The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนสาขาวิชาการบัญชี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by file11.12345, 2019-08-26 06:48:09

แผนการสอนสาขาวิชาการบัญชี

แผนการสอนสาขาวิชาการบัญชี

แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะ

ช่ือวิชา การบัญชีต้นทนุ เบื้องต้น รหัสวชิ า 2201 – 2004
ทฤษฎี ปฎบิ ัติ หน่วยกิต

 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ  หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสูง
ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาพณิชยการ สาขางานการบัญชี

จัดทาโดย
นางสาวน้าทพิ ย์ สินสวสั ด์ิ

วิทยาลยั เทคโนโลยีต้งั ตรงจิตรพณิชยการ - วทิ ยาลัยเทคโนโลยตี ้ังตรงจิตรบริหารธุรกจิ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ

คานา
แผนการจดั การเรียนรู้ฉบบั น้ีจดั ทาข้ึนสาหรับรายวิชาการบญั ชีตน้ ทุนเบ้ืองตน้ รหสั วิชา 2201-2004
จานวน 3 หน่วยกิต จานวน 4 ชวั่ โมงต่อสปั ดาห์ ประเภทวิชาพาณิชกรรม จดั อยู่ในหมวดวิชาชีพ สาขา
งานการบัญชี เป็ นแผนการจดั การเรียนรู้ เพ่ือเป็ นแนวทางให้ผูส้ อนจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นฐาน
สมรรถนะ และการบูรณาการ ตรงตามจุดประสงคร์ ายวิชา มาตรฐานรายวิชา คาอธิบายรายวชิ า สอนให้
ผเู้ รียนมคี วามรู้ ความเช่ือมน่ั ความซื่อสตั ย์ เป็นคนดี มคี ุณธรรมในจรรยาบรรณวชิ าชีพ การที่ผสู้ อนจะใช้
แผนการสอนเล่มน้ีให้ไดผ้ ลสมบูรณ์ที่สุด ผูส้ อนจะต้องเป็ นผูท้ ่ีมีความรู้ทางด้านการสอน ความรู้ทาง
จิตวิทยา และบูรณาการคุณธรรมจริยธรรมอยู่บ้างพอสมควร จึงจะทาให้แผนการสอนที่จัดทาข้ึนมี
ประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน ขอขอบคุณผูอ้ านวยการวิทยาลยั เทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการ-วิทยาลัย
เทคโนโลยตี ้งั ตรงจิตรบริหารธุรกิจและผมู้ ีส่วนที่เก่ียวขอ้ งทุกท่านท่ีทาใหแ้ ผนการสอนเลม่ น้ีมคี วามสมบรู ณ์
ความดีท้งั หลายขออุทิศให้แก่ผูม้ ีพระคุณทุก ๆ ท่าน ตลอดจนบิดา-มารดา ผใู้ ห้กาเนิด และครูอาจารย์
ผสู้ อนทุก ๆ ท่าน

ลงช่ือ
(นางสาวน้าทิพย์ สินสวสั ด์)ิ

หลกั สูตรรายวชิ า

ชื่อวิชา การบัญชีต้นทุนเบื้องต้น รหัสวิชา 2201 – 2004
ทฤษฎี ปฎิบัติ หน่วยกิต

 หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ  หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสูง
สาขางานการบัญชี

จุดประสงค์รายวชิ า
1. มคี วามรู้ความเขา้ ใจหลกั การและกระบวนการปฏิบตั ิงานบญั ชีของกิจการประเภทธุรกิจอุตสาหกรรม
2. มที กั ษะปฏิบตั ิงานบญั ชีตามหลกั การบญั ชีทรี่ ับรองทวั่ ไป สาหรับกิจการประเภทอุตสาหกรรม
มกี ิจนิสยั มีระเบียบ ละเอียดรอบคอบ ซื่อสตั ย์ มวี ินยั ตรงต่อเวลา และมเี จตคติที่ดตี ่อวชิ าชีพบญั ชี

สมรรถนะรายวชิ า
1. เขา้ ใจหลกั การ วธิ ีการและข้นั ตอนการจดั ทาบญั ชีของกิจการอุตสาหกรรม
2. บนั ทึกรายการในสมุดบญั ชีเกี่ยวกบั ตน้ ทุนผลิต
3. จดั ทางบตน้ ทนุ ผลติ และรายงานทางการเงิน

คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกบั ลกั ษณะของกิจการผลติ เปรียบเทียบกบั กิจการซ้ือขายสินคา้ องคป์ ระกอบ

ของตน้ ทุนการผลติ การรับจ่ายวตั ถุดิบ การบนั ทึกรายการเกี่ยวกบั แรงงาน ชวั่ โมงทางาน อตั ราค่าแรง
ค่าลว่ งเวลา เงินประกนุ สงั คม ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาหกั ณ ที่จ่าย รายการหกั ต่าง ๆ ค่าใชจ้ ่ายในการ
ผลิตการบนั ทึกรายการเกี่ยวกบั วตั ถุดิบตามวธิ ีบญั ชีสินคา้ คงเหลือสิ้นงวดและตามวธิ ีการบญั ชีสินคา้ คงเหลือ
ท่ีบนั ทึกแบบต่อเน่ือง ตน้ ทุนการผลติ การคานวณตน้ ทุนสินคา้ ท่ีผลติ สาเร็จ กระดาษทาการ รายการ
ปรับปรุงและปิ ดบญั ชี การจดั ทางบตน้ ทุนการผลิต

หน่วยการเรียนรู้

หน่วยท่ี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ จานวน สัปดาห์
ช่ัวโมง ที่

1 ลกั ษณะของกจิ การอุตสาหกรรม 8 1-2

2 คานวณและบนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกบั วตั ถุดิบ ค่าแรงงาน ค่าใชจ้ ่ายในการผลติ 24 3-8

3 คานวณตน้ ทุนการผลิตสินคา้ สาเร็จรูป ตน้ ทุนขาย และจดั ทางบตน้ ทุนการผลิต 8 9-10

4 บนั ทึกรายการปรับปรุงบญั ชีและจดั ทากระดาษทาการของกิจการอตุ สาหกรรม 16 11-14

5 บนั ทึกรายการปิ ดบญั ชีและจดั ทางบการเงินของกิจการอตุ สาหกรรม 16 15-18

ตารางวเิ คราะห์หลกั สูตร
รหสั 2201-2008 วชิ าการบญั ชีตน้ ทุนเบ้ืองตน้ หน่วยกติ 3 หน่วยกิต

ระดับช้ัน ปวช. สาขาวชิ า/กลุ่มวชิ า การบญั ชี

พุทธพิ สิ ัย
พฤตกิ รรม ความ ู้ร
ความเ ้ขาใจ
ชื่อหน่วย นาไปใ ้ช
วิเคราะ ์ห
ัสงเคราะ ์ห
ประเมิน ่คา

ทักษะพิ ัสย
จิตพิ ัสย
รวม
ลาดับความสาคัญ
จานวน ่ัชวโมง

1. ลกั ษณะของกิจการอุตสาหกรรม 1 22 22 95 8
2. วตั ถดุ ิบ ค่าแรงงาน และค่าใชจ้ ่ายในการผลติ 36 8 7 8 32 1 24
3. ตน้ ทุนการผลิตสินคา้ สาเร็จรูป 12 3 4 2 12 4 8
4. รายการปรับปรุงและกระดาษทาการของ 25 6 7 4 24 2 16
กิจการอตุ สาหกรรม
5. การปิ ดบญั ชีและงบการเงิน 24 6 7 4 23 3 16
ของกิจการอุตสาหกรรม
9 19 25 27 20 100 72
รวม 32 1

ลาดบั ความสาคญั

การจดั ทาแผนการเรียนรู้สมรรถนะอาชีพวเิ คราะห์เน้ือหาหลกั สูตร
ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สูตรการบูรณาการของเศรษฐกิจพอเพยี งและ 3D

รหสั วิชา 2201-2004 วชิ าการบญั ชีตน้ ทุนเบ้ืองตน้
3D

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ / เน้ือหา
ห ่นวยการเ ีรยน ู้ร
การ ูบรณาการป ัรชญาเศรษฐ ิกจพอเพียง
ด้านประชา ิธปไตย (Democracy)
ด้าน ุคณธรรมจ ิรยธรรมความเ ็ปนไทย (Decency)
ด้าน ูภมิ ุค้มกันภัยจากยาเสพ ิตด (Drug-Free)
การ ูบรณาการอาเ ีซยน

1 ลกั ษณะของกจิ การอตุ สาหกรรม  
2 วตั ถดุ ิบ ค่าแรงงาน และค่าใชจ้ ่ายในการผลิต  
3 ตน้ ทุนการผลติ สินคา้ สาเร็จรูป  
4 รายการปรับปรุงและกระดาษทาการของกิจการอุตสาหกรรม  
5 การปิ ดบญั ชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม  

หน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะประจาหน่วย

สมรรถนะ

ช่ือหน่วย ความรู้ ทักษะ คณุ ลกั ษณะ
หน่วยที่ 1 ลกั ษณะของกิจการ ทพ่ี งึ ประสงค์
อุตสาหกรรม
- บอกลกั ษณะของ - คานวณตน้ ทุนการผลิต - ตรงต่อเวลา มีวนิ ยั
หน่วยที่ 2 วตั ถุดิบ ค่าแรงงาน
และค่าใชจ้ ่ายในการผลิต กิจการอตุ สาหกรรม ได้ ตน้ ทุนสินคา้ สาเร็จรูป (เขา้ เรียนตรงเวลา รักษา
- เปรียบเทียบขอ้ และตน้ ทุนขายได้
กฎระเบียบ)
แตกต่างระหว่างกิจการ - จดั ทางบตน้ ทุนผลิต ได้ - มคี วามรับผดิ ชอบ

อตุ สาหกรรมกบั (ในการส่งงาน) ละเอียด

กิจการซ้ือขายสินคา้ ได้ รอบคอบ (ทางานสะอาด

- อธิบายองคป์ ระกอบ เรียบร้อย) และสนใจใฝ่ รู้

ของตน้ ทุนการผลิตได้ (คน้ ควา้ จากสื่อ)

- อธิบายสินคา้ - มคี วามซื่อสตั ยต์ ่อ

คงเหลอื ของกิจการ ตวั เองในการตรวจ

อุตสาหกรรมได้ แบบฝึกหดั และการสอบ

- บอกความหมายและ - อธิบายและบนั ทึกการ - ตรงต่อเวลา มวี ินยั

ประเภทของวตั ถดุ ิบ รับจ่ายวตั ถดุ ิบได้ (เขา้ เรียนตรงเวลา รักษา

ค่าแรงงาน ค่าใชจ้ ่าย - บนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกบั กฎระเบียบ)

ในการผลิต ได้ วตั ถุดิบ ได้ - มีความรับผดิ ชอบ

- อธิบายวิธีการเกบ็ - คานวณตน้ ทุนวตั ถุดิบ (ในการส่งงาน) ละเอียด

เวลาการทางาน ได้ และตีราคาวตั ถดุ ิบ รอบคอบ (ทางานสะอาด

- บอกประเภทของ คงเหลอื ได้ เรียบร้อย) และสนใจใฝ่ รู้

ค่าใชจ้ ่ายการผลิต ได้ - สามารถคานวณและ (คน้ ควา้ จากส่ือ)

- อธิบายการเกิดข้ึน จาแนกประเภท - มีความซื่อสตั ยต์ ่อ

ของค่าใชจ้ ่ายในการ ค่าแรงงาน ได้ ตวั เองในการตรวจ

ผลติ ได้ - สามารถบนั ทึกบญั ชี แบบฝึกหดั และการสอบ

เก่ียวกบั ค่าแรงงาน ได้

- สามารถบนั ทึกบญั ชี

เกี่ยวกบั ค่าใชจ้ ่ายใน

การผลิต ได้

หน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะประจาหน่วย

สมรรถนะ

ช่ือหน่วย ความรู้ ทกั ษะ คณุ ลกั ษณะ
หน่วยท่ี 3 ตน้ ทุนการผลติ ที่พงึ ประสงค์
สินคา้ สาเร็จรูป
- อธิบายความหมาย - คานวณตน้ ทุนการผลติ - ตรงต่อเวลา มวี นิ ยั
หน่วยท่ี 4 รายการปรับปรุง
และกระดาษทาการ ของตน้ ทุนการผลติ ได้ สินคา้ สาเร็จรูป และตน้ ทุน (เขา้ เรียนตรงเวลา รักษา
ของกิจการอุตสาหกรรม
ขาย ได้ กฎระเบียบ)

- จดั ทางบตน้ ทุนการผลิต ได้ - มคี วามรับผดิ ชอบ

(ในการส่งงาน) ละเอียด

รอบคอบ (ทางานสะอาด

เรียบร้อย) และสนใจใฝ่ รู้

(คน้ ควา้ จากส่ือ)

- มีความซ่ือสตั ยต์ ่อ

ตวั เองในการตรวจ

แบบฝึกหดั และการสอบ

- อธิบายความหมาย -บนั ทึกการปรับปรุงบญั ชี ได้ - ตรงต่อเวลา มีวินยั

ของรายการปรับปรุง -บนั ทึกการแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาด (เขา้ เรียนตรงเวลา รักษา

บญั ชี ได้ ทางบญั ชี ได้ กฎระเบียบ)

- บอกประเภทของ -จดั ทากระดาษทาการของ - มีความรับผดิ ชอบ

รายการปรับปรุงบญั ชี ได้ กิจการอุตสาหกรรม ได้ (ในการส่งงาน) ละเอียด
- อธิบายความหมายและ รอบคอบ (ทางานสะอาด

วตั ถุประสงคใ์ นการ เรียบร้อย) และสนใจใฝ่ รู้

จดั ทากระดาษทาการ ได้ (คน้ ควา้ จากส่ือ)
- มคี วามซ่ือสตั ยต์ ่อ
- บอกรูปแบบของ ตวั เองในการตรวจ
กระดาษทาการ ได้ แบบฝึกหดั และการสอบ

หน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะประจาหน่วย

ชื่อหน่วย ความรู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ

หน่วยที่ 5 การปิ ดบญั ชีและ - อธิบายความหมาย ทกั ษะ ทพ่ี งึ ประสงค์
งบการเงินของกิจการ ของการปิ ดบญั ชี ได้
อุตสาหกรรม - บอกงบการเงินท่ี - บนั ทึกรายการปิดบญั ชี - ตรงต่อเวลา มีวนิ ยั
กิจการอตุ สาหกรรม กรณีบนั ทึกบญั ชีสินคา้ (เขา้ เรียนตรงเวลา รักษา
ตอ้ งจดั ทา ได้ คงเหลอื แบบสิ้นงวด ได้ กฎระเบียบ)
- บนั ทึกรายการปิดบญั ชี - มคี วามรับผดิ ชอบ
กรณีบนั ทึกบญั ชีสินคา้ (ในการส่งงาน) ละเอียด
คงเหลือแบบต่อเน่ือง ได้ รอบคอบ (ทางานสะอาด
- จดั ทางบกาไรขาดทุน ได้ เรียบร้อย) และสนใจใฝ่ รู้
- จดั ทางบแสดงฐานะ (คน้ ควา้ จากส่ือ)
การเงิน ได้ - มคี วามซื่อสตั ยต์ ่อ
ตวั เองในการตรวจ
แบบฝึกหดั และการสอบ

การประเมินผลรายวิชา

วิชาการบญั ชีตน้ ทุนเบ้ืองตน้ แบ่งเป็น 5 หน่วยการเรียนรู้ การวดั ผลและประเมินผล จดั ดาเนินการ

ดงั ต่อไปน้ี

1. วธิ ีการ

โดยแบ่งคะแนนแต่ละส่วนจากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ดงั น้ี

1.1 สอบระหว่างภาค 30 คะแนน

1.2 งานมอบหมาย 20 คะแนน

1.3 บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 20 คะแนน

1.4 สอบปลายภาค 30 คะแนน

2. เกณฑ์ผ่าน 70 %
นกั ศกึ ษาจะสอบผา่ นรายวชิ าโดยมีหลกั เกณฑด์ งั น้ี 30 %
2.1 การประเมินผลตามสภาพจริง 80 %
2.2 ตอ้ งเขา้ สอบปลายภาค
2.3 ตอ้ งมเี วลาเรียนและการเขา้ ร่วมกจิ กรรมไม่ต่ากวา่

3. ค่าระดบั คะแนน
ประเมินผลจากแต่ละกลุม่ (อิงกลุม่ ) คานวณหา T-SCORE โดยใชค้ อมพิวเตอร์ในการคานวณ

และกาหนดผลการเรียน

รายการตรวจสอบและอนุญาตให้ใช้

 ควรอนุญาตใหใ้ ชก้ ารสอนได้
 ควรปรับปรุงเกี่ยวกบั

 ควรอนุญาตใหใ้ ชก้ ารสอนได้ ลงชื่อ
 ควรปรับปรุงเก่ียวกบั ()
 อนื่ ๆ หวั หนา้ หมวด/แผนกวิชา
/ /.
 ควรอนุญาตใหใ้ ชก้ ารสอนได้
 อน่ื ๆ ลงชื่อ
()
รองผอู้ านวยการฝ่ ายวชิ าการ
//

ลงช่ือ
()
ผอู้ านวยการ
//

หน่วยท่ี 1

แผนการจดั การเรียนรู้ สปั ดาห์ท่ี 1 - 2

ระยะเวลาชว่ั โมงท่ี 1-8

วชิ า การบญั ชีตน้ ทุนเบ้ืองตน้

ชื่อหน่วย ลกั ษณะของกิจการอตุ สาหกรรม

ช่ือเรื่อง ลกั ษณะของกิจการอตุ สาหกรรมเปรียบเทียบกบั กจิ การซ้ือขายสินคา้ เพอ่ื จาหน่าย

1. สาระสาคญั
กิจการอุตสาหกรรมเป็นกิจการท่ีทาการผลิตสินคา้ ดงั น้นั จึงตอ้ งมีการซ้ือวตั ถดุ ิบเขา้ มาเพือ่ แปรสภาพ

โดยผา่ นกระบวนการผลติ ใหเ้ ป็นสินคา้ สาเร็จรูป ซ่ึงอาศยั แรงงานคนงานหรือพนกั งานมาช่วยทาการผลติ สินคา้
โดยจ่ายค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนหรือค่าแรงงาน และค่าใชจ้ ่ายในการผลติ อ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง ค่าตอบแทนหรือ
ค่าใชจ้ ่ายเหลา่ หน้ีจะเป็นส่วนหน่ึงในการคานวณตน้ ทนุ ผลิตสินคา้ และตน้ ทุนสินคา้ สาเร็จรูป รวมท้งั สินคา้
คงเหลอื ของกิจการอตุ สาหกรรม

2. สมรรถนะประจาหน่วย
แสดงความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั กิจการอตุ สาหกรรม ได้

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ดา้ นความรู้
3.1.1 บอกลกั ษณะของกิจการอตุ สาหกรรม ได้
3.1.2 เปรียบเทียบขอ้ แตกต่างระหว่างกิจการอตุ สาหกรรมกบั กจิ การซ้ือขายสินคา้ ได้
3.1.3 อธิบายองคป์ ระกอบของตน้ ทนุ การผลติ ได้
3.1.4 อธิบายสินคา้ คงเหลอื ของกิจการอตุ สาหกรรมได้
3.2 ดา้ นทกั ษะ
3.2.1 คานวณตน้ ทนุ การผลิต ตน้ ทุนสินคา้ สาเร็จรูป และตน้ ทุนขายได้
3.2.2 จดั ทางบตน้ ทุนผลิต ได้
3.3 คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์
3.3.1 ตรงต่อเวลา มวี ินยั (เขา้ เรียนตรงเวลา รกั ษากฎระเบียบ)
3.3.2 มีความรับผดิ ชอบ (ในการส่งงาน) ละเอยี ดรอบคอบ (ทางานสะอาดเรียบร้อย)
และสนใจใฝ่ รู้ (คน้ ควา้ จากสื่อ)
3.3.3 มีความซื่อสตั ยต์ ่อตวั เองในการตรวจแบบฝึกหดั และการสอบ

4. เนื้อหาสาระการเรียนรู้
1. ลกั ษณะของกจิ การอตุ สาหกรรม
2. ขอ้ แตกต่างของกิจการอุตสาหกรรมและกิจการซ้ือขายสินคา้
3. ตน้ ทุนผลติ สินคา้ (Cost of goods Manufactured)
4. ตน้ ทุนสินคา้ สาเร็จรูป (Cost of Finished Goods)
5. สินคา้ คงเหลือของกิจการอตุ สาหกรรม

5. ข้ันสอน (เทคนคิ การสอนโดยการใช้คาถาม , การอภิปราย , การใช้เกมส์ , แบบโมเดลซิปปา ,

แบบบรรยาย ,แบบ แอล.ท.ี )
สปั ดาหท์ ี่ 1 เรื่องลกั ษณะของกิจการอุตสาหกรรมเปรียบเทียบกบั กิจการซ้ือขายสินคา้ เพือ่ จาหน่าย
5.1 การนาเข้าสู่บทเรียน (เทคนิคการสอนโดยการใช้คาถาม)

- ชวั่ โมงท่ี 1 (ปฐมนิเทศก่อนการสอน) ผสู้ อนใหค้ าแนะนาการเรียนการสอนวิชาการบญั ชี
ตน้ ทุนเบ้ืองตน้ เพมิ่ เติม โดยบอกช่ือวิชา รหสั วิชา ซ่ึงวิชามี 3 หน่วยกิต เวลาเรียน 4 ชว่ั โมง
ต่อสปั ดาห์ จากท้งั หมด 18 สปั ดาห์ ซ่ึงจะตอ้ งมเี วลาเรียน 80% ของเวลาเรียนท้งั หมด 72 ชวั่ โมง
หลกั เกณฑใ์ นการใหค้ ะแนนเต็ม 100 คะแนน แบ่งเป็นคะแนนเกบ็ 70 คะแนน คะแนนสอบ
ปลายภาค 30 คะแนน คะแนนเกบ็ ประกอบดว้ ยคะแนนบรู ณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม
และคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ (จติ พิสยั ) 20 คะแนน คะแนนงานท่ีมอบหมาย 20 คะแนน
สอบระหวา่ งภาค 30 คะแนน และเปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนซกั ถาม

- ผ้สู อนและผ้เู รียนร่วมกนั เจริญสมาธิ เป็ นเวลา 2 นาที ก่อนเริ่มทาการเรียนการสอน
เพื่อเตรียมความพร้อมในการศกึ ษาหาความรู้ โดยใหน้ ง่ั บนเกา้ อ้ีดว้ ยถา้ นง่ั ท่ีผอ่ นคลาย นามือขวา
ทบั มอื ซา้ ย กาหนดรู้ลมหายใจ นบั ลมหายใจเขา้ -ออก ควบคุมความคิดไมใ่ หเ้ ขา้ มารบกวน กาจดั
อารมณ์ใหห้ มดสิ้น ความเงียบบ่อเกิดแห่งความสงบ เมือ่ ทาไดจ้ ะใหร้ ู้สึกมคี วามสุขกบั การนงั่ สมาธิ

- ผสู้ อนแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียน เรื่อง ลกั ษณะของกิจการอตุ สาหกรรมเปรียบเทียบกบั
กิจการซ้ือขายสินคา้ เพ่อื จาหน่าย ใหผ้ เู้ รียนทราบวา่ ผเู้ รียนจะไดร้ ับอะไรบา้ งจากการเรียนเร่ืองน้ี
โดยผเู้ รียนสามารถอธิบายลกั ษณะของกิจการอตุ สาหกรรม ขอ้ แตกต่างของกิจการอุตสาหกรรม
และกิจการซ้ือขายสินคา้ ได้

- ผสู้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั ทากจิ กรรมทบทวนความรู้เก่ียวกบั วชิ าการบญั ชีเบ้ืองตน้ 1
ซ่ึงเป็นความรู้ในการทาบญั ชีธุรกจิ บริการ และการบญั ชีเบ้ืองตน้ 2 ซ่ึงเป็นความรู้ในการ
ทาบญั ชีธุรกิจซ้ือมาขายไป

- ผ้สู อนทากจิ กรรมโดยใช้การถามตอบ โดยใหน้ กั ศกึ ษายกตวั อยา่ งธุรกิจหรือช่ือสถาน-
ประกอบการท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ธุรกิจการบริการ และธุรกิจซ้ือมาขายไป เพ่อื นาเขา้ สู่การอธิบาย
ลกั ษณะของธุรกิจอตุ สาหกรรม

- ผเู้ รียนเล่าประสบการณ์เรียนบญั ชีตน้ ทุนเบ้ืองตน้ หรือทางานดา้ นบญั ชีท่ีผเู้ รียนเคยศกึ ษามา

5.2 การเรียนรู้ (เทคนิควธิ สี อนแบบอภปิ ราย , การใช้คาถาม)
- ผเู้ รียนรับฟังคาช้ีแจงสงั เขปรายวิชา และการวดั ประเมนิ ผล ซกั ถามขอ้ ปัญหา รวมท้งั แสดง

ความคดิ เห็นเก่ียวกบั การเรียนวชิ าน้ี และทาแบบประเมินผลการเรียนรูก้ ่อนเรียน จากน้นั ใหส้ ลบั กนั
ตรวจและเกบ็ ผลคะแนนไวเ้ ปรียบเทียบกบั การประเมนิ ผลหลงั เรียนหน่วยที่ 1

- ผู้สอนใช้เทคนคิ วธิ สี อนแบบอภปิ ราย (Discussion Method) ซึ่งเป็ นการสอนโดยทผี่ ู้เรียน
แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ซ่ึงกนั และกนั เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาอย่างใดอย่างหนงึ่ การอภิปรายกระทา
ระหว่างผสู้ อนกบั ผเู้ รียน หรือระหว่างนกั เรียนดว้ ยกนั โดยมคี รูเป็นผปู้ ระสานงาน วิธีการสอนแบบ
อภิปราย
จะช่วยส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนคิดเป็น พดู เป็น และสร้างความเป็นประชาธิปไตย โดยมขี ้นั ตอนของวธิ ีสอน
แบบอภิปรายดงั น้ี

1. ข้นั นาเขา้ สู่หวั ขอ้ การอภิปรายเร่ืองลกั ษณะของกิจการอตุ สาหกรรม ลกั ษณะของกิจการ
ซ้ือขายสินคา้ การเปรียบเทียบกิจการอตุ สาหกรรมและกิจการซ้ือขายสินคา้ ซ่ึงเป็นข้นั การกระตนุ้
หรือเร้าความสนใจของนกั เรียนใหม้ ีความสนใจร่วมอภิปรายแสดงความคดิ เห็น

2. ข้นั อภิปราย ใหแ้ บ่งนกั เรียนเป็น 2 ฝ่ าย คือ ฝ่ ายผอู้ ภิปรายซ่ึงอยหู่ นา้ ช้นั เรียนกบั ฝ่ ายผฟู้ ัง
ฝ่ ายผอู้ ภิปรายประกอบดว้ ยประธาน 1 คนทาหนา้ ท่ีเป็นผดู้ าเนินการอภิปรายเป็นผเู้ สนอปัญหา สรุป
ประเดน็ สาคญั และนาการอภิปรายไม่ใหอ้ อกนอกทาง ตดั บทสมาชิกที่ถกเถียงกนั การนาเขา้ สู่หวั ขอ้
การอภิปราย ประธานตอ้ งแนะนาหวั ขอ้ ที่จะอภิปรายจากน้นั แนะนาสมาชิกผรู้ ่วมอภิปรายแต่ละคน
ดงั ต่อไปน้ี

2.1 อภิปรายความหมายของกิจการผลติ และใหผ้ เู้ รียนยกตวั อยา่ งประกอบ โดยกจิ การ
อุตสาหกรรม (Manufacturing Firm) หมายถึง กิจการที่ผลิตสินคา้ เพ่ือจาหน่าย โดยจะ
ซ้ือวตั ถุดิบเพือ่ ทาการแปรรูปใหเ้ ป็นสินคา้ สาเร็จรูป การคานวณตน้ ทุนสินคา้ สาเร็จรูป
ต่อหน่วยน้นั
2.2 อภิปรายลกั ษณะของกิจการอตุ สาหกรรม แบ่งไดด้ งั น้ี

(1) ลกั ษณะของการประกอบการ (2) การบนั ทึกบญั ชี

2.3 อภิปรายความหมายกิจการบริการ หมายถงึ กิจการที่ไม่ไดข้ ายสินคา้ ท่ีเป็นรูปธรรม
สามารถจบั ตอ้ งไดแ้ ต่เป็นในลกั ษณะการอานวยความสะดวก การใหป้ ระโยชนท์ ี่เป็น
นามธรรม ไม่มรี ูปร่าง ไม่สามารถจบั ตอ้ งได้ ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลใหบ้ ริการรักษาคนไข้
สถานศกึ ษาบริการใหค้ วามรู้ หรือสถาบนั การเงินใหบ้ ริการรับฝากและทาธุรกรรม
ดา้ นการเงิน เป็นตน้ ธุรกิจบริการถือเป็นธุรกิจท่ีมีกระบวนการของการผลติ เพยี งไม่มี
การนาวตั ถุดิบเขา้ สู่กระบวนการผลิตแต่มีการใชต้ น้ ทุนค่าแรงงานและค่าใชจ้ ่ายการผลิต
เพอ่ื การแปรสภาพ ดงั น้นั ตน้ ทุนผลติ จึงเกิดข้ึนเฉพาะในส่วนของตน้ ทุนแปรสภาพ
(conversion cost) เท่าน้นั การจดั ทางบ“ตน้ ทุนผลติ ”จะมลี กั ษณะคลา้ ยธุรกิจผลิตสินคา้
เพยี งแต่ไม่มีขอ้ มลู “ตน้ ทุนค่าวตั ถดุ ิบ” เท่าน้นั

- ผสู้ อนแสดงกระบวนการผลติ เป็นสินคา้ หรือการใหบ้ ริการ

- อภิปรายลกั ษณะของกิจการซ้ือขายสินคา้ โดยกิจการทขี่ ายสินคา้ โดยทาการซ้ือสินคา้
สาเร็จรูปมาจากผผู้ ลติ หรือจากพอ่ คา้ รายอนื่ ๆ และนามาขายต่อใหผ้ บู้ ริโภคเนื่องจากกจิ การไมไ่ ดม้ กี ารผลติ
สินคา้ เอง ตน้ ทุนประเภทค่าวตั ถุดิบ ค่าแรงคนงานและค่าใชจ้ ่ายการผลิตจึงไม่เกิดข้ึนส่งผลใหร้ ะบบบญั ชี
ตน้ ทุนของธุรกิจประเภทน้ีค่อนขา้ งง่ายไมจ่ าเป็นตอ้ งจดั วางระบบในการเกบ็ ขอ้ มลู ตน้ ทุนท้งั 3 ประเภท เมือ่
ไมม่ ขี อ้ มูลตน้ ทุนดงั กลา่ วก็ไม่จาเป็นตอ้ งจดั ทางบตน้ ทุนผลิต ตน้ ทุนจะเกิดข้ึนเฉพาะตน้ ทุนขาย ซ่ึงหมายถึง
มูลค่าซ้ือสินคา้ บวกดว้ ยค่าใชจ้ ่ายต่างๆ ที่เกิดข้ึนเพ่ือใหไ้ ดส้ ินคา้ มา เช่น ค่าขนส่ง ค่าประกนั ภยั เป็นตน้

- อภิปรายโดยการเปรียบเทียบกิจการอุตสาหกรรมและกิจการซ้ือขายสินคา้ พร้อมแสดง
แผนภูมิการเปรียบเทียบท้งั สองกิจการใหเ้ ห็นอยา่ งชดั เจน

- ผู้สอนใช้เทคนิคการจดั การเรียนรู้แบบใช้คาถาม (Questioning Method) ซึ่งเป็ นกระบวนการ

เรียนรู้ท่ีม่งุ พฒั นากระบวนการทางความคดิ ของผ้เู รียน โดยผ้สู อนจะป้อนคาถามในลกั ษณะต่าง ๆ ที่เป็ น

คาถามทด่ี ี สามารถพฒั นาความคดิ ผ้เู รียน ถามเพ่ือให้ผ้เู รียนใช้ความคดิ เชิงเหตุผล วเิ คราะห์ วจิ ารณ์

สังเคราะห์ หรือ การประเมนิ ค่าเพ่ือจะตอบคาถามเหล่าน้ัน โดยการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบใชค้ าถามมี

ข้นั ตอนสาคญั ดงั ต่อไปน้ี

ข้นั 1 วางแผนการใชค้ าถาม ผสู้ อนควรจะมกี ารวางแผนไวล้ ่วงหนา้ วา่ จะใช้

คาถามเพ่ือวตั ถุประสงคใ์ ด รูปแบบหรือประการใดที่จะสอดคลอ้ งกบั เน้ือหาสาระ

และวตั ถปุ ระสงคข์ องบทเรียน

ข้นั 2 เตรียมคาถาม ผสู้ อนควรจะเตรียมคาถามที่จะใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

ข้นั 3 การใชค้ าถาม ผสู้ อนจะใชค้ าถามในทุกข้นั ตอนของการจดั กิจกรรมการ

เรียนรู้และอาจจะสร้างคาถามใหม่ท่ีนอกเหนือจากคาถามทีเ่ ตรียมไวก้ ไ็ ด้ ท้งั น้ีตอ้ ง

เหมาะสมกบั เน้ือหาสาระและสถานการณ์น้นั ๆ

ข้นั 4 สรุปและประเมินผล การสรุปบทเรียนผสู้ อนอาจจะใชค้ าถามเพอื่ การ

สรุปบทเรียน การประเมินผล ผสู้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั ประเมินผลการเรียนรู้ โดยใช้

วธิ ีประเมนิ ผลตามสภาพจริงโดยเน้ือหาของกิจกรรม ไดแ้ ก่ การเปรียบเทียบกิจการ

อตุ สาหกรรมและกิจการซ้ือขายสินคา้ ดงั ต่อไปน้ี

กจิ การอุตสาหกรรม กจิ การซื้อขายสินค้า

1.วตั ถปุ ระสงคใ์ นการประกอบการ จะผลติ สินคา้ เอง 1.วตั ถปุ ระสงคใ์ นการประกอบการ ซ้ือสินคา้

เพ่ือจาหน่ายโดยซ้ือวตั ถดุ ิบมาผลิตสินคา้ สาเร็จรูป สาเร็จรูปจากกิจการผผู้ ลิตหรือพอ่ คา้ ส่งมาจาหน่าย

2.เงินทุนท่ีใช้ 2.เงินทุนที่ใช้
1) ลงทุนในสินทรัพยไ์ ม่หมนุ เวียน เช่น เคร่ืองมือ 1) ลงทุนเกี่ยวกบั การซ้ือขายสินคา้
2) ราคาจาหน่ายจะสูงกวา่ กิจการอุตสาหกรรม
เครื่องจกั ร อาคารโรงงาน เป็นตน้
2) ลงทุนในวตั ถุดิบท่ีใชใ้ นการผลติ เน่ืองจากมีค่าใชจ้ ่ายในการซ้ือสินคา้ จากผผู้ ลติ
3) ราคาจาหน่ายจะถกู กวา่ ที่ซ้ือสินคา้ มาขาย

3.องคป์ ระกอบในการดาเนินการ 3.องคป์ ระกอบในการดาเนินการ

ผลิตเพื่อจาหน่าย ดงั น้ี ซ้ือสินคา้ มาเพื่อจาหน่ายดงั น้ี

ผปู้ ระกอบการซ้ือวตั ถดุ ิบ ฝ่ ายผลติ ผลติ ผ้ปู ระกอบการซือ้ สินค้าจาหน่ายลกู ค้า

สินคา้ สาเร็จรูปคลงั สินคา้ จาหน่ายลกู คา้

กจิ การอุตสาหกรรม กจิ การซื้อขายสินค้า
4.ตน้ ทุนของสินคา้ ไดแ้ ก่ ตน้ ทุนการผลติ ประกอบดว้ ย 4.ตน้ ทุนของสินคา้ ไดแ้ ก่ ตน้ ทุนขาย ประกอบดว้ ย

วตั ถดุ ิบ ค่าแรงงานทางตรง และค่าใชจ้ ่ายในการ ค่าขนส่งสินคา้ ค่าสินคา้ ท่ีซ้ือมาจาหน่าย
ผลิต
5.สินคา้ คงเหลอื ไดแ้ ก่ 5.สินคา้ คงเหลอื ไดแ้ ก่
- สินคา้ สาเร็จรูป - สินคา้ คงเหลือปลายงวด
- สินคา้ ระหวา่ งผลิต
- วตั ถดุ ิบ 6.การสรุปผลการดาเนินงาน
- วสั ดุโรงงาน - งบกาไรขาดทุน
6.การสรุปผลการดาเนินงาน - งบแสดงฐานะการเงนิ
- งบกาไรขาดทุน
- งบแสดงฐานะการเงิน
- งบตน้ ทุนการผลติ

- ผ้สู อนและผู้เรียนแสดงความคดิ เห็นในการทาบัญชีครัวเรือนซึ่งเป็ นส่วนหน่ึงของกระบวนการ
เรียนรู้ การศึกษา การฝึ กตน เพ่ือให้เกิดการปฏิบัติพัฒนาความรู้ ความคดิ และปฏิบัตทิ ี่ถูกต้อง ก่อให้เกิด
ความเจริญในอาชีพหรือเศรษฐกจิ สังคมและวฒั นธรรม ซึ่งการทาบญั ชีครัวเรือนเป็ นเรื่องการบันทึกรายรับ
รายจ่ายประจาวนั /เดือน/ปี ว่ามรี ายรับรายจ่ายจากอะไรบ้าง จานวนเท่าใด เพ่ือให้รู้จกั พัฒนาตนเอง มเี หตุมี
ผล รู้จักพอประมาณ จึงเห็นว่าการทาบัญชีครัวเรือน คือวิถีแห่งการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาชีวิตตามปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

5.3 การสรุป (เทคนคิ การจดั การเรียนรู้โดยใช้เกม)
- ผ้สู อนและผ้เู รียนใช้เทคนิคการจดั การเรียนรู้โดยใช้เกม (Game) คือ กระบวนการ

เรียนรู้ ทีผ่ ู้สอนให้ผู้เรียนเล่นเกมที่มกี ฎเกณฑ์กตกิ า เง่ือนไข หรือข้อตกลงร่วมกนั ทไ่ี ม่ยุ่งยากซับซ้อน

ทาให้เกดิ ความสนุกสนาน ร่าเรงิ เป็ นการออกกาลงั กาย เพอื่ พฒั นาความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ มโี อกาส

แลกเปลยี่ นความรู้และประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกบั ผู้อน่ื โดยมกี ารนาเนื้อหาข้อมลู ของเกม พฤตกิ รรม
การเล่น วธิ กี ารเล่นและผลการเล่นเกมมาใช้ในการอภิปรายเพอ่ื สรุปผลการเรียนรู้ โดยให้ ผเู้ รียนทาย
คาศพั ทบ์ ญั ชี

1. ถา้ ใครทายถกู หรือตอบครู กจ็ ะใหค้ ะแนนคาศพั ทล์ ะ 1 คะแนน
2. โดยศกึ ษาคาศพั ทใ์ นเน้ือหาหน่วยที่ 1
3. แลว้ นาคาศพั ทเ์ หล่าน้นั มาทาย โดยเขียนคาศพั ท์ หรืออาจจะเขียนเป็น

บตั รคาศพั ทก์ ไ็ ด้
- ผสู้ อนใหผ้ เู้รียนวเิ คราะห์กรณีศกึ ษาของบริษทั น้าตาลไทย จากดั และปฏบิ ตั ิดงั ต่อไปน้ี

1. กิจการขา้ งตน้ อยใู่ นรูปแบบใด และเป็นกิจการประเภทใด
2. สินคา้ ไดแ้ ก่อะไร และวตั ถดุ ิบที่สาคญั ในการผลติ ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง

 สินคา้ สาเร็จรูปที่ผลิตและจาหน่าย ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง
 วตั ถุดิบท่ีสาคญั ในการผลิต ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง
3. จงวาดแผนภูมิกระบวนการผลติ น้าตาลทรายอยา่ งง่าย
5.4 การวดั และประเมนิ ผล (เทคนิคการจดั การเรียนรู้โดยใช้เกม)
- ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนวิเคราะห์กรณีศกึ ษาบริษทั เซน็ ทรัลฟ้ดู รีเทล จากดั และปฏบิ ตั ิดงั ต่อไปน้ี
1. กิจการขา้ งตน้ อยใู่ นรูปแบบใด และเป็นกิจการประเภทใด
2. สินคา้ และการบริการ และสินคา้ ที่ซ้ือและจาหน่าย ไดแ้ ก่
3. จงวาดแผนภูมกิ ระบวนการดาเนินงานของกิจการซ้ือขายสินคา้
- ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนเปรียบเทียบกิจการของบริษทั น้าตาลไทย จากดั และบริษทั เซ็นทรัลฟ้ดู
รีเทล จากดั ตามกรณีศึกษาดงั กลา่ วมาแลว้
- ผสู้ อนและผเู้ รียนสรุปลกั ษณะของกจิ การอตุ สาหกรรม ลกั ษณะของกิจการซ้ือขายสินคา้
และการเปรียบเทียบกิจการอตุ สาหกรรมและกจิ การซ้ือขายสินคา้ จากบทเรียน โดยครูจะใชค้ าถาม
และใหผ้ เู้ รียนตอบ

สปั ดาห์ที่ 2 เรื่อง องคป์ ระกอบของตน้ ทุนการผลติ และตน้ ทุนสินคา้ สาเร็จรูป

5.1 การนาเข้าสู่บทเรียน (เทคนิคในการสอนโดยใช้แบบโมเดลซปิ ปา)
- ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกนั เจริญสมาธิ เป็ นเวลา 2 นาที ก่อนเร่ิมทาการเรียนการสอน

เพอ่ื เตรียมความพร้อมในการศกึ ษาหาความรู้ โดยใหน้ งั่ บนเกา้ อ้ดี ว้ ยถา้ นงั่ ที่ผอ่ นคลาย นามือขวา
ทบั มือซา้ ย กาหนดรู้ลมหายใจ นบั ลมหายใจเขา้ -ออก ควบคุมความคิดไมใ่ หเ้ ขา้ มารบกวน กาจดั
อารมณ์ใหห้ มดส้ิน ความเงียบบ่อเกิดแห่งความสงบ เม่อื ทาไดจ้ ะใหร้ ู้สึกมคี วามสุขกบั การนงั่ สมาธิ

- ผู้สอนใช้เทคนคิ ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบโมเดลซิปปา (CIPPA MODEL)

โดยการทบทวนความรู้เดมิ เป็ นการยกตวั อย่างการผลติ สินค้าสาเร็จรูปทต่ี ้องมคี ่าใช้จ่ายซ่ึงเรียกว่า

ต้นทุนเข้ามาเกยี่ วข้อง โดยต้นทนุ จะขึน้ อย่ตู ามลกั ษณะของวตั ถดุ บิ ทน่ี ามาผลติ เป็ นสินค้าสาเร็จรูป

แต่ละประเภท

- ผสู้ อนสนทนากบั ผเู้ รียนถึงวตั ถดุ ิบเป็นส่วนประกอบสาคญั ในการผลติ ท่จี ะถูกเปล่ียนสภาพ
กลายเป็นสินคา้ สาเร็จรูป

- ผเู้ รียนยกตวั อยา่ งวตั ถดุ ิบ ไดแ้ ก่
ไมแ้ ปรรูป เป็น วตั ถดุ ิบทางตรง ในการผลิต เฟอร์นิเจอร์
ผา้ เป็น วตั ถดุ ิบทางตรง ในการผลิต เส้ือผา้ สาเร็จรูป
ดินเหนียว เป็น วตั ถดุ ิบทางตรง ในการผลิต ผลติ ภณั ฑเ์ ซรามกิ
ผลไม้ เป็น วตั ถุดิบทางตรง ในการผลติ น้าผลไม้

- ผสู้ อนสนทนาซกั ถามใหผ้ เู้ รียนเล่าประสบการณ์เกยี่ วกบั การผลิตสิ่งของใชใ้ นครัวเรือน
ของตนเอง หรือใหผ้ เู้ รียนแสดงความรู้เดิมของตนวา่ มคี วามรู้มากนอ้ ยเพยี งใด เพอื่ ช่วยใหผ้ เู้ รียน
มคี วามพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กบั ความรู้เดิมของตน

- ผสู้ อนแนะนาใหผ้ เู้ รียนแสวงหาขอ้ มูลความรู้ใหม่เก่ียวกบั ตน้ ทุนการผลติ จากแหลง่ ขอ้ มลู
หรือแหล่งความรู้ต่าง ๆ โดยผสู้ อนใหค้ าแนะนาเก่ียวกบั แหล่งขอ้ มลู ต่าง ๆ เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนไปแสวงหา
โดยผสู้ อนแนะนาแหล่งความรู้ต่าง ๆ ใหแ้ ก่ผเู้ รียนตลอดท้งั จดั เตรียมเอกสารส่ือต่าง ๆ
5.2 การเรียนรู้ (เทคนิคการสอนแบบบรรยาย , แบบ แอล.ที.)

- ผสู้ อนใชเ้ ทคนิคการสอนวธิ ีสอนแบบบรรยาย (Lecture Method) ซ่ึงเป็นวิธีสอนที่ผสู้ อนให้
ความรู้ตามเน้ือหาสาระดว้ ยการเลา่ อธิบายแสดงสาธิตโดยที่ผเู้ รียนเป็นผฟู้ ังเพียงอยา่ งเดียว อาจเปิ ด
โอกาสใหซ้ กั ถามปัญหาไดบ้ า้ งในตอนทา้ ยของการบรรยาย

(1) ความหมายของตน้ ทนุ การผลติ
(2) องคป์ ระกอบของตน้ ทุนการผลติ
(3) ความสมั พนั ธข์ องตน้ ทุนการผลติ

- ผสู้ อนและผเู้ รียนสรุปไดว้ ่า ตน้ ทนุ (Cost) หมายถึง มูลค่าของทรัพยากรท่ีสูญเสียไปเพื่อใหไ้ ด้
สินคา้ หรือบริการ โดยมูลค่าน้นั จะตอ้ งสามารถวดั ไดเ้ ป็นหน่วยเงินตรา ซ่ึงเป็นลกั ษณะของการลดลง
ในสินทรัพยห์ รือเพิ่มข้ึนในหน้ีสิน ตน้ ทุนท่ีเกดิ ข้ึนอาจจะใหป้ ระโยชน์ในปัจจุบนั หรือในอนาคตก็ได้
เมื่อตน้ ทุนใดท่ีเกิดข้ึนแลว้ และกจิ การไดใ้ ชป้ ระโยชนไ์ ปแลว้ ตน้ ทุนน้นั จะถือเป็น “ ค่าใชจ้ ่าย ”
ดงั น้นั ค่าใชจ้ ่ายจึงหมายถึงตน้ ทนุ ท่ีไดใ้ หป้ ระโยชน์และกิจการไดใ้ ชป้ ระโยชน์ท้งั หมดไปแลว้
ในขณะน้นั สาหรับตน้ ทุนทกี่ ิจการสูญเสียไปแต่จะใหป้ ระโยชนใ์ นอนาคตเรียกวา่ “สินทรัพย์

- ผ้สู อนใช้เทคนคิ กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ แอล.ท.ี (L.T) คือ “Learning

Together” ซึ่งมกี ระบวนการท่ีว่า เพ่ือศกึ ษาองค์ประกอบของต้นทุนการผลติ และความสัมพนั ธ์

ของต้นทุนการผลติ ดงั นี้

(1) จดั ผเู้ รียนเขา้ กลมุ่ คละความสามารถ ( เก่ง - กลาง - ออ่ น ) กลุม่ ละ 4 คน

(2) กลุ่มยอ่ ยกลุ่มละ 4 คน ศกึ ษาเน้ือหาร่วมกนั โดยกาหนดใหแ้ ต่ละคนมบี ทบาท

หนา้ ที่ช่วยกลุ่มในการเรียนรู้ ตวั อยา่ งเช่น

สมาชิกคนที่ 1 : อ่านคาสง่ั
สมาชิกคนท่ี 2 : หาคาตอบ

สมาชิกคนที่ 3 : หาคาตอบ

สมาชิกคนที่ 4 : ตรวจคาตอบ

(3) กล่มุ สรุปคาตอบร่วมกนั และส่งคาตอบน้นั เป็นผลงานกล่มุ
(4) ผลงานกลุ่มไดค้ ะแนนเท่าไร สมาชิกทุกคนในกลมุ่ น้นั จะไดค้ ะแนนน้นั

เท่ากนั ทุกคนโดยใหศ้ กึ ษาความรู้จากแผนภูมอิ งคป์ ระกอบของตน้ ทนุ

การผลิต และความสมั พนั ธข์ องตน้ ทุนการผลิตดงั ต่อไปน้ี

- ครูอธิบายความสมั พนั ธข์ องตน้ ทุนการผลติ เพิม่ เติม จากท่ีกลา่ วมาแลว้ ในการผลติ สินคา้ น้นั
จะแบ่งองค์ประกอบของตน้ ทุนการผลิตออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่ วตั ถุดิบทางตรง ค่าแรงงาน
ทางตรงและค่าใช้จ่ายในการผลิต ซ่ึงค่าใชจ้ ่ายในการผลิตจะประกอบดว้ ยค่าใชจ้ ่ายทุกรายการท่ี
เกิดข้ึนในกระบวนการผลิต (ยกเวน้ วตั ถุดิบทางตรงและค่าแรงงานทางตรง) ตอ้ งโอนปิ ดไปยงั บญั ชี
ค่าใชจ้ ่ายในการผลิตซ่ึงเป็ นบญั ชีคุมยอด การโอนตน้ ทุนการผลิตไปเป็ นตน้ ทุนของสินคา้ น้นั ในช่วงท่ี
สินคา้ ยงั ผลิตไม่เสร็จตน้ ทุนของสินคา้ ท่ีกาลงั อยใู่ นกระบวนการผลิตจะโอนไปบญั ชีงานระหวา่ งทา
เมื่อสินคา้ ผลิตเสร็จก็จะโอนตน้ ทุนหน่วยที่ผลติ เสร็จแลว้ ไปยงั บญั ชีตน้ ทุนสินคา้ สาเร็จรูป และเมื่อ
ขายสินคา้ สาเร็จรูปตน้ ทุนของสินคา้ ส่วนท่ีขายจะถกู โอนจากบญั ชีสินคา้ สาเร็จรูปเขา้ บญั ชีตน้ ทุนของ
สินคา้ ท่ีขาย

วตั ถุดบิ งานระหว่างทา
วตั ถุดิบท่ีซ้ือเขา้ มา วตั ถุดิบทางตรง วตั ถุดิบทางตรง ตน้ ทุนสินคา้
ค่าแรงงานทางตรง
วตั ถดุ ิบทางออ้ ม ค่าใชจ้ ่ายการผลติ

ค่าแรงงาน สินค้าสาเร็จรูป
ค่าแรงที่จ่ายไปจริง ค่าแรงทางตรง ตน้ ทุนสินคา้ ตน้ ทุนสินคา้ ที่ขายไป

ค่าแรงทางออ้ ม

คุมค่าใช้จ่ายการผลติ ต้นทุนสินค้าที่ขาย

วตั ถุดิบทางออ้ ม ค่าใชจ้ ่ายส่วนท่ีคิด ตน้ ทุนสินคา้ ท่ขี ายไป กาไรขาดทุน

ค่าแรงทางออ้ ม เป็นตน้ ทุน

ค่าใชผ้ ลติ อ่ืนๆ

ท่ีจ่ายเพ่ิมเติม

วงจรต้นทุนการผลิตและต้นทนุ สินค้าทขี่ าย

- ผ้สู อนอธิบายเพมิ่ เตมิ เนื้อโดยเน้นให้ผ้เู รียนสร้างภูมคิ ้มุ กนั ทด่ี ใี ห้กบั ตนเอง ตามหลกั ปรัชญา

เศษฐกจิ พอเพยี ง คอื เตรียมใจให้พร้อมรับผลกระทบและความเปลย่ี นแปลงท่จี ะเกดิ ขึน้ ในอนาคตทา

ให้เข้มแขง็ ทางด้านฐานะการเงนิ โดยมเี งื่อนไขคณุ ธรรมประกอบด้วย ในการซื้อสินค้ามาบริโภค หรือ

จาหน่ายกต็ ้องคานงึ่ ถึงความพอดี ระมดั ระวงั ผลกระทบทเ่ี กดิ ขนึ้ อย่างรอบคอบ จะได้ไม่เกดิ ปัญหา

ต่าง ๆ ตามมาภายหลงั
(1) การมคี วามรู้ คือ นาความรู้มาใช้ในการวางแผนและดาเนนิ ชีวติ
(2) การมคี ุณธรรม คือ มคี วามซ่ือสัตย์สุจริต สามคั คี และช่วยเหลือซึ่งกนั และกนั

- ผสู้ อนไดป้ ลกู ฝงั คณุ ธรรมจริยธรรม อนั เป็ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของนกั ศึกษา
อาชีวะ ซ่ึงกาหนดโดยสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่องความสนใจใฝ่ รู้ โดยให้
นกั ศกึ ษาคน้ ควา้ หาความรู้ดว้ ยตนเอง ซกั ถามปัญหาขอ้ สงสยั แสวงหาประสบการณ์และคน้ หา
ความรู้ใหม่ ๆ
5.3 การสรุป

- ผสู้ อนและผเู้ รียนสรุปความหมายของตน้ ทุนการผลิต องคป์ ระกอบของตน้ ทุนการผลิต และ
ความสมั พนั ธข์ องตน้ ทุนการผลติ โดยใชเ้ ทคนิคการจดั การเรียนรู้แบบใชค้ าถาม (Questioning Method)
5.4 การวดั และประเมนิ ผล

- ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนทากิจกรรม โดยใหน้ าตวั อยา่ งกิจการอุตสาหกรรมมาศกึ ษา 1 แห่ง เพ่ือ
อธิบายถงึ องคป์ ระกอบของกิจการอุตสาหกรรมน้นั ว่าประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง

6. ส่ือการเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้
6.1 ส่ือส่ิงพมิ พ์
6.1.1 หนงั สือประกอบการเรียน วิชาการบญั ชีตน้ ทุนเบ้ืองตน้ โดย อ.ภทั รกร สายเช้ือ
ของสานกั พิมพศ์ นู ยส์ งเสริมวชิ าการ
6.1.2 หนงั สือประกอบการเรียน วชิ าการบญั ชีตน้ ทุนเบ้ืองตน้ โดย อ.มนสั ชยั กีรติผจญ และคณะ
ของสานกั พิมพเ์ อมพนั ธ์ จากดั
6.1.3 หนงั สือประกอบการเรียน วชิ าการบญั ชีตน้ ทุนเบ้ืองตน้ โดย อ.จุฑารัตน์ และ อ.กนกเพ่ิม
ของบริษทั ศนู ยห์ นงั สือเมืองไทย จากดั
6.2 ส่ือโสตทศั น์
6.2.1 บรรยายหวั ขอ้ องคป์ ระกอบของตน้ ทุนการผลติ และ ตวั อยา่ งแสดงกระบวนการผลติ
โดยใช้ Microsoft powerpoint

7. เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้
- แบบฝึกหดั ทา้ ยหน่วย
- กรณีศึกษาบริษทั น้าตาลไทย จากดั และบริษทั เซ็นทรัลฟ้ดู รีเทล จากดั
- สมุดบนั ทึกความรู้ และ สมุดแบบฝึกหดั

8. การบูรณาการ / ความสัมพนั ธ์กบั วชิ าอื่น ๆ
- การบญั ชีเบ้ืองตน้ 1 และ 2
- การบญั ชีสาหรับกิจการซ้ือขายสินคา้
- การจดั การสินคา้ คงคลงั

9. การวดั ผลและการประเมนิ ผล
9.1 ก่อนเรียน
- แบบทดสอบก่อนการเรียนรู้
9.2 ขณะเรียน
- แบบประเมนิ พฤติกรรมรายบคุ คล และแบบประเมนิ พฤติกรรมกิจกรรมกลมุ่
9.3 หลงั เรียน
- แบบทดสอบหลงั การเรียนรู้
- แบบฝึกหดั ทา้ ยหน่วย

แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกล่มุ

กลุ่มท่ี.......................ช้นั ปวช. / ปวส. .....................................หน่วยการเรียนที.่ ..............................

ที่ รายการประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ
43210

ด้านวชิ าชีพ

1 ความสนใจใฝ่ รู้

2 การนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน

3 ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์

4 การพ่งึ พาตนเอง

5 ความซ่ือสตั ย์

ด้านคุณธรรม จริยธรรม

1 ความรับผดิ ชอบ

2 ความสามคั คี

3 ความตรงต่อเวลา

4 การทางานร่วมมอื กบั ผอู้ ืน่

5 การแต่งการสุภาพ เรียบร้อย และถูกระเบียบ

4 = ดีมาก 3 = ดี 2 = ปานกลาง 1 = ปรับปรุง 0 = ไม่ผ่าน

ขอ้ เสนอแนะ
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

ผปู้ ระเมิน....................................................
............/................./...........

แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ชื่อผู้ประเมนิ /กล่มุ ประเมนิ ……………………….…………………………………………………….……..
ช่ือกลุ่มรับการประเมนิ …………..……………………………………………………………………………
ประเมนิ ผลคร้งั ท…่ี .…...……….. วนั ที่ ……………...…. เดือน …………....…..……. พ.ศ. …….......….…
เรื่อง……………………………………………………………………..…………………………………….

ท่ี คณุ ลกั ษณะ/พฤตกิ รรมบ่งชี้ ระดบั พฤตกิ รรม คะแนนท่ี

1 ความมมี นุษยสัมพนั ธ์ เกดิ = 1 ควรปรับปรุง= 0 ได้
แสดงกิริยาท่าทางสุภาพต่อผอู้ ืน่

2 ความมวี นิ ัย
ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั และขอ้ ตกลง
ต่างๆ ของวทิ ยาลยั ไดแ้ ก่ แต่งกายถกู ตอ้ งตาม
ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ตรงต่อเวลา

3 ความรับผดิ ชอบ
มีการเตรียมความพร้อมในการเรียน

4 ความซ่ือสัตย์สุจริต
พดู ความจริง

5 ความเชื่อมนั่ ในตนเอง
กลา้ แสดงออกในส่ิงที่ถกู ตอ้ ง

6 การประหยดั
ใชว้ สั ดุถกู ตอ้ งและเหมาะสมกบั งาน

7 ความสนใจใฝ่ รู้
มีความกระตือรือร้นในการใฝ่ หาความรู้ใหม่

8 การละเว้นส่ิงเสพตดิ และการพนัน
ไม่เสพส่ิงเสพติด

9 ความรักสามคั คี
ร่วมมือในการทางาน

10 ความกตญั ญกู ตเวที
มีสมั มาคารวะต่อครู-อาจารยอ์ ยา่ งสม่าเสมอ
ท้งั ต่อหนา้ และลบั หลงั

รวมคะแนนท่ีได้ท้ังหมด = …………… คะแนน

10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน
10.1 ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้

10.2 ผลการเรียนรู้ของนกั เรียน นักศกึ ษา

10.3 แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนรู้

หน่วยที่ 2

แผนการจดั การเรียนรู้ สปั ดำหท์ ่ี 3-8

ระยะเวลำชวั่ โมงท่ี 9-32

วิชำ กำรบญั ชีตน้ ทุนเบ้ืองตน้

ชื่อหน่วย วตั ถดุ ิบ ค่ำแรงงำน และค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลติ

ช่ือเรื่อง กำรคำนวณและกำรบนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั วตั ถดุ ิบ ค่ำแรงงำน ค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลิต

1. สาระสาคญั

วตั ถุดบิ (Raw Materials) เป็นส่วนประกอบท่ีสำคญั ในกำรผลิตสินคำ้ ของกิจกำรอตุ สำหกรรม โดย
กำรนำวตั ถุดิบที่กิจกำรซ้ือมำผ่ำนกระบวนกำรแปรรูปไปเป็ นสินค้ำสำเร็จรูป ซ่ึงวตั ถุดิบแบ่งออกเป็ น
2 ประเภท คือ วตั ถดุ ิบทำงตรง และวตั ถดุ ิบทำงออ้ ม ส่วนวตั ถุดิบที่นำมำคำนวณตน้ ทุนผลติ สินคำ้ คือวตั ถุดิบ
ทำงตรง หรือวตั ถุดิบท่ีใช้ไปในกำรผลิต ในกำรรับจ่ำยวตั ถุดิบจะผ่ำนข้นั ตอน กำรจดั ทำเอกสำรสำคัญ
ประกอบเพื่อป้องกนั ข้อผิดพลำดท่ีอำจจะเกิดข้ึนได้ โดยเอกสำรใบสำคัญในกำรรับจ่ำยวตั ถุดิบจะเป็ น
หลกั ฐำนในกำรบนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั วตั ถุดิบ และอำ้ งอิงได้

ค่าแรงงาน (Labor) หมำยถงึ ค่ำตอบแทนที่กิจกำรอตุ สำหกรรมจ่ำยใหแ้ ก่ผทู้ ี่ทำงำนเกี่ยวขอ้ งกบั
กำรผลิตสินคำ้ อำจจ่ำยเป็ นรำยชวั่ โมง รำยวนั รำยสปั ดำห์ รำยเดือน หรือรำยช้ินของสินคำ้ ที่ผลิต ไดแ้ ก่
ค่ำแรงงำนทำงตรง และค่ำแรงงำนทำงออ้ ม ในกำรบันทึกบญั ชีค่ำแรงงำนจะแยกบนั ทึกบญั ชีระหว่ำง
ค่ำแรงงำนทำงตรงกบั ค่ำแรงงำนทำงออ้ ม เน่ืองจำกพนกั งำนของกิจกำรอุตสำหกรรมมีจำนวนมำกจึงตอ้ ง
จดั ทำทะเบียนค่ำแรงงำนเพื่อสรุปรำยไดข้ องพนักงำนจำกค่ำแรงงำน นอกจำกน้นั ยงั มรี ำยกำรหกั ต่ำงๆ เขำ้
มำเกี่ยวขอ้ ง ไดแ้ ก่ ภำษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดำหกั ณ ที่จ่ำย เงินประกนั สงั คม เงินสะสม และอ่นื ๆ

ค่าใช้ จ่ายในการผลิต เป็ นตน้ ทุนในกำรผลิตสินคำ้ ชนิดหน่ึงนอกเหนือจำกวตั ถุดิบทำงตรงและ

ค่ำแรงงำนทำงตรงเป็นค่ำใชจ้ ่ำยที่แบ่งสรรเป็ นตน้ ทุนของงำนและสินคำ้ สำเร็จรูปไดย้ ำกกว่ำ ตน้ ทุนวตั ถดุ ิบ
และค่ำแรงงำน เพรำะวำ่ ค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลติ เป็นค่ำใชจ้ ่ำยที่มิไดเ้ กิดข้ึนพร้อมกำรผลิต อำจเกิดข้ึนก่อนหรือ
หลงั กำรผลติ แต่กำรคิดตน้ ทุนของสินคำ้ จะคิดทนั ทีท่ีผลิตเสร็จ เช่น ค่ำเสื่อมรำคำโรงงำน เคร่ืองจกั รซ่ึงคิด
เป็นปี เพรำะฉะน้ันจึงตอ้ งมีกำรแบ่งสรรตน้ ทุน ของค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลิตเขำ้ เป็นตน้ ทุนกำรผลิตตำมอตั รำท่ี
กิจกำรกำหนด โดยปกติจะเป็ นค่ำใชจ้ ่ำยท่ีเก่ียวข้องกบั กำรผลิตในโรงงำนเท่ำน้ัน เช่น วตั ถุดิบทำงออ้ ม
(Indirect Materials) ค่ำแรงงำนทำงออ้ ม (Indirect Labor) เช่น เงินเดือนช่ำง ค่ำแรงคนงำนทำควำมสะอำด
ค่ำจำ้ งยำมโรงงำน ค่ำซ่อมแซม และบำรุงรักษำโรงงำน หรือ เครื่องจกั ร เป็นตน้ ซ่ึงค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลิต จะ
ประกอบดว้ ยค่ำใชจ้ ่ำยส่วนหน่ึงท่ีคงท่ีและอกี ส่วนหน่ึงที่ผนั แปรไปตำมปริมำณกำรผลิต

2. สรรถนะประจาหน่วย
2.1 คำนวณตน้ ทุนวตั ถุดิบ ได้
2.2 ตีรำคำวตั ถุดิบคงเหลือ ได้
2.3 บนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกบั วตั ถุดิบ ค่ำแรงงำน ค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลติ ได้

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.1 ดำ้ นควำมรู้
3.1.1 บอกควำมหมำยและประเภทของวตั ถดุ ิบ ค่ำแรงงำน ค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลติ ได้
3.1.2 อธิบำยวิธีกำรเก็บเวลำกำรทำงำน ได้
3.1.3 บอกประเภทของค่ำใชจ้ ่ำยกำรผลติ ได้
3.1.4 อธิบำยกำรเกิดข้ึนของค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลติ ได้
3.2 ดำ้ นทกั ษะ
3.2.1 อธิบำยและบนั ทึกกำรรับจ่ำยวตั ถุดิบได้
3.2.2 บนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั วตั ถดุ ิบ ได้
3.2.3 คำนวณตน้ ทุนวตั ถดุ ิบ และตีรำคำวตั ถุดิบคงเหลือ ได้
3.2.4 สำมำรถคำนวณและจำแนกประเภทค่ำแรงงำน ได้
3.2.5 สำมำรถบนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั ค่ำแรงงำน ได้
3.2.6 สำมำรถบนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกบั ค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลติ ได้
3.3 คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์
3.3.1 ตรงต่อเวลำ มวี ินยั (เขำ้ เรียนตรงเวลำ รักษำกฎระเบยี บ)
3.3.2 มีควำมรับผดิ ชอบ (ในกำรส่งงำน) ละเอยี ดรอบคอบ (ทำงำนสะอำดเรียบร้อย)
และสนใจใฝ่ รู้ (คน้ ควำ้ จำกสื่อ)
3.3.3 มีควำมซ่ือสตั ยต์ ่อตวั เองในกำรตรวจแบบฝึกหดั และกำรสอบ

4. เนื้อหาสาระการเรียนรู้
4.1 ควำมหมำย ประเภทของวตั ถุดิบ ค่ำแรงงำน ค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลิต
4.2 กำรบนั ทกึ กำรรับจ่ำยวตั ถุดิบ
4.3 กำรบนั ทกึ บญั ชีเก่ียวกบั วตั ถดุ ิบ
4.4 กำรคำนวณตน้ ทุนวตั ถุดิบ และตีรำคำวตั ถุดิบคงเหลอื
4.5 กำรเกบ็ เวลำกำรทำงำน
4.6 กำรคำนวณและจำแนกประเภทค่ำแรงงำน
4.7 กำรบนั ทกึ บญั ชีเกีย่ วกบั ค่ำแรงงำน

4.8 ประเภทของค่ำใชจ้ ่ำยกำรผลติ
4.9 กำรเกิดข้ึนของค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลติ
4.10 กำรบนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกบั ค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลติ

5. ข้ันสอน (เทคนคิ การสอนแบบโมเดลซิปปา ,แบบบรรยาย , กจิ กรรมกระบวนการกล่มุ , การใช้คาถาม)
สปั ดำห์ที่ 3 เรื่อง กำรรับจ่ำยวตั ถุดิบ
5.1 การนาเข้าสู่บทเรียน (เทคนิคการสอนแบบโมเดลซิปปา)
- ผ้สู อนและผ้เู รียนร่วมกนั เจริญสมาธิ เป็ นเวลา 2 นาที ก่อนเร่ิมทาการเรียนการสอน
เพือ่ เตรียมควำมพร้อมในกำรศกึ ษำหำควำมรู้โดยใหน้ งั่ บนเกำ้ อ้ดี ว้ ยถำ้ นงั่ ท่ีผอ่ นคลำยนำมอื ขวำทบั มือซำ้ ย
กำหนดรู้ลมหำยใจ นบั ลมหำยใจเขำ้ -ออก ควบคุมควำมคดิ ไม่ใหเ้ ขำ้ มำรบกวน กำจดั อำรมณ์ใหห้ มดส้ิน
ควำมเงียบบ่อเกิดแห่งควำมสงบ เม่อื ทำไดจ้ ะใหร้ ู้สึกมคี วำมสุขกบั กำรนงั่ สมำธิ
- ผสู้ อนใชเ้ ทคนิคกำรสอนโดยใชแ้ บบโมเดลซิปปำ (CIPPA MODEL) เป็นกำร
ทบทวนควำมรู้เดิมโดยครูสนทนำกบั ผเู้ รียนเรื่องวตั ถดุ ิบ โดยวตั ถุดิบถือเป็นส่วนสำคญั ในกำรผลติ
สินคำ้ แต่ในกำรผลติ สินคำ้ ชนิดใดชนิดหน่ึงน้นั ส่วนมำกมกั จะใชว้ ตั ถุดิบหลำยชนิด โดยผสู้ อนใช้
กำรสนทนำซกั ถำมใหผ้ เู้ รียนเล่ำประสบกำรณ์เดิมหรือใหผ้ เู้ รียนแสดงโครงควำมรู้เดิม(Graphic
Organizer) ของตน
- ผสู้ อนใหค้ ำแนะนำเก่ียวกบั แหลง่ ขอ้ มลู ต่ำง ๆ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนไปแสวงหำแหล่งควำมรู้ต่ำง ๆ
ใหแ้ ก่ผเู้ รียนตลอดท้งั จดั เตรียมเอกสำรส่ือต่ำง ๆ
5.2 การเรียนรู้ (เทคนิควธิ ีสอนแบบบรรยาย , แบบโมเดลซิปปา , กจิ กรรมกระบวนการกลุ่ม ,
การใช้คาถาม)
- ผ้สู อนใช้เทคนคิ วธิ สี อนแบบบรรยาย (Lecture Method) เป็ นวธิ สี อนท่ีผ้สู อนให้ความรู้
ตามเนื้อหาสาระด้วยการเล่าอธบิ ายแสดงสาธิตโดยทผ่ี ู้เรียนเป็ นผ้ฟู ังและเปิ ดโอกาสให้ซักถามปัญหา
ได้ในตอนท้ายของการบรรยายเก่ียวควำมหมำยและประเภทของวตั ถดุ ิบ ซ่ึงวตั ถดุ ิบท่ีใชใ้ นกำรผลิต
เหลำ่ น้นั แบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
(1) วตั ถุดิบทำงตรง (Direct Materials) คือวตั ถุดิบที่ใชเ้ ป็นส่วนประกอบหลกั
หรือส่วนประกอบสำคญั ในกำรผลติ สินคำ้ สำมำรถช้ีไดช้ ดั วำ่ จะใชผ้ ลิตสินคำ้ ชนิดใด
เป็นจำนวนเท่ำไหร่และสำมำรถคำนวณมูลค่ำต่อกำรผลติ สินคำ้ หน่ึงหน่วยไดง้ ่ำย เช่น
ไมเ้ ป็นวตั ถุดิบทำงตรงในกำรผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ เหลก็ เป็นวตั ถดุ ิบทำงตรงในกำรผลิต
รถยนต์ ผำ้ เป็นวตั ถุดิบทำงตรงในกำรตดั เส้ือผำ้ เป็นตน้
กำรคำนวณวตั ถุดิบท่ีใชใ้ นกำรผลิตสำมำรถคำนวณไดด้ งั น้ี

วัตถดุ ิบทใ่ี ช้ไปในการผลิต = วตั ถดุ บิ ต้นปี + ซื้อวตั ถุดิบระหว่างงวด + ค่าขนส่งเข้า
- ส่งคนื วัตถุดบิ – ส่วนลดรับ – วัตถุดิบปลายปี

ตวั อย่าง

ยอดคงเหลือบญั ชีของโรงงำนผลติ เส้ือผำ้ สำเร็จรูปบำงส่วน ในวนั ท่ี 31 ธนั วำคม 2557

สินคำ้ สำเร็จรูป 1 มกรำคม 2557 20,000 บำท

วตั ถดุ ิบคงเหลือ 1 มกรำคม 2557 100,000 บำท

ซ้ือวตั ถดุ ิบระหว่ำงงวด 200,000 บำท

ค่ำขนส่งเขำ้ 1,000 บำท

ส่งคืนวตั ถดุ ิบ 5,000 บำท

ส่วนลดรับ 2,000 บำท

สินคำ้ คงเหลือ 31 ธนั วำคม 2557 30,000 บำท

วตั ถดุ ิบคงเหลือ 31 ธนั วำคม 2557 50,000 บำท

การคานวณวตั ถุดิบที่ใช้ไปในการผลติ

วตั ถดุ ิบคงเหลือ 1 มกรำคม 100,000

ซ้ือวตั ถุดิบ 200,000

บวก ขนส่งเขำ้ 1,000

201,000

หกั ส่งคืนวตั ถดุ ิบ 5,000

ส่วนลดรับ 2,000 7,000

ซ้ือวตั ถุดิบสุทธิ 194,000

วตั ถุดิบที่มีไวใ้ ชท้ ้งั ส้ิน 294,000

หัก วตั ถดุ ิบคงเหลือ 31 ธนั วำคม 50,000

วตั ถุดิบที่ใชไ้ ปในกำรผลติ 244,000

(2) วตั ถดุ ิบทำงออ้ ม (Indirect Materials) หมำยถงึ วตั ถดุ ิบบำงส่วนท่ีใชผ้ ลิต
สินคำ้ สำเร็จรูปหรือเป็นเพยี งส่วนประกอบหรืออำจเป็นส่วนสำคญั แต่ใชใ้ นปริมำณ
ท่ีนอ้ ย มมี ลู ค่ำต่ำซ่ึงยำกแก่กำรคำนวณเขำ้ สู่สินคำ้ โดยตรง ดงั น้นั วตั ถุดิบทำงออ้ มจึง
ถอื เป็นค่ำใชจ้ ่ำยกำรผลิต เช่น กำว ตะปู สี ดำ้ ย กระดุม ซิป หรือวสั ดุสิ้นเปลืองอื่นๆ
ซ่ึงในกำรคำนวณตน้ ทุนกำรผลติ น้นั จะคำนวณไดย้ ำกกวำ่ วตั ถุดิบทำงตรงว่ำในกำร
คำนวณสินคำ้ 1 หน่วยน้นั ตอ้ งใชว้ ตั ถดุ ิบทำงออ้ มเป็นจำนวนเท่ำไร เช่น โรงงำน
ผลติ เส้ือสำเร็จรูป เส้ือ 1 ตวั จะใชด้ ำ้ ยเป็นจำนวนเท่ำไร วตั ถุดิบทำงออ้ มน้นั จะจดั อยู่
ในส่วนของค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลิต

- ผ้สู อนใช้เทคนิคการสอนโดยใช้แบบโมเดลซิปปา (CIPPA MODEL) ซึ่งได้การทบทวน

ความรู้เดมิ โดยสนทนาซักถามให้ผู้เรียนเล่าประสบการณ์เดิมของตนเกย่ี วกบั การจดั ซื้อสินค้าหรือ

วตั ถุดบิ
- ผเู้ รียนกำรแสวงหำขอ้ มูลเกี่ยวกบั กำรจดั ซ้ือวตั ถดุ ิบจำกหน่วยงำน หรือกิจกำรต่ำงๆ เช่น

บริษทั หำ้ ง ร้ำนต่ำงๆ เพอื่ ศกึ ษำวิธีกำร ข้นั ตอนกำรจดั ซ้ือ เอกสำรสำคญั ท่ีใชใ้ นกำรจดั ซ้ือ เป็นตน้
- เมื่อผเู้ รียนศึกษำและทำควำมเขำ้ ใจกบั ขอ้ มลู / ควำมรู้ที่หำมำได้ ผเู้ รียนสร้ำงควำมหมำย

ของขอ้ มูล / ประสบกำรณ์ใหม่ ๆ โดยใชก้ ระบวนต่ำง ๆ ดว้ ยตนเอง เช่น ใชก้ ระบวนกำรคิด
กระบวนกำรกลุ่มในกำรอภิปรำย และสรุปควำมเขำ้ ใจเกี่ยวกบั ขอ้ มลู น้นั ๆ ซ่ึงจำเป็นตอ้ งอำศยั
กำรเช่ือมโยงกบั ควำมรู้เดิม

- ผ้สู อนใช้กระบวนการต่าง ๆ ในการจดั กจิ กรรม เช่น กระบวนการคดิ กระบวนการกลุ่ม

กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสร้างลกั ษณะนิสัย กระบวนการ
ทกั ษะทางสังคม ฯลฯ เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนสร้ำงควำมรูข้ ้ึนมำดว้ ยตนเอง โดยใหก้ ำรจดั ซ้ือวตั ถดุ ิบกิจกำร
อตุ สำหกรรมที่ผลิตสินคำ้

- ผู้สอนให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มตามความสนใจ เพ่อื อาศัยกลุ่มเป็ นเคร่ืองมือในการตรวจสอบ

ความรวมท้งั ขยายความรู้ความเข้าใจของตนให้กว้างขนึ้ ซ่ึงจะช่วยให้ผ้เู รียนได้แบ่งปันความรู้ความ
เข้าใจของตนเองแก่ผ้อู ื่น และได้รับประโยชน์จากความรู้ ความเข้าใจของผ้อู ่นื ไปพร้อมกนั โดยศกึ ษำ
เอกสำรที่เกี่ยวขอ้ งในกำรจดั ซ้ือวตั ถดุ ิบดงั น้ี

(1) ใบขอซ้ือวตั ถุดิบ (Purchase Requistion)
(2) ใบสงั่ ซ้ือ (Purchase Order)
(3) ใบตรวจรับวตั ถุดิบหรือใบรำยงำนกำรรับของ (Receiving Report)
(4) กำรส่งคืนวตั ถุดิบ
(5) กำรควบคุมวตั ถดุ ิบหรือบตั รวตั ถุดิบ (Stock Card)
(6) ใบเบิกวตั ถุดิบ (Material Requisition)
- ผเู้ รียนแต่ละกลุ่มสรุปควำมรู้ที่ไดร้ ับท้งั หมด ท้งั ควำมรู้เดิมและควำมรู้ใหม่ และจดั ส่ิงที่เรียนให้
เป็นระเบียบ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนจดจำสิ่งท่ีเรียนรู้ไดง้ ่ำย ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนสรุปประเด็นสำคญั ประกอบดว้ ยมโนทศั น์
หลกั และมโนทศั น์ยอ่ ยของควำมรู้ท้งั หมด แลว้ นำมำเรียบเรียงใหไ้ ดส้ ำระสำคญั ครบถว้ น และใหผ้ เู้ รียนจด
เป็นโครงสร้ำงควำมรู้ จะช่วยใหจ้ ดจำขอ้ มลู ไดง้ ่ำย
- ผเู้ รียนอภิปรำย กำรแสดงบทบำทสมมติเกย่ี วกบั กำรจดั ซ้อื วตั ถดุ ิบ และเอกสำรสำคญั
ประกอบในกำรจดั ซ้ือ และใชส้ ่ือ Power Point ประกอบ

- ผสู้ อนและผูเ้ รียนประเมินผลงำนโดยมีเกณฑ์ที่เหมำะสม ซ่ึงในกำรปฏิบตั ิและ / หรือกำร
แสดงผลงำนน้ีจะช่วยให้ผเู้ รียนไดม้ ีโอกำสแสดงผลงำนกำรสร้ำงควำมรู้ของตนให้ผอู้ ่นื รับรู้ เป็ นกำร
ช่วยให้ผเู้ รียนได้ตอกย้ำหรือตรวจสอบควำมเขำ้ ใจของตน และช่วยส่งเสริมให้ผูเ้ รียนใชค้ วำมคิด
สร้ำงสรรค์ แต่หำกตอ้ งมกี ำรปฏิบตั ิตำมขอ้ มูลท่ีได้ ข้นั น้ีจะเป็นข้นั ปฏิบตั ิ และมกี ำรแสดงผลงำนที่ได้
ปฏบิ ตั ิดว้ ย

- ผเู้ รียนสำมำรถประยุกต์ใชค้ วำมรู้ไปใชโ้ ดยกำรออกแบบแบบฟอร์ม และกรอกขอ้ มูลใน
เอกสำรสำคญั ต่ำงๆ ไดอ้ ยำ่ งถกู ตอ้ งและรอบคอบ ซ่ึงเป็นกำรส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนไดฝ้ ึกฝนกำรนำควำมรู้
ควำมเข้ำใจของตนไปใช้ในสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ ท่ีหลำกหลำย เพิ่มควำมชำนำญ ควำมเข้ำใจ
ควำมสำมำรถในกำรแกป้ ัญหำและควำมจำในเร่ืองน้ัน ๆ เป็ นกำรให้โอกำสผเู้ รียนใชค้ วำมรู้ใหเ้ ป็ น
ประโยชน์ เป็ นกำรส่งเสริมควำมคิดสร้ำงสรรค์ หลงั จำกประยกุ ตใ์ ชค้ วำมรู้ อำจมีกำรนำเสนอผลงำน
จำกกำรประยกุ ตอ์ กี คร้ังกไ็ ด้

- จำกขอ้ ควำมรู้ต่ำงๆ ที่ผเู้ รียนศกึ ษำ คน้ ควำ้ ปฏบิ ตั ิ ซ่ึงเป็นกระบวนกำรของกำรสร้ำงควำมรู้
(Construction of Knowledge) จะช่วยใหน้ ำควำมรู้ไปใช้ (Application) จึงเป็นรูปแบบครบตำมหลกั
CIPPA

- ผสู้ อนใช้เทคนิควธิ ีสอนแบบบรรยาย (Lecture Method) โดยให้ความรู้ตามเนื้อหาสาระด้วย
การเล่าอธบิ ายแสดงสาธิตโดยทผี่ ู้เรียนเป็ นผู้ฟงั และเปิ ดโอกาสให้ซักถามปัญหาของกำรรับวตั ถุดิบ
ดงั น้นั กจิ กำรจึงควรมกี ำรจดั กำรใหร้ ัดกุม ไมใ่ หว้ ตั ถดุ ิบท่ีใชข้ ำดประสิทธิภำพ หรือ เกดิ กำร
สูญหำยไดใ้ นเร่ืองดงั น้ี
1. การรับวตั ถุดิบเมื่อมีกำรส่งวตั ถุดิบมำยงั แผนกคลงั วตั ถดุ ิบ แผนกคลงั วตั ถดุ ิบกจ็ ะไดร้ ับใบส่งของ/ใบกำกบั

สินคำ้ เพ่อื ทำกำรตรวจสอบวำ่ ถกู ตอ้ งตรงกนั หรือไม่ แลว้ จดั เก็บวตั ถดุ ิบไวใ้ นคลงั วตั ถดุ ิบตำมสภำพของ

วตั ถุดิบแต่ละประเภท จำกน้นั กจ็ ะนำหลกั ฐำนไปบนั ทกึ กำรรับวตั ถุดิบที่บตั รวตั ถดุ ิบแต่ละประเภทท่ีรับเขำ้

มำในแต่ละวนั โดยจะมีหลกั ฐำนกำรรับวตั ถุดิบน้นั เขำ้ คลงั คือใบรับวตั ถุดิบ

2. การเบกิ จ่ายวตั ถดุ บิ เมอื่ แผนกผลติ ต่ำงๆ ตอ้ งกำรเบกิ วตั ถดุ ิบจะทำใบเบิกวตั ถดุ ิบเพ่ือขอเบิกวตั ถุดิบ
ตำมท่ีแต่ละแผนกผลติ ตอ้ งกำรใช้ กำรจ่ำยวตั ถดุ ิบตอ้ งควบคุมใหร้ ัดกุม

3. บัญชีแยกประเภทวตั ถุดบิ สมดุ บญั ชีเล่มน้ีจะใชเ้ ป็นทะเบียนคุมยอดวตั ถุดิบในแต่ละชนิดของกิจกำร
ว่ำมีกำรรับเขำ้ จ่ำยออก และมียอดคงเหลือในแต่ละวนั เป็นจำนวนเท่ำใด ซ่ึงบญั ชีแยกประเภท
วตั ถดุ ิบจะเป็นบญั ชีที่ใชใ้ นกำรบนั ทกึ ข้นั ปลำยหรือข้นั สุดทำ้ ย

- ผ้สู อนใช้เทคนิคกกระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบแอล.ที. (L.T) เรื่องกำรตีรำคำ
วตั ถดุ ิบคงเหลอื ซ่ึงมกี ระบวนกำรดงั น้ี จดั ผเู้ รียนเขำ้ กลมุ่ คละควำมสำมำรถ ( เก่ง - กลำง - ออ่ น )
กลุ่มละ 4 คน กลุ่มยอ่ ยกลุม่ ละ 4 คน ศกึ ษำเน้ือหำร่วมกนั โดยกำหนดใหแ้ ต่ละคนมีบทบำทหนำ้ ที่
ช่วยกลุ่มในกำรเรียนรู้ ไดแ้ ก่ กำรตรวจนบั จำนวนวตั ถดุ ิบคงเหลอื ณ วนั ส้ินงวดบญั ชี เพ่ือคำนวณหำ
รำคำทุนของวตั ถุดิบหรือปริมำณวตั ถดุ ิบวำ่ มีจำนวนคงเหลอื ท้งั สิ้นเท่ำใด วตั ถุดิบคงเหลอื ถือเป็นสินคำ้
คงเหลอื ของกิจกำรอตุ สำหกรรม มกี ำรตีรำคำหลำยวธิ ีดว้ ยกนั แลว้ แตก่ ิจกำรจะเลือกวธิ ีใดวธิ ีหน่ึง
แต่เมื่อไดเ้ ลือกแลว้ กค็ วรจะถือปฏิบตั ิอยำ่ งสมำ่ เสมอต่อเน่ือง โดยกำรตีรำคำวตั ถดุ ิบ หมำยถงึ กำรวดั
มูลค่ำของวตั ถุดิบ ณ วนั ท่กี ิจกำรตอ้ งกำรทรำบ ซ่ึงวธิ ีกำรที่ใชใ้ นกำรวดั มลู ค่ำน้นั มีอยหู่ ลำยวิธีดว้ ยกนั
สำมำรถสรุปไดด้ งั น้ี

สมาชิกคนท่ี 1 : อำ่ นคำสง่ั ไดแ้ ก่ วิธีตีรำคำต่อไปน้ี
1 วธิ ีรำคำเจำะจง (Identification Method) เป็นกำรกำหนดรำคำสินคำ้ เฉพำะของสินคำ้ แต่ละชนิด

หรือกำรตีรำคำตำมรำคำท่ีแทจ้ ริง (Special Identification Method) เป็นกำรตีรำคำวตั ถดุ ิบตำมทจี่ ่ำยซ้ือจริง

ดงั น้นั หำกกิจกำรใดเลอื กใชว้ ิธีน้ีในกำรตีรำคำวตั ถดุ ิบ กิจกำรจะตอ้ งมีกำรบนั ทกึ แยกแยะอยำ่ งละเอียดว่ำ

วตั ถุดิบช้ินใด ซ้ือมำรำคำเท่ำใด ท่ีเบิกใชแ้ ต่ละคร้ังเบิกจำกกำรซ้ือคร้ังใด รำคำเท่ำใดและที่เหลอื จำกกำรซ้ือคร้ัง

ใด วิธีน้ีเหมำะสำหรับใชก้ บั วตั ถดุ ิบที่มลี กั ษณะเฉพำะและรำคำสูง

2 วธิ ีถวั เฉลี่ยอยำ่ งง่ำย (Simple Average Method) เป็นกำรตีรำคำวตั ถดุ ิบโดยนำตน้ ทุนต่อหน่วย
ท้งั ท่ีเหลอื ตน้ งวดและซ้ือในระหว่ำงงวดแต่ละคร้ัง มำทำกำรเฉลี่ยเพอ่ื หำตน้ ทุนต่อหน่วยเพยี งจำนวนเดียว
เป็นกำรถวั เฉลี่ยอยำ่ งง่ำยๆ เหมำะกบั กิจกำรที่มกี ำรซ้ือวตั ถดุ ิบแต่ละคร้ังปริมำณเท่ำกนั ทุกคร้ัง

3 วิธีถวั เฉลยี่ ถ่วงน้ำหนกั (Weighted Average Method) เป็นกำรตีรำคำวตั ถุดิบโดยกำรถวั เฉลี่ย
ตน้ ทุนเช่นกนั แตจ่ ะขจดั ปัญหำของกำรถวั เฉล่ยี อยำ่ งง่ำย เพรำะวิธีน้ีจะใชก้ ำรถวั เฉลี่ยโดยนำเอำตน้ ทุนรวม
หรือมูลค่ำรวมของวตั ถดุ ิบตน้ งวดและกำรซ้ือทุกคร้ังรวมกนั แลว้ หำรดว้ ยจำนวนหน่วยของวตั ถดุ ิบท้งั หมด
เพอ่ื ใหไ้ ดร้ ำคำวตั ถุดิบต่อหน่วย วิธีน้ีจะไม่นิยมใชก้ นั มำกแต่จะใชว้ ิธีถวั เฉลย่ี เคลือ่ นท่ี

4 วิธีเข้ำก่อน-ออกก่อน (First-In, First-Out Method–FIFO) มีข้อสมมติฐำนว่ำวตั ถุดิบคงเหลือ
รำยกำรท่ีซ้ือมำหรือผลิตข้ึนก่อนจะขำยออกไปก่อน จึงเป็นผลใหส้ ินคำ้ คงเหลอื รำยกำรท่ีเหลอื อยู่ ณ วนั ส้ิน
งวด วตั ถุดิบปลำยงวดจะเป็นวตั ถุดิบท่ีซ้ือมำทีหลงั

กำรเลือกใชว้ ิธีกำรตีรำคำวตั ถดุ ิบน้นั ข้ึนอยกู่ บั ดุลยพนิ ิจของผบู้ ริหำรควรเลอื กวธิ ีที่เหมำะสมกบั
กิจกำรของตนมำกที่สุด ซ่ึงอำจพจิ ำรณำจำกขนำดกิจกำร ลกั ษณะของวตั ถุดิบ และระบบบญั ชีท่กี ิจกำรใช้
ส่วนกำรตีรำคำวตั ถดุ ิบเม่อื ใดน้นั ข้ึนอยกู่ บั วธิ ีกำรบนั ทึกบญั ชีท่ีกิจกำรเลือกใช้ กล่ำวคือหำกกิจกำรใชก้ ำร
บนั ทึกบญั ชีแบบต่อเน่ือง (Perpetual) กิจกำรกจ็ ะตอ้ งทำกำรตีรำคำ ณ วนั เบกิ ใชว้ ตั ถดุ ิบ แต่หำกกิจกำร
เลือกใชก้ ำรบนั ทึกบญั ชีแบบส้ินงวด (Periodic) กิจกำรกจ็ ะทำกำรตรวจนบั และตีรำคำ ณ วนั ส้ินงวด

สมาชิกคนที่ 2 : หำคำตอบ เมอ่ื สมำชิกคนที่ 1 อำ่ นแลว้ กใ็ หส้ มำชิกคนที่ 2 หำคำตอบ
สมาชิกคนที่ 3 : หำคำตอบ เมือ่ สมำชิกคนท่ี 1 อ่ำนแลว้ ก็ใหส้ มำชิกคนท่ี 3 หำคำตอบ
สมาชิกคนท่ี 4 : ตรวจคำตอบ
กล่มุ สรุปคำตอบร่วมกนั และส่งคำตอบน้นั เป็นผลงำนกลมุ่ ผลงำนกลุ่มไดค้ ะแนนเท่ำไร สมำชิกทกุ
คนในกล่มุ น้นั จะไดค้ ะแนนน้นั เท่ำกนั ทกุ คน
- ผู้สอนใช้เทคนิคการจดั การเรียนรู้แบบใช้คาถาม (Questioning Method) เกยี่ วกบั การ

วางแผนและควบคุมเกยี่ วกบั วตั ถดุ บิ โดยเป็ นการหาคาตอบในการดาเนินธุรกจิ เกยี่ วกบั การผลติ ส่ิงท่ีมีควำม

สำคญั มำกคือ กำรจดั กำรเกี่ยวกบั วตั ถุดิบ เพรำะกำรบริหำรวตั ถุดิบท่ีมปี ระสิทธิภำพจะชว่ ยใหก้ ำรผลิตเป็นไป

อยำ่ งสม่ำเสมอในขณะเดียวกนั กเ็ สียค่ำใชจ้ ่ำยนอ้ ยดว้ ยเทคนิคในกำรบริหำรจดั กำรเก่ียวกบั วตั ถุดิบมใี หเ้ ลือกใช้

มำก เช่น กำรวำงแผนควำมตอ้ งกำรใชว้ ตั ถดุ ิบ กำรสงั่ ซ้ืออยำ่ งประหยดั หรือ EOQ ซ่ึงกิจกำรสำมำรถเลือกใชท้ ี่

เหมำะสมกบั กิจกำรได้ แต่ในที่น้ีจะขอกล่ำวถงึ เครื่องมอื ท่ีนิยมใชก้ นั คือ “กำรสง่ั ซ้ืออยำ่ งประหยดั ” (EOQ)

ผสู้ อนแสดงแผนผงั กำรสงั่ ซ้ืออยำ่ งประหยดั ซ่ึงเป็นระบบกำรจดั กำรเกี่ยวกบั วตั ถุดิบโดยจะมีหลกั เกณฑใ์ นกำร

คำนวณหำปริมำณกำรสงั่ ซ้ือวตั ถดุ ิบของกิจกำรในแต่ละคร้งั วำ่ กิจกำรสงั่ วตั ถดุ ิบคร้ังละเท่ำใดจึงจะเกิดตน้ ทุน

จำกกำรสง่ั ซ้ือวตั ถดุ ิบน้นั ต่ำที่สุดดงั น้นั จึงจำเป็นอยำ่ งยง่ิ ท่ตี อ้ งทำกำรศกึ ษำถงึ ตน้ ทุนท่ีเก่ียวขอ้ งกบั วตั ถุดิบทจ่ี ะ

เกิดข้ึนเพอ่ื บริหำรใหเ้ กิดตน้ ทุนเหลำ่ น้นั ต่ำท่ีสุดเท่ำที่จะเป็นไปได้

5.3 การสรุป

- ผู้สอนให้ผ้เู รียนวางแผนการนาหลกั ของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกต์ใช้ไดด้ งั น้ี
(1) สร้ำงภูมคิ ุม้ กนั ที่ดีในตวั เองได้ เชน่ ใชค้ วำมรอบคอบในกำรบนั ทึกบญั ชีไม่ใหผ้ ดิ พลำด
(2) มเี หตุผลในกำรวิเครำะหต์ น้ ทุนก่อนซ้ือ หรือผลิตสินคำ้ และบนั ทึกบญั ชี
(3) มีควำมเพียงพอ ในกำรซ้ือขำยสินคำ้ เพอ่ื บริโภคหรือจำหน่ำย
(4) มเี ง่ือนไขดำ้ นคุณธรรม ไดแ้ ก่ บนั ทึกบญั ชีใหถ้ ูกตอ้ ง
(5) มเี ง่ือนไขดำ้ นวิชำกำร ไดแ้ ก่ บนั ทึกบญั ชีตำมหลกั กำรบญั ชีท่ียอมรับทว่ั ไป และมคี วำมรู้
เรื่องมำตรฐำนกำรบญั ชี
(6) สำมำรถนำรำยกำรบญั ชีไปบนั ทกึ ในเครื่องคอมพวิ เตอร์หรือโปรแกรมสำเร็จรูปบญั ชีได้
- ผสู้ อนและผเู้ รียนสรุปควำมหมำยและประเภทของวตั ถุดบิ กำรจดั ซ้ือวตั ถุดิบ กำรรับ
วตั ถุดิบ และกำรตีรำคำวตั ถดุ ิบคงเหลือ โดยกำรถำมตอบเป็นกลุ่มและรำยบุคคลตำมสภำพจริงของ
ผเู้ รียน
5.4 การวดั และประเมนิ ผล

- ผเู้ รียนฝึกทกั ษะทำใบงำน และแบบประเมนิ ผลหน่วยท่ี 3 ใหเ้ กิดควำมชำนำญ เพอื่

ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั และประเมินผเู้ รียนต่อไป

สปั ดำหท์ ่ี 4 เรื่อง กำรบนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั วตั ถุดิบ

5.1 การนาเข้าสู่บทเรียน
- ผู้สอนและผ้เู รียนร่วมกนั เจริญสมาธิ เป็ นเวลา 2 นาที ก่อนเร่ิมทาการเรียนการสอน เพ่ือเตรียม

ควำมพร้อมในกำรศกึ ษำหำควำมรู้ โดยใหน้ ง่ั บนเกำ้ อ้ีดว้ ยถำ้ นง่ั ที่ผอ่ นคลำย นำมอื ขวำทบั มือซำ้ ย
กำหนดรู้ลมหำยใจ นบั ลมหำยใจเขำ้ -ออก ควบคุมควำมคิดไม่ใหเ้ ขำ้ มำรบกวน กำจดั อำรมณ์ใหห้ มดสิ้น
ควำมเงียบบ่อเกิดแห่งควำมสงบ เมือ่ ทำไดจ้ ะใหร้ ู้สึกมคี วำมสุขกบั กำรนงั่ สมำธิ

- ผสู้ อนและผเู้ รียนสนทนำเร่ืองกำรผลิตสินคำ้ เป็นกระบวนกำรในกำรนำวตั ถดุ ิบมำทำกำร
แปรสภำพใหก้ ลำยเป็นสินคำ้ สำเร็จรูป ดงั น้นั วตั ถุดิบจึงถือเป็นส่วนประกอบที่สำคญั ของกำรผลิต
สินคำ้ และเป็นตน้ ทุนส่วนใหญ่เมอ่ื เทียบกบั ตน้ ทุนอน่ื ๆ ดงั น้นั กิจกำรอตุ สำหกรรมจึงจำเป็นตอ้ งให้
ควำมสนใจในกำรควบคุมวตั ถุดิบ เร่ิมต้งั แตก่ ำรจดั ซ้ือวตั ถุดิบ กำรเก็บรักษำ ตลอดจนกำรเบิกจ่ำย
วตั ถุดิบเพอื่ ไม่ใหต้ น้ ทุนกำรผลติ สินคำ้ สูงข้ึน

- ผสู้ อนพูดคุยกบั ผเู้ รียนถึงเป้ำหมำยที่สำคญั ของกิจกำรอตุ สำหกรรมกำรผลิต ก็คือพยำยำมใช้

ตน้ ทุนของวตั ถุดิบใหเ้ กิดประสิทธิภำพสูงสุดจึงไดม้ กี ำรนำเทคนิคและวธิ ีกำรต่ำงๆ เขำ้ มำใชใ้ นกำร

บริหำรวตั ถดุ ิบ เช่น กำรใชค้ อมพวิ เตอร์ในกำรวำงแผนและควบคุมกำรจดั ซ้ือ กำรเบิกใชต้ ลอดจน

กำรคำนวณตน้ ทุนวตั ถุดิบนอกจำกน้ียงั ไดม้ ีกำรใชห้ ลกั กำรเกี่ยวกบั กำรจดั ซ้ือวตั ถดุ ิบเพ่อื ใหเ้ กิดควำม

ประหยดั ที่สุด (Economic order quantity) เป็นตน้

5.2 การเรียนรู้ (เทคนคิ การสอนแบบสาธติ )
- ผสู้ อนใชเ้ ทคนิควธิ ีสอนแบบสำธิต ซ่ึงเป็นวธิ ีสอนท่ีครูแสดงใหผ้ เู้ รียนดูและใหค้ วำมรู้โดย

ใชส้ ่ือกำรเรียน Power Point รู้ท่ีเป็นรูปธรรม และผเู้ รียนไดป้ ระสบกำรณ์ตรง โดยในกำรสอนน้นั
ผสู้ อนเป็นผสู้ ำธิต รวมท้งั ผสู้ อน และผเู้ รียนร่วมกนั สำธิตวิธีบนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั วตั ถดุ ิบ ซ่ึงกำร
บนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกบั วตั ถดุ ิบทำได้ 2 วิธี คือ วธิ ีกำรบญั ชวี ตั ถดุ ิบแบบส้ินงวด (Periodic Inventory
Method) และวิธีกำรบญั ชีวตั ถดุ ิบแบบต่อเน่ือง (Perpetual Inventory Method)

- ผสู้ อนและผเู้ รียนช่วยกนั สำธิต กำรบนั ทกึ บญั ชีแบบตรวจนบั วตั ถุดิบคงเหลือเม่อื สิ้นงวดบญั ชี
บญั ชีท่ีใชบ้ นั ทึกเกี่ยวกบั วตั ถดุ ิบทำงตรงใชไ้ ป ไดแ้ ก่

1 บญั ชีวตั ถดุ ิบทำงตรง

2 บญั ชีซ้ือ

3 บญั ชีค่ำขนส่งเขำ้

4 บญั ชีส่งคืนและส่วนลด

5 บญั ชีส่วนลดรับ

หลกั การบันทกึ บญั ชีวตั ถุดิบคงเหลือแบบสิ้นงวด

รายการ การบนั ทกึ บญั ชี

1. เมอื่ ซ้ือวตั ถุดิบเป็นเงินสด/เชื่อ เดบิต ซ้ือวตั ถดุ ิบ (รำคำทนุ ) XX

เครดิต เงินสด/เจำ้ หน้ี XX

2. ส่งคืนวตั ถดุ ิบ เดบิต เงินสด/เจำ้ หน้ีกำรคำ้ XX

เครดิต ส่งคนื วตั ถุดิบ XX

3. จ่ำยค่ำขนส่งวตั ถุดิบ เดบิต ค่ำขนส่งเขำ้ XX

เครดิต เงินสด XX

4. เมือ่ เบิกวตั ถุดิบมำใชใ้ นกำรผลิต ไม่บนั ทึกบญั ชี

5. จ่ำยชำระหน้ีค่ำวตั ถุดิบไดส้ ่วนลด 2% เดบิต เจำ้ หน้ีกำรคำ้ XX

เครดิต เงินสด XX

ส่วนลดรับ XX

- ผสู้ อนยกตวั อยำ่ งใหผ้ เู้ รียนฝึกทกั ษะบนั ทึกบญั ชวี ตั ถดุ ิบคงเหลอื แบบสิ้นงวด
- ผสู้ อนสำธิตกำรบนั ทึกบญั ชีวตั ถดุ ิบคงเหลือแบบต่อเน่ือง (Perpetual Inventory Systems) ผทู้ ำบญั ชี

จะเปิ ดบญั ชีวตั ถดุ ิบข้ึนเพอ่ื บนั ทกึ ควำมเปลี่ยนแปลงของวตั ถดุ ิบ รวมท้งั บนั ทกึ รำยกำรต่ำงๆ ท่ีเกี่ยวกบั กำร
ซ้ือวตั ถุดิบรวมถงึ ค่ำขนส่งเขำ้ ส่งคืนวตั ถดุ ิบ และส่วนลดรับ สรุปรำยกำรที่เกีย่ วขอ้ งและมผี ลต่อกำร
เปลี่ยนแปลงของบญั ชีวตั ถดุ ิบ ไดแ้ ก่ กำรซ้ือวตั ถดุ ิบ กำรจ่ำยค่ำขนส่งเขำ้ กำรส่งคืนวตั ถุดิบ ส่วนลดรับ เพรำะ

บญั ชีท่ีเกี่ยวกบั ตน้ ทุนวตั ถุดิบที่ไดก้ ล่ำวขำ้ งตน้ จะนำไปบนั ทึกในบญั ชวี ตั ถุดิบ จึงทำใหก้ ิจกำรสำมำรถ

ทรำบควำมเคลือ่ นไหวของวตั ถดุ ิบคงคลงั ไดท้ กุ วนั

วิธีน้ีจะบนั ทึกกำรเปลี่ยนแปลง หรือเคล่ือนไหวของวตั ถุดิบคงเหลืออยู่ตลอดเวลำอยำ่ งต่อเนื่อง

เพื่อใหท้ รำบวตั ถุดิบคงเหลือตลอดเวลำ

หลกั กำรบนั ทกึ บญั ชีวตั ถดุ ิบคงเหลือแบบต่อเนื่อง

รำยกำร กำรบนั ทกึ บญั ชี

1. ซ้ือวตั ถุดิบเป็นเงินสด/เช่ือ เดบิต วตั ถุดิบ XX

เครดิต เงินสด/เจำ้ หน้ีกำรคำ้ XX

2. ส่งคืนวตั ถดุ ิบ เดบิต เงินสด/เจำ้ หน้ีกำรคำ้ XX

เครดิต วตั ถดุ ิบ XX

3. จ่ำยค่ำขนส่งวตั ถดุ ิบ เดบิต วตั ถดุ ิบ XX

เครดิต เงินสด XX

4. เบิกวตั ถุดิบมำใชใ้ นกำรผลติ เดบิต งำนระหวำ่ งทำ XX

เครดิต วตั ถุดิบ XX

รำยกำร กำรบนั ทกึ บญั ชี

5. จ่ำยชำระหน้ีค่ำวตั ถดุ ิบไดส้ ่วนลด 2% เดบิต เจำ้ หน้ีกำรคำ้ XX

เครดิต วตั ถุดิบ XX
XX
เงินสด

- ผเู้ รียนฝึกทกั ษะกำรบนั ทึกบญั ชีวตั ถุดิบคงเหลอื แบบต่อเนื่อง ตำมตวั อยำ่ งท่ีผสู้ อนกำหนดให้

- ผสู้ อนสำธิตกำรบนั ทึกบญั ชีตำมหลกั กำรบนั ทกึ บญั ชีวตั ถุดิบคงเหลือแบบต่อเน่ือง กรณีที่

กิจกำรจดทะเบียนภำษีมูลค่ำเพิ่ม ดงั น้ี

รายการ วธิ บี นั ทกึ บัญชีแบบต่อเน่ือง

1. ซ้ือวตั ถดุ ิบเป็นเงินสด/เช่ือ เดบิต วตั ถดุ ิบ XX

ภำษีซ้ือ XX

เครดิต เงินสด/เจำ้ หน้ีกำรคำ้ XX

2. ส่งคืนวตั ถดุ ิบ เดบิต เงินสด/เจำ้ หน้ีกำรคำ้ XX

เครดิตวตั ถดุ ิบ XX

ภำษีซ้ือ XX

3. จ่ำยค่ำขนส่งวตั ถุดิบ เดบิต วตั ถุดิบ XX

เครดิต เงินสด XX

4. เบิกวตั ถุดิบมำใชใ้ นกำรผลติ เดบิต งำนระหวำ่ งทำ XX
เครดิตวตั ถดุ ิบ XX

5. จ่ำยชำระหน้ีค่ำวตั ถุดิบได้ เดบิต เจำ้ หน้ีกำรคำ้ XX
ส่วนลด 2% เครดิต วตั ถดุ ิบ XX
เงินสด XX

- ผสู้ อนสำธิตกำรคำนวณวตั ถดุ ิบใชไ้ ปในกำรผลิต และใหผ้ เู้ รียนปฏิบตั ิตำม
- ผู้สอนแนะนาผ้เู รียนให้นาวถิ ชี ีวติ ที่พอเพยี งไปปรับใช้ในชีวติ ประจาวนั เพื่อช่วยให้รู้จกั
พฒั นาทกั ษะความรู้ และความสามารถรวมท้ังสตปิ ัญญาเพื่อแก้ปัญหาการดาเนนิ ชีวติ ตามแนว
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งผ้เู รียนวชิ านนี้ อกจากจะได้ความรู้ทถี่ ูกต้องแล้ว สามารถนาไปประยกุ ต์ใช้
เพื่อเป็ นเคร่ืองมือท่ีสาคญั ในการแก้ปัญหาในชีวติ ประจาวนั อกี ด้วย

-ผ้สู อนได้ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม องั เป็ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของนกั ศกึ ษา
อาชีวศึกษา ซ่ึงกาหนดโดยสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เร่ือง ประโยชน์ต่อส่วนรวม

โดยสอนให้ผ้เู รียนได้ตระหนกั ในการปิ ดไฟฟ้าในห้องเรียน หรือบริเวณโรงเรียนในกรณที ไ่ี ม่มคี วาม
จาเป็ นต้องใช้เพอื่ ประโยชน์ต่อส่วนรวม

5.3 การสรุป
- ผสู้ อนเฉลยแบบฝึกทกั ษะ สรุปเน้ือหำท้งั หมดโดยอภิปรำยส้นั ๆ และสุ่มถำมใหผ้ เู้ รียนบำงคน

ตอบเพ่ือใหม้ ีควำมรู้ และเขำ้ ใจในกำรนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ต่อไปได้
5.4 การวดั และประเมนิ ผล

- ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนทำแบบฝึกหดั คำนวณหำวตั ถดุ ิบที่ใชไ้ ปในกำรผลิตตำมโจทยป์ ระกอบ
ที่กำหนดให้
- ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนทำแบบฝึกหดั บนั ทกึ บญั ชีแยกประเภทท่เี กี่ยวขอ้ ง ไดแ้ ก่

(1) บญั ชีแยกประเภทแบบ Periodic Inventory Method
(2) บญั ชีแยกประเภทแบบ Perpetual Inventory Method
(3) กำรคำนวณวตั ถุดิบท่ีใชใ้ นกำรผลิตแบบสิ้นงวด (Periodic Inventory Method)

สปั ดำหท์ ี่ 5 เรื่อง กำรบนั ทึกรำยกำรเก่ียวกบั ค่ำแรงงำนและรำยกำรหกั ต่ำงๆ
5.1 การนาเข้าสู่บทเรียน

- ผู้สอนและผ้เู รียนร่วมกนั เจริญสมาธิ เป็ นเวลา 2 นาที ก่อนเริ่มทาการเรียนการสอน เพอ่ื เตรียม
ควำมพร้อมในกำรศกึ ษำหำควำมรู้ โดยใหน้ งั่ บนเกำ้ อ้ีดว้ ยถำ้ นง่ั ท่ีผอ่ นคลำย นำมือขวำทบั มือซำ้ ย
กำหนดรู้ลมหำยใจ นบั ลมหำยใจเขำ้ -ออก ควบคุมควำมคิดไม่ใหเ้ ขำ้ มำรบกวน กำจดั อำรมณ์ใหห้ มดส้ิน
ควำมเงียบบ่อเกิดแห่งควำมสงบ เม่อื ทำไดจ้ ะใหร้ ู้สึกมคี วำมสุขกบั กำรนง่ั สมำธิ
- ผสู้ อนสนทนำกบั ผเู้ รียนว่ำโดยทว่ั ไปกิจกำรอตุ สำหกรรมขนำดใหญ่มีกำรแบ่งกำรดำเนินงำน
ออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนของสำนกั งำนและส่วนของโรงงำน ดงั น้นั ค่ำจำ้ งจึงแบ่งเป็น 2 ลกั ษณะของ
งำนท่ีก่อใหเ้ กิดค่ำจำ้ ง คือ เงินเดือนและค่ำแรงงำน
- ผสู้ อนกล่ำวถงึ งำนประกนั สงั คมดำเนินกำรตำมพระรำชบญั ญตั ิประกนั สงั คม พ.ศ. 2533 แกไ้ ข
เพ่มิ เติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2537 แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2533 แกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.
2537 แกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2542 และพระรำชกฤษฎีกำกำหนดระยะเวลำเร่ิมดำเนินกำร
จดั เกบ็ เงินสมทบเพอ่ื กำรให้ ประโยชน์ทดแทนในกรณีวำ่ งงำน พ.ศ. 2546

- ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนเล่ำประสบกำรณ์ขอ้ มูลเกี่ยวกบั กำรทำประกนั สงั คม เพ่อื จะไดร้ ับสิทธิ
ประโยชนต์ ่ำง ๆ

5.2 การเรียนรู้ (เทคนคิ การสอนแบบบรรยาย , การใช้คาถาม , แบบร่วมมือ)
- ผสู้ อนบรรยำยควำมหมำยและประเภทของค่ำแรงงำน
ค่ำแรงงำน (Labor) หมำยถึง ค่ำตอบแทนที่กิจกำรจ่ำยให้แก่คนงำนที่ทำงำนในโรงงำน

ท่ีทำกำรผลิตสินค้ำหรื อฝ่ ำยท่ีให้บริกำร กำรจ่ำยค่ำแรงงำนน้ันอำจจ่ำยเป็ นรำยช้ิน รำยชั่วโมง รำยวนั
รำยสปั ดำห์หรือรำยเดือน หรืออำจจ่ำยในรูปของค่ำล่วงเวลำ หรือเงินรำงวลั เป็นตน้

ประเภทของค่ำแรงงำน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี
1 ค่ำแรงงำนทำงตรง (Direct Labor) หมำยถึง ค่ำตอบแทนที่กิจกำรจ่ำยให้คนงำนที่ทำงำนใน
โรงงำนเพ่ือแปรสภำพวตั ถุดิบให้เป็นสินคำ้ สำเร็จรูป เป็นค่ำแรงที่เก่ียวขอ้ งโดยตรงกบั กำรผลิตสินคำ้ น้ันๆ
และสำมำรถคำนวณค่ำแรงงำนเป็นรำยหน่วยกำรผลติ ไดง้ ่ำย เช่น

 ค่ำแรงงำนของพนกั งำนท่ีเยบ็ เส้ือผำ้ สำเร็จรูปในโรงงำนผลิตเส้ือผำ้ สำเร็จรูป
 ค่ำแรงงำนของคนงำนท่ีผลติ ผลไมก้ ระป๋ องในโรงงำนแปรรูปผลไม้
 ค่ำแรงงำนของพนกั งำนท่ีผลิตบะหมีส่ ำเร็จรูปในโรงงำนผลติ บะหมส่ี ำเร็จรูป
โดยค่ำแรงงำนทำงตรงจะตอ้ งมี 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี
1.1 แรงงำนที่ใชใ้ นกำรผลติ ตอ้ งเป็นส่วนสำคญั ในกำรผลิตสินคำ้
1.2 สำมำรถคำนวณค่ำแรงงำนเขำ้ เป็นตน้ ทุนกำรผลิตรำยหน่วยได้
หำกมีค่ำแรงงำนเกิดข้ึนและเข้ำเงื่อนไขท้ัง 2 ข้อน้ี ถือได้ว่ำค่ำแรงงำนน้ันเป็ นค่ำแรงงำน
ทำงตรง แต่ถำ้ เขำ้ เพียงขอ้ ใดขอ้ หน่ึงหรือไม่เขำ้ เงื่อนไขขอ้ ใดเลย ค่ำแรงงำนน้ันถือเป็ นค่ำแรงงำนทำงออ้ ม
ซ่ึงค่ำแรงงำนทำงตรงจะมคี วำมสมั พนั ธ์กบั ปริมำณกำรผลิต ถำ้ มกี ำรผลิตมำกค่ำแรงงำนกจ็ ะตอ้ งจ่ำยสูง แต่
ถำ้ ผลิตน้อยค่ำแรงงำนก็จะลดลงตำมสัดส่วน หรือถำ้ ไม่มีกำรผลิตก็จะไม่มีกำรจ่ำยค่ำแรงงำน บัญชี
ค่ำแรงงำนทำงตรงถือเป็นส่วนประกอบของตน้ ทุนผลติ สินคำ้
2 ค่ำแรงงำนทำงออ้ ม (Indirect Labor) หมำยถึง ค่ำตอบแทนท่ีไม่เกี่ยวขอ้ งโดยตรงกบั กำรผลิต
แต่มีส่วนช่วยให้กำรผลิตน้นั สำเร็จลลุ ่วงดว้ ยดี ในกำรคำนวณตน้ ทุนกำรผลิตจะจดั อยู่ในส่วนของค่ำใชจ้ ่ำย
ในกำรผลิต เช่น ค่ำแรงงำนหัวหน้ำผคู้ วบคุมกำรผลิต เงินเดือนผจู้ ดั กำรโรงงำน เงินเดือนพนกั งำนทำควำม
สะอำด เป็นตน้
- ผูส้ อนอธิบำยวนั เวลำ และชวั่ โมงทำงำนตำมพระรำชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงำน ซ่ึงไดบ้ ญั ญตั ิข้ึน
เพื่อคุม้ ครองลูกจำ้ งในเรื่องเวลำกำรทำงำน จำนวนชวั่ โมงในกำรทำงำนท่ีเหมำะสมของงำนแต่ละประเภท
และผลประโยชน์ ไดแ้ ก่ เวลำทำงำนปกติ เวลำพกั วนั หยดุ กำรทำงำนลว่ งเวลำ หรือกำรทำงำนในวนั หยดุ
วนั ลำ และค่ำตอบแทนในกำรทำงำน (ค่ำจำ้ ง)
- ผสู้ อนอธิบำยใหผ้ เู้ รียนเขำ้ ใจเก่ียวกบั อตั รำค่ำจำ้ งข้นั ต่ำ เป็นอตั รำค่ำจำ้ งทีค่ ณะกรรมกำรค่ำจำ้ ง
กำหนดตำมพระรำชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงำน โดยคณะกรรมกำรค่ำจำ้ งมแี นวคิดเกี่ยวกบั อตั รำค่ำจำ้ งข้นั ต่ำว่ำ
“เป็นอตั รำค่ำจำ้ งที่เพียงพอสำหรับแรงงำนเพือ่ พฒั นำฝีมือ 1 คน ใหส้ ำมำรถดำรงชีพอยไู่ ดต้ ำมสมควรแก่
สภำพเศรษฐกจิ และสงั คมโดยมมี ำตรฐำนกำรครองชีพที่เหมำะสมตำมควำมสำมำรถของธุรกจิ โดยกำร

กำหนดอตั รำค่ำจำ้ งข้นั ต่ำเป็นอำนำจหนำ้ ที่ของคณะกรรมกำรค่ำจำ้ ง ซ่ึงเป็นองคก์ รไตรภำคีตำม

พระรำชบญั ญตั คิ ุม้ ครองแรงงงำน ประกอบดว้ ยผแู้ ทนฝ่ ำยนำยจำ้ ง ผแู้ ทนฝ่ ำยลกู จำ้ ง และผแู้ ทนฝ่ ำยรัฐบำล

ฝ่ ำยละ 5 คนเท่ำน้นั ส่วนอตั รำค่ำจำ้ งตำมมำตรฐำนฝีมอื หมำยถงึ อตั รำค่ำจำ้ งท่ีคณะกรรมกำรค่ำจำ้ งกำหนด

ข้ึนในแต่ละสำขำอำชีพตำมมำตรฐำนฝีมอื สำหรับกำรประกำศอตั รำค่ำจำ้ งข้นั ต่ำมกั จะมีกำรเปล่ยี นแปลงอยู่

เสมอ ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั นโยบำยของรัฐบำล

- ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนวเิ ครำะหก์ รณีศกึ ษำกำรจำ้ งแรงงำนในแต่ละบริษทั ที่ครูกำหนดให้

- ผสู้ อนแสดงตวั อยำ่ ง และอธิบำยกำรจดั เก็บเวลำกำรทำงำน

กำรจดั เกบ็ เวลำกำรทำงำนทวั่ ไปจะมเี อกสำรที่ใชจ้ ดั เกบ็ เวลำกำรทำงำน 2 ประเภท คือ

1 บัตรลงเวลา (Clock Card) คือ บตั รที่ใชบ้ นั ทึกเวลำในกำรทำงำนของพนกั งำนและลกู จำ้ ง กำร

บนั ทึกเวลำกำรทำงำนของพนกั งำนและลูกจำ้ งน้นั มีหลำยวธิ ี ไดแ้ ก่

1.1 ระบบให้เกยี รติ ใชบ้ นั ทึกในแผน่ ลงเวลำตำมปกติโดยไมม่ ีพนกั งำนดูแลหรือควบคุมใดๆ

1.2 ระบบอาศัยหวั หน้างานคอยควบคมุ โดยพนักงำนและลูกจำ้ งแต่ละคนจะมีบตั รประจำตวั

บนั ทึกกำรเขำ้ และออกจำกหน่วยงำน โดยใหห้ วั หนำ้ แต่ละส่วนงำนเป็นผบู้ นั ทึกเวลำเขำ้ ทำงำนและเวลำเลิก

งำน หรือใหพ้ นกั งำนและลกู จำ้ งเป็นผบู้ นั ทึกและหวั หนำ้ เป็นผลู้ งนำมยนื ยนั กไ็ ด้

1.3 ระบบบตั รนาฬิกา (Time Clock) โดยอำศยั เครื่องมืออิเลก็ ทรอนิกส์ช่วยควบคุม โดย

คนงำนแต่ละคนจะมบี ตั รนำฬกิ ำหรือบตั รลงเวลำประจำตวั เมือ่ เร่ิมปฏบิ ตั ิงำนในหน่วยงำน แผนกหรือ

หนำ้ ที่งำนใด กจ็ ะนำบตั รลงเวลำดงั กล่ำวสอดเขำ้ ไปในนำฬกิ ำเพอ่ื บนั ทึกเวลำกำรเขำ้ ทำงำน เม่อื ทำเสร็จ

กท็ ำกำรบนั ทึกเวลำเลิกงำน ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อกำรจ่ำยค่ำแรงและกำรจำแนกค่ำแรงงำนของแผนกต่ำงๆ

หรือแยกค่ำแรงงำนตำมคำสง่ั ผลติ สินคำ้ แต่ละรุ่น

บัตรลงเวลาทางาน (Clock Card)

ช่ือ.......................................................รหสั พนักงาน...................................วนั ที่................................

เลขที่ ชนิดของงาน จานวน เวลา จานวน อตั รา จานวน
งาน ท่ที า หน่วย เริ่ม หยดุ ช่ัวโมง เงนิ
ทางาน

ผู้ควบคุมการทางาน................................................ผู้อนุมตั .ิ ............................................................
ตวั อย่างบัตรลงเวลาทางาน

1.4 ระบบบันทึกเวลาด้ วยลายนิ้วมื อ (บัตร Finger Scan and Card Time Attendance
System) เครื่องสแกนลำยน้ิวมือเป็ นอุปกรณ์ที่เขำ้ มำมีบทบำทอยำ่ งมำกในดำ้ นกำรบนั ทึกเวลำทำงำน ซ่ึงมี
คุณสมบตั ิท่ีหลำกหลำย สำมำรถใชง้ ำนไดท้ ุกรูปแบบท่ีแตกต่ำงกนั ออกไป ทำใหเ้ ลือกใชเ้ ครื่องบนั ทึกเวลำ
ในปัจจุบนั สะดวกสบำยมำกข้ึน

ตัวอย่างเครื่องสแกนลายนวิ้ มอื
1.5 เครื่องบันทกึ เวลาด้วยระบบคอมพวิ เตอร์ (Time Attendance) เครื่องบนั ทึกเวลำดว้ ยระบบ
คอมพิวเตอร์เป็นเทคโนโลยที ี่นำมำช่วยลดข้นั ตอนกำรทำงำนที่ยงุ่ ยำก เช่น ระบบบำร์โคด้ (Barcode) แบบ
แถบแม่เหลก็ (Magnetic) แบบคลน่ื วทิ ยุ (Proximity) แบบสมำร์ทกำร์ด (Contactless Smart Card) และแบบ
ใชฝ้ ่ ำมือ (Biometric) โดยเคร่ืองน้ีจะช่วยในกำรบนั ทึกขอ้ มูล กำรลงเวลำของพนกั งำน เม่ือพนกั งำนทำกำร
บนั ทึกเวลำ ขอ้ มลู จะเก็บลงในหน่วยควำมจำของตวั เครื่องในรูปของขอ้ มูลดิบ (Text File) แลว้ ส่งขอ้ มูล
มำยงั คอมพิวเตอร์ซ่ึงมโี ปรแกรมประมวลผลเวลำทำงำน รำยงำนกำรทำงำน สรุปตำมวนั และชวั่ โมงกำร
ทำงำน กำรขำด ลำ สำย กำรทำงำนลว่ งเวลำ ฯลฯ พร้อมท้งั คำนวณค่ำจำ้ งหรือเงินเดือนของพนกั งำนไดอ้ ยำ่ ง
มปี ระสิทธิภำพ ซ่ึงสำมำรถรองรับระบบโรงงำนอุตสำหกรรมต่ำงๆ ไดอ้ ยำ่ งดี

ตัวอย่างเครื่องบันทึกเวลาด้วยระบบคอมพวิ เตอร์

2 ใบสรุปเวลาการทางาน หรือเรียกวำ่ “บตั รจำแนกเวลำกำรทำงำน” คือ หลกั ฐำนที่ใชบ้ นั ทึกเวลำ
ในกำรทำงำนของพนกั งำนว่ำไดใ้ ชเ้ วลำในกำรทำงำนไปกบั กำรผลิตงำนใดบำ้ ง ซ่ึงจะแสดงใหท้ รำบถงึ
ประเภทงำน สถำนท่ี และเวลำท่ีแต่ละคนปฏิบตั ิงำน โดยทวั่ ไปหวั หนำ้ หรือผคู้ วบคุมคนงำนมกั มีหนำ้ ที่ใน
กำรกรอกใบสรุปเวลำกำรทำงำนดงั กล่ำว แต่บำงคร้ังอำจใหพ้ นกั งำนเป็นผจู้ ดบนั ทึกเอง ถำ้ ในกรณีท่ีเป็น
พนกั งำนไดร้ ับค่ำตอบแทนในรูปของเงินเดือน ก็ไม่จำเป็นตอ้ งจดั ทำบตั รบนั ทึกเวลำกำรทำงำน เพรำะ
พนกั งำนเหลำ่ น้นั ทำงำนในแผนกเดียว หนำ้ ที่เดียว ซ่ึงค่ำแรงงำนที่เกิดข้ึนท้งั หมดถอื เป็นค่ำแรงงำนทำงออ้ ม
และจะนำไปคิดเป็นค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลิต กำรบนั ทกึ เวลำกำรทำงำนน้นั อำจแบ่งไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะ คือ บตั ร
บนั ทึกเวลำประจำงำน (Job Time Ticket) และบตั รบนั ทึกเวลำประจำวนั (Daily Time Ticket) บตั รบนั ทึก
ประจำงำนน้นั ในทำงปฏิบตั ิอำจมคี วำมแตกต่ำงกนั ไปในแต่ละกิจกำร แต่โดยทวั่ ไปแลว้ จะประกอบไปดว้ ย
ขอ้ มูลของเวลำเร่ิมและส้ินสุดของงำน ลกั ษณะงำน อตั รำค่ำแรงและตน้ ทุนรวมของค่ำแรงงำนที่ใชใ้ นกำร
ทำงำนประเภทน้นั กรณีที่พนกั งำนคนใดคนหน่ึงตอ้ งมกี ำรเปลยี่ นงำนทำในหลำยประเภทหรือหลำยชิ้นงำน
ในแต่ละวนั ดงั น้นั แทนทีก่ ิจกำรจะมกี ำรทำบตั รบนั ทึกเวลำประจำงำนข้ึนหลำยใบตำมลกั ษณะงำนท่ี
เปล่ียนไปกอ็ ำจเปล่ยี นมำใชบ้ ตั รบนั ทกึ เวลำประจำวนั

บตั รบันทกึ เวลา (Time Ticket)

วนั ที่...............................................

เลขทพี่ นกั งาน.............................................................รหัสนาฬิกา/เครื่อง.......................................

ช่ือ................................................................................แผนก.........................................................

วนั ที่ เข้า ออก เข้า ออก เข้า ออก

ภำษีหกั ณ ที่จ่ำย............................ ชวั่ โมงละ......................จำนวนท่ีจ่ำย.....................

อนื่ ๆ .................................................. รวมค่ำแรงงำนท้งั ส้ิน............................................

รวม.................................................... จำนวนค่ำแรงงำนจ่ำยสุทธิ...................................

ตวั อย่างบตั รบนั ทกึ เวลา

- ผู้สอนและผ้เู รียนใช้เทคนิคการจดั การเรียนรู้แบบใช้คาถาม (Questioning Method) โดยผ้สู อน
จะป้อนคาถามในลกั ษณะต่าง ๆ สามารถพฒั นาความคดิ ผู้เรียน ถามเพ่ือให้ผู้เรียนใช้ความคดิ เชิงเหตุผล
วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ สังเคราะห์ หรือ การประเมนิ ค่าเพื่อจะตอบคาถามเหล่าน้นั ในเร่ืองเงินประกนั สงั คม
ซ่ึงเป็นกำรศึกษำเกี่ยวกบั หวั ขอ้ เรื่องดงั ต่อไปน้ี

(1) กำรข้ึนทะเบียนเงินประกนั สงั คม
(2) สิทธิประโยชน์ในกองทุนประกนั สงั คม
(3) กำหนดอตั รำเงินสมทบกองทุนประกนั สงั คม
(4) กำรคำนวณเงินสมทบเขำ้ กองทุนประกนั สงั คม

- ผสู้ อนและผเู้ รียนแสดงกำรสำธิตกำรบนั ทึกบญั ชตี ำมหลกั กำรบนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกบั กำร
ประกนั สงั คมและกำรนำส่งเงินสมทบ

- ใหผ้ เู้ รียนคำนวณเงินประกนั สงั คมท่ีนำยจำ้ งตอ้ งหกั จำกพนกั งำน และคำนวณเงินประกนั สงั คมท่ี
นำยจำ้ งตอ้ งจ่ำยสมทบ

- ผ้สู อนและผ้เู รียนจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) โดยผู้สอนให้
ใบงานล่วงหน้าอย่างน้อย 2 สัปดาห์ กาหนดเนื้อหาตามผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั ให้ ผู้เรียนศึกษา โดยใช้
เทคนคิ การเรียนการสอนแบบ (Co-op-Co-op) สมำชิกทุกคนแบ่งหนำ้ ท่ีรับผดิ ชอบและนำผลงำนมำรวมกนั
มีกำรประชุมเพื่อรวบรวมหรือ ปรับแต่งภำษำใหผ้ ลงำนกลมุ่ ทำร่วมกนั มคี วำมต่อเน่ืองกนั
5.3 การสรุปและประเมนิ ผล

- ใหผ้ เู้ รียนสรุปเน้ือหำ โดยสุ่มผเู้ รียนบำงรำยกำรหนำ้ ช้นั เรียน
- ผ้สู อนแนะนาผ้เู รียนให้บันทกึ รายรับ-รายจ่าย โดยกล่าวถงึ เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั การแก้ไขปัญหา
ความยากจนภาคปฏบิ ัติ เป็ นการลงมือปฏิบัตเิ พ่ือนาพาตวั เองสู่เศรษฐกจิ พอเพยี ง คือการอย่อู ย่างพง่ึ ตนเองใน
ระดบั ครัวเรือน ต้องมคี วามพร้อมทจ่ี ะอย่อู ย่างพงึ่ ตนเองด้วยการลดรายจ่าย เพม่ิ รายได้ เพ่ือให้เกดิ การออม
5.4 การวดั และประเมนิ ผล
- ผเู้ รียนทำแบบประเมินผลกำรเรียนรู้ แบบทดสอบ และใบงำน เพอ่ื ฝึกทกั ษะควำมรู้และควำมเขำ้ ใจ
ในกำรหลกั เกณฑแ์ ละข้นั ตอนในกำรกำรบนั ทึกบญั ชีเพื่อนำไปประยกุ ตใ์ ชต้ ่อไป

สปั ดำหท์ ี่ 6 เรื่อง ค่ำแรง รำยกำรหกั ต่ำง ๆ และกำรบนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั ค่ำแรง

5.1 การนาเข้าสู่บทเรียน
- ผู้สอนและผ้เู รียนร่วมกนั เจริญสมาธิ เป็ นเวลา 2 นาที ก่อนเริ่มทาการเรียนการสอน

เพ่ือเตรียมควำมพร้อมในกำรศึกษำหำควำมรู้ โดยใหน้ งั่ บนเกำ้ อ้ดี ว้ ยถำ้ นงั่ ท่ีผอ่ นคลำย นำมือขวำทบั มอื ซำ้ ย
กำหนดรู้ลมหำยใจ นบั ลมหำยใจเขำ้ -ออก ควบคุมควำมคดิ ไมใ่ หเ้ ขำ้ มำรบกวน กำจดั อำรมณ์ใหห้ มดส้ิน
ควำมเงียบบ่อเกิดแห่งควำมสงบ เมื่อทำไดจ้ ะใหร้ ู้สึกมคี วำมสุขกบั กำรนง่ั สมำธิ

- ผสู้ อนและผเู้ รียนสนทนำถึงกำรคำนวณภำษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดำหกั ณ ที่จ่ำย ตำมมำตรำ 50(1)
แห่งประมวลรัษฎำกร กรณีกำรจ่ำยเงินไดพ้ งึ ประเมนิ ตำมมำตรำ 40(1) แห่งประมวลรัษฎำกร แต่ไม่รวมถงึ
เงินไดท้ ี่นำยจำ้ งจ่ำยใหค้ ร้ังเดียวเพรำะเหตุออกจำกงำน

- ผเู้ รียนยกตวั อยำ่ งกำรคำนวณภำษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดำโดยทวั่ ไปท่ีเคยศกึ ษำมำบำ้ งแลว้
- ผสู้ อนและผเู้ รียนอภิปรำยเพมิ่ เติมว่ำภำษีเงินไดห้ กั ณ ทจี่ ำ่ ย คือ จำนวนเงินท่ีกฎหมำยกำหนดใหผ้ ู้
จ่ำยเงินไดพ้ งึ ประเมนิ จะตอ้ งหกั ออกจำกเงินไดก้ ่อนจ่ำยใหแ้ ก่ผรู้ ับทุกครำว หรือเป็นจำนวนเงินภำษีที่ผู้
จ่ำยเงินออกภำษีแทนผมู้ เี งินไดต้ ำมหลกั เกณฑว์ ธิ ีกำรที่กฎหมำยกำหนดและนำส่งแลว้

5.2 การเรียนรู้ (เทคนิคการสอนแบบสาธิต , แบบอภปิ ราย)

- ผ้สู อนและผู้เรียนใช้เทคนิควธิ ีสอนแบบสาธิตโดยครูแสดงให้ผ้เู รียนดูและให้ความรู้แก่ผู้เรียนโดยใช้

สื่อการเรียนรู้ทเี่ ป็ น Power Point และผเู้ รียนไดป้ ระสบกำรณ์ตรงเกี่ยวกบั ภำษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดำหกั ณ ที่

จ่ำย ในเร่ืองต่ำงๆ เช่น กฎหมำยเก่ียวกบั ภำษีเงินไดห้ ัก ณ ท่ีจ่ำย ประเภทเงินไดพ้ งึ ประเมินตำมมำตรำ 40

แห่งประมวลรัษฎำกร หนำ้ ท่ีของนำยจำ้ งผหู้ กั ภำษีเงินได้ ณ ท่ีจ่ำย กำรคำนวณภำษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจ่ำย
- ผู้สอนใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย คือกระบวนการที่ผู้สอนมุ่งให้ผู้เรียนมีโอกาส

สนทนาแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นหรือระดมความคดิ ในเรื่องรายการหักต่างๆ ซ่ึงอำจจะเป็ นเรื่องหรือปัญหำท่ี
เกี่ยวขอ้ งกบั บทเรียนหรือท่ีกล่มุ มคี วำมสนใจร่วมกนั โดยมจี ุดมงุ่ หมำยเพ่ือหำคำตอบ แนวทำงหรือแกป้ ัญหำ
ร่วมกนั โดยมำตรำ 76 ห้ำมมิให้นำยจำ้ งหักค่ำจำ้ ง ค่ำล่วงเวลำ ค่ำทำงำนในวนั หยดุ และค่ำล่วงเวลำใน
วนั หยดุ

- ผสู้ อนใชเ้ ทคนิคกำรจดั กำรเรียนรู้แบบอภิปรำยเรื่องทะเบียนค่ำแรง โดยทะเบียนค่ำแรง (Payroll

Register) ใชบ้ นั ทึกรำยละเอียดเก่ียวกบั ค่ำแรงงำนท้งั หมดที่กิจกำรจะตอ้ งจ่ำยในแต่ละงวดของพนกั งำน
และคนงำน โดยมีรำยละเอียดเกี่ยวกบั เงินเดือน ค่ำแรง ค่ำล่วงเวลำ (ถำ้ มี) รำยกำรหกั ต่ำงๆ เช่น เงินสมทบ

กองทุนประกนั สงั คม ภำษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดำหกั ณ ท่ีจ่ำย เงินสะสมกองทุนสำรองเล้ยี งชีพ เงินเบิก

ลว่ งหนำ้ เงินกยู้ มื เป็นตน้

- ผสู้ อนและผเู้ รียนใชเ้ ทคนิคกำรจดั กำรเรียนรู้แบบสำธิตกำรกรอกขอ้ มลู ในทะเบียนค่ำแรงต่อไปนี

ใหส้ มบูรณ์

บริษทั บางกอกอตุ สาหกรรม จากดั

ทะเบยี นค่าแรง

แผนกผลติ

ประจำสปั ดำหเ์ ริ่มวนั ที่ 3 ถึงวนั ที่ 8 ธนั วำคม 2557

รหสั เงินได้ รายการหัก
พนกั งำ
ช่ือ-สกลุ เงินเดือน/ ค่ำ รวม ภำษีหกั เงิน เงิน ค่ำแรง
น ค่ำจำ้ งปกติ ล่วงเวลำ ณ ท่ีจ่ำย ประกนั สะสม สุทธิ
สงั คม
16,093.80
30 นำยสิน อดทน 15,000 2,400 17,400 522 750 34.20 14,219.20
13,009.10
31 นำยเสรี กำรคำ้ 13,800 1,600 15,400 462 690 28.80 12,980.00
12,110.00
32 นำยมชี ยั ใจดี 12,800 1,300 14,100 423 640 27.90 68,412.10

33 นำงหนูดี มชี ยั 12,000 2,000 14,000 420 600 -

34 นำงก่ิง ช่ำงดี 10,000 3,000 13,000 390 500 -

รวม 63,600 10,300 73,900 2,217 3,180 90.90

- ผสู้ อนและผเู้ รียนใชเ้ ทคนิคกำรจดั กำรเรียนรู้แบบสำธิต โดยกำรคำนวณ และกำรบนั ทกึ บญั ชี

เกี่ยวกบั ค่ำแรงงำน โดยทวั่ ไปฝ่ ำยบญั ชีค่ำแรงงำน (Payroll Accounting Dept.) จะเป็นผทู้ ำหนำ้ ท่ีจดั เก็บและ

รวบรวมขอ้ มูลเวลำกำรทำงำนของพนกั งำนและลูกจำ้ ง เพ่อื คำนวณค่ำแรงรวมถงึ กำรบนั ทึกบญั ชี แต่กิจกำร

บำงแห่งอำจใหเ้ ป็นหนำ้ ท่ีของฝ่ ำยบุคคล ส่วนฝ่ ำยบญั ชีค่ำแรงจะคำนวณและบนั ทกึ บญั ชี

- ผสู้ อนแสดงตวั อยำ่ งกำรบนั ทึกบตั รเวลำ

ช่ือ-สกุลนำยเสรี กำรคำ้ บตั รลงเวลา
รหสั พนกั งำน 001

แผนก…………………ผลิต………………………………….ตำแหน่ง…………….คนงำน

ประจำสปั ดำห์ 1 วนั จนั ทร์ที่ 3 พฤษภำคม 2557 ถึงวนั อำทิตยท์ ี่ 9 พฤษภำคม 2557

วนั เช้า บ่าย ลกั ษณะงานทที่ า
เขำ้ ออก เขำ้ ออก

จนั ทร์ 8.00 12.00 13.00 17.00 ผลิตสินคำ้

องั คำร 8.00 12.00 13.00 18.00 บรรจุหีบห่อ

พธุ 8.00 12.00 13.00 17.00 ผลิตสินคำ้

พฤหสั บดี 8.00 12.00 13.00 20.00 ซ่อมเคร่ืองจกั ร

ศุกร์ 8.00 12.00 13.00 19.00 บรรจุหีบห่อ

เสำร์ 8.00 12.00 13.00 19.00 บรรจุหีบห่อ

อำทิตย์ - - - -
สรุปชวั่ โมงกำรทำงำน 56 ชวั่ โมง

- ผสู้ อนและผเู้ รียนใชเ้ ทคนิคกำรจดั กำรเรียนรู้แบบสำธิต คือ กระบวนกำรที่ผสู้ อน หรือบุคคลใด

บุคคลหน่ึงใชใ้ นกำรช่วยใหผ้ เู้ รียนไดเ้ กดิ กำรเรียนรูต้ ำมวตั ถุประสงค์ โดยกำรแสดงหรือกระทำใหด้ ูเป็น

ตวั อยำ่ งพร้อม ๆ กบั กำรบอก อธิบำย ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้ ผเู้ รียนจะเกิดกำรเรียนรู้จำกกำรสงั เกต กระบวนกำร

ข้นั ตอนกำรสำธิตน้นั ๆ แลว้ ใหผ้ เู้ รียนซกั ถำม อภิปรำย และสรุปกำรเรียนรู้ท่ีไดจ้ ำกกำรสำธิต กำรจดั กำร

เรียนรู้แบบน้ีจึงเหมำะสมสำหรับกำรสอนที่ตอ้ งกำรใหผ้ เู้ รียนเห็นข้นั ตอนของกำรปฏิบตั ิ โดยกำรบนั ทึก

บญั ชีเก่ียวกบั ค่ำแรงน้นั มีวธิ ีปฏบิ ตั ิอยู่ 2 วิธี คือ วิธีบญั ชีสินคำ้ คงเหลอื แบบสิ้นงวด (Periodic Inventory

Method) และวธิ ีบญั ชีสินคำ้ คงเหลือแบบต่อเน่ือง (Perpetual Inventory Method) มหี ลกั กำรบนั ทึกบญั ชี

ดงั ต่อไปน้ี

รายการ วธิ สี ินค้าคงเหลือ วธิ ีสินค้าคงเหลือ
แบบสิน้ งวด แบบต่อเน่ือง

1. เมือ่ จ่ำยค่ำแรง เดบิต ค่ำแรงทำงตรง XX เดบิต งำนระหว่ำงทำ XX

ทำงตรง และค่ำแรง ค่ำแรงทำงออ้ ม XX ค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลิต XX

ทำงออ้ มเป็นเงินสด เครดิต เงินสด XX เครดิต เงินสด XX

2. เม่ือจ่ำยค่ำลว่ งเวลำ เดบิต ค่ำแรงทำงตรง XX เดบิต งำนระหว่ำงทำ XX

ทำงตรง และค่ำ ค่ำแรงทำงออ้ ม XX ค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลติ XX

ลว่ งเวลำทำงทำงออ้ ม เครดิต เงินสด XX เครดิต เงินสด XX

3. เมอ่ื มีกำรปรับปรุง เดบิต ค่ำแรงทำงตรง XX เดบิต งำนระหวำ่ งทำ XX

ค่ำแรงทำงตรงและ ค่ำแรงทำงออ้ ม XX ค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลิตXX

ค่ำแรงทำงออ้ ม เครดิต ค่ำแรงคำ้ งจ่ำย XX เครดิต ค่ำแรงคำ้ งจ่ำย XX

4. เมอ่ื จ่ำยค่ำแรง เดบิต ค่ำแรงคำ้ งจ่ำยXX เดบิต ค่ำแรงคำ้ งจ่ำย XX

คำ้ งจ่ำย เครดิต เงินสด XX เครดิต เงินสด XX

5. เม่ือจ่ำยค่ำแรง เดบิต ค่ำแรงทำงตรง XX เดบิต งำนระหวำ่ งทำ XX
ทำงตรง หกั เงิน เงินสมทบกองทุนประกนั สังคม XX
ประกนั สงั คม และ เครดิต เงนิ ประกนั สังคมคำ้ งจ่ำย XX เงินสมทบกองทุนประกนั สงั คม XX
ภำษีเงินไดบ้ ุคคล ภำษีเงินไดห้ กั ณ ทีจ่ ่ำย XX
ธรรมดำหกั ณ ท่ีจ่ำย เงินสด XX เครดิต เงนิ ประกนั สังคมคำ้ งจ่ำย XX
ภำษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจี่ ่ำย XX
6. เมื่อจ่ำยค่ำแรง เดบิต ค่ำแรงทำงออ้ ม XX เงินสด XX
ทำงออ้ ม หกั เงิน เงินสมทบกองทุนประกนั สงั คม XX
ประกนั สงั คม และ เครดิต เงนิ ประกนั สงั คมคำ้ งจ่ำย XX เดบิต ค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลติ XX
ภำษีเงินไดบ้ ุคคล ภำษีเงินไดห้ กั ณ ทจี่ ่ำย XX
ธรรมดำ เงินสด XX เงินสมทบกองทุนประกนั สงั คม XX

เครดิต เงนิ ประกนั สังคมคำ้ งจ่ำย XX
ภำษีเงนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี ่ำย XX
เงินสด XX

รายการ วธิ สี ินค้าคงเหลือ วธิ สี ินค้าคงเหลือ
แบบสิน้ งวด แบบต่อเนื่อง

7. นำส่งเงินสมทบ เดบิต เงนิ ประกนั สงั คมคำ้ งจ่ำย XX เดบิต เงนิ ประกนั สงั คมคำ้ งจ่ำย XX
เครดิต เงินสด/เงินฝำกธนำคำร
กองทุนประกนั สงั คม เครดิต เงินสด/เงินฝำกธนำคำร XX XX

(ภำยในวนั ท่ี 15 ของ

เดือนถดั ไป)

8. นำส่งภำษีเงินไดบ้ ุคคล เดบิตภำษีเงินไดฯ้ หกั ณ ท่ีจ่ำย XX เดบิต ภำษเี งนิ ไดฯ้ หกั ณ ทจี่ ่ำย XX
เครดิต เงนิ สด/เงินฝำกธนำคำร XX
ธรรมดำหกั ณ ท่ีจ่ำย เครดิต เงินสด/เงินฝำกธนำคำร XX

(ภำยใน 7 วนั นบั แต่วนั

สิ้นเดือนของเดือนท่ี

จ่ำยเงิน)

5.3 การสรุป
- ผสู้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั สรุปโดยผเู้ รียนทำแบบประเมินผลกำรเรียนรู้ แบบทดสอบ เพ่อื ฝึกทกั ษะ

ควำมรู้และควำมเขำ้ ในกำรหลกั เกณฑแ์ ละข้นั ตอนในกำรกำรบนั ทึกบญั ชีเพือ่ นำไปประยกุ ตใ์ ชต้ ่อไป และ
ผสู้ อนเป็นผคู้ อยใหค้ ำแนะนำ และตอบขอ้ ปัญหำของผเู้ รียน

- ผสู้ อนไดป้ ลกู ฝังคุณธรรมจริยธรรม อนั เป็ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของนกั ศึกษาอาชีวะ
ซ่ึงกาหนดโดยสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เร่ืองการมคี วามรับผดิ ชอบ โดยผ้สู อนปลูกฝัง
ให้ผ้เู รียนประพฤตติ นตามระเบยี บกฎเกณฑ์ของสังคม มคี วามรับผดิ ชอบต่อหน้าท่ีของตนเอง และการอยู่ร่วมกนั

ของทกุ คนย่อมมคี วามสัมพนั ธ์กนั ซึ่งต้องนากฎระเบียบและหลกั คณุ ธรรมตามศาสนาท่ตี นนบั ถือมาปรับใช้ เพอื่
ความเป็ นระเบยี บเรียบร้อยในการอยู่ร่วมกนั ทาให้สังคมมคี วามสุข ดงั น้นั ผู้เรียนต้องร่วมกนั ทาประโยชน์เพ่ือ
สังคมส่วนรวม เช่น การเปิ ด-ปิ ดไฟ ภายในห้องเรียน ห้องนา้ เป็ นต้น

5.4 การวดั และประเมนิ ผล
- ใหผ้ เู้ รียนทำแบบฝึกหดั ทำ้ ยหน่วยเรื่องแสดงกำรบนั ทึกรำยกำรบนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั ค่ำแรง
(1) วธิ ีบญั ชีสินคำ้ คงเหลอื แบบส้ินงวด (Periodic Inventory Method)
(2) วธิ ีบญั ชีสินคำ้ คงเหลอื แบบต่อเน่ือง (Perpetual Inventory)

สปั ดำห์ที่ 7 เรื่อง ควำมหมำยและประเภทของค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลิต

5.1 การนาเข้าสู่บทเรียน

- ผ้สู อนและผ้เู รียนร่วมกนั เจริญสมาธิ เป็ นเวลา 2 นาที ก่อนเร่ิมทาการเรียนการสอน

เพือ่ เตรียมควำมพร้อมในกำรศึกษำหำควำมรู้ โดยใหน้ งั่ บนเกำ้ อ้ีดว้ ยถำ้ นงั่ ที่ผอ่ นคลำย นำมอื ขวำทบั มือซำ้ ย

กำหนดรู้ลมหำยใจ นบั ลมหำยใจเขำ้ -ออก ควบคุมควำมคิดไมใ่ หเ้ ขำ้ มำรบกวน กำจดั อำรมณ์ใหห้ มดส้ิน

ควำมเงียบบ่อเกิดแห่งควำมสงบ เมอ่ื ทำไดจ้ ะใหร้ ู้สึกมคี วำมสุขกบั กำรนงั่ สมำธิ

- ผสู้ อนกลำ่ วถงึ ค่ำใชจ้ ่ำยกำรผลติ (Manufacturing Overhead/Overhead) หมำยถงึ ค่ำใชจ้ ่ำยต่ำงๆ ท่ี

เกิดข้นึ ในกำรผลิตสินคำ้ เพอื่ ใหก้ ระบวนกำรผลติ เป็นไปอยำ่ งต่อเน่ือง ซ่ึงไม่รวมถงึ วตั ถุดิบทำงตรง

และค่ำแรงงำนทำงตรง ค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลิตน้นั ถือเป็นตน้ ทุนทำงออ้ ม (Indirect Cost) และเป็นส่วนหน่ึง

ของตน้ ทุนกำรผลิต อำจเรียกอีกอยำ่ งหน่ึงวำ่ โสหุย้ กำรผลิต (Manufacturing Burden)

- ผสู้ อนแนะนำใหผ้ เู้ รียนศกึ ษำคน้ ควำ้ จำกแหล่งขอ้ มูลที่ทนั สมยั ต่ำงๆ เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีควำมรู้ที่

แทจ้ ริงไม่สบั สนต่อกำรเปล่ยี นแปลงต่ำงๆ ที่เกิดข้ึนในปัจจุบนั

5.2 การเรียนรู้ (เทคนคิ การสอนแบบอภปิ ราย , สาธติ )

- ผสู้ อนใช้เทคนิคการจดั การเรียนรู้แบบอภิปราย ควำมหมำยของค่ำใชจ้ ่ำยกำรผลติ และประเภทของ

ค่ำใชจ้ ่ำยกำรผลติ

- ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนยกตวั อยำ่ งค่ำใชจ้ ่ำยในกำรขำยและบริหำร 20 ชนิด

- ผู้สอนสาธติ กำรคำนวณวสั ดุโรงงำนใชไ้ ป และกำรคำนวณค่ำตดั จำหน่ำยสิทธิบตั ร

จะใชว้ ิธีเสน้ ตรง

- ผสู้ อนแสดงกำรสำธิตกำรบนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกบั สิทธิบตั ร ดงั น้ี

 เมื่อมกี ำรซ้ือสิทธิบตั ร จะบนั ทึกบญั ชีดงั น้ี

เดบิต สิทธิบตั ร XX

เครดิต เงินสด/เจำ้ หน้ี XX

 เมอ่ื มกี ำรตดั บญั ชี หรือตดั จำหน่ำยเป็นค่ำใชจ้ ่ำย จะบนั ทึกบญั ชีดงั น้ี

เดบิต สิทธิบตั รตดั บญั ชี(ตดั จำหน่ำย) XX

เครดิต สิทธิบตั ร XX

 หรือในวนั สิ้นงวดบญั ชี จะบนั ทึกรำยกำรปรับปรุงค่ำตดั จำหน่ำยสิทธิบตั ร ไดด้ งั น้ี

เดบิต ค่ำตดั จำหน่ำย-สิทธิบตั ร XX

เครดิต ค่ำตดั จำหน่ำยสะสม-สิทธิบตั ร XX

หมายเหตุ บญั ชีสิทธิบตั รถือเป็ นบญั ชีประเภทสินทรัพยไ์ ม่หมุนเวียนส่วนบัญชีค่ำตัดจำหน่ำย

สะสม-สิทธิบตั ร จดั เป็นบญั ชีปรับมูลค่ำสินทรัพย์ โดยแสดงเป็ นรำยกำรหกั จำกบญั ชีสิทธิบตั ร จะแสดงใน

งบแสดงฐานะการเงิน ส่วนบญั ชีสิทธิบตั รตดั บญั ชี (ตดั จำหน่ำย) จดั เป็ นบญั ชีประเภทค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลิต

จะแสดงในงบตน้ ทุนผลติ

5.3 การสรุป
- ผสู้ อนสรุปโดยวิธีสุ่มใหผ้ เู้ รียนตอบคำถำม และทำประเมนิ ผลกำรเรียนรู้ แบบทดสอบและใบงำน
- ผู้สอนเน้นการจะเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผ้เู รียนต้องมคี วามรู้พนื้ ฐานเกย่ี วข้องกบั การ

บริหารจดั การทรัพยากรที่มอี ย่อู ย่างจากดั เพอ่ื ให้มนุษย์ดารงชีวติ ในระดบั บุคคล ครอบครัว ชุมชน ประเทศ
ไปจนถงึ ระดบั โลกอย่างมคี ณุ ภาพ และประสิทธิภาพเพ่ือสนองความต้องการของสังคมทุกระดบั ให้สามารถ
ดารงชีวติ อยู่ได้อย่างพอเพยี งและมคี วามสุขบนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานงึ ถึง
ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล และการสร้างภูมคิ ้มุ กนั ในตวั ตลอดจนใช้ความรู้ และคณุ ธรรม เป็ น
พืน้ ฐานในการดารงชีวติ ให้อยู่ได้อย่างมนั่ คงและยง่ั ยืนตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
5.4 การวดั และประเมนิ ผล

- ผสู้ อนสุ่มใหผ้ เู้ รียนตอบคำถำม และทำประเมินผลกำรเรียนรู้ แบบทดสอบและใบงำน
- ใหผ้ เู้ รียนฝึกปฏิบตั ิคำนวณ และบนั ทึกบญั ชี เพื่อใหเ้ กิดควำมชำนำญในกำรนำไปใชไ้ ดจ้ ริง

สปั ดำห์ท่ี 8 เรื่อง กำรบนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกบั ค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลติ
5.1 การนาเข้าสู่บทเรียน

- ผ้สู อนและผ้เู รียนร่วมกนั เจริญสมาธิ เป็ นเวลา 2 นาที ก่อนเร่ิมทาการเรียนการสอน
เพอื่ เตรียมควำมพร้อมในกำรศึกษำหำควำมรู้ โดยใหน้ งั่ บนเกำ้ อ้ีดว้ ยถำ้ นงั่ ที่ผอ่ นคลำย นำมือขวำทบั มอื ซำ้ ย
กำหนดรู้ลมหำยใจ นบั ลมหำยใจเขำ้ -ออก ควบคุมควำมคดิ ไมใ่ หเ้ ขำ้ มำรบกวน กำจดั อำรมณ์ใหห้ มดสิ้น
ควำมเงียบบ่อเกิดแห่งควำมสงบ เมื่อทำไดจ้ ะใหร้ ู้สึกมคี วำมสุขกบั กำรนงั่ สมำธิ

- ผสู้ อนและผเู้ รียนทบทวนค่ำใชจ้ ่ำยกำรผลิต และประเภทของค่ำใชจ้ ่ำยกำรผลิต รวมท้งั กำร
คำนวณและบนั ทึกบญั ชีที่เก่ียวขอ้ ง โดยค่ำใชจ้ ่ำยกำรผลิต ถอื เป็นค่ำใชจ้ ่ำยของกิจกำรอตุ สำหกรรม
กำรบนั ทึกบญั ชีเหมอื นกบั ค่ำใชจ้ ่ำยอนื่ ๆ คือ

เดบิต ค่ำใชจ้ ่ำยกำรผลติ ต่ำงๆ XX

เครดิตเงินสด/ธนำคำร/บญั ชีท่ีปรับปรุงต่ำงๆ XX

- ใหผ้ เู้ รียนช่วยกนั วเิ ครำะหว์ ่ำค่ำใชจ้ ่ำยในกำรผลิตไดแ้ ก่บญั ชีใดบำ้ ง
5.2 การเรียนรู้ (เทคนิคการสอนแบบบรรยาย , การสาธิต)

- ผสู้ อนและผเู้ รียนอธิบำยและสำธิตกำรบนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั ค่ำใชจ้ ่ำยกำรผลิต โดยทวั่ ไปจะมกี ำร
บนั ทึกบญั ชีอยู่ 2 วธิ ี ดงั น้ี

(1) กำรบนั ทึกบญั ชีแบบส้ินงวด (Periodic Method)
(2) กำรบนั ทึกบญั ชีแบบต่อเน่ือง (Perpetual Method)


Click to View FlipBook Version