The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จัดทำโดย สํานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการสํารวจความหลากหลายของพรรณไม้

จัดทำโดย สํานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

44.. îนćĞ ำêตĆüัวĂอ÷ยŠćา่ Üงóพøรøรèณĕไöมìš ท้ êĊę ่ตี éĉ ดิ ïบîนÖกøรąะéดćาþษêตéĉ ดิ óพøรøรèณĕไöมšđ้เøรĊ÷ยี ïบøรšĂ้อ÷ยĒแúลüš ้วĕðไปĔÿใสŠ ่
ปðกÖพóรøรøณèไĕมö้ซšà่ึงċÜę เđปð็นŨîÖกøรąะéดćาþษĒแ×ขĘÜ็งöมĊ×ีขîนćาéดĒแúลąะđเîนČĚĂื้อÖกøรąะéดćาþษđเĀหöมČĂือîนÖกĆïับÖกøรąะéดćาþษ
ตêิดĉéพóรøรøณèไĕมö้ š เđข×ียĊ÷นîชßื่อČęĂวüงÜศý์Ť ßชęČĂ่ือóพùฤÖกþษýศćาÿสêตøรŤ์ ĒแúลąะßชęČĂื่อñผšĎđู้เÖกĘï็บêตĆüัวĂอ÷ยŠć่าÜงìทęĊö่ีมčöุมúลŠć่าÜง
ดéา้ šćนîซàา้ šćย÷มöือĂČ

กÖาćรøบïนั ĆîทìึกÖċ ข×อ้ Ăš มöลู Ďú

ðปŜć้า÷ยïบĆîันìทċÖึก×ขšĂ้อöมĎúูลöมĊ×ีขîนćาéดĒแúลąะßชŠĂ่อÜงïบĆîันìทċÖึก×ขšĂ้อöมĎúูลìทęĊĀี่หúลćาÖกĀหúลćา÷ย ×ขĚċî้ึนĂอ÷ยŠĎÖู่กĆïับ
คÙวüาćมöชßĂอïบ×ขĂอÜงñผĎšđู้เÖกĘï็บóพøรøรèณĕöไมšĀ้หøČĂรืêอćตöาĒมïแïบöบćมêาøตåรćîฐา×นĂขÜóอĉóงพĉíõิพĆèิธภæัณŤóČßฑĒ์พêืชŠ

แúตąล่ĒะĀแŠÜหàง่ ċęÜĂซง÷ึ่ อŠćยÜîา่ งšĂน÷อ้ êยšĂตÜอ้ïงĆîบìนั ċÖทßกึ ČęĂชñอ่ื ĎšđผÖเู้ Ęïกêบ็ ĆüตĂวั ÷อŠćยÜา่ งđúเ×ลìขทĊęúĞćลี่ éำดĆïบัÖกćøาđรÖเกĘïบ็ êตĆüวัĂอ÷ยŠćา่Üง
สÿถëาćนîทì่ีเęĊđกÖ็บĘïตêัวĆüอĂย÷่าŠćงÜ แĒลúะąบïันĆîทìึกċÖย÷่อŠĂ (note) ēโéด÷ยìทęĆü่ัวĕไðปĒแúลšü้วðปŜć้า÷ยïบĆîันìทċÖึก×ขšĂ้อöมĎúูล

จÝะąเđปð็นŨîแĒบïบïฟôอĂรø์มŤöทì่ีใęĊĔชß้ภšõาćษþาćอĂังĆÜกÖฤùษþ ĒแêตŠë่ถšć้าđเðปŨî็น×ขšĂ้อöมĎúูล×ขĂอÜงóพĉóิพĉíิธõภĆèัณæฑŤì์ทšĂ้อÜงëถęĉîิ่น

ทì่ีใĊęĔชß้ศšýึกċÖษþาćกÖันĆîเฉđพÞóาะćใąนĔทî้อìงšĂถÜิ่นëหĉęîรĀือøในČĂปĔîระðเøทąศđìคýวรÙใชü้แøĔบßบšĒฟïอïรô์มทĂ่ีเøปŤö็นìภĊęđðาษŨîา
ไõทćยþดćงัĕìต÷วั อéยĆÜ่าêงĆüแĂบ÷บćŠ บÜĒนั ïทïกึ ïข้อĆîมìูลÖċ พ×รĂš รöณúĎ ไóมø้ทøน่ีèำĕเöสšìนîęĊอĞćนđ
้ีÿîĂîĚĊ

ēÙøÜÖćøÿĞćøüÝÙüćöĀúćÖĀúć÷ìćÜßĊüõćóĔîóĚîČ ìĊðę ćś ĂîčøĆÖþŤ
ÖøöĂìč ÷ćîĒĀŠÜßćêĉ ÿêĆ üðŤ ćś ĒúąóîĆ íóŤč Čß

üÜýŤ:.................................................................................................
ßČęĂóùÖþýćÿêø:Ť ...............................................................................
ßęČĂóČĚîđöČĂÜ:.......................................................................................
ÿëćîì:ęĊ
đÿšîøÜčš :.......đĀîČĂ, đÿîš ĒüÜ: .......êąüîĆ ĂĂÖ, ÙüćöÿÜĎ ÝćÖøąéïĆ îĞćĚ ìąđú:......ö.
ëęîĉ ìĂęĊ ÷ĎĂŠ ćýĆ÷:...................................................................................
ïĆîìċÖ: ............................................................................................
........................................................................................................
ñšĎđÖĘï:...............................................................................................
Āöć÷đú×:..................üĆîìĊ:ę ...............................ÝĞćîüîàĚćĞ :.................
êĆüĂ÷ŠćÜđÖĘïĕüšìĊę:................................................................................
ñĎšêøüÝüĉđÙøćąĀŤ:................................................üĆîìę:Ċ ........................

… õćóëćŠ ÷ … êĆüĂ÷ćŠ ÜéĂÜ … êüĆ Ă÷ćŠ Üñú … êĆüĂ÷ćŠ ÜÿćĞ ĀøĆïîĞćĕð×÷ć÷óĆîíŤč

คู่มอื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้
45

การรวบรวมขอ้ มลู

นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจมารวบรวมโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
Microsoft Excel เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นระบบ สะดวกต่อการจัดการ

และนำไปใชป้ ระโยชนต์ ่อไป


สาหรา่ ย


การเกบ็ ตวั อย่างในแหล่งธรรมชาต

พืชที่จัดไว้ในกลุ่มนี้มีลักษณะพิเศษต่างไปจากพืชกลุ่มอื่น คือ มีขนาด
แตกต่างกันมาก บางชนิดมีเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่ก่ีไมครอน (µ) แต่บาง
ชนิดมีความยาวเป็นร้อยฟุตและยังสามารถเจริญได้ในแหล่งต่าง ๆ กัน

ดังนั้นวิธีการท่ีจะรวบรวมตัวอย่างและเก็บรักษาไว้เพ่ือการศึกษาจึงแตกต่าง
ออกไปแล้วแต่ขนาด ลักษณะรูปร่าง แหล่งท่ีเกิด และวัตถุประสงค์ในการ

เกบ็ ตวั อยา่ งนน้ั ๆ

1. อปุ กรณ

1.1 เครอื่ งมอื เกบ็ ตวั อยา่ งสาหรา่ ยทลี่ อยนำ้ หรอื ทเี่ ปน็ ไฟโตแพลงตอน
(phytoplankton) เช่น ตาข่ายเก็บแพลงตอน (planktonnet) กระชอน
แบบเดียวกับท่ีชอ้ นลูกน้ำ บคี เกอร์ ถ้วยหรอื กระปอ๋ งต่อดา้ มยาว ๆ

1.2 เครอื่ งมอื สำหรบั แซะหรอื ขดู เชน่ มดี ปลายแหลมขนาดเลก็ ปากคบี

1.3 เครอ่ื งมอื สำหรบั ตอก เชน่ ค้อนเล็ก ๆ หรอื สบั นก

1.4 อปุ กรณ์สำหรับบรรจุตวั อย่าง เชน่ ขวด หลอดแกว้ (vial) หรอื
ถุงพลาสตกิ

2. วิธเี ก็บตวั อย่าง

มวี ธิ เี กบ็ ตวั อยา่ งสาหรา่ ยหลายวธิ ี ตามขนาด รปู รา่ ง และแหลง่ ทเ่ี กดิ ดงั น้ี

2.1 สาหรา่ ยขนาดเล็ก (microscopic algae) พวกท่ีเปน็ เซลลเ์ ดยี่ ว
หรือรวมเปน็ กลมุ่ (colony) หรือเป็นสาย (filament) ขนาดเล็ก ๆ มองเหน็
ไมช่ ดั ด้วยตาเปล่า

2.1.1 เจริญอยู่บนดินหรือทราย เก็บตัวอย่างโดยการแซะด้วย
เครื่องมือที่มีปลายแบนและคมให้เป็นแผ่นขนาดประมาณ 5–6 เซนติเมตร


46 คมู่ อื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม


ให้ตัวอย่างติดดินหรือทรายมาด้วยเล็กน้อย ใส่ในซองกระดาษหรือการดาษ
อัดสำเนาทพ่ี ับเปน็ ซองส่ีเหลีย่ ม

การเกบ็ ตัวอยา่ งสาหร่ายทย่ี ังมชี วี ิต (living specimens) เพ่ือนำมา
ศึกษา ทำได้โดยนำตัวอย่างสาหร่ายท่ีแยกดินออกไปบางส่วนแล้วมาใส่ใน
จานแกว้ (petri dish) เติมนำ้ ลงไปพอทว่ ม วางแผน่ แกว้ บาง (cover glass)
3-4 แผน่ ลงบนผวิ หนา้ ของดนิ ปลอ่ ยใหน้ ำ้ ระเหยออกไป แลว้ จงึ ปดิ ฝาจานแกว้
ต้ังท้ิงไว้ในท่ีมีแสงสว่างแต่ไม่ถูกแสงแดดโดยตรงเป็นเวลา 1–2 วัน สาหร่าย
จะเจริญขึ้นมาอยู่บนแผ่นแก้วบาง จากนั้นจึงนำไปศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์
โดยวางแผน่ แกว้ บางบนกระจกสไลด์ที่หยดนำ้ ไว้

2.1.2 เจริญอยู่ในดินหรือทรายระดับต้ืน ๆ เก็บตัวอย่างโดยตัก
ดินหรือทรายที่สังเกตได้ว่ามีสีเขียว ๆ มาใส่ภาชนะ เติมน้ำเล็กน้อย เขย่า
แล้วต้ังท้ิงไว้ให้ดินหรือทรายตกตะกอน จะได้น้ำซ่ึงมีสาหร่ายปนกันอยู่หลาย
ชนดิ นำตวั อยา่ งที่ได้เก็บไวใ้ นขวดหรอื ถุงพลาสติก

2.1.3 ลอยอยู่ในน้ำจืดหรือน้ำเค็ม เก็บตัวอย่างโดยใช้ตาข่าย

แพลงตอน กระชอนแบบท่ีใช้ช้อนลูกน้ำอย่างตาถ่ี หลอดหยด (medicine
dropper หรอื dropping pipette) หรอื ตกั นำ้ มากรอง การเลอื กใชเ้ ครอ่ื งมอื
ขึ้นอยู่กับลักษณะงานและปริมาณที่ต้องการ แล้วถ่ายใส่ขวดตัวอย่างหรือ

ถุงพลาสตกิ

2.1.4 เจริญเกาะอยู่กับสิ่งต่าง ๆ ท้ังบนบก เช่น ตามเปลือกไม้
กระถางตน้ ไม้ กำแพงตกึ กอ้ นหนิ และในนำ้ จดื หรอื นำ้ เคม็ เชน่ บนสว่ นตา่ ง ๆ
ของพืชนำ้ ก่ิงไม้ท่ีแช่อยใู่ นน้ำนาน ๆ บนผวิ เลนหรือก้อนหนิ ตามผนังเขือ่ นที่
เป็นไม้ อิฐ หรือปูน อาจเก็บโดยแซะ ขูดด้วยสันมีดหรืออุปกรณ์อ่ืน ๆ เช่น
ช้อน ปลายปากคีบ หรือแม้แต่เล็บมือ ถ้าเป็นสาหร่ายที่เกาะบนก่ิงไม้เล็ก ๆ
ให้เกบ็ กงิ่ ไมน้ น้ั ทัง้ ก่ิงใส่ลงในภาชนะสำหรบั ใส่ตัวอย่าง

2.1.5 สาหร่ายที่พบอยู่กับพืชชนิดอื่น เช่น Sphagnummoss
(Sphagnum spp.) สาหร่ายข้าวเหนียว (Utricularia spp.) เก็บตัวอย่าง
โดยนำพืชเหล่านัน้ มาบีบคอ่ ย ๆ ด้วยมือและรองเอานำ้ ทไ่ี ด้ใส่ขวดตัวอย่าง


คูม่ อื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม
้ 47

2.1.6 สาหร่ายทอ่ี ยใู่ นเซลลห์ รอื เนอ้ื เยอ่ื ของพชื นำ้ บางชนิด เชน่
Nteiia spp., Cladophora spp. หรือแหนแดง (Azolla spp.) เก็บ

ตวั อย่างโดยนำสว่ นของพืชน้ัน ๆ มาแชน่ ้ำไว้จนกระทัง่ สซี ีดลงจะเห็นสาหรา่ ย
ได้ชัดเจนย่ิงข้ึนหรืออาจจะใส่บนกระจกสไลด์ ปิดแผ่นแก้วบางแล้วกดเบา ๆ
ใหเ้ ซลล์พชื แตกออก สาหร่ายกจ็ ะหลุดออกมานอกเน้ือเยือ่ ของพืชน้นั ๆ

2.1.7 สาหรา่ ยทเ่ี ปน็ semi–parasite และ endophyte ของพชื
จะเห็นใบของพชื เปน็ จุดสเี หลอื ง สีนำ้ ตาล หรอื สีแดง เกบ็ ตวั อย่างโดยเก็บใบ
พชื ทม่ี าสาหรา่ ยนน้ั มาทง้ั ใบ ใสใ่ นถงุ พลาสตกิ เพอ่ื ไมใ่ หใ้ บของพชื แหง้ จนเสยี รปู

2.2 สาหร่ายขนาดเล็กแต่อยู่รวมกันเป็นกลุ่มหรือเป็นสายท่ีมองเห็น
ได้ด้วยตาเปล่า เก็บตัวอย่างโดยใช้มือ กระชอน หรือใช้ภาชนะอ่ืน ๆ

ชอ้ นหรอื ใช้อุปกรณท์ ่มี ีปลายแบนขูดหรือแซะออกจากสง่ิ ทีส่ าหรา่ ยเกาะอย่

2.3 สาหร่ายน้ำจืดขนาดใหญ่ มีส่วนที่คล้ายราก (rhizoid) หย่ังลึก
ลงไปในดิน เก็บตวั อยา่ งโดยคอ่ ย ๆ ถอนลำต้นออกมาให้ไดส้ ่วนต่าง ๆ ครบ
และเลือกเกบ็ ต้นทีม่ ีอวัยวะสืบพนั ธุ์ (reproductive organs) ถ้าทำได้

2.4 สาหรา่ ยทะเลขนาดใหญ่ มองเหน็ ไดด้ ว้ ยตาเปลา่ (macroscopic)

จะพบมากตามหาดท่ีมีโขดหินและในแอ่งท่ีมีน้ำขัง (rock – pool) หรือ

ป่าชายเลน เวลาที่จะเก็บตัวอย่างได้ดีท่ีสุดคือขณะท่ีน้ำลงพยายามเลือกเก็บ
ต้นท่ีมีอวัยวะสืบพันธุ์ถ้าสามารถมองเห็นได้ และต้องเก็บให้ได้ส่วนที่ยึดเกาะ
(hold fast หรือ rhizoid) ดว้ ย สาหรา่ ยทะเลบางชนิดยึดแน่นอยกู่ บั ก้อนหนิ
เปลือกหอยเกา่ ๆ หรอื ซากปะการัง ตอ้ งตอกหรืองัดสง่ิ ทีส่ าหรา่ ยเกาะอยนู่ ัน้
ออกมาด้วย ส่วนสาหร่ายท่ีอยู่ในระดบั ลกึ ๆ บางคร้ังจะถกู คลืน่ ซัดมากองอยู่
บนชายหาดเป็นปริมาณมากอาจจะเลอื กเก็บตัวอย่างสาหร่ายดี ๆ ได้บา้ ง

3. การบนั ทกึ ขอ้ มูล

เม่อื เก็บตวั อยา่ ง จะตอ้ งบันทกึ รายละเอยี ด เชน่

- ถน่ิ ฐาน

- วนั ท่ ี

- ลกั ษณะพื้นท่ีทพี่ บสาหรา่ ยและภมู ปิ ระเทศ


48 คู่มือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้

- ความลกึ

- ปริมาณแสง

- ปริมาณสาหร่ายทีพ่ บ

- ลกั ษณะพิเศษท่ีสังเกตได้งา่ ยของสาหร่ายชนดิ น้ัน ๆ

การเก็บรกั ษา

ทำได้ 3 วธิ ีคือ

1. ผึง่ ใหแ้ หง้ โดยไม่ให้ถูกแสงแดดโดยตรง (air dry) เม่ือแห้งแลว้ เกบ็ ไว้
ในซองกระดาษหรือกล่องพลาสติก วิธีน้ีใช้ได้ดีสำหรับสาหร่ายท่ีอยู่บนดิน
สาหร่ายท่ีมีแคลเซียมคาร์บอเนตสะสม (crustose form หรือ coralline
algae) และสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินที่เป็น colony ใหญ่ ๆ วิธีนี้ใช้ได้ดี

มากสำหรับสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน เพราะสีจะไม่เปลี่ยนแม้ว่าจะเก็บไว้
เปน็ เวลานาน ๆ เมอื่ ตอ้ งการศกึ ษาจงึ นำมาแชน่ ้ำ

2. ดอง วิธีนี้จะทำใหร้ ปู ร่างคงท่ี เมือ่ ได้ตัวอย่างมาแล้วควรดองในน้ำยา
โดยเร็วที่สุด เพราะเน้ือเย่ือของสาหร่ายเกือบทุกชนิดอ่อนนุ่มและเป่ือยยุ่ยได้
ง่าย ก่อนดองควรแยกวัตถุที่ติดปนมาออกให้มากที่สุด ล้างน้ำให้หมดทราย
หรอื โคลนแลว้ จงึ ดองในนำ้ ยา ซึ่งมีอยูห่ ลายชนิด เชน่

2.1 สารละลายฟอร์มัลดีไฮด์ 4% เตรียมโดยผสมฟอร์มาลิน (40%
formaldehyde) 1 ส่วน ในน้ำ 9 ส่วน น้ำยาชนิดนี้ราคาถูก เตรียมได้ง่าย
และรกั ษาสีของสาหรา่ ยไวไ้ ด้ในระยะเวลาสั้น ๆ

2.2 สารละลายของนำ้ 6 สว่ น 95% เอทธลิ แอลกอฮอล์ (ethyalcohol)
3 ส่วน และฟอร์มาลิน 1 ส่วน ถ้าเติมกลีเซอรีน (glycerine) 5 ลูกบาศก์
เซนติเมตร ต่อน้ำยา 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะทำให้เนื้อเย่ือของตัวอย่าง
ไม่เสียแมว้ ่าน้ำยาจะระเหยไปหมด

2.3 สารละลาย FAA เตรยี มโดยผสม กรดเกลเซียลอะซตี ิค (glacial
acetic acid) 5 ลกู บาศก์เซนติเมตร ฟอรม์ าลิน 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร และ
น้ำ 35 ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงใน 95% เอทธิลแอลกอฮอล์ 50 ลูกบาศก์
เซนติเมตร


ค่มู ือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม
้ 49

แต่ถ้าใช้น้ำยาดองทั้งสามชนิดนี้ เม่ือเก็บไว้หลายวันสีจะซีด วิธีที่จะ
รักษาสขี องสาหรา่ ยอาจทำไดโ้ ดยแชใ่ นน้ำยารักษาสี ชนิดใดชนิดหนึ่งดงั ตอ่ ไป
นี้เปน็ เวลา 2–3 วนั แล้วจึงนำไปแช่สารละลาย FAA


2.3.1 น้ำยารักษาสีเขยี วแกมน้ำเงนิ เตรยี มโดย

(1) 50% เอทธลิ แอลกอฮอล ์ 90 ลูกบาศก์เซนติเมตร

(2) ฟอรม์ าลนิ 4 ลูกบาศก์เซนติเมตร

(3) กลีเซอรนี (glycerine) 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร

(4) กรดกลาเซยี ลอะซตี คิ 3 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร

(5) คอปเปอรอ์ ะซเี ตต (copper acetate) 10 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร

2.3.2 นำ้ ยารักษาสีเขยี ว

สูตรที่ 1

50% เอทธิลแอลกอฮอล ์ 90 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร

ฟอร์มาลนิ 4 ลูกบาศก์เซนติเมตร

กลเี ซอรนี 3 ลูกบาศก์เซนตเิ มตร

กรดกลาเซียลอะซีตคิ 3 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร

ควิ ปริคคลอไรด์ (cupric chloride) 9.5 กรมั

ยเู รเนียมไนเตรต (uranium nitrate) 1.5 กรมั


สูตรที่ 2
0.25 กรมั

ควิ ปริคซัลเฟต (cupric sulphate) 38 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร

นำ้ 4 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร

ละลายให้เขา้ กนั แลว้ เติม
8 ลกู บาศก์เซนติเมตร

กรดกลาเซยี ลอะซตี คิ 10 กรมั

ฟอร์มาลนิ
สตู รท่ี 3

โปรตสั เซยี มโครมอะลัม
(potassium chrome alum)


50 ค่มู อื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม


ฟอรม์ าลนิ 6 ลกู บาศก์เซนติเมตร

นำ้ กลนั่ 500 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร

การตดิ ตัวอย่างสาหร่ายบนกระดาษแข็ง

สง่ิ ทจี่ ำเปน็ สำหรบั การตดิ ตวั อยา่ งสาหรา่ ยบนกระดาษแขง็ คอื ถาดเคลอื บ
หรือถาดอะลูมิเนียม ขนาดประมาณ 30x60 เซนติเมตร กระดาษซับและ

ผา้ ขาวบางขนาดประมาณ 22x28 เซนติเมตร


ภาพท่ี 8 การอัดตวั อย่างสาหรา่ ยท่ีมีเนือ้ เยื่อออ่ นนุ่ม

ขั้นตอนการอดั ตัวอยา่ งสาหรา่ ยทีม่ ีเน้ือเย่อื อ่อนนุ่ม

1. นำตัวอย่างมาใส่ถาดท่ีบรรจุน้ำ ใช้เข็มหรือปากคีบเข่ียให้ก่ิงก้านแยก
จากกนั

2. สอดกระดาษแข็งเขา้ ไปใต้ตวั อยา่ ง จดั ให้สวยงาม

3. เอยี งถาดเลก็ นอ้ ยค่อย ๆ ยกกระดาษออกจากถาด

เนอื่ งจากสาหรา่ ยสว่ นมากมเี นอ้ื เยอื่ ออ่ นนมุ่ ไมส่ ามารถจดั บนแผน่ กระดาษ
โดยตรงได้ จึงต้องนำสาหร่ายมาใส่ในถาดท่ีบรรจุน้ำ (หรือน้ำทะเลถ้าเป็น
สาหร่ายทะเล) เขี่ยให้กระจายพอสมควร แล้วสอดแผ่นกระดาษแข็ง

คู่มอื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม
้ 51

(herbarium sheet) หรือกระดาษวาดเขียนเข้าไปใต้ตัวอย่างสาหร่าย

จัดเรยี งส่วนตา่ ง ๆ ให้เหมอื นในธรรมชาตหิ รือใหแ้ ผอ่ อกบางที่สุด ค่อย ๆ ยก
ออกจากถาด ถ้าเอียงถาดสักเล็กน้อยจะทำได้ง่ายขึ้น วางผ้าขาวบางปิดและ
สอดไว้ระหว่างกระดาษซับสองแผ่น แล้วจึงวางบนกระดาษฟางหรือกระดาษ
หนังสือพิมพ์ ในแผงอัดตัวอย่างเช่นเดียวกับพืชท่ีมีเนื้อเยื่อลำเลียง วันรุ่งขึ้น
ลอกผ้าขาวบางออก เปล่ียนกระดาษซับ กระดาษฟาง และกระดาษลูกฟูก
หลังจากเปลี่ยนกระดาษ 5–7 คร้ัง (ขึ้นอยู่กับจำนวนสาหร่ายในแผงอัด
ตัวอย่าง) ตัวอย่างก็จะแห้ง สาหร่ายพวกท่ีมีเมือกหรือวุ้นมักจะติดแน่นกับ
แผ่นกระดาษ ส่วนสาหร่ายที่ไม่ติดกระดาษต้องติดด้วยแถบกาวใสชิ้นเล็ก ๆ
หรือตรงึ ด้วยด้าย

การเก็บรักษาตัวอย่างโดยวิธีนี้ใช้ได้ดีสำหรับสาหร่ายท่ีมีความหนาไม่
มากนัก ทำให้สีไม่เปล่ียนแปลง เม่ือต้องการศึกษาก็อาจแบ่งออกมาแช่ใน

นำ้ อุ่น 50–60 องศาเซลเซียส ประมาณ 15–20 นาที สาหรา่ ยกจ็ ะกลบั คนื สู่
สภาพเดมิ

ในทางปฏิบัตินิยมอัดตัวอย่างลงในกระดาษที่แข็งพอสมควรก่อน เช่น
กระดาษวาดเขียน เมื่อแห้งดีแล้วจึงแกะตัวอย่างหรือตัดกระดาษนั้นไปติด

บนกระดาษแข็ง แล้วตดิ ปา้ ยบันทึกขอ้ มลู


ภาพท่ี 9 ตัวอย่างพรรณไม้แหง้ ท่ตี ิดบนกระดาษแข็ง


52 คู่มอื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้

ไบรโอไฟต์


ไบรโอไฟต์หรือตะไคร่ เป็นพืชท่ีมีขนาดค่อนข้างเล็ก แต่สามารถเห็นได้
โดยไมต่ อ้ งใช้แว่นขยาย มีจำนวนชนดิ มากมายประมาณ 25,000 ชนิด พบขนึ้
ในทต่ี า่ ง ๆ ทงั้ บนดนิ หนิ เปลอื กไม้ ใบไม้ ไมผ้ ุ ตอไม้ และบางชนดิ พบในนำ้ จดื
โดยท่ัว ๆ ไป ไบรโอไฟต์ชอบข้ึนในอากาศบริสุทธ์ิมักจะพบเป็นจำนวนมาก
และขนึ้ อยอู่ ยา่ งหนาแนน่ ตามปา่ ดบิ ชนื้ บนภเู ขาทส่ี งู เกนิ 1,000 เมตร ในเขตรอ้ น
เรียกป่าประเภทนั้นว่า ป่ามอส (mossy forest) ส่วนท่ีอ่ืน ๆ ไบรโอไฟต์

มักจะขึ้นกระจัดกระจายกันไปไม่หนาแน่นเห็นได้ง่ายอย่างในป่ามอส ปกติ
ไบรโอไฟต์ข้ึนใกล้กันเป็นกลุ่ม ลักษณะท่ีกลุ่มไบรโอไฟต์ข้ึนอยู่จะแตกต่างกัน
ตามชนดิ พวกตะไคร่แผ่น (thalloid liverwort และ horn wort) มักจะข้นึ
แผ่กระจายบนดิน หิน หรอื ไม้ผุ กลุ่มท่ีเร่ิมเจรญิ อาจจะเห็นเปน็ วง ๆ ถา้ เปน็
พวกท่ีเจริญมีอายุนาน ลักษณะกลุ่มท่ีเป็นวงคล้ายวงกลมจะหายไป เห็นแต่
แผ่นสีเขียวที่แตกสาขาเป็นคู่ ๆ พวกตะไคร่ต้น (moss) มีท้ังที่ขึ้นตรงและ
ทอดนอนไปตามพน้ื ผวิ ทข่ี นึ้ พวกตน้ ตงั้ ตรงจะเหน็ ใบเรยี งหมนุ รอบตน้ ลกั ษณะ
กลุ่มมี 3 แบบ คือ ข้ึนแผ่เป็นบริเวณกว้างต้นสูงในระดับเดียวกันเกือบ

ทั้งหมด (คล้ายสนามหญ้าท่ีตัดเรียบ) เรียกลักษณะการข้ึนเป็นกลุ่มแบบนี้ว่า
turf อีกแบบหน่ึงต้นบริเวณกลางจะสูงกว่าพวกที่อยู่รอบนอก (มีลักษณะ

กลุ่มคล้ายหมอน) เรียก cushion ถ้าต้นข้ึนตรงไปแตกกิ่งตอนใกล้ยอดต้น

ขนึ้ เป็นระยะ ๆ ไป เรียก canopy former สว่ นพวกทขี่ ้นึ ทอดขนานไปตาม
ผิวพ้ืน มักแตกกิ่งก้านสาขาไปได้มากมายและก่ิงก้านสาขาเหล่าน้ันมักจะขึ้น
ซ้อนกันแผ่คลุมเป็นบริเวณกว้างเรียก mat แต่ถ้าแตกก่ิงก้านไม่หนาแน่น

คลุมเปลือกไม้หรือหินเรียก weft ส่วนพวกตะไคร่เกล็ด (leafy liverwort)
มักพบขึ้นตามเปลือกไม้ ไม้ผุ หิน และดิน ลักษณะการเจริญมักแผ่กระจาย

ไปบนที่ ๆ ข้นึ และพบเจรญิ ปะปนกบั พวกตะไครต่ ้น








คมู่ ือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม
้ 53

การเก็บตวั อยา่ งในแหล่งธรรมชาต

1. อปุ กรณ์

1.1 มีดพับขนาดกลางและกรรไกรตดั กิ่งไมข้ นาดเลก็

1.2 ซองกระดาษสำหรับใส่ตัวอย่าง พับจากกระดาษหนังสือพิมพ์หรือ
กระดาษอัดสำเนาท่ีใช้แล้ว โดยกะแบ่งกระดาษเป็น 3 ส่วน พับซ้อนเข้าหา
กันตามยาวแล้วพับกลับตามขวางอีกครั้ง ซองกระดาษชนิดน้ีควรเตรียมไว้
ล่วงหน้าเป็นจำนวนมากพอที่จะใช้ในการออกไปเก็บตัวอย่างแต่ละคร้ัง มัด
บรรจไุ ว้ในถงุ พลาสติกหรอื ยา่ ม

1.3 สมุดบันทึกขนาดเล็กแบบท่ีดึงแผ่นกระดาษออกจากเล่มได้ง่าย
สำหรับจดรายละเอยี ดเก่ยี วกับลกั ษณะ (habit) และใหเ้ ลขที่

1.4 สมุดบนั ทึกประจำตวั สำหรบั จด วัน เดือน ปี สถานท่ี จำนวน และ
ชนิดของตัวอย่างท่ีเก็บ เป็นข้อมูลที่จำเป็นสำหรับผู้ที่สนใจจะเก็บตัวอย่าง
เพอื่ การศกึ ษาหรอื สง่ ใหส้ ถาบนั การศกึ ษาตา่ ง ๆ และสะดวกในการเรยี งลำดบั
หมายเลข ทำใหท้ ราบจำนวนตวั อย่างท่ีเก็บแต่ละครง้ั และทีเ่ กบ็ สะสมเพ่ิมขนึ้

1.5 แวน่ ขยาย ขนาดขยาย 10–20 เทา่

1.6 ดินสอดำ สำหรบั จดบันทึก

1.7 ย่ามหรอื ถงุ สะพายหลงั สำหรบั ใส่อุปกรณ์ดังกลา่ วขา้ งตน้

2. วิธเี กบ็ ตวั อยา่ ง

2.1 เลอื กกลมุ่ พชื ทข่ี นึ้ อยเู่ ปน็ จำนวนมากและพยายามเกบ็ จากกลมุ่ พชื ที่
เจรญิ ดพี อสมควร ถา้ มสี ปอโรไฟต์ (sporophyte) อยดู่ ว้ ย กจ็ ะเปน็ การสะดวก
ในการตรวจสอบชนิด

2.2 ไบรโอไฟต์พวกที่ขึ้นบนดินหรือดินตามซอกหิน ใช้ปลายมีดแซะให้
ตดิ ดนิ บาง ๆ

2.3 พวกท่ีข้ึนบนเปลือกไม้ ตอไม้ ไม้ผุ ให้ตัดหรือแซะส่วนของเปลือก
ไม้มาด้วย

2.4 ถา้ พบขน้ึ บนกง่ิ ไมข้ นาดเลก็ ใชก้ รรไกรตดั กง่ิ ไมม้ าเปน็ ทอ่ นเลก็ ๆ


2.5 พวกทข่ี นึ้ บนใบไม้ ใหเ้ ดด็ ใบไมม้ าทงั้ ใบถา้ ใบใหญเ่ กนิ ไปใหพ้ บั ใหเ้ ลก็ ลง


54 คมู่ อื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้

22..66 óพüวÖกìทęĊ×ี่ขċĚîึ้นđÖเกćาąะĒแîนŠî่นÖกĆïับĀหĉîินđðเปŨî็นóพüวÖกìทęĊđ่ีเÖกĘï็บĕไéดš÷้ยćาÖก ĔใĀหšĔ้ใßชšö้มĊéีดĒแàซąะĒแúลąะ
ลúอĂกÖใĔหĀห้Āš ลúุดčéจÝาćกÖหĀินĉîอĂย÷่าćŠ งÜรøะąวüังÜĆ

22.7.7 îนćĞ êำตüĆ Ăวั อ÷ยŠćา่ÜงìทęĊđÖเี่ กĘïบ็ ĕไéดĔš ใ้ÿสŠĔใ่îนàซĂอÜงóพøรĂšอ้ öมìทงĆÜĚั้ กÖรøะąดéาćษþบïนั îĆ ทìกึ Öċ รøาćย÷ลúะąเอđĂยี ÷Ċดé

ĔใîนÖกćาøรđเÖกĘï็บêตĆüัวĂอ÷ยŠć่าÜงĒแêตŠú่ลąะßชîนĉéิด ÙคüวøรđเÖกĘï็บĔใĀหšö้มĊÝีจĞćำîนüวîนöมćาÖกóพĂอìทęĊÝี่จąะîนĞćำÿสŠü่วîน
หĀนîึ่งęċÜไĕปðศýึกċÖษþาćลúักĆÖษþณèะąตê่าŠćงÜ ėๆ đเóพČęĂ่ือêตøรüวÝจÿสĂอïบßชîนĉéิด ĒแúลąะĂอĊÖีกÿสŠü่วîนĀหîนęċÜ่ึงÿสĞćำĀหøรĆïับìทĞćำ

ตêัวĆüอĂย÷่าŠćงÜแĒหĀ้งšÜ ÿสŠü่วîนÖกćาøรïบĆîันìทċÖึกđเÖกĊę÷่ียüวÖกĆïับìทĊęĂี่อćาýศĆ÷ัยîนĆĚîั้น ëถšć้าđเÖกĘï็บêตĆüัวĂอ÷ยŠć่าÜงđเðปŨî็นÝจĞćำîนüวîน
มöาćกÖจÝาćกÖทìี่เęĊđดéียĊ÷วüกÖันĆî ĂอćาÝจÝจąะïบĆîันìทċÖึกđเÞฉóพćาąะêตĆüัวĂอ÷ยŠć่าÜงĒแøรÖก Ēแúลšü้วÝจéดĀหöมćา÷ยđเúล×ข×ขĂอÜง
ตêวัĆüอĂย÷า่ćŠ งÜอĂน่ื îČę ๆėจÝาćกÖทìเี่ ดęĊđéยี ÷Ċ วüกÖนั îĆ ไวĕü้ เšมđöอื่ ĂęČย÷า้ ยšćท÷ìไ่ี ปĊęĕðเกđบ็ÖบïĘ รïเิ øวĉđณüèอนื่ ĂกęîČ ท็ ÖำìĘ เชćĞ น่đßเดîŠ ยีđéว÷Ċกüนั Ö
îĆ

3. กÖาćรøเđกÖบ็ĘïรøักĆÖษþาćแĒลúะąบïันîĆ ทìึกÖċ ข×้อĂš มöลูĎú

33..11îนĞćำàซĂอÜงêตĆüัวĂอ÷ยŠć่าÜงöมćาüวćาÜงÖกøรąะÝจćา÷ยìทĚĆÜั้งàซĂอÜง ĔใîนìทęĊø่ีรŠö่มĂอćาÖกćาýศëถŠć่า÷ยđเìทÿสąะéดüวÖก
ทìิ้งĚĉÜไĕวü้ปšðรøะąมöาćณè 1–2 ÿสĆðัปéดćาĀหŤ์ ĔใĀหšĒ้แĀหšÜ้งĕไðปìทĊúีลąะîนšĂ้อ÷ย ēโéด÷ยĕไöมŠê่ตšĂ้อÜงĂอïบĀหøรČĂือĂอĆéัดĒแñผÜง

ข×อ้Ăš คÙวüรøรøąะüวĆÜงั ÖกĘÙค็ อĂČื ไĕöมเđŠ่ ÖกบïĘ็ êตวĆüั Ăอ÷ยćŠา่ ÜงÿสéดĕไüวšĔใ้ îนìทøĊęร่ี Ăšอ้ îนĒแúลąะßชČĚîน้ื îนćาîนđÖเกîĉ นิ ÙคüวøรÝจąะìทĞćำĔĀใหšđîเ้ นćŠ Üา่ ćŠง÷า่ ย

33..22 îนĞćำêตĆüัวĂอ÷ยŠć่าÜงĒแĀหšÜ้งĕไðปĒแ÷ยÖกßชîนĉéิด Ēแúลšü้วđðเปúลĊę÷่ียîนĕไðปïบøรøรÝจčĔุใîนàซĂอÜงĔใĀหöมŠ×่ขîนćาéด
10x12.5 đเàซîนêตđĉเิ öมêตøร ((úลÖĆ กั þษèณąะÖกćาøรóพïĆ บั àซĂอÜงđßเชŠîน่ đเéดĊ÷ยี üวÖกĆïบั ìทĊęĔใ่ีßชšĔใ้ îนÖกćาøรđเÖกĘïบ็ ÿสćาĀหøรŠćา่ ÷ย))
พóรøอ้šĂมöทìงั้ÜĆĚ เđข×ียĊ÷นîบïันĆîทìกึċÖหĀนîา้šćซàอĂงÜดéังĆÜตêัวĆüอĂย÷่าŠćงÜ


Herbarium No. 4168
DEPT, OF BOTANY, CHULALONGKORN UNIVERSITY

BANGKOK, THAILAND
Name Frullanai apiculata (Reinw., Blume & Nees) Dumort.
* Det. S. Hattori
* Hab. on fallen branch
* Loc. Khao Yai, Nakon Nayok, alt. ca 800 m.
* Coll. O. Thaithong No. 293

Date 31. 12. 2518
N.B. with young sporophyte

* Det. = Determinator ñšĎêøüÝÿĂïßîéĉ
* Hab. = Habitat ìĂĊę ćý÷Ć
* Loc. = Locality ëĉîę åćî
* Coll. = Collector ñšđĎ ÖïĘ

คู่มอื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม
้ 55

ข้อควรระวังในการเก็บตัวอย่างแห้ง คือพยายามแยกตัวอย่างให้มีเพียง
ชนิดเดียวในแต่ละซอง ถ้าไม่สามารถแยกได้ทั้งหมด ควรแยกมา 2–3 ต้น

ใสซ่ องกระดาษเลก็ เขยี นชอ่ื แลว้ ใสไ่ วใ้ นซองเดมิ ในกรณที พ่ี ชื มอี บั เซลลส์ บื พนั ธ์ุ
(gametangium) หรือสปอโรไฟต์น้อยก็ควรแยกใส่ซองเล็กเขียนช่ือแล้ว

เกบ็ ไวใ้ นซองใหญเ่ ดิมเชน่ เดียวกัน

3.3 ซองตวั อยา่ งทเ่ี ขยี นบนั ทกึ เรยี บรอ้ ยแลว้ นำไปเกบ็ ไวใ้ นกลอ่ งกระดาษ
กล่องไม้ หรือลิ้นชักท่ีมีขนาดพอเหมาะท่ีจะบรรจุซองโดยสะดวกพร้อมท้ังใส่

ยากันแมลงประเภทลูกเหมน็ ไวด้ ว้ ยและหม่ันเตมิ ยากนั แมลงทกุ ๆ 2 เดือน

3.4 ไบรโอไฟต์บางชนิดมีขนาดเล็กและบอบบางมากอาจเก็บรักษาโดย
การดองในน้ำยาท่ีมีส่วนผสมของ 70% เอทธิลแอลกอฮอล์ ฟอร์มาลินและ
กรดอะซิติค ในอัตราส่วน (ปริมาตร) 18:1:1 หรือเก็บในน้ำยารักษาสีเขียว
ตามสตู รเดยี วท่ใี ชก้ บั พืชพวกสาหร่าย

การเก็บและรักษาตัวอย่าง ไลเคน (lichens) ทำเช่นเดียวกับพืชพวก

ไบรโอไฟต์


พชื ท่ีมีเนือ้ เยือ่ ลำเลยี ง


หลักท่ีควรคำนึงคือ “เก็บพรรณไม้ท่ีดี 10 ช้ิน ดีกว่าเก็บพรรณไม้ที่ใช

ไม่ได้100 ช้ิน” ดังน้ันจึงควรทราบวิธีการเก็บพรรณไม้ท่ีสามารถนำเอาไปใช้
ประโยชน์ และควรทราบด้วยว่าพืชในแต่ละกลุ่มควรจะเลือกเก็บอะไร จึง
สามารถนำไปตรวจ หาชื่อได้ ตามปกติในการตรวจหาชื่อของพรรณไม้มักใช้
ลกั ษณะทม่ี กี ารผนั แปร เปลยี่ นแปลงนอ้ ยทส่ี ดุ ซงึ่ ไดแ้ กส่ ว่ นทใี่ ชใ้ นการสบื พนั ธุ์
เช่น อับสปอร์ strobilus ดอก และผล เป็นต้น ทั้งนี้ต้องอาศัยรูปพรรณ
สณั ฐานของพืชส่วนอื่น ๆ ประกอบด้วย โดยทั่ว ๆ ไปมีหลักที่ควรทราบกอ่ น
จะเก็บตัวอย่างพรรณไมด้ งั น
้ี
1. พรรณไม้ท่ีเก็บน้ันควรคำนึงว่าจะนำไปติดบนกระดาษติดตัวอย่าง
พรรณไม้ซึง่ มขี นาดประมาณ 30x42 เซนตเิ มตร ดงั นัน้ ควรพยายามเลอื กเก็บ
ต้นหรือก่ิงทีม่ ขี นาดพอเหมาะ


56 ค่มู ือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้

2. พยายามเลือกเก็บต้นหรือกิ่งที่มีลักษณะปกติ ไม่เก็บต้นท่ีกำลังเหี่ยว
แมลงกดั ไฟไหม้ หรือเปน็ โรค

3. เม่ือเก็บตัวอย่างพรรณไม้ที่มีขนาดเล็ก จะต้องเก็บทั้งต้นให้ติดราก
และควรเก็บต้นท่ีมีขนาดปานกลาง ทั้งน้ีควรบันทึกช่วงขนาดของต้นท่ีพบ
ด้วย แต่หากพรรณไม้ท่ีจะเก็บมีความสูงต่างกันระหว่าง 3–10 เซนติเมตร
สามารถนำมาตดิ บนกระดาษแขง็ แผน่ เดยี วกันได้

4. ใบของพชื บางชนดิ มรี ปู รา่ งหลายแบบ ควรเลอื กเกบ็ ใหไ้ ดค้ รบทกุ แบบ

5. พยายามทำตัวอย่างที่เก็บให้สะอาด พรรณไม้ท่ีมีลำต้นใต้ดินหรือมี
รากสะสมอาหาร ต้องพยายามขุดอย่างระมัดระวังไม่ให้ลักษณะบางอย่างผิด
ไปจากเดิม พยายามทำให้ดินและกรวดทรายออกให้หมด อาจทำได้โดยการ
ล้างหรอื เคาะกับพ้ืนดินหรอื ก้อนหนิ เบา ๆ

6. ควรเกบ็ ตวั อยา่ งพรรณไมแ้ ตล่ ะหมายเลขใหม้ ปี รมิ าณทพี่ อเพยี งสำหรบั
ความต้องการท่ีจะใช้ โดยท่ัวไปจะเก็บประมาณ 4–6 ชิ้น หากต้องการท่ีจะ
แลกเปลยี่ นกับพพิ ิธภัณฑ์พืชแห่งอน่ื ๆ กค็ วรจะเกบ็ มากกว่านี้

7. ขณะทเ่ี กบ็ ตวั อยา่ งควรเตรยี มถงุ พลาสตกิ ทมี่ ขี นาดตา่ ง ๆ กนั พรรณไม้
ท่ีมีขนาดใกล้เคียงกัน ควรใส่ไว้ในถุงเดียวกัน ถุงที่ใส่ให้มีขนาดพอเหมาะ

กับต้นหรือกิ่ง เมื่อใส่พรรณไม้มากพอสมควรแล้วมัดปากถุงเพ่ือรักษา
ความชน้ื ภายในถงุ พรรณไมท้ ตี่ ดั มาจะไดไ้ มเ่ หยี่ วเรว็ ถงุ ทใี่ สพ่ รรณไมเ้ ตม็ แลว้ มี
หลาย ๆ ถงุ ใสร่ วมกันในถงุ ใหญ่ พวกทม่ี ีลำตน้ บอบบางควรเอาไว้ด้านบน ๆ

เพอ่ื ป้องกนั การกระทบกระทงั่ ซ่งึ อาจจะเสยี รูปไปได้

พรรณไม้ที่ใส่ถุงเม่ือมีปริมาณมากพอสมควร ควรอัดลงแผงหรือถ้า

ระยะทางจากท่ีเก็บไม่ไกลจากท่ีพักมากนัก ก็ควรนำกลับมาอัดลงแผงท่ีท่ีพัก
ซึง่ สะดวกกวา่ การอัดระหวา่ งเกบ็ ตัวอย่าง

8. พรรณไม้บางชนิดท่มี สี ว่ นบอบบางเห่ยี วง่าย ควรอดั ลงแผงในทันท

9. พรรณไม้ที่เก็บทุกชนิดในแต่ละท้องท่ี ให้ผูกป้ายหมายเลขซ่ึงเขียน
หมายเลขของพรรณไม้ให้ตรงกับหมายเลขของสมุดบันทึก ถ้าชนิดเดียวและ
เกบ็ ทเ่ี ดยี วกัน ให้จดจำนวนชิน้ ของชนดิ นัน้ ๆ ด้วย


คูม่ อื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้
57

การเกบ็ ตัวอยา่ งในแหล่งธรรมชาติ

1. อุปกรณ


1.1 แผงอดั พรรณไม้ มลี กั ษณะเปน็ แผน่ สเี่ หลยี่ มผนื ผา้ ประกบกนั 2 อนั
ขนาดประมาณ 30x45 เซนตเิ มตร วัสดุทใ่ี ช้อาจจะเปน็ ไมห้ รือโลหะขน้ึ อยู่กบั
ความสะดวกแต่ควรจะมีน้ำหนักเบา แผงน้ีจะต้องมีเชือกมัดอีกสองเส้น

เพื่อประโยชน์ในการอัดพรรณไม้ให้เรียบ ไม่หงิกงอเม่ือแห้ง ควรใช้เชือกแบน
เช่น ไสต้ ะเกยี งขนาดกวา้ งประมาณ 2.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 1.5 เมตร
ปลายเชือกข้างหนึ่งควรทำเป็นห่วงเพื่อสะดวกในการร้อยเชือกผูกเวลาอัด
เชือกผูกนใ้ี ชเ้ ข็มขัดผา้ ใบหรอื เข็มขัดหนงั แทนกไ็ ด

1.2 กรรไกรชกั หรอื ขวาน กรรไกรตดั กง่ิ ไม้ มดี พบั และพลว่ั หรอื เสยี ม
กรรไกรชกั หรอื ขวานใชส้ ำหรบั ตดั กิ่งไม้ท่อี ย่สู งู ๆ เป็นท่อน ๆ แลว้ ใชก้ รรไกร
ตัดกิ่งไม้ตัดแต่งให้ได้ขนาดพอดีก่อนท่ีจะอัดลงในแผง มีดพับใช้สำหรับแซะ
พืชที่ติดอยู่ตามกิ่งไม้หรือตามก้อนหิน พลั่วหรือเสียมสำหรับใช้ขุดพรรณไม้ที่
จำเป็น ตอ้ งใช้รากหรอื ต้นที่อยู่ใตด้ นิ

1.3 ถงุ พลาสตกิ สำหรบั ใสพ่ รรณไมแ้ ตล่ ะชนดิ ทตี่ ดั เปน็ กง่ิ เลก็ ๆ เรยี บรอ้ ย
แลว้ เนื่องจากพรรณไม้มีขนาดต่าง ๆ กนั จึงควรมีถุงพลาสติกหลาย ๆ ขนาด
เพ่ือให้ใส่ตัวอย่างแล้วมัดปากถุงได้พอดี ควรเลือกใช้ถุงพลาสติดชนิดหนา

เพ่ือเป็นการประหยัด เพราะใช้เสร็จแล้วสามารถล้างน้ำเก็บไว้ใช้ครั้งต่อไปได้
นอกจากจะใชถ้ ุงพลาสติกยังอาจเลือกใช้ถุงผา้ หรอื กลอ่ งกระดาษกไ็ ด้

1.4 กระดาษอดั พรรณไม้ นยิ มใชก้ ระดาษหนงั สอื พมิ พ์ 1 คู่ พบั ครงึ่ ตาม
ขวางสำหรับอัดพรรณไม้ 1 ชิน้ คน่ั กลางด้วยกระดาษลกู ฟกู แขง็ ซึง่ มรี ่องตาม
ขวาง กระดาษหนังสือพิมพ์จะช่วยซับน้ำจากพรรณไม้ให้แห้ง ส่วนกระดาษ
ลูกฟูกแข็งจะช่วยทำให้พรรณไม้เรียบเสมอกันและช่วยระบายความชื้นออก
ทางร่องของลูกฟกู ด้วย

1.5 สมดุ บนั ทกึ ใชส้ ำหรบั จดรายละเอยี ดตา่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วกบั พรรณไม้ เชน่
วัน เดอื น ปี ท่ีเก็บ ลกั ษณะ ท่อี าศยั ถ่นิ ฐาน (Locality) ชอ่ื พ้ืนเมือง (Local
name) ระดับความสูง และลักษณะเด่นของพรรณไม้ที่อาจเปลี่ยนแปลงไป

58 คูม่ อื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้

เมื่อทำเป็นตัวอย่างแห้ง เช่น การมียาง สีของดอกและผล กลิ่นของใบ ดอก
ผล รสของผล ลักษณะของเปลือกไม้ เป็นต้น สมุดบันทึกควรมีขนาดท่ี
สามารถพกพาติดตวั ได้ง่าย

1.6 ปา้ ยกระดาษแขง็ สำหรบั ตดิ พรรณไม้ ขนาดประมาณ 2x3 เซนตเิ มตร
ปลายข้างหนึง่ เจาะรรู ้อยด้ายทบเปน็ 2 ทบ ยาวประมาณ 10 เซนตเิ มตร ใช้
สำหรบั ผกู และเขียนหมายเลขของตวั อยา่ งใหต้ รงกับหมายเลขของสมดุ บนั ทึก

1.7 ดนิ สอดำ ใชส้ ำหรบั บนั ทกึ ขอ้ ความในสมดุ บนั ทกึ และเขยี นหมายเลข
บนปา้ ยกระดาษแข็ง ไมน่ ยิ มใชป้ ากกาเพราะตวั หนงั สอื อาจเลอะเลือนได้

1.8 เครอื่ งวดั ระดบั ความสงู (altimeter) ใชส้ ำหรบั วดั ดวู า่ พรรณไมท้ ี่
ข้ึนอยู่ในพ้ืนท่ีท่ีสูงจากระดับน้ำทะเลเท่าไร ความสูงอาจเป็นฟุตหรือเมตร

ข้นึ อยู่กบั มาตราของเครื่องวัดแตล่ ะชนดิ

1.9 กลอ้ งถา่ ยรปู ควรเปน็ กลอ้ งทสี่ ามารถตดิ เลนสถ์ า่ ยใกล้ (close–up
lens) ใชส้ ำหรบั ถา่ ยภาพตวั อยา่ งพรรณไมไ้ ดท้ ง้ั หมด ลกั ษณะ ทอี่ าศยั เปน็ ตน้

1.10 เทปวัดระยะ

อปุ กรณอ์ นื่ ๆ นอกเหนอื จากนคี้ วรมตี ดิ ตวั เชน่ แวน่ ขยาย (กำลงั ขยาย
10–20 เทา่ ) และกล้องสอ่ งทางไกล เป็นตน้


ภาพท่ี 10 อปุ กรณ


คู่มือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม
้ 59

2. วธิ เี กบ็ ตัวอย่าง

พืชแตล่ ะกลมุ่ มวี ิธีการเก็บแตกต่างกนั ดงั นี

2.1 พชื พวกเฟนิ และกลุม่ ใกลเ้ คียงกบั เฟนิ (Fern and fern allies)พืช
กลุ่มใกล้เคียงกับเฟินได้แก่ พืชที่อยู่ในสกุล Psilotum, Lycopodium,
Selaginella และ Equisetum การเก็บพืชดังกล่าวถ้าเป็นพวกท่ีมีขนาดไม่
ใหญ่โตนัก ให้เก็บทั้งต้นให้ติดรากและควรมีอับสปอร์หรือ sporocarp หรือ
strobilus ติดมาด้วย

เฟนิ ที่มีขนาดใหญ่ เชน่ tree fern ใหเ้ กบ็ ใบบางสว่ นท่มี ีอบั สปอร์ สว่ น
ของก้านใบบริเวณท่ีมีขนหรือเกล็ด บันทึกขนาดความสูงของต้น ขนาดของ
แผ่นใบและจำนวนคู่ใบยอ่ ย

ในกรณีใบที่สร้างและไม่สร้างสปอร์มีรูปร่างและขนาดต่างกันควรเก็บ
ตัวอย่างใบให้ได้ครบทุกแบบ เฟินบางชนิดต้องเก็บใบอ่อนด้วย เน่ืองจาก

ใบอ่อนอาจจะมีสิ่งปกคลุม เช่น ขนหรือเกล็ด ซ่ึงมักจะหลุดร่วงง่ายไม่พบ

ในใบที่เจริญเตม็ ทีแ่ ล้ว

2.2 พืชเมล็ดเปลือย (Gymnosperm) พืชกลุ่มนี้บางชนิดแยกออกเป็น

ตน้ ตวั ผแู้ ละตน้ ตวั เมยี (dioecious plant) และพวกทไี่ มแ่ ยกตน้ (monoecious
plant) การเก็บจะต้องเก็บกิ่งท่ีมีใบ male cone (microsporangiate
strobilus), female cone (megasporangiate strobilus) หรือกลุ่มของ
megasporophyll เปลือก เมลด็ และตน้ อ่อน

สำหรับพวกท่ีมีลำต้นขนาดใหญ่และไม่แตกกิ่งก้านสาขา เช่น ปรง
(Cycas spp.) เก็บใบทัง้ ใบรวมท้ังก้านใบและวัดขนาดความสงู ของต้นด้วย

2.3 พชื ดอก (Angiosperm) ควรเกบ็ ทง้ั ดอกและผล พชื ประเภทไมล้ ม้ ลกุ
และไมพ้ มุ่ ไมค่ อ่ ยมปี ญั หา แตส่ ำหรบั ไมย้ นื ตน้ คอ่ นขา้ งมปี ญั หามาก โดยเฉพาะ
อยา่ งยง่ิ ในปา่ ดงดบิ ทม่ี พี รรณไมข้ นึ้ หนาแนน่ ซง่ึ มกั จะมองเหน็ ยอดของไมย้ นื ต้น
ได้ยาก จึงอาจจะต้องใชก้ ล้องส่องทางไกลส่องหาดอกและผล หรอื คอยสังเกต
แมลงท่ีบินผสมเกสร เมื่อหาพบแล้วอาจจะใช้ปืนยิงกิ่งที่มีดอกหรือผล

ให้ตกลงมา บางคนใช้เคร่ืองยิงพวกหนังสต๊ิก โดยใช้ก้อนตะก่ัวที่มีขนาด


60 คมู่ อื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม


พอเหมาะผูกติดกับสายเอ็นแล้วยิงตะกั่วให้พาดคล้องกิ่งไม้ที่ต้องการจากนั้น
ออกแรงดึงให้ก่ิงไม้หัก วิธีนี้ต้องใช้สายเอ็นท่ีมีขนาดเล็กแต่มีความเหนียว
ทนทานสามารถรับน้ำหนักได้มาก นอกจากจะเก็บดอกหรือผลจากต้น
โดยตรงแล้วถ้าตรวจดูตามพ้ืนดินรอบ ๆ ต้น อาจจะพบดอกหรือผลตกอย่ ู

แต่จะต้องแน่ใจว่าเป็นดอกหรือผลของต้นท่ีต้องการจริง ๆ พืชดอกบางกลุ่ม
มีวิธีการเก็บทแ่ี ตกต่างจากพชื กลุ่มอนื่ ๆ ดงั นี้

2.3.1 พชื พวกกกและหญา้ ขดุ ทง้ั ตน้ ใหต้ ดิ ราก ซง่ึ รวมทงั้ ไหลดว้ ยถา้ มี
และพยายามเกบ็ ตน้ ที่ตดิ ผลแลว้

2.3.2 ไผ่ ควรถ่ายภาพหรือสเก็ตช์ภาพเพ่ือแสดงลักษณะข้อ ปล้อง
และเหง้า (rhizome) ก่อนท่ีจะแยกเก็บแต่ละส่วน และใช้ป้ายกระดาษผูก
ส่วนต่าง ๆ โดยใช้หมายเลขเดียวกันสำหรับส่วนท่ีเก็บจากต้นเดียวกัน ส่วน
ต่าง ๆ ทีต่ ้องเกบ็ มีดังน้

(1) กาบไผ่ เก็บอย่างน้อย 2 อัน เลือกเก็บกาบท่ีสมบูรณ์ไม่ฉีกขาด
จากลำท่ีเจริญเตม็ ท่ีแลว้ โดยเก็บจากข้อท่ี 5 ขน้ึ ไป ผูกหมายเลขและจดข้อที่
เก็บ พยายามระวังปลายสุดของกาบอย่าให้หัก เวลาอัดให้อัดแผ่แบนถ้าไม่
สามารถแผ่กาบโดยท่ีไม่เกิดความเสียหายแก่กาบได้ให้ปล่อยให้ม้วนโดยใช้
กระดาษหมุ้ ไว้ไม่ต้องอดั

(2) แขนงไผ่เล็ก ๆ (leafy twig) พยายามเลือกกิ่งที่มีหลายขนาด

ทง้ั แก่และออ่ น ทั้งใบที่ดแี ละใบทเี่ ปน็ โรค ใหอ้ ัดลงแผงอัดพรรณไม้ทนั ที

(3) กิ่งไผ่ (branch complement) เก็บกง่ิ ไผจ่ ากบริเวณกลางลำไผ่
ท่ีเจริญเต็มท่ี (เก็บให้ติดลำไผ่ท่ีกิ่งติดอยู่) ให้ยาวอย่างน้อย 30 เซนติเมตร
ส่วนก่ิงอ่ืน ๆ ที่ติดมาให้ตัดทิ้งได้ แต่ให้เหลือโคนประมาณ 5 เซนติเมตร ใช้
กระดาษผูกหมายเลขและจดขอ้ ทก่ี ง่ิ ตดิ อย
ู่
(4) ข้อและปล้องไผ่ เลือกลำไผ่ที่โตเต็มท่ีผ่าตามยาวให้ติดข้อที่ 4
และ 5 ตดั กิ่งอนื่ ๆ ทตี่ ิดมาให้เหลอื โคนกงิ่ ยาวประมาณ 5 เซนติเมตร

(5) เหงา้ ไผ่ ขดุ เหงา้ ทสี่ มบรู ณ์ นำมาล้างทำความสะอาดและตดั ราก
อาจจะถ่ายภาพหรือสเก็ตช์ภาพแทนท่ีจะเก็บตัวอย่าง แต่เมื่ออัดภาพมาแล้ว
ตอ้ งใส่หมายเลขให้ตรงกนั ด้วย


คู่มือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้
61

(6) กง่ิ ทมี่ ดี อก (ถา้ ม)ี พยายามเกบ็ กง่ิ ทต่ี ดิ ดอกใหย้ าวทสี่ ดุ เพอื่ แสดง
ความผันแปร (varaibility) พยายามหาผลซึ่งมักหลุดร่วงง่ายเมื่อแก่เต็มที่

ช่อดอกย่อย (spikelet) ให้ใช้กระดาษหุ้มไว้เพ่ือป้องกันการฉีกหักสูญหาย
เน่อื งจากต้องนับจำนวนดอกยอ่ ย

(7) ตน้ ออ่ น (seedling) พยายามหาตน้ ออ่ นทขี่ น้ึ ใกลต้ น้ ทกี่ ำลงั มดี อก
ผูกหมายเลขแยก แต่พยายามคาดหมายต้นพ่อแม่ พยายามหาต้นอ่อนที่ยังมี
เปลอื กหมุ้ เมล็ดตดิ อยู่

เมื่อเก็บส่วนต่าง ๆ ครบแล้ว ให้บันทึกลักษณะต่อไปน้ี ลักษณะของ

กอไผ่และลำไผ่ ความสูง (ที่สุด) ของลำไผ่และเส้นผ่าศูนย์กลางที่ฐาน ความ
ยาวและเส้นผ่าศูนย์กลางของปล้องท่ี 5 ความยาวของปล้องท่ียาวท่ีสุดและ
เป็นปล้องที่เท่าใด เขียนแผนที่คร่าว ๆ แสดงตำแหน่งท่ีพบเน่ืองจากอาจจะ
ตอ้ งกลับมาดอู ีก

2.3.3 การเกบ็ ปาลม์ (Palm) ปาลม์ มขี นาดตา่ ง ๆ กนั ตงั้ แตข่ นาดเลก็
ขึ้นอยู่ตามพื้นป่าจนถึงมีขนาดใหญ่ซึ่งก็จะมีใบและช่อดอกขนาดใหญ่ด้วย
ก่อนเก็บจะต้องถ่ายภาพปาล์มทั้งต้น ถ่ายรูปใบและแสดงขนาด ควรมี
มาตราสว่ นเปรยี บเทยี บแสดงการตดิ ของกา้ นใบกบั ตน้ ถา่ ยรปู ชอ่ ดอกเนอ่ื งจาก
ใบและช่อดอกมีขนาดใหญ่มาก ควรตัดแบ่งเป็นส่วน ๆ ผูกป้ายกระดาษแข็ง
และเขียนหมายเลขให้ตรงกันทุกช้ิน ใบซึ่งมีขนาดใหญ่ให้ตัดแผ่นใบด้านหนึ่ง
ออกใหเ้ หลือเพียงครง่ึ เดยี วแลว้ ตัดแบ่งเปน็ ท่อน ๆ พยายามให้ตวั อยา่ งแต่ละ
ส่วนอยู่ในสภาพท่ีดี ไม่ว่าจะเป็นส่วนปลายยอด ส่วนกลางแผ่นใบ ส่วนโคน
ใบ หรือส่วนก้านใบ ปาล์มบางชนิดมีกาบหุ้มช่อดอกต้องเก็บกาบหุ้มช่อดอก
ดว้ ย ชอ่ ดอกที่เก็บต้องมีทง้ั ดอกตวั ผูแ้ ละตวั เมีย นอกจากนต้ี ้องเก็บผลดว้ ย

2.3.4 เตยไดแ้ กพ่ ชื ทอ่ี ยใู่ นสกลุ Pandanus มขี นาดตา่ ง ๆ กนั ตน้ แยกเพศ
เป็นต้นตัวเมียและตัวผู้ ก่อนเก็บตัวอย่างควรถ่ายภาพหรือวาดภาพแสดง
ลักษณะลำตน้ โคนต้น รากค้ำจุน (prop root) กิ่งท่ีตดิ ดอกและผล บนั ทึกสี
ของสว่ นตา่ ง ๆ ตอ่ ไปนี้ เปลอื ก หนาม (spine) ใบ ชอ่ ดอก ผลรวมและผลยอ่ ย
แล้วเก็บส่วนต่าง ๆ ดังน้ี ใบท้ังใบต้องมีส่วนโคนใบและปลายยอดที่อยู่ใน

62 คมู่ ือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม


สภาพดี เปลือกของต้นที่เจริญเต็มท่ี รากค้ำจุนยาวประมาณ 30 เซนติเมตร
ชอ่ ดอกและผล

ใบของเตยมลี กั ษณะพเิ ศษคอื มหี นามทขี่ อบใบและเสน้ กลางใบ ซงึ่ ใช้
ประกอบในการตรวจหาชอ่ื ดังนน้ั เวลาอดั อยา่ ตัดหรอื แกะหนามออก

2.3.5 การเก็บพวกไม้นำ้ ไม่ว่าจะเป็นพวกลอยนำ้ พวกจมใตน้ ำ้ หรือ
พวกครึ่งจมคร่ึงลอย เวลาเก็บต้องเก็บท้ังต้นใส่ถังหรือถุงพลาสติกแช่ไว้ให้
เหมือนสภาพเดิม ไม้พวกครึ่งจมคร่ึงลอยหลายชนิดมีใบที่จมอยู่ในน้ำและใบ
ที่โผลพ่ ้นน้ำแตกตา่ งกนั ควรพยายามเก็บให้ครบทุกแบบ

2.3.6 การเกบ็ พวกกระบองเพชร (Cactus) พชื กลมุ่ นม้ี ลี กั ษณะพเิ ศษคอื
ต้นและใบจะอวบน้ำ เน่ืองจากมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมที่
ขาดแคลนน้ำ เริ่มแรกต้องถ่ายภาพท้ังต้นโดยมีมาตราส่วนเปรียบเทียบขนาด
(เน่ืองจากเน้ือเยื่อของพืชพวกน้ีจะหดตัวเมื่อแห้ง) บันทึกสีของดอกและผล
หากมีลำต้นขนาดใหญ่ให้ตัดลำต้นเป็นแผ่น ๆ ทั้งตามยาวและตามขวาง
(ภาพท่ี 11) โดยให้มีส่วนลำต้นที่แสดงการติดกับดอกหรือผล เนื่องจากดอก
และผลมกั จะอวบน้ำจึงควรผ่าคร่ึงหรอื ผา่ เป็นแผ่น ๆ เพ่ือให้แห้งง่าย

2.3.7 การเกบ็ พชื ทม่ี ใี บอวบหนาขนาดใหญ่ พชื กลมุ่ นม้ี กั มลี ำตน้ สนั้ ๆ
ใบเป็นกระจุก ตัวอย่างเช่น พลับพลึง ศรนารายณ์ เป็นต้น บางชนิดมีใบ
ขนาดใหญ่ สว่ นช่อดอกอาจจะยาวถึง 9 เมตร โดยมเี สน้ ผ่าศูนย์กลางช่อดอก
ประมาณ 1.7–2.4 เมตร ก่อนเก็บตัวอย่างพืชกลุ่มนี้จะต้องถ่ายภาพทั้งต้น
แสดงลกั ษณะใบและชอ่ ดอกโดยมมี าตราสว่ นเปรยี บเทยี บขนาด บนั ทกึ สดี อก
ฝานช่อดอกเป็นชน้ิ บาง ๆ ใหเ้ ห็นกา้ นชอ่ ดอก ก้านสาขา ดอก และผล เพื่อ
นำไปอัดแผง ใบซึ่งมีขนาดใหญ่ทำให้ขนาดลดลงโดยมีลักษณะของขอบใบ
และรูปร่างใบทั้งหมด ซ่ึงอาจจะทำได้โดยตัดแผ่นใบตรงกลางให้ห่างจากขอบ
และฐานประมาณ 3 เซนติเมตร ซึ่งเหมาะสำหรับพืชที่มีใบกว้าง ส่วนพวกท่ี

มีแผ่นใบแคบมักจะฝานใบทางด้านท้องใบท้ิง จนเหลือเป็นแผ่นบางพอที่จะ
พับเปน็ ทบ ๆ ได้


ค่มู ือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้
63

ภาพท่ี 11 ตวั อย่างพรรณไม้ในวงศก์ ระบองเพชร


3. การบันทกึ ข้อมูล

การบนั ทกึ ขอ้ มลู ทำขณะเดนิ เกบ็ ตวั อยา่ งพรรณไมแ้ ละระหวา่ งอดั พรรณไม้
ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ะนำไปกรอกลงในปา้ ยบนั ทกึ ขอ้ มลู ซงึ่ ตดิ บนกระดาษตดิ พรรณไม้
ตรงมุมขวาด้านล่าง การบันทึกควรใช้ข้อความสั้น ๆ แต่เข้าใจง่ายและควร
ฝึกหัดใช้อักษรย่อท่ีเป็นที่นิยมใช้เป็นการย่นเวลาในการบันทึก สมุดบันทึก
ต้องมีหมายเลขตรงกันกับหมายเลขท่ีผูกพรรณไม้ไว้ เพื่อป้องกันการสับสน

ในกรณที ่ีเก็บพรรณไมเ้ ป็นจำนวนมาก ๆ ในแต่ละวนั

ขอ้ มลู ทบี่ นั ทกึ เปน็ ขอ้ มลู ทไี่ มส่ ามารถตรวจหาไดจ้ ากตวั อยา่ งพรรณไมแ้ หง้
ทตี่ ดิ บนกระดาษ แตม่ คี วามจำเปน็ ตอ้ งทราบสำหรบั ผตู้ รวจหาชอ่ื ของพรรณไม้
ดงั นนั้ จงึ ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งบนั ทกึ รปู รา่ งของใบ ชนดิ ของใบหรอื สง่ิ อน่ื ใดทส่ี ามารถ
ตรวจหาได้จากตัวอยา่ งพรรณไม้แห้ง ขอ้ มูลที่จำเป็นตอ้ งทราบมดี งั นี้

3.1 ถ่นิ ฐาน (locality) ของพรรณไมแ้ ตล่ ะชนดิ ควรจะบอกให้ละเอียด
ทส่ี ุด เช่น เกบ็ จากรมิ ถนนสขุ ุมวทิ ระหวา่ งหลกั กิโลเมตรที่ 174–175 ในเขต
หมู่บ้านทุ่งโปรง ห่างจากอำเภอสัตหีบประมาณ 3 กิโลเมตร จังหวัดชลบุร ี

อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 5 เมตร เป็นต้น ถิ่นฐานของพรรณไม


64 ค่มู ือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้

แตล่ ะชนดิ ท่ีจดบนั ทึก เมื่อเกบ็ พรรณไมช้ นดิ เดยี วกันไดต้ ามที่ต่าง ๆ กัน ย่อม
ทำใหท้ ราบถึงการกระจายพันธข์ุ องพรรณไมช้ นิดนน้ั ๆ และยังเปน็ ประโยชน์
ในกรณที ตี่ ้องการตัวอยา่ งสดมาศกึ ษาหรอื วิจยั ในสาขาอ่ืน ๆ ก็สามารถทราบ
ไดว้ ่าจะหาไดจ้ ากแหล่งใด

3.2 ลักษณะ (habit) พรรณไม้แต่ละชนดิ จะมลี ักษณะตา่ ง ๆ กนั ซ่ึงเปน็
ลกั ษณะประจำตวั ทไี่ มม่ กี ารเปลยี่ นแปลง เชน่ ไมล้ ม้ ลกุ (herb) ไมพ้ มุ่ (shrub)
ไม้ต้น (tree) และไม้เลื้อย (climber) ก่อนท่ีจะเก็บควรดูก่อนว่าพรรณไม้ที่
เก็บมีลักษณะแบบใด สำหรับพวกที่มีขนาดใหญ่จนไม่สามารถเก็บตัวอย่าง

ทั้งต้นได้ ให้บันทึกความสูงของต้น ลักษณะของเรือนยอด เปลือกไม้ พูพอน
(buttress) เนื้อไม้ เปน็ ต้น

3.3 ท่ีอาศัย (habitat) คือ สภาพตามธรรมชาติที่พรรณไม้ข้ึนอยู่
นอกจากจะดูว่าข้ึนบนดิน บนก้อนหิน ในน้ำหรือเกาะอยู่กับต้นไม้อื่นแล้ว
ต้องบันทึกรายละเอียดของสิ่งแวดล้อมท่ีพรรณไม้ขึ้นอยู่ เช่น สภาพแวดล้อม
เปน็ ปา่ ดบิ ชน้ื ปา่ ดบิ แลง้ ปา่ ผลดั ใบ ปา่ หญา้ ขนึ้ อยใู่ นกลางแจง้ หรอื ทร่ี ม่ รมิ ลำธาร
หรอื เชงิ เขา เป็นตน้ นอกจากน้คี วรบนั ทึกลักษณะของดิน (ดินลูกรงั ดินทราย
ดินเหนียวหรือดินโคลน) ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน ซึ่งมีความสำคัญใน
กรณเี กบ็ พรรณไม้ตวั อย่างไปปลูกเพ่อื ทำการศกึ ษาต่อ

3.4 ช่ือพื้นเมือง (local name) เวลาท่ีออกเก็บตัวอย่างพรรณไม้ใน
ถน่ิ ฐานทตี่ อ้ งมคี นนำทาง ควรเลอื กคนทรี่ จู้ กั ชอ่ื พนื้ เมอื งของตน้ ไมซ้ งึ่ มกั จะเปน็
หมอกลางบ้าน เพ่อื นำมาใช้ประกอบกับชอื่ วิทยาศาสตร ์

3.5 ประโยชน์ นอกจากจะถามช่ือพ้ืนเมืองจากคนนำทางแล้วควรถาม
ถึงประโยชน์ของพรรณไม้แต่ละชนิดด้วย เช่น เป็นอาหารของคนหรือสัตว ์

ยารักษาโรค หรอื มกี ารใชป้ ระโยชน์เนอื้ ไม้ เป็นตน้

3.6 ขอ้ มลู เกยี่ วกบั สี กลนิ่ รส ขนาด โครงรา่ ง (texture) และโครงสรา้ ง
ของดอก ใบ และผล การมยี าง ซง่ึ เปน็ ลกั ษณะเดน่ ของพรรณไมท้ อ่ี าจเปลย่ี นแปลง
ไปหรอื ไมส่ ามารถสังเกตไดจ้ ากตัวอยา่ งพรรณไมแ้ ห้ง ควรบันทกึ ให้ละเอยี ด


คมู่ ือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้
65

การเกบ็ รกั ษา ทำได้ 2 วธิ ี ดังนี้

1. การเก็บแหง้

โดยการอัดพรรณไม้แล้วอบหรือผ่ึงให้แห้งก่อนที่จะนำไปติดบนกระดาษ
สำหรับติดตัวอย่างพรรณไม้ การอัดพรรณไม้เพ่ือให้ได้ตัวอย่างท่ีดี ควรทำ
ทันทีเม่ือเก็บตัวอย่างพรรณไม้มาได้ และควรทำให้แห้งทันทีหรือไม่ควรทิ้งไว้
เกนิ 4–6 ชวั่ โมง เรมิ่ โดยการนำกงิ่ ไมต้ วั อยา่ งทเ่ี กบ็ มาวางบนกระดาษหนงั สอื พมิ พ์
1 คู่ ท่ีพับคร่ึง ใช้กรรไกรตัดกิ่งไม้ตกแต่งขนาดให้พอเหมาะ พรรณไม้ท่ีเริ่ม

อัดก่อนควรเป็นพรรณไม้ท่ีเก็บก่อนและเรียงตามลำดับ พรรณไม้แต่ละชนิดท่ี
อัดควรจะมีจำนวนช้ินระหวา่ ง 4–6 ชิ้น

1.1 วธิ ีอัด พืชแต่ละกลุม่ มวี ธิ อี ดั ที่แตกต่างกนั ดงั น้

1.1.1 พืชพวกเฟินและกลุ่มใกล้เคียงกับเฟิน ถ้าใบมีจำนวนมากให้
เลอื กใบที่สรา้ งสปอร์ 1–2 ใบ และใบทไี่ มส่ รา้ งสปอร์ 1–2 ใบ ใบทเ่ี ลอื กควร
เป็นใบท่ีสมบูรณ์ไม่ถูกแมลงกัดหรือเป็นโรค จัดใบให้หงายบ้างและคว่ำบ้าง
เพื่อจะไดส้ งั เกตแผน่ ใบทั้งสองด้าน ถา้ ใบมขี นาดใหญม่ ากไม่วา่ จะเป็นใบเด่ียว
หรือใบประกอบอาจจะตัดแผ่นใบออกสักแถบหนึ่งได้ พวกท่ีมีใบยาวให้พับ
เป็นรูปตัว V N หรือ W เพ่ือให้พอดีกับกระดาษท่ีอัด ส่วนลำต้นถ้ามีขนาด
ใหญ่อาจจะฝานตามยาวทิ้งบ้างก็ได้ ถ้ามีขนาดใหญ่มากอาจจะตัดแยกใบ

ออกแต่จะต้องผูกป้ายกระดาษแข็งให้มีหมายเลขตรงกับหมายเลขของใบ
พวกท่ีมีรากยาวใช้กรรไกรเล็มออกบ้าง พยายามเลือกต้นหรือก้านใบที่มี

ส่ิงปกคลุมพวกขนหรือเกล็ดมาก ๆ ลำต้นที่สกปรกก่อนท่ีจะอัดต้องทำความ
สะอาดกอ่ น สำหรบั เฟินน้ำมวี ิธอี ัดเหมอื นกับพวกไมน้ ำ้ อนื่ ๆ

1.1.2 พืชเมลด็ เปลอื ยกล่มุ ท่มี ี Cone ขนาดใหญ่และแขง็ อาจจะแยก
ออกตากแห้ง ซึ่งจะต้องผูกป้ายกระดาษแข็งและเขียนหมายเลขให้ตรงกับกิ่ง
ทีแ่ ยกมาหรอื ถ้าจะอัดให้เห็นการตดิ ก่งิ ควรเล่ือย Cone ตามยาวออกให้บาง
พอที่จะอัดได้

1.1.3 พืชดอก ควรมดี อกและใบตัง้ แต่ 3 ใบขึน้ ไป จดั ใบให้หงายบ้าง
คว่ำบ้างเช่นเดียวกับใบเฟิน ถ้าใบมีขนาดใหญ่อาจจะอัดใบเพียงแผ่นเดียว


66 คู่มือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้

ใบอ่ืน ๆ ตัดแผ่นใบทิ้งให้เหลือเฉพาะฐานใบ เพื่อให้เห็นการเรียงตัวของใบ

บนก่ิงหรอื ลำต้น ช่อดอกขนาดใหญ่ควรตดั แตง่ ออกเสยี บ้าง พชื พวกไม้ดอกมี
วธิ ีการอัดของพชื แตล่ ะชนดิ ดังนี

(1) พวกที่มีใบยาว เช่น กกและหญ้า ให้พับใบเช่นเดียวกับเฟิน แต่
เพ่ือให้ได้ตัวอย่างท่ีดูเรียบร้อย ตรงบริเวณที่พับใช้แถบกาวยึดไว้ (ภาพท่ี 12)
การพบั ไมค่ วรพับเกนิ 3 ครงั้ ถา้ ใบมีขนาดยาวมากซง่ึ จำเปน็ ตอ้ งพับมากกว่า
3 คร้งั อาจจะตดั ออกเปน็ สว่ น ๆ เช่น ราก ต้น ใบ ช่อดอก และผล

รากและลำต้นพืชบางชนิดเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่เก็บอาหาร

มักจะมีขนาดใหญ่ การเก็บตัวอย่างทำโดยการถ่ายภาพหรือสเก็ตช์ภาพท่ีมี
มาตราสว่ นเปรยี บเทียบกอ่ นทจ่ี ะฝานเปน็ แผน่ ๆ แล้วนำไปอัด พืชบางชนดิ มี
รากหรือลำต้นแข็ง ให้เล่ือยออกเป็นส่วน ๆ ส่ิงที่ไม่ควรลืมคือแต่ละส่วนต้อง

มหี มายเลขกำกบั เป็นเลขเดียวกนั

ใบท่มี ขี นาดใหญใ่ หต้ ัดแผน่ ใบออกครง่ึ หน่ึงตามยาว เนอ่ื งจากแผ่น
ใบของพืชทั่ว ๆ ไปมักจะเหมือนกันท้ังสองข้างของเส้นกลางใบ ถ้าหากใบท่ี
เหลือยงั มีขนาดใหญ่เกินไป ให้ตัดแผ่นใบและกา้ นใบออกเป็นส่วน ๆ แล้วอัด
แยกกัน แต่ละสว่ นตอ้ งผูกหมายเลขใหต้ รงกนั

ผลท่ีมีขนาดใหญ่จนไม่สามารถอัดทั้งผลได้ จะต้องวัดขนาดผลหรือ
ถ่ายภาพพร้อมกับมีมาตราส่วนเปรียบเทียบขนาด จากนั้นจึงฝานเป็นแว่นท้ัง
ตามขวางและตามยาวแล้วจึงแยกไปอัด (ภาพท่ี 13) ผลที่มีเนื้อบางชนิด

มักจะติดกระดาษหนังสือพิมพ์ที่ใช้อัด จึงควรตัดกระดาษไขให้มีขนาดพอดี

กับส่วนที่ฝานเป็นแว่น ๆ รองทั้งด้านล่างและด้านบน ผลที่ฝานนี้นอกจาก
แสดงรูปรา่ งทวั่ ๆ ไปแล้ว ยังแสดงการติดของเมลด็ ภายในผลด้วย

(2) พรรณไมพ้ วกลอยนำ้ และจมนำ้ เนอ่ื งจากพรรณไมพ้ วกนใี้ บมกั จะ
เสยี รปู ไดง้ า่ ยเมอื่ นำขน้ึ จากนำ้ จงึ ใชว้ ธิ กี ารอดั แบบเดยี วกบั การอดั สาหรา่ ยพวก
ทมี่ เี นอ้ื เยอ่ื ออ่ นนมุ่ พชื พวกไมน้ ำ้ มกั จะตดิ กบั กระดาษหนงั สอื พมิ พท์ อ่ี ดั จงึ ควร
ใช้กระดาษไขวางทบั ตัวอย่างกอ่ นท่ีจะปดิ กระดาษหนงั สอื พิมพ





คู่มือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้
67

ภาพท่ี 12 วิธกี ารอัดพชื ทีม่ ใี บหรอื ช่อดอกยาว โดยใชแ้ ถบกาวยดึ ตรงบริเวณที่พบั


ภาพท่ี 13 การอัดตวั อยา่ งผลท่ีมีขนาดใหญ


(3) พรรณไม้ที่อวบน้ำ ตามลำต้นหรือก้านใบภายในมีน้ำมาก จึงต้องใช้
ปลายมีดกรีดตามยาว 2–3 ทาง เพ่ือให้น้ำออกได้ง่ายและแห้งเร็ว ควรหม่ัน
เปลีย่ นกระดาษทใี่ ช้อดั บ่อย ๆ จนกวา่ พรรณไม้ทอ่ี ัดจะแห้งสนทิ


68 ค่มู ือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม


(4) พรรณไม้ท่ีมีดอกติดกับกิ่งที่มีขนาดใหญ่ เวลาอัดใบและดอก

มักจะร่วงง่ายเนื่องจากถูกแรงกดรัดของแผง จึงควรใช้กระดาษฟาง ตัดเป็น
ชิ้นเล็ก ๆ ให้พอดีกับใบหรือดอก หนุนใบหรือดอกให้ได้ระดับเดียวกับกิ่งท่ีมี
ขนาดใหญแ่ ละควรค่ันกระดาษลูกฟูกระหวา่ งพรรณไม้พวกนี้ทุกชนิ้

(5) พรรณไม้ที่มีดอกบอบบาง เช่น ผักบุ้ง กล้วยไม้ ให้ใช้กระดาษไข

หรือกระดาษเซลโลเฟน (cellophane) วางทั้งด้านบนและด้านล่างของดอก
เพอื่ กนั ไมใ่ หต้ ดิ กระดาษหนงั สอื พมิ พ์ ซง่ึ จะทำใหฉ้ กี ขาดงา่ ยเวลาเปลย่ี นกระดาษ

(6) พรรณไม้ท่ีมีดอกหนา เช่น ชบา พุดตาน ซ่ึงมักจะขึ้นราได้ง่าย

และมักจะติดกับกระดาษท่ีอัดให้ใช้กระดาษบาง ๆ ที่ดูดซับน้ำได้ดีตัดให้ได้
ขนาดพอดีกับดอกรองท้ังด้านล่างและด้านบน ก่อนท่ีจะอัดมักจะจุ่มใน 70 -
95 % แอลกอฮอล์ หรือฟอร์มาลิน เพื่อฆา่ เซลล์จะทำให้แหง้ เรว็ ข้นึ

(7) พรรณไม้ท่ีมีหนามแข็ง ให้ตัดหนามด้านที่กดเข้าหากระดาษ

ลกู ฟูกก่อนอดั ยกเว้นหนามทใ่ี บของพวกเตย

(8) พรรณไม้ท่ีเห่ียวอาจทำให้สดข้ึน โดยแช่ในน้ำเย็น 2 - 3 ชั่วโมง

กอ่ นนำไปอดั

(9) พรรณไม้บางชนิดแห้งยากหรือร่วงง่าย ควรจุ่มในสารเคมีต่อไปน้ี
เช่น 70 - 95% แอลกอฮอล์ ฟอรม์ าลิน หรือนำ้ เดอื ดเพอื่ ฆ่าเซลลจ์ ะป้องกัน
การร่วงของใบ ดอกและผล และยังทำให้ความชื้นท่ีอยู่ภายในระเหยได้ง่าย
ทำใหพ้ ืชตัวอยา่ งแห้งเร็ว

(10) ดอกหรือผลที่เหลือจากการตกแต่งดอกหรือช่อดอก ให้อัด

และเก็บใส่ซองแล้วติดลงบนกระดาษติดพรรณไม้ เพื่อท่ีจะได้ศึกษาลักษณะ

ตา่ ง ๆ ไดง้ ่าย โดยไม่ต้องทำให้ตัวอย่างพนั ธ์ไมท้ ่ีตดิ ไวเ้ สยี หาย

(11) เมื่อจัดตัวอย่างท่ีจะอัดเรียบร้อยดีแล้วใช้กระดาษลูกฟูกแทรก
ระหว่างพรรณไม้แต่ละช้ิน (สำหรับพวกท่ีมีกิ่งแข็งหรือก่ิงขนาดใหญ่) หรือ
แทรกระหว่างพรรณไม้ 2–3 ชน้ิ (สำหรับพวกท่มี ีกง่ิ ออ่ น)






คู่มือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้
69

1.2 วิธอี บหรือผึง่ พรรณไมใ้ ห้แห้ง

พรรณไม้ท่ีอัดลงแผงเรียบร้อยดีแล้ว ควรทำให้แห้งทันทีหากทิ้งไว้นาน


ราอาจจะข้นึ ได้ การทำพรรณไม้ทอ่ี ัดให้แห้งอาจทำโดย

1.2.1 การตากแดด ควรหมั่นเก็บแผงท่ีตากแดดเมอ่ื หมดแสงอาทติ ย์
อยา่ ปลอ่ ยทง้ิ ใหต้ ากนำ้ คา้ งหรอื ตากฝน จะทำใหต้ วั อยา่ งทอ่ี ดั เสยี หายได

1.2.2 การอบด้วยความร้อน โดยใช้อุปกรณ์ตามภาพท่ี 14 หรือใช้
ความร้อนจากผิงไฟ ในกรณีท่ีเก็บตัวอย่างในแหล่งธรรมชาติเป็นระยะเวลา
หลายวันและไมม่ ีวธิ ีอบแห้งอย่างอน่ื


ภาพที่ 14 เตาอบพรรณไมช้ นดิ ใช้ความรอ้ นจากหลอดไฟ


ไม่ว่าจะทำวิธีใดจะต้องคอยหม่ันเปล่ียนกระดาษ กระดาษที่ใช้แล้วทำ

ให้แห้งแล้วใช้ใหม่ได้ แผงท่ีอัดพรรณไม้หลังจากที่อบแห้งหรือตากแดดแล้ว
ประมาณครึ่งวัน ต้องคอยดึงเชือกรัดแผงให้แน่นอยู่เสมอเพราะว่าพรรณไม้ที่
อดั แหง้ จะยุบตวั ลง หากเชอื กทีร่ ดั ไม่ถกู ดงึ ใหต้ ึงใบหรอื ดอกอาจจะเห่ียวย่นได้

พวกเฟิน หญ้า และพรรณไม้ท่ีมีใบบอบบาง จะใช้เวลาอบแห้งไม่น้อย
กวา่ 8 ชว่ั โมง และพรรณไมส้ ว่ นใหญใ่ ชเ้ วลาอบแหง้ ภายใน 24 ชว่ั โมง ถา้ หาก
ความร้อนคงที่ตลอดเวลา ท้ังน้ีควรหมั่นตรวจดูพรรณไม้ท่ีนำเข้าอบเสมอ ๆ
เมื่อพรรณไม้ใดแห้งสนิทดีแล้วให้แยกออก พรรณไม้ท่ีอวบน้ำหรือแห้งยาก
บางชนดิ อาจจะใชเ้ วลาอบแห้งมากกว่า 1 สปั ดาห์


70 คูม่ อื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม


บางคร้ังในการออกเก็บตัวอย่างพรรณไม้ เม่ืออัดตัวอย่างลงแผงแล้วไม่
สามารถทำให้แห้งได้ เนื่องจากในบางท้องที่จำเป็นต้องค้างแรมในป่าเป็น
ระยะเวลาหลาย ๆ วัน ไม่สามรถนำอุปกรณ์ท่ีใช้ในการอบพรรณไม้ไปได้
ความร้อนจากแสงอาทิตย์ก็ไม่เพียงพอหรือฝนตกเสมอ ๆ จึงต้องมีวิธีการ
พิเศษ คือนำพรรณไม้ท่ีอัดแห้งแล้วทั้งมัด แกะแผงสำหรับอัดออกแล้วใช้
กระดาษลูกฟูกรองท้ังด้านบนและด้านล่าง ใช้เชือกรัดให้แน่นใส่ถุงพลาสติก

ทมี่ ีความหนาเปน็ พิเศษ เทสารเคมีตอ่ ไปน้อี ยา่ งใดอย่างหน่งึ เช่น 50 - 95%
แอลกอฮอล์ หรือส่วนผสมของฟอร์มาลินกับน้ำในอัตราส่วน 1:1 หรือ 3:1
หรือ ฟอรม์ าลนิ กับ 70% แอลกอฮอล์ในอตั ราสว่ น 1:2 ลงบนมัดตน้ ไมก้ ะให้
เปียกทั่ว พยายามไล่อากาศออกแล้วมัดถุงพลาสติก วิธีนี้จะช่วยเก็บรักษา
พรรณไม้ให้อยู่ได้นานประมาณ 6 เดือน โดยที่พรรณไม้จะไม่หลุดร่วงหรือ

เน่าเม่ือสามารถอบแห้งได้ก็นำมาอบหรือผึ่งแดดให้แห้งตามวิธีธรรมดา

ข้อเสียของการเก็บวิธีนี้จะทำให้สีของพรรณไม้เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ไม

เหมือนกับของเดิมจึงจำเป็นต้องบันทึกรายละเอียดเก่ียวกับสีของพรรณไม้
ตวั อย่างก่อนที่จะอดั ลงแผง

1.3 วธิ ีอาบนำ้ ยาพรรณไม้ที่แหง้ แล้ว


พรรณไม้ที่อบแห้งสนิทดีแล้ว ก่อนท่ีจะนำไปติดบนกระดาษติดพรรณไม้
จะตอ้ งอาบนำ้ ยากันแมลงเสียก่อน น้ำยาที่ใชม้ สี ่วนผสมดังน
ี้

95% เอทธิลแอลกอฮอล์ 5 ลติ ร

เมอร์คิวรคิ คลอไรด์ (mercuric chloride) 75 กรัม

วธิ อี าบนำ้ ยา เทนำ้ ยาทผ่ี สมเขา้ กนั ดแี ลว้ ลงในถาดพลาสตกิ แลว้ ใชป้ ากคบี
ที่ทำด้วยไม้หรือพลาสติกคีบพรรณไม้แห้งแช่ลงในน้ำยาประมาณ 1 นาที

แล้วนำกลับมาวางบนกระดาษฟางหรือกระดาษหนังสือพิมพ์ ท้ิงไว้จนแห้ง
สนิทหรืออาจจะนำมาอบใหม่อีกคร้ัง ระหว่างพรรณไม้แต่ละช้ินจะต้องไม่ลืม
แทรกกระดาษลูกฟูกเพื่อช่วยกดทับพรรณไม้ที่อาบน้ำยาแล้ว (มักจะพอง)

ให้แบนราบ ในขณะที่ชุบน้ำยาต้องระวังอย่าให้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายถูก
น้ำยาเปน็ อนั ขาดควรจะใส่ถงุ มือยางขณะทค่ี ีบพรรณไมช้ ุบนำ้ ยาด้วย


คมู่ ือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้
71

ภาพที่ 15 การอาบน้ำยาพรรณไม้


1.4 วธิ ีตดิ พรรณไม้บนกระดาษติดพรรณไม้

พรรณไม้ท่ีอาบน้ำยาแห้งสนิทดีแล้ว ให้นำมาติดบนกระดาษสีขาวขนาด
ประมาณ 30x42 เซนตเิ มตร ชนิด 300 กรมั เพ่อื ชว่ ยใหก้ ่งิ พรรณไม้ตวั อยา่ ง
ไม่เปราะหักง่ายเม่ือนำตัวอย่างพรรณไม้ออกจากตู้มาศึกษา การติดพรรณไม้
มีวิธงี ่าย ๆ ดังน้ี

1.4.1 ใชก้ าวซง่ึ เตรยี มจากสว่ นผสมของ

กัมอาราบคิ (gum arabic) 300 กรัม

กัมทรากาแคนท์ (gum tragacanth) 50 กรมั

ไธมอล (thymol) 1 กรัม

นำ้ 1,000 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร

วิธีผสมให้เร่ิมจากละลายกัมอาราบิคกับน้ำประมาณ 500 ลูกบาศก์
เซนติเมตร อุ่นโดยใช้ไฟอ่อนจนละลายหมดแล้วใช้ผ้าขาวบางกรอง ผสม

กัมทรากาแคนท์และแป้งมันสำปะหลังให้เข้ากัน แล้วจึงใส่ลงในกัมอาราบิคที่
กรองแล้วและอุ่นไฟอ่อน ๆ ค่อย ๆ ใส่ทีละน้อยโดยต้องคอยคนตลอดเวลา

72 คู่มอื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม


เติมน้ำจนครบ 1 ลิตร ละลายไธมอล 95% แอลกอฮอล์ โดยใช้แอลกอฮอล

ให้น้อยท่ีสุดใส่ลงในของผสม คนให้เข้ากัน แล้วยกลงจากเตาทิ้งไว้จนเย็นจึง
นำไปใชไ้ ด้

ใชแ้ ปรงจมุ่ กาวทาลงบนกระจกเรยี บขนาดประมาณ 30x45 เซนตเิ มตร
โดยทาบาง ๆ ให้พอดกี ับขนาดพรรณไม้ทีจ่ ะตดิ

1.4.2 ใช้ปากคีบวางพรรณไม้ด้านที่จะติดกับกระดาษให้แตะกาวบน
กระจก กดใหต้ ดิ กาวจนทั่ว

1.4.3 นำตวั อยา่ งมาวางบนกระดาษตดิ พรรณไม้ โดยวางตรงกลางให้
สว่ นปลายคอ่ นไปทางขวา เหลือมมุ ลา่ งขวาสำหรบั ติดป้ายบนั ทึกข้อมลู

1.4.4 ใชก้ ระดาษฟางหรอื กระดาษหนงั สอื พมิ พป์ ทู บั แลว้ จงึ ใชถ้ งุ ทราย
วางทบั อีกทีใหเ้ รียบเสมอกนั

1.4.5 เมื่อกาวแห้งดีแล้วเย็บพรรณไม้ให้ติดกับกระดาษ โดยใช้ด้าย

สีขาวที่มีความเหนียว เย็บเริ่มจากโคนกิ่งหรือโคนต้น แล้วโยงไปตามส่วน

ต่าง ๆ ใหม้ ่ันคงและดูสวยงาม หรือจะใช้แถบกาวผ้าปดิ ทับไว้เป็นระยะ ๆ

1.4.6 ตวั อย่างพรรณไมบ้ างชนดิ ท่มี ีขนาดเล็ก เชน่ filmy fern จะไม่
ติดลงบนกระดาษติดพรรณไม้ตามท่ีกล่าวมาแล้ว แต่จะใส่ซองกระดาษ ซ่ึง
เป็นซองแบบเดียวกับท่ีใช้ใส่ตัวอย่างสาหร่าย ขนาดของซองขึ้นกับขนาดของ
พรรณไม้ ซองน้ีจะตดิ บนกระดาษติดพรรณไมแ้ ทนก่งิ ไม้ตวั อยา่ ง

1.4.7 ตดิ ปา้ ยบนั ทกึ ข้อมูลซง่ึ จะตอ้ งเขียนรายละเอียดตา่ ง ๆ ทลี่ อก
มาจากสมุดบันทึกข้อมูล ที่จะต้องเขียนเพิ่มเติมคือ ชื่อผู้เก็บ (collector)

เลขทล่ี ำดบั ทเ่ี กบ็ (collecting number) ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ และชอ่ื ผตู้ รวจสอบ
หาช่ือของพรรณไม้

1.5 วธิ ีรกั ษาตวั อยา่ งพรรณไมแ้ ห้ง

พรรณไม้ท่ีติดลงบนกระดาษติดพรรณไม้เรียบร้อยแล้ว เมื่อได้ช่ือที่

ถูกต้องจงึ นำไปเก็บใหเ้ ข้าหมวดหมู่ว่าอยใู่ นวงศ์ (family) สกุล (genus) และ
ชนิด (species) ใด ที่ด้านนอกของปกให้เขียนชื่อวิทยาศาสตร์และวงศ์ของ
พรรณไม้ชนดิ นนั้ ๆ พรรณไมแ้ ต่ละชนดิ ทอี่ ย่ใู นสกลุ เดียวกัน ใสไ่ ว้ในปกอีกชนั้

คูม่ อื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้
73

หน่ึง และจะมีกระดาษแข็งสีน้ำตาลวางซ้อนด้านล่างอีกชั้นหน่ึง เพื่อสะดวก

ในการยกพรรณไม้ทั้งตั้งออกมาดู การเก็บจะเก็บใส่ตู้ไม้ซ่ึงมีขนาดประมาณ
สูง 2.5 เมตร กว้าง 1.5 เมตร ลึก 0.75 เมตร ภายในตแู้ บง่ เปน็ ช่อง ๆ แต่ละ
ชอ่ งใสล่ ูกเหม็นไว้ภายในเพอื่ กนั แมลง


พรรณไมท้ เ่ี กบ็ ไวเ้ ปน็ เวลานาน นำ้ ยาทช่ี บุ กนั แมลงไวอ้ าจเสอื่ มคณุ ภาพ
ไปหมด จึงจำเป็นต้องอบด้วยตัวยาฆ่าแมลง โดยใช้น้ำยาเมทธิลโบรไมด์
(methyl bromide) ซึ่งจะต้องนำตัวอย่างพรรณไม้แห้งใส่ในตู้อบน้ำยา

โดยเฉพาะ การอบควรกระทำทุกระยะ 6 เดือน เพื่อจะได้ฆ่าแมลงที่มาใหม่
ให้หมดสิ้นไปห้องพิพิธภัณฑ์พืชที่จะเก็บตู้ใส่ตัวอย่างพรรณไม้แห้ง ควรเป็น
หอ้ งท่ีโปรง่ อากาศถ่ายเทสะดวก ไมอ่ บั ชื้นเพ่ือป้องกันเชื้อราขนึ้ ในต้


ภาพที่ 16 ตเู้ ก็บตวั อยา่ งพรรณไมแ้ ห้ง


74 คู่มอื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม


2. การดอง

การเกบ็ รักษาตัวอยา่ งพชื โดยการดอง มกั ใช้กับพชื บางกลุ่มที่มปี ญั หาใน

การทำตัวอย่างแห้ง เชน่ พชื ท่ีมีตน้ และใบอวบน้ำหรือพวกไมน้ ้ำ พวกท่มี ีดอก
บอบบางหรือตัวอย่างผลที่มีเน้ือ เป็นต้น นอกจากนี้ตัวอย่างของพรรณไม

บางชนิดท่ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือตั้งแสดงหรือใช้เป็นตัวอย่างประกอบการสอน

ในห้องเรียน มักจะเก็บรักษาด้วยวิธีนี้เช่นกัน การดองควรจะกระทำทันทีที่
สามารถทำได้ และจะต้องบันทึกลักษณะท่ีไม่สามารถสังเกตได้หลังจาก
ตัวอยา่ งถกู ดอง เช่น สีของดอกและผล การมยี าง เปน็ ต้น

2.1 อุปกรณ์

2.1.1 ขวดแกว้ หรอื ขวดพลาสตกิ ใสปากกวา้ ง ขนาดตา่ งกนั ตามพรรณไม้
ที่จะดอง

2.1.2 แผ่นแก้ว รูปร่างส่ีเหล่ียมผืนผ้าขนาดพอเหมาะที่จะใส่ทแยง
จากก้นถึงปากภาชนะ ใช้สำหรบั ยึดตัวอย่างไมใ่ ห้ลอยในน้ำยาดอง

2.1.3 ดา้ ยสขี าวทม่ี คี วามเหนยี วใชส้ ำหรบั ผกู ตวั อยา่ งดองกบั แผน่ กระจก


2.2 น้ำยาดอง

นิยมใช้สารเคมี 2 ชนิด คือ 40% ฟอร์มัลดีไฮด์และเอทธิลแอลกอฮอล์
อาจจะใชเ้ ดี่ยว ๆ ผสมกบั นำ้ หรอื ใช้ผสมกัน น้ำยาทนี่ ิยมใชม้ ีดังนี

2.2.1 นำ้ ยาดองทว่ั ๆ ไป

(1) สารละลาย 5% ฟอรม์ ัลดไี ฮด์

(2) 50–70% เอทธลิ แอลกอฮอล์

(3) สารละลายท่มี สี ว่ นผสมของ

น้ำ 2,000 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร

40% ฟอรม์ ัลดีไฮด ์ 50 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร

95% เอทธิลแอลกอฮอล์ 300 ลูกบาศก์เซนติเมตร

2.2.2 นำ้ ยาดองรักษาสีเขยี ว ใช้สารเคมีและส่วนผสมแบบเดียวกับที่
ใช้ดองตัวอย่างสาหร่าย น้ำยาท่ีจะช่วยรักษาสีเขียวของใบแต่ไม่สามารถ

รกั ษาสีของดอกได้


คมู่ อื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้
75

2.3 วิธีดอง

ทำความสะอาดตัวอย่างท่ีจะดองให้สะอาดพร้อมกับตกแต่งให้ดูสวยงาม

ตัวอย่างท่ีมีใบมากเกินไปให้ตัดออกบางส่วน ตัวอย่างผลไม้ควรเลือกผลที่ไม่
ถูกแมลงกัดหรือเน่าภายใน เม่ือทำความสะอาดตัวอย่างที่จะดองเรียบร้อย
แล้ว หาภาชนะที่ใส่ให้ได้ขนาดพอดี ผูกตัวอย่างท่ีจะดองกับแผ่นแก้วแล้วนำ
ตัวอยา่ งใสล่ งในภาชนะโดยวางแผน่ แกว้ ตามแนวทแยง คอ่ ย ๆ รินน้ำยาดอง
ใส่ลงในภาชนะจนสูงกว่าตัวอย่างประมาณ 3 เซนติเมตร ปิดฝาภาชนะให้
สนทิ ตดิ ป้ายบนั ทึกข้อมูลแบบเดียวกบั ที่ใชก้ บั ตัวอย่างพรรณไมท้ เี่ กบ็ แหง้
















ภาพที่ 17 ช้นั วางตัวอย่างพรรณไม้ดอง

การเก็บรกั ษาตวั อย่างพชื เพ่อื ใหม้ สี ีใกล้เคียงกับสภาพเดมิ

การเก็บรักษาตัวอย่างพืชให้มีสีใกล้เคียงกับสภาพเดิมมากท่ีสุดน้ัน
สามารถทำได้หลายวธิ ี ดงั น
้ี
1. การเกบ็ รักษาพชื สีเขียวแบบแหง้ หรือดอง

1.1 เก็บแบบแห้งหรือดองในสารละลาย copper acetate (copper
acetate solution)

ละลายผง copper acetate ในกรดนำ้ สม้ 50% (glacial acetic acid)
จนสารละลายอิ่มตัว รินเอาส่วนท่ีเป็นสารละลายออก ส่วนตะกอนท่ีเหลือ

76 ค่มู อื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม


อาจเติมกรดน้ำส้มลงไปจนละลายหมดแล้วจึงนำมารวมกัน เติมน้ำลงไปอีก
ประมาณ 3-4 เท่า แล้วนำไปต้มในตู้ควันหรือในท่ีท่ีมีอากาศถ่ายเทสะดวก
(เนอื่ งจากเวลาตม้ จะมกี ลนิ่ เหมน็ และเปน็ อนั ตรายตอ่ เยอ่ื จมกู ) เมอ่ื สารละลาย
เดอื ดแลว้ นำพืชท่ตี อ้ งการจะเกบ็ ไว้เปน็ ตวั อยา่ งใสล่ งไปตม้ ในตอนแรกสเี ขียว
ของพืชจะหายไปกลายเป็นสีน้ำตาลอมเหลือง ให้ต้มต่อไปอีกจนกระท่ังสี
เขียวกลับคืนมาอีกครั้งหน่ึง เนื่องจากสีของ copper acetate เข้าไปแทนที่
chlorophyll ท่ีถูกทำลายไป นำพืชท่ีเป็นสีเขียวแล้วมาล้างด้วยน้ำไหล
ประมาณ 1-2 ชวั่ โมง เพ่ือขจัดคราบของ copper acetate ออกให้หมด

ถา้ ตอ้ งการเกบ็ แบบแหง้ ให้นำพชื ทล่ี า้ งสะอาดแล้วมาผ่งึ พอหมาด ๆ

นำไปวางบนกระดาษฟางหรือกระดาษหนังสือพิมพ์ จัดให้อยู่ในสภาพที่
สวยงามตามความต้องการ อัดในแผงอัดไม้มัดให้แน่นแล้วนำไปตากแห้ง

หรอื อบในตอู้ บพรรณไมก้ ไ็ ด้ ตวั อยา่ งทไ่ี ดจ้ ะมลี กั ษณะใกลเ้ คยี งกบั ของจรงิ มาก

ถา้ ตอ้ งการเกบ็ แบบดอง ใหน้ ำพชื ทตี่ ้มแลว้ มาล้างน้ำให้สะอาด ใส่ใน
นำ้ ยาดองซงึ่ ประกอบดว้ ยสารต่าง ๆ ดงั นี

น้ำ 2,000 มิลลิลิตร

40% ฟอร์มาลีน 50 มิลลิลติ ร

95% เอธลิ แอลกอฮอล ์ 300 มิลลลิ ิตร

เก็บในขวดแก้วทีม่ ีฝาปิดสนิท จะเก็บได้นาน 2–3 ปี

1.2 เก็บแบบดองในน้ำยาของ Keefe (Keefe’s solution)

ซง่ึ ประกอบด้วย


50% เอธลิ แอลกอฮอล์ 90 มลิ ลิลิตร

40% ฟอรม์ าลนี 5 มิลลิลิตร

กลเี ซอรีน 2.5 มิลลิลติ ร

กรดนำ้ สม้ 2.5 มลิ ลลิ ิตร

คอปเปอรค์ ลอไรด์ (Copper chloride) 10 มลิ ลลิ ติ ร

ยเู รเนียมไนเตรท (Uranium nitrate) 1.5 กรัม




คมู่ ือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้
77

ผสมสารเหล่านี้เข้าด้วยกันแล้วนำตัวอย่างพืชลงแช่ท้ิงไว้ประมาณ
2–10 วัน พืชก็จะมีสเี ขยี วคลา้ ยของเดมิ

1.3 เกบ็ แบบแหง้ หรอื ดองในสารละลายจนุ สี (Copper sulphate solution)

นำผลึกจุนสีมาบดให้ละเอียด ละลายน้ำจนอิ่มตัว รินเอาแต่ส่วนที่
เป็นน้ำใส ๆ นำพืชตัวอย่างลงแช่ประมาณ 1–3 วัน แล้วนำไปล้างน้ำให้
สะอาด จะเกบ็ แบบแหง้ ตามวิธีที่กลา่ วมาแลว้ หรือดองก็ได้ พชื จะคงสเี ขียวอยู่
ไดน้ าน วิธีนี้เหมาะสำหรับพชื ทม่ี ยี างมาก ๆ

2. การเกบ็ รักษาพืชสีแดงแบบดอง

ผา่ นแกส๊ sulphur dioxide ลงใน 40% ฟอรม์ าลนี จนสารละลายอม่ิ ตวั
แล้วเติมนำ้ ลงไป 20–40 เท่า นำพืชทม่ี สี ีแดงลงแช่ ปิดฝาขวดใหส้ นิท นำ้ ยา
จะรกั ษาสอี ยู่ได้ถึง 3 ป




78 ค่มู อื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้

การวิเคราะห์ตวั อย่างพรรณไม้

การตรวจวเิ คราะหห์ รอื การตรวจสอบเอกลกั ษณข์ องพชื (Plant Identification)

สามารถทำไดห้ ลายวิธี ดังน้ี

1. ตรวจสอบพชื โดยใชร้ ปู วธิ าน (key) ซงึ่ มลี กั ษณะเปน็ ขอ้ ความทบ่ี รรยาย
เก่ียวกับลักษณะของพืชที่นำมาตรวจสอบ มีลักษณะเป็น dichotomous
key คือแยกเป็นสองแนวหรือสองหัวข้อที่มีลักษณะแตกต่างกัน เพ่ือให้เลือก
ว่าหัวข้อใดตรงกับลักษณะพืชท่ีนำมาตรวจสอบ คู่ของข้อความที่กล่าวถึงสิ่ง
เดียวกันแต่มีลักษณะต่างกันใน key น้ีเรียกว่า couplet แต่ละข้อความ

เรียก lead รูปแบบของ dichotomous key มีสองแบบ คือ indented
หรือเรียกอีกช่ือหนึ่งว่า yoked key และ bracketed key ท้ังสองแบบมี

ข้อดแี ละขอ้ เสียแตกต่างกันไป แบบแรกไดร้ ับความนยิ มมากกวา่

ตวั อย่างรปู วธิ านแบบ Indented key หรอื Yoked key

การเขียนรูปวิธานแบบน้ีเป็นที่นิยมใช้กันทั่วไป โดยแต่ละข้อคู่เลือก
(couplet) จะมรี ะยะหา่ งทแี่ นน่ อนจากขอบซา้ ยของกระดาษและเขยี นเยอื้ งกนั
ไปเรอ่ื ย ๆ

ตวั อยา่ ง

a. Pollinia present

b. Symmetry regular

c. Shrub รัก

c. Climber โฮย่า

b. Symmetry irregular กล้วยไม

a. Pollinia absent

c. Stipule adnate กุหลาบ

c. Stipule budscale จำป






คู่มือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้
79

ตัวอยา่ งรปู วิธานแบบ Bracket key หรอื Parallel key

การเขียนรูปวิธานแบบนี้ ข้อคู่เลือกท่ีติดกันจะเขียนเยื้องติดกัน

คล้ายฟันปลาและตรงท้ายสุดของแต่ละข้อคู่เลือก จะมีชื่อพืชน้ันหรือ
หมายเลขของข้อค่เู ลอื กถดั ไป

ตวั อย่าง

a. Pollinia present b

a. Polliinia absent c

b. Symmetry regular d

b. Symmetry irregular กลว้ ยไม้

d. Shrub รัก

d. Climber โฮยา่

c. Stipule adnate กุหลาบ

c. Stipule budscale จำปี

2. ตรวจสอบโดยการเปรยี บเทยี บ (comparison) โดยนำพชื ท่ยี งั ไม่รู้จัก
มาเปรียบเทียบกับตัวอย่างแห้งของพืชท่ีมีชื่อถูกต้องแล้วในพิพิธภัณฑ์พืช

หรือเปรยี บเทียบกับภาพถ่าย ภาพวาดหรอื คำบรรยายของพืชที่รจู้ ักแล้ว

3. ตรวจสอบโดยการถามผู้เช่ียวชาญที่ทำการศึกษาวิจัยพืชในกลุ่มที่
กำลังตรวจสอบอยู่ กรณีนี้ต้องรู้ก่อนว่าพืชที่จะตรวจสอบจัดอยู่ในวงศ์ใด

รายช่ือผ้เู ช่ยี วชาญหรือผู้ที่รบั ผิดชอบทำการวจิ ัยวงศต์ า่ ง ๆ




















80 คู่มอื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม


ลกั ษณะประจำวงศ์พรรณไม


พืชใบเล้ียงคู


วงศโ์ มก (Apocynaceae)

ไม้ต้น ไม้พุ่ม หรือไม้เถา มีน้ำยางขาว ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามหรือติด

เป็นวงรอบข้อ ดอก ออกเป็นช่อตามง่ามใบ หรือตามปลายยอด กลีบเล้ียง
และกลบี ดอกมีอยา่ งละ 5 กลบี ดอกบานรูปกังหนั เกสรเพศผูม้ ี 5 อนั เกสร
เพศเมียมี 2 อนั เช่ือมติดกนั ผลน่มุ มีเมล็ดเดีย่ ว แข็ง หรือหลายเมล็ด หรอื
ผลเปน็ ฝกั คู่ เมื่อแก่แตก เมลด็ มีขนกระจกุ ทป่ี ลาย เช่น โมก สตั บรรณ

วงศ์นมตำเลีย (Asclepiadaceae)

ไมเ้ ถาเนอ้ื แข็งหรอื ไม้พุม่ พบนอ้ ย ที่เปน็ ไม้ต้น มยี างขาว ใบเดี่ยว เรียง
ตรงข้ามหรือติดเป็นวงรอบข้อ ขอบใบเรียบหรือจักเป็นพู หูใบมีขนาดเล็ก
ดอก ออกเปน็ ชอ่ กลีบเล้ียงและกลีบดอก มีอยา่ งละ 5 กลีบ ผล มี 2 ผลย่อย
แตกแนวเดียวท่ีปลายหรือท่ีโคน เมล็ดมีกระจุกขนเส้นไหมยาว เช่น โฮยา
ดอกรัก

วงศเ์ ปล้า (Euphorbiaceae)


ไม้ต้น ไม้พุ่ม บางคร้ังพบเป็นพืชล้มลุก ไม้เถาหรือพืชอวบน้ำ น้ำยาง

สีขาว สีแดงหรือใส บางคร้ังไม่พบ ใบเด่ียวหรือใบประกอบแบบนิ้วมือ

เรียงสลับ บางครั้งพบต่อมท่ีโคนใบ ขอบใบหรือแผ่นใบ ดอก เพศผู้เพศเมีย
แยกกนั รังไข่เหนือวงกลีบ ผลแบบ แห้งแลว้ แตก ผลเมลด็ เดยี วหรอื ผลมเี นอ้ื
หลายเมลด็ เช่น เปลา้ มะยม มะขามป้อม

วงศไ์ ทร (Moraceae)

ไม้ตน้ หรือไมพ้ มุ่ มนี ้ำยางขาว ใบเดี่ยว เรียงสลับหรือเวยี นสลบั ขอบใบ
เรยี บหรือเว้า หใู บมขี นาดใหญ่ เมื่อหลุดรว่ งยงั มรี อ่ งรอยของหใู บ บางสกลุ มี
cystoliths อยู่ท่ีหลังใบหรือท้องใบ ดอกมีขนาดเล็ก เพศเดียว ออกเป็นช่อ
สัน้ ๆ หรอื เป็นก้อนกลม ผลรวมหรอื ผลผิวแขง็ เชน่ ไทร มะเดอ่ื


ค่มู ือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้
81

วงศม์ ะมว่ ง (Anacardiaceae)

ไม้ต้น เนื้อแข็ง มีกลิ่น มีน้ำยางใสเม่ือถูกอากาศกลายเป็นสีดำหรือ

สีน้ำตาล ใบเดี่ยวหรือใบประกอบ เรียงเวียนสลับ ไม่มีหูใบ ดอก ออกเป็น

ช่อแตกแขนงที่ปลายยอด มีกลีบเล้ียง กลีบดอกและเกสรเพศผู้อย่างละ 5
แยกจากกัน รังไข่ติดเหนือวงกลีบ ผล แบบผนังผลช้ันในแข็งหรือผลมีปีก

เช่น มะมว่ ง มะปราง มะกกั

วงศ์มงั คุด (Guttiferae)


ไม้ต้นหรือไม้พุ่ม มียางสีเหลือง ไม่มีหูใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม

แผ่นใบหนาเป็นมัน ดอกสมมาตรตามรัศมี สมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยงและกลีบ
ดอกมีอย่างละ 4-5 กลีบ เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก มักจะเชื่อมติดกันเป็นมัด
เกสรเพศเมียมี 3-5 คาร์เพล มี 1-หลายช่อง ยอดเกสรเพศเมียเป็นรูปจาน
ผล มีเน้ือหลายเมล็ดหรือผลแบบผนังผลช้ันในแข็ง เช่น มังคุด ติ้วเกลี้ยง
กระทิง

วงศจ์ ันทน์เทศ (Myristicaceae)


ไม้ต้นหรอื ไมพ้ ุ่ม ไม่ผลดั ใบ เปลือกมีน้ำเล้ยี งใสสีแดง ใบเดี่ยว เรียงสลับ
ไม่มีหูใบ ดอกมีขนาดเล็ก เพศเดียว ต่างเพศต่างต้น ออกเป็นช่อหรือเป็น
กระจุกหรือออกเดี่ยวตามง่ามใบ กลีบดอกเชื่อมติดกัน มีจำนวน 2-4 กลีบ
สว่ นมากมี 3 กลบี ผลแบบเมลด็ เดยี ว แตกเปน็ 2 ซีก เมล็ดมักมเี ยอ่ื หุ้มสีแดง
เช่น จนั ทน์เทศ เลือดควาย

วงศเ์ หงอื กปลาหมอ (Acanthaceae)

ไม้ล้มลกุ ไม้พุม่ หรือไมเ้ ถา ใบเด่ยี ว เรยี งตรงขา้ ม ขอบใบเรยี บหรือหยัก
มี cystoliths อย่ทู หี่ ลังใบ ดอก ออกเป็นช่อหรอื ดอกเด่ียว มกั มีใบประดับ
คล้ายใบหุ้มท่อกลีบดอก ดอกสมบูรณ์เพศ กลีบดอกโคนเชื่อมติดกัน ปลาย
แยกเปน็ 5 แฉก ผลแหง้ แตก เมลด็ ตดิ บนกา้ นคลา้ ยตะขอ เชน่ เหงอื กปลาหมอ
รางจดื สร้อยอนิ ทนิล




82 คูม่ ือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม


วงศก์ ระดังงา (Annonaceae)

ไม้ต้น ไม้พุ่มหรือไม้เถา เปลือก ใบและดอก มีกล่ินฉุน ลำต้นและกิ่ง
เมื่อตัดขวางจะเป็นเส้นรัศมีออกจากจุดกลาง ใบเด่ียว เรียงสลับในระนาบ
เดยี วกัน ดอก เป็นดอกเดี่ยวหรือเป็นกระจุก ส่วนมากสมบรู ณ์เพศ กลีบเล้ียง
ส่วนมากมี 3 กลีบ เรียงขอบกลีบจรดกัน กลีบดอกส่วนมากมี 6 กลีบ เรียง

2 ชั้น ช้ันละ 3 กลบี ผล เป็นผลกลุม่ เช่น กระดงั งา ลำดวน

วงศเ์ ล็บครฑุ (Araliaceae)

ไม้ต้น ไม้พุ่มหรือไม้ล้มลุก ใบเดี่ยวหรือใบประกอบแบบน้ิวมือ เรียง

เวียนสลับ ขอบใบจักคล้ายขนนก หูใบมักเป็นล้ินบาง ๆ อยู่ที่โคนก้านใบ

ดอก ออกเปน็ ชอ่ แบบซร่ี ม่ ทป่ี ลายยอด กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกมอี ยา่ งละ 5 กลบี
ผล มีเนื้อหลายเมล็ดหรือผลแบบผนังผลชั้นในแข็ง เช่น หนวดปลาหมึก

ต้าง ผกั แปม

วงศเ์ ทยี นน้ำ (Balsaminaceae)

ไม้ล้มลุก อวบน้ำ ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับหรือเรียงตรงข้าม ไม่มีหูใบ
ดอกสมบูรณ์เพศ ดอกเป็นออกเดี่ยวหรือหลายดอก ออกตามง่ามใบ ดอกมี
จงอยส้ันหรือยาว โค้งหรือตรง ผล เป็นแบบผลแห้งแตก เช่น เทียนบ้าน
เทยี นนกแกว้ เหยื่อกุรัม

วงศ์แคหางคา่ ง (Bignoniaceae)

ไม้เถาหรือไม้ต้นเน้ือแข็ง ใบเด่ียวหรือใบประกอบ ดอกมีขนาดใหญ่และ
บานเห็นเด่นชัด กลีบเล้ียงเชื่อมติดกัน กลีบดอกเช่ือมติดกัน เกสรเพศผู้มี 4
อัน ส้ัน 2 อัน ยาว 2 อัน รังไข่ติดเหนือวงกลีบ มี 2 ช่อง มีไข่อ่อนหลาย

หน่วยต่อ 1 ช่อง ผล เป็นแบบผลแห้งแตก แข็ง ผิวเรียบเมล็ดมีปีก เช่น

แคหางค่าง แคหัวหมู แคสนั ตสิ ขุ










คมู่ อื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้
83

วงศ์ง้ิว (Bombacaceae)

ไม้ต้นขนาดใหญ่ ใบเด่ียวหรือใบประกอบแบบนิ้วมือ เรียงสลับ มีขนรูป
ดาวหรือเกล็ดปกคลุม มีหูใบ ดอกเด่ียวหรือออกเป็นช่อ ดอก สมบูรณ์เพศ

มีขนาดใหญ่ กลีบเลี้ยง มี 5 กลีบ กลีบดอกยาว เกสรเพศผู้ มีจำนวนมาก

ผลแหง้ แล้วแตก มขี นาดใหญ่ เมลด็ มเี ยอื่ หมุ้ หรอื มปี ยุ ห้มุ เช่น ง้วิ ทเุ รียน

วงศม์ ะเก้มิ (Burseraceae)

ไมต้ น้ หรอื ไมพ้ มุ่ เปลอื กมกั มชี นั ใบประกอบแบบขนนก เรยี งสลบั เนอ้ื ใบ
มีจุดต่อม ดอกมีขนาดเล็ก ออกเป็นช่อแบบช่อกระจะหรือช่อแยกแขนง

กลีบเล้ียงและกลีบดอกมี 3-5 เกสรเพศผู้มีจำนวนเป็น 2 เท่าของกลีบดอก
ก้านชูอับเรณูแยกหรือเชื่อมกัน รังไข่มี 2-5 ช่อง ช่องละ 2 เมล็ด ก้านเกสร
เพศเมียสั้น ผลแบบ ผนังผลชั้นในแข็งหรือแห้งแตก เช่น มะกอกเกล้ือน
ตะคร้ำ

วงศ์กมุ่ (Capparaceae)

ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม ไม้ต้นหรือไม้เถา มักมีหนาม บางทีพบกลุ่มของเกล็ด
แหลม ๆ ทโ่ี คนของกง่ิ ใบเดย่ี วหรอื ใบประกอบมใี บยอ่ ย 3-7 ใบ เรยี งเวยี นสลบั
ดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4-6 กลีบ ผลมีเน้ือหลายเมล็ดหรือ

ผลแหง้ แล้วแตก เช่น กมุ่ บก กมุ่ น้ำ ชงิ ชี

วงศส์ องสลึง (Celastraceae)

ไมต้ น้ หรอื ไมพ้ มุ่ ใบเดยี่ ว เรยี งตรงขา้ ม หายากทเ่ี รยี งสลบั ดอกสมบรู ณเ์ พศ
ออกเปน็ ชอ่ แบบชอ่ กระจกุ กลบี เลยี้ งมี 4-5 กลบี เรยี งซอ้ นเหลอื่ มกนั กลบี ดอก
มี 4-5 กลีบ เรียงซ้อนสลับกัน เกสรเพศผู้มีจำนวนเท่ากับกลีบดอก ติดอยู่
ตามขอบของจานรองดอกที่แบน รังไข่มี 2-5 ช่อง แต่ละช่องมีไข่อ่อน 2
หน่วย ผลแบบ แหง้ แตกหรอื ผลสดแบบกล้วย เช่น สองสลงึ กระทงลาย








84 คู่มอื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้

วงศ์สมอ (Combretaceae)

ไมต้ ้น ไม้พุ่มหรอื ไมเ้ ถา ใบเด่ยี ว เรียงเวียนสลบั หรอื ตดิ ตรงขา้ ม ขอบใบ
เรียบ ดอก สมมาตรตามรัศมี ส่วนมากสมบูรณ์เพศ กลีบเล้ียงและกลีบดอก

มีอยา่ งละ 4 หรอื 5 กลีบ แยกจากกัน เกสรเพศผมู้ ีจำนวน 2 เทา่ ของกลีบ
ดอก รงั ไขต่ ดิ ใตว้ งกลบี มี 1 ชอ่ ง ไขอ่ อ่ นมี 2 หนว่ ยตอ่ หนงึ่ ชอ่ ง ผล เมลด็ เดยี ว
แขง็ บางครง้ั มปี ีก เช่น สมอไทย สมอพิเภก หูกวาง

วงศท์ านตะวัน (Compositae)

ไม้ล้มลุกหรือไม้พุ่ม ใบเด่ียวหรือใบประกอบ ส่วนมากเรียงเวียนสลับ
ดอก ออกเป็นช่อกระจุกแน่น ล้อมรอบด้วยวงกลีบประดับ ดอกมี 2 ชนิด

คือ ray flower และ disk flower ผลแห้งเมล็ดล่อน ที่ปลายมีขนติดแน่น
เช่น ทานตะวัน สาบเสอื หนาดดอย

วงศผ์ ักบุ้ง (Convolvulaceae)

ส่วนใหญ่พบเป็นไม้เถา มียางขาว ใบเด่ียว เรียงสลับ ไม่มีหูใบ ไม่มีมือ
เกาะ ขอบใบเรียบหรือจักเป็นพู ดอก ออกเป็นช่อแยกแขนงหรือดอกเดี่ยว
ตามง่ามใบ มีขนาดใหญ่ รูปกรวยหรือรูปแจกัน มีสีสด แดง ม่วง น้ำเงิน

หรือขาว กลีบดอกและกลีบเลี้ยงมีอย่างละ 5 กลีบผลแก่แตกตามยาว เช่น
ผกั บงุ้ จิงจอ้ แดง

วงศ์ฟักแฟง (Cucurbitaceae)

ไม้เถา มกั มผี ิวหยาบและสาก บางทีอวบน้ำ ใบเดย่ี วหรือจัก 5 พู แบบ
นิ้วมือ เรียงสลับ มีมือเกาะพันเป็นเกลียว ไม่มีหูใบ ดอก ออกเป็นช่อตาม

ง่ามใบหรือออกเด่ียว ๆ ดอกแยกเพศ กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ เช่ือมติดกันเป็น

รูปท่อหรือรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ เช่ือมติดกัน
เป็นรูประฆัง รูปวงล้อหรือรูปแจกัน ผล มีเนื้อ หลายเมล็ดหรือผลแบบแตง
หรอื ผลแกแ่ ล้วแตก เชน่ มะระขี้นก แตงกวา มะกง้ิ








ค่มู ือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้
85

วงศ์สา้ น (Dilleniaceae)

ไมต้ น้ ไม้พุ่มหรอื ไมเ้ ถา ใบเด่ียว เรียงสลับ ขอบใบเรยี บหรอื จกั เป็นซฟี่ ัน
เส้นใบเด่นชัด ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ดอกสมบูรณ์เพศ กลีบเล้ียงและ

กลีบดอกอย่างละ 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อมกัน ผล แตกแยกออกจากกัน

หรือมีลักษณะคล้ายผลเน้ือนุ่ม เมล็ดมีจำนวนน้อยหรือเพียงเมล็ดเดียว มักมี
เยอ่ื เป็นฝอยหมุ้ เชน่ ส้าน รสสคุ นธ

วงศ์ยาง (Dipterocarpaceae)

ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ เปลือกและเนื้อไม้มีน้ำมันซ่ึงมีกลิ่น

เฉพาะตัว ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ ก้านใบมักบวมพอง แผ่นใบมักจีบเป็นสัน
ระหว่างเส้นแขนงใบและขอบใบเป็นคลื่น ดอกมักออกเป็นช่อแยกแขนง

กลีบเล้ียงและกลีบดอกมีอย่างละ 5 กลีบ กลีบดอกเรียงซ้อนกันคล้าย

กังหันลม ผล เปลอื กแขง็ แห้ง ไมแ่ ตกและมักมีปกี ซึง่ พฒั นามาจากกลบี เล้ียง
ซ่ึงผลและปีกในแต่ละสกุลของชนิดไม้ในวงศ์นี้มีลักษณะแตกต่างกัน เช่น

ตะเคียนทอง เต็ง รัง เหยี ง พลวง

วงศม์ ะพลับ (Ebenaceae)

ไม้ต้นหรือไม้พุ่ม เปลือกมีสีดำ ใบเดี่ยว เรียงสลับ ขอบใบเรียบ ใบร่วง

สีดำ ดอกเป็นดอกแยกเพศออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อกระจุกแน่น ดอกมี
จำนวนน้อย กลีบดอกมีจำนวน 3-5 กลีบ และมักจะบิดเวียนตามกัน เม่ือ
บานเต็มท่ีกลีบเลี้ยงมีจำนวน 3-5 กลีบ ไม่หลุดร่วง และเจริญยาวออกเมื่อ
เป็นผลในดอกเพศเมีย ผลสด เปลือกหนาหรืออวบน้ำมีเมล็ดเดียว หรือ

หลายเมลด็ มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ เชน่ มังคุด มะพลบั มะเกลอื

วงศ์มนุ่ ดอย (Elaeocarpaceae)

ไมต้ ้น ใบเด่ียว เรยี งเวียนสลบั มหี ใู บ ขอบใบจักฟนั เลื่อย ใบแกก่ อ่ นรว่ ง
สแี ดงดอกสมบรู ณ์เพศ กลบี เล้ยี งและกลบี ดอกมจี ำนวน 4-5 กลีบ กลีบดอก
เป็นชายครยุ เกสรเพศผ้มู ีจำนวนมาก ผลแห้งแตกหรือผลมีเนือ้ ผนังผลช้นั ใน
แข็ง เชน่ ไครย้ ้อย มุ่นดอย สะทอ้ นรอก


86 คู่มอื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้

วงศ์กหุ ลาบปา่ (Ericaceae)

ไม้พ่มุ หรือไมต้ น้ ใบเด่ียว เรียงเวยี นสลับ ไม่มหี ใู บ ใบมเี กลด็ คล้ายรงั แค
หรือมีต่อมที่โคนใบ ดอกสมบูรณ์เพศ กลีบดอกเป็น รูปท่อหรือรูปโถ เกสร
เพศผมู้ ีจำนวน 10 อนั เชน่ กุหลาบแดง กุหลาบขาว

วงศ์ก่อ (Fagaceae)

ไม้ต้นผลัดใบหรือไม่ผลัดใบ หูใบ ร่วงง่าย ใบเด่ียว เรียงสลับ หายากที่

วนรอบ ขอบใบเรียบ หรือจกั ซี่ฟนั ชอ่ ดอก ออกเดี่ยวหรอื แยกแขนง ชอ่ ดอก
เพศผู้และเพศเมียแยกกัน เกสรเพศผู้ 6-12 อัน เกสรเพศผู้ท่ีเป็นหมัน

6-(12) หรือไม่พบ รังไข่ติดใต้วงกลีบ ผล แบบเปลือกแข็งเมล็ดเดียว มีกาบ
หุ้ม ผลเรยี บ เป็นหนามหรอื เปน็ เกลด็ เช่น ก่อแพะ กอ่ ตลับ กอ่ นก

วงศต์ ะขบป่า (Flacourtiaceae)

ไมต้ น้ ไมพ้ ุม่ ส่วนใหญม่ ีหนาม ใบเด่ียว เรยี งเวียน มหี ูใบขนาดเล็กและ
หลุดร่วงง่าย ช่อดอกแบบช่อกระจุกเป็นกลุ่ม ๆ ออกเด่ียวหรือรวมเป็นช่อ
กระจะ ออกตามซอกใบ กิ่งก้าน ดอกแบบไม่มีก้านหรือก้านสั้น กลีบเล้ียง

3-6 ซ้อนเหล่ือมกัน กลีบดอกไม่มีหรือมีจำนวน 3-8 เป็นอิสระต่อกัน เกสร
เพศผู้ 5 หรือมากกว่า ยอดเกสรเพศเมีย ไร้ก้าน ผลแบบผลสด ผลแห้ง

หลายเมลด็ ผลแหง้ แตก หายากท่เี ป็นผนังผลชน้ั ในแขง็ เช่น ขานาง ตะขบป่า
ชุมแสงแดง

วงศว์ า่ นไก่แดง (Gesneriaceae)

ไม้ล้มลุก ไม่มีลำต้นหรือไม้พุ่มขนาดเล็ก มักเป็นไม้อิงอาศัย ใบเด่ียว
เรียงตรงข้ามหรือเรียงเป็นวงรอบข้อหรือเรียงสลับ ขอบใบเรียบหรือจักซ่ีฟัน
ดอกเด่ียวหรือดอกช่อแบบช่อกระจุกซ้อน ออกบริเวณปลายยอดหรือง่ามใบ
กลีบเล้ียงและกลีบดอกมีอย่างละ 5 กลีบ ผลแก่แตกกลางพูหรือแตกตาม
ขวางหรือตามรอยประสานหรือแบบมีเน้ือหลายเมล็ด เมล็ดมี ขนาดเล็ก
จำนวนมาก บางทีมีรยางคค์ ลา้ ยขนทปี่ ลาย เชน่ วา่ นไกแ่ ดง ชาฤา ษี


ค่มู อื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม
้ 87

วงศ์ดนั หมี (Icacinaceae)

ไม้ต้นหรือไม้พุ่ม บางคร้ังอาจพบเป็นไม้เถา ใบเด่ียว เรียงเวียนสลับ
ขอบใบเรียบ ดอกเด่ียวหรือเป็นช่อตามง่ามใบ ดอกสมบูรณ์เพศหรือแยกเพศ
กลบี เลย้ี งและกลีบดอกมอี ย่างละ 5 กลีบ เกสรเพศผูม้ จี ำนวน 5 ผล ผนงั ผล
ชั้นในแข็ง เมลด็ มีขนาดใหญ่ เช่น ดนั หมี ไกต่ ้น นเี ลง

วงศก์ ระบก (Irvingiaceae)

ไมต้ ้น ใบเด่ียว เรียงเวียนสลับ มหี ูใบรูปดาบหุ้มปลายยอด ช่อดอกออก
ตามซอกใบหรือออกที่ปลายยอด ดอกออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนง ดอก
สมบูรณ์เพศ กลีบเล้ียงและกลีบดอก อย่างละ 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 10 อัน
รังไขต่ ดิ บนวงกลบี ผลแบบผนังผลชั้นในแข็ง ไดแ้ ก่ กระบก

วงศ์กะเพรา (Labiatae)

ไม้ล้มลุก ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ก่ิงก้าน เป็นเหลี่ยม มีกลิ่นน้ำมันหอมระเหย
ใบเดี่ยวหรือใบประกอบ เรียงตรงข้ามหรือเรียงรอบข้อ ไม่มีหูใบ ดอก ออก
เป็นช่อ ตามง่ามใบหรือรอบข้อ ดอกสมบูรณ์เพศ กลีบดอกและกลีบเลี้ยง

มีจำนวน 5 กลีบ ผล แห้งแลว้ แตก เชน่ กระเพรา สกั ป้ิงขาว นมสวรรค

วงศห์ มีเหม็น (Lauraceae)

ไม้ต้น ไม้พุ่มหรือไม้เถา มีกล่ินหอม ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ บางคร้ัง
เรียงตรงข้าม ขอบใบเรียบ ดอกมีขนาดเล็ก กลีบรวมมี 6 กลีบ เกสรเพศผู้
ส่วนมากมี 12 อัน เรยี งเปน็ วง 4 วง ๆ ละ 3 อบั เรณูเปิดแบบช่องหนา้ ตา่ ง
รังไข่ติดเหนือวงกลีบ มี 1 ช่อง ไข่อ่อนมี 1 หน่วย ติดแบบห้อยลง ผล มี

หลายเมล็ดหรือผลแบบผนังผลชั้นในแข็ง มีก้านผล เช่น อบเชย สะทิบ

หมีเหมน็












88 คู่มอื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้

วงศถ์ ่วั (Leguminosae)

ไม้ตน้ ไมพ้ ุ่ม ไม้เถาและพชื ลม้ ลกุ ใบเดี่ยว ม ี 3 ใบย่อยหรอื ใบประกอบ
เรียงตัวแบบขนนก เรียงสลบั มักมีหูใบ ดอก กลบี เลี้ยงมกั ขยายแบนแบบจาน
รองหรือถ้วย ส่วนน้อยจะเป็นหลอด กลีบดอกส่วนใหญ่ มี 5 กลีบ แยกกัน
เกสรเพศผ้สู ว่ นใหญม่ ี 10 หรอื มากกว่า รังไขแ่ บบเหนอื วงกลบี ผล ส่วนใหญ่
แหง้ แตกเป็น 2 ฝา แยกออกเปน็ 3 กล่มุ ไดแ้ ก่


1. ดอกสมมาตรตามรัศม ี Mimosoideae

2. ดอกสมมาตรด้านข้าง

2.1 กลบี ดอก 5 กลีบ แยกจากกนั Caesalpinioideae

2.2 กลบี ดอก 5 กลีบ แบ่งเป็น กลีบบนอย่รู อบนอกสุด

กลบี ค่ลู ่างมกั เช่ือมตดิ กันด้านข้าง Papilionoideae

Leguminosae-Mimosoideae

ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียวและขนนก 2 ชั้น ดอกมีขนาดเล็กออก
รวมกันเป็นช่อดอก แบบช่อเชิงลด ช่อกระจะหรือช่อกระจุก กลีบรองดอก
หรือกลีบเลี้ยงแยกจากกัน กลีบดอกเป็นหลอดปลายแยก เกสรเพศผู้มี 4-10
อนั หรอื มากกวา่ ผล เปน็ ฝกั เชน่ จามจรุ ี กระถนิ ณรงค์ สะตอ มะขามเทศ

Leguminosae-Caesalpinioideae

ใบเดี่ยวและใบประกอบ ดอกแบบสมมาตรด้านข้าง ช่อดอกแบบ

ชอ่ กระจะหรือช่อแยกแขนง บางครง้ั แยกเพศ กลบี เลีย้ ง 5 กลบี กลีบดอกมี
5-0 กลีบ เกสรเพศผู้ 10-1 มักมเี กสรเพศผูท้ ล่ี ดขนาด ผล แบบฝกั มี 1 ถงึ
หลายเมลด็ เชน่ ราชพฤกษ์ ข้เี หล็ก หางนกยูงไทย หางนกยงู ฝร่ัง

Leguminosae-Papilionoideae

ลำต้นอาจมีหนาม ใบเด่ียวหรือใบประกอบแบบขนนก ดอกสมมาตร
ดา้ นขา้ ง (แบบดอกถว่ั ) ออกเปน็ ชอ่ กลบี เลย้ี งเปน็ หลอด ปลายแยกเปน็ 5 แฉก
บริเวณปลายกลีบดอกแยกเป็นกลีบดอกใหญ่ (standard) กลีบดอกข้าง
(wing) และกลีบดอกใน (keel) เกสรเพศผู้ 10 อัน โดยแยกเป็น 2 กลุ่ม


ค่มู ือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้
89

มี 9 อันติดกนั และแยกเดย่ี ว ผล แบบฝกั ยาว แตกได้ 2 ฝา เชน่ ทองกวาว
ประดู่ แคบา้ น

วงศก์ นั เกรา (Loganiaceae)

ไม้ต้นหรือไม้พุ่ม หายากที่เป็นไม้ล้มลุก ใบเด่ียว เรียงตรงข้ามหรือเรียง
เป็นวงรอบ ช่อดอกแบบช่อซี่ร่มหรือช่อกระจุกแน่นแยกแขนง กลีบดอกเป็น
ท่อหรอื ระฆงั ปลายแยก 4-5 กลบี รงั ไขเ่ หนือวงกลีบหรอื ก่งึ ใต้วงกลบี ผลสด
แบบหลายเมลด็ หรอื ผลแห้งแตก ไดแ้ ก่ กนั เกรา

วงศต์ ะแบก (Lythraceae)

ไมต้ น้ หรอื ไม้ลม้ ลกุ ใบเดย่ี ว มกั เรยี งตรงข้าม ขอบใบเรียบ ดอกสมบูรณ์
เพศ ออกเป็นช่อเชิงลด หรือช่อแยกแขนง ฐานดอกเป็นรูปทรงกระบอก

หรือรูประฆัง กลีบเลี้ยงมีจำนวน 4-8 กลีบ เรียงจรดกัน กลีบดอกมีจำนวน
เท่ากับกลีบเลี้ยงหรือน้อยกว่า กลีบย่นยับ เกสรเพศผู้มีจำนวน 4 หรือ 8

หรือจำนวนมาก ผลแห้งแตกเป็นเสี่ยง ๆ มีฐานดอกหุ้ม เมล็ดมีจำนวนมาก
เช่น เสลา ตะแบก อนิ ทนลิ อนิ ทรชติ ยี่เขง่

วงศจ์ ำปา (Magnoliaceae)

ไม้ต้นหรือไม้พุ่ม มักมีกล่ินหอม ใบเดี่ยว เรียงสลับ หูใบมีขนาดใหญ่หุ้ม
ปิดตามิด หูใบหลุดร่วงง่าย เหลือรอยแผลเป็นไว้บนก่ิงและโคนก้านใบ ดอก
มีขนาดใหญ่ ออกบริเวณปลายก่ิง ดอกสมบูรณ์เพศ กลีบดอกมีหลายช้ัน
เกสรเพศผู้จำนวนมาก รังไข่เหนือวงกลีบ ผล มักเป็นพวง ผลแห้งแตก เช่น
จำปา มณฑาดอย ย่ีหบุ ปล

วงศช์ บา (Malvaceae)

ไมต้ น้ และไมพ้ มุ่ ใบเดยี่ ว เรยี งสลบั มหี ใู บ ดอกออกเปน็ ชอ่ ดอกสมบรู ณเ์ พศ
กลีบเล้ียงและกลีบดอกมีจำนวน 5 กลีบ เกสรเพศผู้จำนวนมาก เช่ือมติดกนั
เป็นหลอด ผลแหง้ แตก แห้งไม่แตก เช่น ชบา ปอหู ปอทะเล






90 คมู่ ือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม


วงศ์โคลงเคลง (Melastomataceae)

ไม้พุ่ม ไม้ต้น ไม้ล้มลุกหรือไม้เถาล้มลุก ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม เส้นใบ
ออกที่โคนใบ 1 หรือ 3 เส้นชัดเจนในบางสกุล ช่อดอกออกท่ีปลายยอด

ซอกใบหรือซอกก่ิง หรือตามลำต้น แบบช่อกระจุกลดรูปหรือออกเดี่ยว ม

ฐานรองดอกรูปโถหรือรูปคนโท มีเกล็ด มีขนหรือเกล้ียง ดอกสมบูรณ์เพศ
กลบี เลยี้ ง กลบี ดอก อยา่ งละ 3, 4 หรอื 5 กลีบ แกนอับเรณูยดื ยาวหรอื เปน็
รยางค์ อับเรณูมีรูที่ปลาย ผลแห้งแบบแก่แตกหรือผลมีเนื้อหลายเมล็ด เช่น
โคลงเคลง เอ็นอ้าน้อย

วงศ์เลีย่ น (Meliaceae)

ไม้ต้นหรือไม้พุ่ม ใบ ส่วนมากเป็นใบประกอบแบบขนนก ไม่มีหูใบ ช่อ
ดอกแบบ ช่อกระจุกแยกแขนง กลีบเลี้ยงมี 3-6 กลีบ เกสรเพศผู้ 8-10 อัน
เช่ือมติดกันเป็นหลอดรอบ ๆ ฐานของจานรองดอก ยอดเกสรเพศเมีย

บวมพอง ผล แห้งแบบ แห้งแตกหรือผลสดแบบหลายเมล็ด เช่น สะเดา
ตาเสอื เล่ยี น กัดลนิ้ กระท้อน

วงศต์ าเป็ดตาไก่ (Myrsinaceae)

ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ใบเดี่ยว เรียงสลับ มักจะมีจุดโปร่งแสงหรือแนวเส้น
ของต่อมชัน ดอกช่อ ออกบริเวณซอกใบหรือปลายยอด ดอกสมบูรณ์เพศ
หรือแยกเพศ ผลสดมี 1 เมล็ดหรือหลายเมล็ด เช่น ตาเป็ดตาไก่ พิลังกาสา
ราม

วงศ์หว้า (Myrtaceae)

ไมต้ น้ หรอื ไมพ้ มุ่ ใบเดย่ี ว มกั เรยี งตรงขา้ ม ขอบใบมเี สน้ ปดิ ดอกสมบรู ณเ์ พศ
สมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจำนวน 4-5 กลีบ เกสรเพศผู้
จำนวนมาก รังไข่แบบติดใต้วงกลีบ ผลเน้ือนุ่มหลายเมล็ดหรือผลสด

เมล็ดเดยี ว เชน่ หวา้ ชมพู่ ฝรงั่ ยูคาลิปตสั








คู่มือการสำรวจความหลากหลายของพรรณไม
้ 91

วงศม์ ะลิ (Oleaceae)

ไม้ต้น ไม้พุ่มหรือไม้เถา ใบเด่ียวหรือใบประกอบแบบขนนกหรือแบบ
สามใบ เรียงตรงข้าม ขอบใบเรียบหรือจักเป็นซี่ฟัน ดอกออกเป็นช่อหรือ

มีดอกเดียว บริเวณปลายยอดหรือตามง่ามใบ กลีบเล้ียงโคนเชื่อมติดกัน
ปลายแยกเป็น 4 กลีบ กลีบดอกปลายแยกเป็น 4 กลีบ หรือ 6-12 กลีบ
เกสรเพศผู้มี 2 อัน ผลแก่แตกระหว่างพู ผลมีปีก มีเนื้อหลายเมล็ด หรือผล
ผนังผลช้ันในแขง็ เมลด็ มกั มี 1 เมล็ด เชน่ มะลิไสไ้ ก่ มะลเิ ถา

วงศด์ อกดิน (Orobanchaceae)

ไมล้ ม้ ลกุ เปน็ พชื เบยี นราก ไมม่ คี ลอโรฟลิ ด์ ดอกเดยี่ วหรอื ดอกชอ่ กลบี ดอก
เปน็ หลอด เกสรเพศผมู้ ี 4 อัน ผลแหง้ แตก เมลด็ มจี ำนวนมาก เชน่ ดอกดนิ
ดอกดินแดง

วงศโ์ กงกาง (Rhizophoraceae)

ไม้ต้น หายากท่ีเป็นไม้พุ่ม ใบเด่ียว ส่วนมากเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก
และมีหูใบอยู่ระหว่างก้านใบ ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือออกเป็นช่อกระจุก

บรเิ วณง่ามใบ มขี นาดเลก็ หรอื ใหญ่ สว่ นมากเป็นดอกสมบูรณเ์ พศ กลีบเล้ยี ง
โคนเชอื่ มตดิ กนั ปลายแยกเปน็ 4-8 กลบี กลบี ดอกมี จำนวนเทา่ กบั กลบี เลยี้ ง
แยกออกจากกันและมักจะมีขนาดเล็กกว่า ผลสดมีเนื้อหลายเมล็ดหรือมี

เมล็ดเดียว เชน่ โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ โปรงขาว โปรงแดง

วงศเ์ ขม็ (Rubiaceae)

ไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม้ล้มลุกหรือไม้เถา มีหูใบร่วมระหว่างโคนก้านใบ ใบ
เดี่ยว เรียงตรงข้าม แต่ละคู่ต้ังฉากกันหรืออยู่ในระนาบเดียวกัน บางคร้ังพบ
ออกเปน็ กระจกุ ทขี่ อ้ เดยี วกนั บางครงั้ ใบหนง่ึ ทขี่ อ้ จะลดรปู ไป ดอกสมบรู ณเ์ พศ
สมมาตรตามรัศมี กลบี ดอก มี 4 หรอื 5 กลบี กลีบดอกโคนเช่อื มตดิ กนั เปน็
หลอด ปลายจักเป็นพู เกสรเพศผู้เป็น 2 คู่ ติดสลับกับพูกลีบดอก รังไข่ติด

ใต้วงกลีบ ผล แบบแห้งแตก มีเนื้อหลายเมล็ดหรือผลผนังผลช้ันในแข็ง เช่น
เข็ม ใบต่างดอก คัดเค้าหนาม คำมอกหลวง


92 คมู่ อื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม


วงศ์ส้ม (Rutaceae)

ไม้ต้นหรือไม้พุ่ม มีกลิ่นหอม ไม่มีหูใบ ใบเดี่ยวหรือใบประกอบ เรียง

สลบั มจี ดุ ใสบนใบ ดอกออกเปน็ ชอ่ ดอกสมบรู ณเ์ พศ หรอื แยกเพศ กลบี เลย้ี ง
และกลีบดอก มีอย่างละ 4 หรือ 5 กลีบ แยกจากกัน รังไข่ติดเหนือวงกลีบ
ผล มีผิวหนาเป็นมัน มีเน้ือหยาบ เป็นแบบผลแห้งแตก ผลผนังผลช้ันในแข็ง
หรอื ผลแบบสม้ เชน่ กำจัดตน้ สม้ หสั คณุ

วงศ์ลำไย (Sapindaceae)

ไม้ต้น ไม้พุ่มหรือไม้เถา ใบประกอบ เรียงสลับ ดอกแบบช่อแยกแขนง
ดอกขนาดเล็ก กลีบเล้ียงม ี 4-5 กลีบ เรียงซ้อนเหล่ือมกัน กลีบดอกมี 4-5
กลีบ หรือไม่มี ผลแบบแห้งแตกหรือผลแบบผนังผลชั้นในแข็ง เมล็ดมีเยื่อหุ้ม
เช่น ลำไย มะคำดคี วาย ล้นิ จ่

วงศล์ ำพปู ่า (Sonneratiaceae)

ไมต้ น้ บางสกลุ มรี ากหายใจ (Pneumatophore) เชน่ สกลุ Sonneratia
บางสกุลไม่มี เช่น สกุล Duabanga ใบเด่ียว เรียงตรงข้าม ขอบใบเรียบ

ดอกมีขนาดใหญ่ ออกเป็นช่อบริเวณปลายยอด ผลสดมีเน้ือ หลายเมล็ดหรือ
ผลแห้งแตกกลางพู เชน่ ลำพูปา่ ลำพู ลำแพน

วงศ์สำโรง (Sterculiaceae)

ไม้ต้น ไม้พุ่มหรือไม้ล้มลุก ใบเดี่ยวหรือใบประกอบ เรียงสลับหรือเวียน
สลับ มีหูใบ ดอกเดี่ยวหรือดอกช่อ ดอกแยกเพศหรือดอกสมบูรณ์เพศ กลีบ
ดอกมี จำนวน 5 กลบี มีขนาดเล็กหรือบางทกี ็ไมม่ ี กลบี เลยี้ งมจี ำนวน 5 กลบี
ผลเดยี่ วหรือเปน็ ช่อ แหง้ แลว้ แตก เชน่ สำโรง ปอแดง ปอขนนุ

วงศเ์ หมอื ดหอม (Symplocaceae)

ไม้ต้นขนาดใหญ่หรือไม้พุ่ม ใบเด่ียว เรียงเวียนสลับ ไม่มีหูใบ ขอบใบ

หยักซ่ีฟัน เมื่อแห้งมีสีเขียวออกเหลือง ดอก ออกเป็นช่อ ดอกสมบูรณ์เพศ

กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมักเชื่อมติดกันท่ีโคน รังไข่ติดใต้วงกลีบ ผลสด มี

เมลด็ เดยี ว เช่น เหมอื ดขน เหมอื นใบต่อม เหมือดเกลย้ี ง


คู่มอื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม
้ 93

วงศช์ า (Theaceae)

ไมพ้ มุ่ หรือไมต้ ้น ไม่มหี ใู บ ใบเด่ียว เรยี งสลับหรอื วนรอบ ดอก ส่วนใหญ่
เป็นดอกเดย่ี ว กลบี เลีย้ งมขี นาดเลก็ จำนวน 5 กลีบ กลีบดอกเหน็ ชัดเจน มี
เกสรเพศผู้ จำนวนมาก รังไข่ติดใต้วงกลีบ ผลสดหรือผลเหนียว ไม่แตกหรือ
ผลแห้งแตก มีหลายเมลด็ เช่น พกิ ุลปา่ สารภีปา่ ปลายสาน

วงศ์ไม้หอม (Thymelaeaceae)

ไมต้ น้ หรอื ไมพ้ มุ่ หายากทเ่ี ปน็ ไมล้ ม้ ลกุ เปลอื กมใี ยเหนยี ว ลอกออกไดง้ า่ ย
ใบเดี่ยว เรียงสลับหรือเรียงตรงข้าม ขอบใบเรียบ ไม่มีหูใบ ดอกออกเดี่ยว
หรือแบบช่อกระจะ วงกลีบรวมเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 4-5
แฉก คล้ายกลีบดอก เกสรเพศผู้มีจำนวนเท่ากับหรือเป็น 2 เท่าของจำนวน
กลบี ผลแบบผนังผลช้ันในแขง็ เช่น กฤษณา ไม้หอม

วงศ์พงั แหร (Ulmaceae)

ไมต้ น้ หรอื ไมพ้ มุ่ มีนำ้ ยางใสหรือยางเปน็ เมือก หูใบหลดุ รว่ งงา่ ย ใบเด่ยี ว
เรียงสลับ ขอบใบเรียบหรือจักฟันเล่ือย โคนเบ้ียว ดอกเดี่ยวหรือออกเป็น
กระจุก บริเวณง่ามใบ ดอกสมบูรณ์เพศหรือแยกเพศ กลีบรวม มีจำนวน

4-8 กลีบ ผล แข็งขนาดเล็ก ผลมีปีกหรือผลมีเนื้อ ผนังผลชั้นในแข็ง เช่น

พังแหรใหญ่ แกง้ ขีพ้ ระรว่ ง ทลายเขา

วงศ์องนุ่ (Vitaceae)

ไม้เถาเนื้อแข็ง มีมือเกาะตรงข้ามใบ ลำต้นมีข้อบวมและเป็นข้อต่อ

ใบเด่ียวหรือใบประกอบแบบขนนกหรือแบบน้ิวมือ มีจุดโปร่งแสง ดอกออก
เป็นชอ่ แบบแยกแขนง ตามงา่ มใบ หรือปลายยอด ดอกมขี นาดเล็ก กลีบเล้ียง
และกลีบดอก มีอย่างละ 4 หรือ 5 กลีบ ผลมีเน้ือ เปลือกแข็ง มีร่องลึก

ด้านบน มี 1-4 เมลด็ เช่น เครือเขาน้ำ เถาคัน เพชรสังฆาต










94 คมู่ อื การสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้


Click to View FlipBook Version