The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวบรวมขึ้นโดย นักศึกษา วทร.56 เพื่อใช้เป็นเอกสารอ้างอิงเกี่ยวกับ อาณาเขตทางทะเลและเขตแดนทางทะเลของไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by samharn92, 2024-01-06 09:39:24

อาณาเขตและเขตแดนทางทะเลของไทย

รวบรวมขึ้นโดย นักศึกษา วทร.56 เพื่อใช้เป็นเอกสารอ้างอิงเกี่ยวกับ อาณาเขตทางทะเลและเขตแดนทางทะเลของไทย

Keywords: Maritime Boundary,UNCLOS,MOU2544,เขตแดนทางทะเล,น่านน้ำไทย,อาณาเขตทางทะเล

135


136


137


138


139


ค.ศ.1909 สนธิสัญญาเขตแดนสยาม-อังกฤษ กําหนดให้เขตแดนใน แม่นํ าโก-ลก ยึดถือแนวร่องนํ าลึกเป็ นเส้นเขตแดนโดยตลอดจนบรรจบกับทะเล ค.ศ.1911-12 สยาม-อังกฤษ ได้ร่วมกันจัดทําแผนที แนบท้ายฯ ลักษณะทาง กายภาพทําให้เขตแดนต้องวกขึ นไปทางเหนือจึงออกสู่ทะเล ต่อมาชายฝั ง เกิดการเปลี ยนแปลงเนื องจากแนวสันทรายเกิดการพังทลาย แต่เขตแดนที บรรจบกับทะเลยังคงเดิม การออกสู่ทะเลจากแม่นํ าโกลกของชาวประมงไทย ไม่ต้องวกขึ นเหนือเหมือนก่อนการพังทลายของแนวสันทราย แต่เมื อเดินเรือ จากแม่นํ าโก-ลก ออกสู่ทะเลจะทําให้อยู่ในน่านนํ าของมาเลเซีย การแก้ปั ญหา ไทย-มาเลเซีย ปรับจุดสิ นสุดเขตแดนที บรรจบกับทะเล ให้สอดคล้องตามธรรมชาติที มีการเปลี ยนแปลงทะเลอาณาเขตระหว่างไทย และมาเลเซียจากจุดสิ นสุดเขตแดนใหม่ยึดถือตามเส้นมัธยะออกไปจนถึงระยะ 12 ไมล์ทะเล ไหล่ทวีปที อยู่ถัดจากทะเลอาณาเขตให้ยืดถือตามแนวเส้นมัธยะ ที มีจุดเริ มต้นคือจุดสิ นสุดเขตแดนตามสนธิสัญญาฯ สยาม-อังกฤษ 1909 ไหล่ทวีปไทย-มาเลเซีย ไปสิ นสุด ณ จุดที เกาะโลชินมีอิทธิพลต่อการแบ่ง เขตแดนทางทะเล 140


141


142


143


144


145


146


147


148


149


150


151


152


153


154


155


156


157


158


159


160


161


162


163


164


ดา ้ นทะเลอา ่ วไทย ไทย - เวยีดนาม เขตแดนทางทะเล 165


166


167


168


169


170


171


(ถนอม, 2550) 172


(ถนอม, 2550) 173


ช่องแคบมะละกามีขอบเขตด้านฝั งทะเลอันดามันคือเส้นตรง ที เชื อมต่อระหว่าง ปลายแหลมด้านใต้สุดของเกาะภูเก็ต มายัง ปลายด้านบนสุดของเกาะสุมาตรา ส่งผลให้อาณาเขตทางทะเล ของไทยด้านทะเลอันดามันเป็ นส่วนหนึ งของช่องแคบมะละกา (ที มา : Limits of Oceans and Seas, IHO) สาระน่ารู้


ดา ้ นทะเลอา ่ วไทย ไทย - กมัพชูา เขตแดนทางทะเล 174


นอกเหนือจาก มวลนํ า พื นท้องทะเล และดินใต้ผิวดินแล้ว ห้วงอากาศได้ถูกบัญญัติให้เป็ นเขตอํานาจอธิปไตย ของรัฐชายฝั งด้วย (ที มา : Article 2 UNCLOS 1982) สาระน่ารู้


175


176


177


หมายเหตุ 1. เนื อหาใน MOU 2544 สรุปได้ว่า แบ่งพื นที ทับซ้อนออกเป็ นสองส่วน ส่วนแรก ได้แก่ พื นที เหนือละติจูด 11 องศาเหนือ จะทําการแบ่งเขตแดนทางทะเลระหว่างกัน ส่วนที สอง ได้แก่ พื นที ใต้ละติจูด 11 องศาเหนือ จะจัดทําเป็ นพื นที พัฒนาร่วมระหว่างกัน โดยการ ดําเนินการในทั งสองพื นที นั นต้องดําเนินการไปพร้อมกันไม่สามารถแยกจากกันได้ (Indivisible Package) 2. จุด PtA (กัมพูชา) และจุด T1 (ไทย) คือตําบลที ของจุดเขตแดนทางบกที ต่างฝ่ าย ต่างใช้เป็ นจุดเริ มต้นในการกําหนดเขตแดนทางทะเลนั นจะมีการกําหนดต่อไป 3. จุด Int1 และ Int4 คือค่า ลองจิจูด ที จะมีการกําหนดต่อไป โดยค่าพิกัดของ Int1 เกิดจากการตัดกันของเส้นไหล่ทวีปที กัมพูชาประกาศตัดกับเส้นละติจูด 11 องศาเหนือ ส่วนค่าพิกัดของ Int4 เกิดจากการตัดกันของเส้นไหล่ทวีปที ไทยประกาศตัดกับ เส้นละติจูด 11 องศาเหนือ 4. จุด Int2 และ Int3 เกิดจากการตัดกันของพื นที ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทยและ กัมพูชากับเส้น Working Arrangement Line ระหว่างกัมพูชาและเวียดนาม จะมีการ กําหนดค่าพิกัดต่อไป ข้อสังเกต ค่าพิกัดบอกตําแหน่งในแผนที 09 E 10 E และ 11 E ควรจะเป็ น 09 N 10 N และ 11 N เนื องจากเป็ นการบอกตําแหน่งในแนวเหนือใต้ o o o o o o 178


ความเป็นมา MOU 2544 - เวียดนามประกาศไหล่ทวีป พ.ศ.2514 - กัมพูชาประกาศไหล่ทวีป พ.ศ.2515 - ไทยประกาศไหล่ทวีป 18 พฤษภาคม พ.ศ.2516 ส่งผลให้เกิดเป็นพื้นที่อ้างสิทธิ์ทับซ้อนกัน 2 ส่วน คือ ส่วนบน ระหว่าง ไทย-กัมพูชา ส่วนล่าง ระหว่าง ไทย-กัมพูชา-เวียดนาม การเจรจาแก้ไขปัญหาพื้นที่อ้างสิทธิ์ทับซ้อนทางทะเล 1. กัมพูชา-เวียดนาม ประกาศน่านน้ำประวัติศาสตร์ ร่วมกัน 2. ลากเส้นเชื่อมต่อเกาะวัยและเกาะปันจัง จากนั้น ณ จุดกึ่งกลาง ทำการลากเส้นตั้งฉากไปยังพื้นที่ทับซ้อน ทางทะเลของทั้ง 3 ประเทศ ทะเลเหนือเส้นดังกล่าว เป็นของกัมพูชา ทะเลด้านใต้เส้นเป็นของเวียดนาม 3. ไทย-เวียดนาม กำหนดเขตแดนทางทะเลระหว่างกัน ตามแนวเส้น K – C คงเหลือพื้นที่อ้างสิทธิ์ทับซ้อนระหว่าง ไทย - กัมพูชา เป็นที่มาของ MOU 2544 179


บรรณานุกรม 1. ถนอม เจริญลาภ, พลเรือเอก. (2550). กฎหมายทะเล เขตทางทะเลของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: วิญญูชน. 2. ถนอม เจริญลาภ, พลเรือเอก. (2555). เขตแดนทางทะเลของไทย. 110, 1-40. จุลสารความมั่นคงศึกษา. 3. ปรีชา สมสุขเจริญ, นาวาเอก. (2549). การใช้หลักการด้านยีออเดซี่กับอาณาเขตทางทะเลและการรักษา ผลประโยชน์ของชาติทางทะเลตามหลักกฎหมายทะเล 1982. วิทยาลัยการทัพเรือ. 4. สุรเกีรยติ์ เสถียรไทย. (2554). พื้นที่ทับซ้อนทางทะเล ไทย-กัมพูชา : ทางเลือกและข้อเสนอแนะ. 93, 1-48, จุลสารความมั่นคงศึกษา. 5. ศิริชัย เนยทอง, พลเรือโท. (2564). การศึกษาสถานะทางกฎหมายของเกาะโลซินเมื่อ JDA ไทย-มาเลเซียครบ 50 ปีตามข้อตกลง. [PowerPoint Slide]. สถานที่ผลิต: หน่วยงานที่เผยแพร่. (ม.ป.ท.: ม.ป.พ.) 6. ศิริวัฒน์ ธนะแพทย์, นาวาเอก. (2547). การเสวนาทางวิชาการ เรื่อง ปัญหาเขตแดนทางทะเลของไทย. [PowerPoint Slide]. สถานที่ผลิต: หน่วยงานที่เผยแพร่.(ม.ป.ท.: ม.ป.พ.) 7. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง อ่าวไทยตอนใน. (2502, 22 กันยายน). รจ. เล่ม 76 ตอนที่91 หน้า 1. 8. พ.ร.บ.กำหนดเขตจังหวัดในอ่าวไทยตอนใน พ.ศ.2502. (2502, 23 กันยายน). รจ. เล่ม 76 ตอนที่ 92 หน้า 430. 9. ประกาศความกว้างของทะเลอาณาเขตของประเทศไทย. (2509, 6 ตุลาคม). รจ. เล่ม 83 ตอนที่ 92 หน้า 703. 10. ประกาศ เรื่อง ใช้อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล. (2512, 29 เมษายน). รจ. เล่ม 86 ตอนที่ 44 หน้า 450. 11. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง เส้นฐานตรงและน่านน้ำภายในของประเทศไทย. (2513, 11 มิถุนายน). รจ. เล่ม 87 ตอนที่ 52 หน้า 4. 12. ประกาศกำหนดไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย. (2516, 18 พฤษภาคม). รจ. เล่ม 90 ตอนที่ 60 หน้า 1. 13. ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ว่าด้วยการแบ่งเขตก้น ทะเลระหว่างประเทศทั้งสองในทะเลอันดามัน. (2518, 11 ธันวาคม). รจ. เล่ม 95 ตอน 98 หน้า 532. 14. ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐอินเดีย ว่าด้วยการแบ่งเขตก้นทะเล ระหว่างประเทศทั้งสองในทะเลอันดามัน. (2521, 22 มิถุนายน). รจ. เล่ม 96 ตอน 83 หน้า 3. 15. ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐอินเดีย และรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐ อินโดนีเซีย เกี่ยวกับการกำหนดจุดร่วมสามฝ่าย และการแบ่งเขตที่เกี่ยวข้องของประเทศทั้งสามในทะเลอันดามัน. (2521, 22 มิถุนายน). รจ. เล่ม 96 ตอน 83 หน้า 9. 16. ประกาศใช้ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซียว่าด้วยการ แบ่งเขตก้นทะเลระหว่างประเทศทั้งสองในทะเลอันดามัน. (2521, 6 กันยายน). รจ. เล่ม 99ตอนที่ 98 หน้า 530. 17. บันทึกความเข้าใจระหว่างราชอาณาจักรไทยและมาเลเซีย เกี่ยวกับการจัดตั้งองค์กรร่วมเพื่อแสวงประโยชน์ จากทรัพยากรในพื้นดินใต้ทะเลในบริเวณที่กำหนดของไหล่ทวีปของประเทศทั้งสองในอ่าวไทย. (2522, 21 กุมภาพันธ์). รจ. เล่ม 97 ตอนที่70 หน้า 3. 18. ประกาศใช้ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐอินเดีย ว่าด้วยการแบ่ง เขตก้นทะเลระหว่างประเทศทั้งสองในทะเลอันดามัน. (2522, 11 พฤษภาคม). รจ. เล่ม 96 ตอนที่ 83 หน้า 1.


19. ประกาศใช้ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐอินเดีย และรัฐบาลแห่ง สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เกี่ยวกับการกำหนดจุดร่วมสามฝ่าย และการแบ่งเขตที่เกี่ยวข้องของประเทศทั้งสามใน ทะเลอันดามัน. (2522, 11 พฤษภาคม). รจ. เล่ม 96 หน้า 83 หน้า 7. 20. ประกาศใช้บันทึกความเข้าใจระหว่างราชอาณาจักรไทยและมาเลเซียเกี่ยวกับการจัดตั้งองค์กรร่วมเพื่อแสวง ประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นดินใต้ทะเลในบริเวณที่กำหนดของไหล่ทวีปของประเทศทั้งสองในอ่าวไทย. (2523, 25 มีนาคม). รจ. เล่ม 97 ตอนที่ 70 หน้า 1. 21. ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า ว่าด้วย การแบ่งเขตทางทะเลระหว่างประเทศทั้งสองในทะเลอันดามัน. (2523, 25 กรกฎาคม). ข่าวสารนิเทศ ที่ 119/2523. กรมสารนิเทศ, กระทรวงการต่างประเทศ. 22. ประกาศเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทย. (2524, 23 กุมภาพันธ์). รจ. เล่ม 98 ตอนที่ 30 หน้า 1. 23. ประกาศใช้ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยและรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพ พม่าว่าด้วยการแบ่งเขตทางทะเลระหว่างประเทศทั้งสองในทะเลอันดามัน (พร้อมคำแปลและแผนที่แนบท้าย). (2525, 11 มิถุนายน). รจ. เล่ม 99 ตอนที่ 132 หน้า 20. 24. ประกาศใช้สนธิสัญญาระหว่างราชอาณาจักรไทยและมาเลเซียเกี่ยวกับการแบ่งเขตทะเลอาณาเขตของประเทศ ทั้งสอง. (2525, 27 ธันวาคม). รจ. เล่ม 100 ตอนที่ 3 หน้า 1. 25. ประกาศใช้บันทึกความเข้าใจระหว่างราชอาณาจักรไทยและมาเลเซียว่าด้วยการแบ่งเขตไหล่ทวีประหว่าง ประเทศทั้งสองในอ่าวไทย. (2525, 27 ธันวาคม). รจ. เล่ม 100 ตอนที่ 3 หน้า 3. 26. ประกาศเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทยด้านอ่าวไทยส่วนที่ประชิดกับเขตเศรษฐกิจจำเพาะของ ประเทศมาเลเซีย. (2531, 16 กุมภาพันธ์). รจ. เล่ม 105 ตอนที่ 27 หน้า 51. 27. ประกาศเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทยด้านทะเลอันดามัน. (2531, 18 กรกฎาคม). รจ. เล่ม 105 ตอนที่ 120 หน้า 231. 28. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง เส้นฐานตรงและน่านน้ำภายในของประเทศไทยบริเวณที่สี่. (2535, 17 สิงหาคม). รจ. เล่ม 109 ตอนที่ 89 หน้า 1. 29. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง เส้นฐานตรงและน่านน้ำภายในของประเทศไทย ฉบับที่ ๒. (2536, 2 กุมภาพันธ์). รจ. เล่ม 110 ตอนที่ 18 หน้า 1. 30. ประกาศเขตต่อเนื่องของราชอาณาจักรไทย. (2538, 14 สิงหาคม). รจ. เล่ม 112 ตอนที่ 69 ง หน้า 1. 31. กรมอุทกศาสตร์. (2555, 16 มกราคม). คู่มือเทคนิคกฎหมายทะเลสำหรับนายทหารอุทกศาสตร์. กรุงเทพฯ. 32. International Hydrographic Organization (IHO).Limits of Oceans and Seas, 3 rd Edition 1953. Monaco. 33. International Hydrographic Organization (IHO), Advisory Board for the Law of the Sea (ABLOS). A Manual on Technical Aspects of UNCLOS 1982, 6 th Edition 2020. Monaco. 34. United Nations, Division for Ocean Affairs and the Law of the Sea, Office of Legal Affairs. (2001). United Nations Convention on the Law of the Sea 1982. New York.


ผู้ผู้ใผู้ผู้ห้ห้กห้ห้ารสนันับนันัสนุนุนนุนุ


Click to View FlipBook Version