัน UNCLOS 1982 เมื อ 15 พฤษภาคม 2554 (ที มา : คู่มือเทคนิคกฎหมายทะเลสําหรับนายทหาร อุทกศาสตร์, 2555) สาระน่ารู้
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36