The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanticha.pama250556, 2022-09-16 00:57:57

หลักสูตรวิทยาาสตร์และเทคโนโลยี

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Keywords: หลักสูตรวิทยาาสตร์และเทคโนโลยี

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนไตรมิตรวิทยาสรรค์ พทุ ธศักราช 2565
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560)

จัดทำโดย
นางสาวกัญธชิ า เอ้กณั หา
หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 1
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

คำนำ

หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฉบับน้ี เปนเอกสารประกอบหลักสูตร
สถานศกึ ษา โรงเรยี นไตรมิตรวิทยาสรรค์ พทุ ธศกั ราช 2565 จดั ทำเพอ่ื เปนกรอบและทิศทางในการจดั การ
เรยี นการสอนในการพฒั นาคุณภาพผูเรยี นใหตรงตามมาตรฐาน ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรขู องกลุมสาระการ
เรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยพิจารณาตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) มอี งคประกอบ ดังตอไปน้ี

- วิสัยทัศน พันธกจิ และเปาประสงค
- สมรรถนะสำคญั ของผูเรยี น และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค
- สาระและมาตรฐานการเรียนรู
- ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร
- คณุ ภาพผูเรียน
- ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง
- โครงสรางหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูกลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร
- คำอธิบายรายวชิ า
- โครงสรางรายวิชา
- ส่อื /แหลงเรียนรู
- การวัดและประเมินผลการเรยี นรู
คณะผูจดั ทําขอขอบคุณผูทม่ี ีสวนรวม ในการพฒั นาและจดั ทำหลักสตู รกลุมสาระการเรยี นรู
วิทยาศาสตร ฉบับน้ี จนสำเรจ็ ลุลวงเปนอยางดี และหวังเปนอยางยิ่งวาจะเกิดประโยชนตอการจดั การเรยี นรู
ใหกบั ผเู รียนตอไป

กญั ธิชา เอก้ ัณหา
หวั หนา้ กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

สารบญั

เรอ่ื ง หนา

คำนำ.......................................................................................................................................... ก
สารบัญ....................................................................................................................................... ข
สาระสำคญั ................................................................................................................................. ๑
วสิ ยั ทศั น พันธกิจ และเปา ประสงค ............................................................................................ ๒
สมรรถนะสำคัญของผูเรียน และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ....................................................... ๒
สาระและมาตรฐานการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ................................................................................ ๔
ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร........................................................................................... ๖
คณุ ภาพผเู รยี น ........................................................................................................................... ๙
ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง......................................................................................... ๑๑
โครงสรา งหลกั สูตรกลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร.................................................................. ๕๑
คำอธบิ ายรายวิชา....................................................................................................................... ๕๒
โครงสรา งรายวิชา....................................................................................................................... ๖๕
ส่อื /แหลงเรียนรู ......................................................................................................................... ๑๑๗
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู................................................................................................ ๑๑๘
อภธิ านศัพท................................................................................................................................ ๑๓๖



สาระสำคัญ
หลักสูตรกลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โรงเรยี นไตรมติ รวทิ ยาสรรค์
พทุ ธศกั ราช 2565 จดั ทำข้ึนโดยยึดมาตรฐาน ตัวชวี้ ัด กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
มุงหวังใหผูเรยี นไดเรยี นรวู ิทยาศาสตรทเ่ี นนการเชื่อมโยงความรกู ับ กระบวนการมีทกั ษะสำคัญใน
การคนควาและสรางองคความรู โดยใชกระบวนการในการสืบเสาะหาความรแู ละแกปญหาทห่ี ลาก
หลาย ใหผูเรยี นมีสวนรวมในการเรยี นรู ทุกขนั้ ตอน มีการทำกิจกรรมดวยการลงมือปฏิบัตจิ รงิ อยาง
หลากหลาย เหมาะสมกบั ระดับชั้น โดยกำหนดสาระสำคัญ ดงั น้ี
1. วิทยาศาสตรชีวภาพ เรยี นรเู กยี่ วกับ ชีวติ ในส่ิงแวดลอม องคประกอบของส่ิงมชี ีวติ
การดำรงชวี ติ ของมนษุ ยและสัตวการดำรงชีวิตของพชื พนั ธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และ
ววิ ฒั นาการของส่ิงมชี ีวิต
2. วทิ ยาศาสตรกายภาพ เรยี นรเู กยี่ วกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร
การเคลอ่ื นท่ี พลงั งาน และคลื่น
3. วทิ ยาศาสตรโลกและอวกาศ เรียนรเู กยี่ วกับ องคประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธภายใน
ระบบสุริยะ เทคโนโลยอี วกาศ ระบบโลก การเปลีย่ นแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการเปล่ยี นแปลง
ลมฟาอากาศ และผลตอสง่ิ มีชีวิตและสิง่ แวดลอม
4. เทคโนโลยี

4.1 การออกแบบและเทคโนโลยเี รยี นรูเก่ียวกบั เทคโนโลยเี พอ่ื การดำรงชีวติ ในสงั คมท่ี
มกี ารเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ใชความรูและทกั ษะทางดานวิทยาศาสตรคณิตศาสตร และศาสตรอื่น
ๆ เพอื่ แกปญหาหรือพฒั นางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบ เชิงวศิ วกรรม
เลอื กใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบตอชวี ิต สงั คม และสิ่งแวดลอม

4.2 วิทยาการคำนวณ เรยี นรเู กยี่ วกับการคิดเชงิ คำนวณ การคิดวิเคราะหแกปญหา
เปนขัน้ ตอนและเปนระบบ ประยุกตใชความรดู านวิทยาการคอมพวิ เตอรและเทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการสื่อสาร ในการแกปญหาทพ่ี บในชวี ิตจริงไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ



วิสัยทศั น พนั ธกิจ และเปาประสงค

วิสยั ทัศน

จัดการศึกษาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่มีมาตรฐาน เพื่อบมเพาะความสามารถ
ทางวทิ ยาศาสตร ปลูกฝงการสังเคราะหความรแู ละแกปญหาใหก บั นกั เรยี น มจี ติ สาธารณะและเจตคติ
ที่ดีตอ วชิ าวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

พนั ธกจิ

๑. ยกระดบั คณุ ภาพการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
๒. จัดการศึกษามุงเนนการพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการ
แกปญหาทางวิทยาศาสตร การจัดการ ทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจโดยใช
เทคโนโลยี ตลอดจนสรา งทศั นคตทิ ี่ดีดา นการเรยี นรูท ักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร
๓. พัฒนาศักยภาพของครูและนักเรียนตามแนวทางของการปฏิรูปการศึกษาใหทันกับ
โลกปจจุบนั

เปาประสงค

๑. ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวทิ ยาศาสตร
๒. ผูเรียนความสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ มีความสามารถในการ
แกป ญ หา การจดั การทกั ษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสนิ ใจเพ่ือนำความรูความเขาใจ
ในเรอ่ื งวิทยาศาสตรและเทคโนโลยไี ปใชใ หเกิดประโยชนต อ สังคม และการดำรงชีวิต
๓. ครูผูสอนมีความรูความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนเกิดทักษะ
ทส่ี ำคญั เพ่อื เตรียมความพรอ มเดก็ ในศตวรรษที่ ๒๑

สมรรถนะสำคัญของผเู รยี น และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค

สมรรถนะสำคญั ของผูเ รยี น

๑. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมใน
การใชภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยน
ขอ มลู ขาวสารและประสบการณอันจะเปน ประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจา
ตอรองเพ่อื ขจัดและลดปญหาความขัดแยง ตา ง ๆ การเลอื กรบั หรอื ไมรบั ขอ มูลขาวสารดวยหลักเหตุผล
และความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีตอ
ตนเองและสังคม



๒. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห
การคิด อยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนำไปสูการสราง
องคค วามรูหรอื สารสนเทศเพอื่ การตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั ตนเองและสงั คมไดอยา งเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ
ที่เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจ
ความสัมพันธและการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมา
ใชในการปองกันและแกไ ขปญ หา และมีการตดั สินใจที่มีประสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ขึน้
ตอ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอม

๔. ความสามารถในการใชท ักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตา ง ๆ ไป
ใชในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทำงาน และการ
อยูรวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความ
ขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การมีเหตุผล กตัญูกตเวที การปรับตัวใหทนั กับการเปลีย่ นแปลงของ
สงั คมและสภาพแวดลอ ม และการรจู ักหลกี เลีย่ งพฤติกรรมไมพึงประสงคที่สง ผลกระทบตอตนเองและ
ผูอ ่ืน การรักและภูมใิ จในความเปน ไทยและรักษทอ งถน่ิ

๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยี
ดานตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการ
เรียนรู การส่ือสาร การทำงาน การแกปญ หาอยางสรา งสรรค ถูกตอ ง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค

๑. รกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ 
๒. ซือ่ สัตยสจุ รติ
๓. มีวินยั
๔. ใฝเ รยี นรู
๕. อยูอยา งพอเพยี ง
๖. มงุ มน่ั ในการทำงาน
๗. รกั ความเปน ไทย
๘. มจี ิตสาธารณะ



สาระและมาตรฐานการเรียนรกู ลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร

แผนภาพสาระและมาตรฐานการเรยี นรูก ลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร

วทิ ยาศาสตรเพ่มิ เติม  สาระชีววทิ ยา  สาระเคมี  สาระฟส ิกส

 สาระโลก ดาราศาสตร และอวกาศ

วทิ ยาศาสตรเพิ่มเติม
สาระชีววทิ ยา สาระเคมี สาระฟสกิ ส และสาระโลก ดาราศาสตร และอวกาศ จัดทำขน้ึ สำหรบั
ผูเรียนในระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรยี นวิทยาศาสตรทีจ่ ำเปนตองเรียน เพือ่ เปน

พ้ืนฐานสำคัญและเพียงพอสำหรบั การศกึ ษาตอ และการประกอบอาชีพดานวทิ ยาศาสตร



สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตรชีวภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๑ เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวาง
สิ่งไมมีชีวิต กับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ การ
ถายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของ ประชากร ปญหาและ
ผลกระทบที่มตี อทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม แนวทางในการอนุรักษทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
การแกไ ขปญ หาส่ิงแวดลอ ม รวมทง้ั นำความรูไปใชป ระโยชน

มาตรฐาน ว ๑.๒ เขาใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสาร
เขา และออกจากเซลลความสัมพันธของโครงสรา ง และหนาที่ของระบบตา ง ๆ ของสัตวและมนุษยที่
ทำงานสมั พันธกนั ความสัมพันธข องโครงสราง และหนาที่ ของอวัยวะตาง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ
กัน รวมท้งั นำความรูไปใชป ระโยชน

มาตรฐาน ว ๑.๓ เขาใจกระบวนการและความสำคัญของการถายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลตอสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย
ทางชวี ภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวติ รวมท้ังนำความรูไปใชป ระโยชน

สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตรก ายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๑ เขาใจสมบัติของสสาร องคประกอบของสสาร ความสัมพันธระหวาง
สมบัติของสสารกับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค หลักและธรรมชาติของการ
เปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิด ปฏิกิรยิ าเคมี

มาตรฐาน ว ๒.๒ เขาใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำตอวัตถุ
ลกั ษณะ การเคลอื่ นท่ีแบบตา ง ๆ ของวัตถุรวมทัง้ นำความรไู ปใชประโยชน

มาตรฐาน ว ๒.๓ เขาใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถายโอน
พลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น
ปรากฏการณท เ่ี กย่ี วขอ งกบั เสยี ง แสง และคลื่นแมเ หลก็ ไฟฟา รวมทั้งนำความรูไ ปใชประโยชน

สาระที่ ๓ วิทยาศาสตรโ ลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๑ เขาใจองคประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของ
เอกภพ กาแล็กซีดาวฤกษและระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะ ที่สงผลตอสิ่งมีชีวิต
และการประยุกตใ ชเทคโนโลยีอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เขาใจองคประกอบและความสัมพันธของระบบโลก กระบวนการ
เปลี่ยนแปลง ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา อากาศและ
ภมู ิอากาศโลก รวมท้ังผลตอสิ่งมชี ีวติ และส่งิ แวดลอม



สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๑ เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการ
เปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว ใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอื่น ๆ
เพื่อแกปญหาหรือพัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรค ดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
เลอื กใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสม โดยคำนงึ ถึงผลกระทบตอชีวิต สังคม และสงิ่ แวดลอม

มาตรฐาน ว ๔.๒ เขาใจและใชแนวคิดเชิงคำนวณในการแกปญหาที่พบในชีวิตจริงอยาง
เปน ข้ันตอนและเปน ระบบ ใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรยี นรู การทำงาน และการ
แกปญหาไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ รเู ทา ทัน และมีจรยิ ธรรม

ทกั ษะและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร

การศึกษาทางวิทยาศาสตรคือ การศึกษาเกี่ยวกับทุก ๆ สิ่งที่อยูรอบตัวอยางมีระเบียบ
แบบแผน เพื่อใหไดขอสรุปและสามารถนำความรูที่ไดมาอธิบายปญหาตาง ๆ ซึ่งการจะตอบหรือ
อธบิ ายปญ หาทีส่ งสัยไดน ้นั จำเปนตองมที ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร (science process skill) หมายถึง ความสามารถ
และความชำนาญในการคิด เพื่อคนหาความรู และการแกไขปญหา โดยใชกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร อาทิ การสังเกต การวัด การคำนวณ การจำแนก การหาความสัมพันธระหวาง
สเปสกับเวลา การจัดกระทำ และสื่อความหมายขอมูล การลงความคิดเห็น การพยากรณ
การตั้งสมมติฐาน การกำหนดนิยาม การกำหนดตัวแปร การทดลอง การวิเคราะห และแปรผลขอมลู
การสรุปผลขอมลู ไดอยางรวดเร็ว ถกู ตอง และแมนยำ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร ๑๓ ทกั ษะ
แบงเปน ๒ ระดับ คือ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน ๘ ทักษะ และทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตรขน้ั บูรณาการ ๕ ทกั ษะ

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรขนั้ พนื้ ฐาน

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน เปนทักษะเพื่อการแสวงหาความรูทั่วไป
ประกอบดว ย ๘ ทกั ษะ

ทกั ษะท่ี ๑ การสังเกต (Observing) หมายถึง การใชประสาทสัมผัสของรางกายอยางใด
อยางหนึ่งหรือหลายอยาง ไดแก หู ตา จมูก ลิ้น กายสัมผัส เขาสัมผัสกับวัตถุหรือเหตุการณเพื่อให
ทราบ และรับรูขอมูลรายละเอียดของสิ่งเหลานั้น โดยปราศจากความคิดเห็นสวนตน ขอมูลเหลาน้ี
จะประกอบดวย ขอมูลเชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ และรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจาก
การสงั เกต



ทกั ษะที่ ๒ การวัด (Measuring) หมายถึง การใชเครื่องมือสำหรับการวัดขอมูลในเชิง
ปริมาณของสิ่งตาง ๆ เพื่อใหไดขอมูลเปนตัวเลขในหนวยการวัดที่ถูกตอง แมนยำได ทั้งนี้ การใช
เครื่องมอื จำเปนตองเลือกใชใ หเหมาะสมกับสิ่งที่ตองการวัด รวมถึงเขาใจวิธีการวัด และแสดงขั้นตอน
การวัดไดอ ยางถกู ตอ ง

ทักษะท่ี ๓ การคำนวณ (Using numbers) หมายถึง การนับจำนวนของวตั ถุ และการนำ
ตัวเลขที่ไดจากนับ และตัวเลขจากการวัดมาคำนวณดวยสูตรคณิตศาสตร เชน การบวก การลบ
การคูณ การหาร เปนตน โดยการเกิดทักษะการคำนวณจะแสดงออกจากการนับที่ถูกตอง
สวนการคำนวณจะแสดงออกจากการเลือกสูตรคณิตศาสตร การแสดงวิธีคำนวณ และการคำนวณ
ท่ถี กู ตอ ง แมน ยำ

ทกั ษะที่ ๔ การจำแนกประเภท (Classifying) หมายถงึ การเรียงลำดับ และการแบงกลุม
วัตถุหรอื รายละเอียดขอ มูลดวยเกณฑความแตกตา งหรือความสมั พันธใ ด ๆอยา งใดอยา งหน่งึ

ทักษะที่ ๕ การหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา (Using
space/Time relationships) สเปสของวัตถุ หมายถึง ที่วางที่วัตถุนั้นครองอยู ซึ่งอาจมีรูปราง
เหมือนกันหรือแตกตางกับวัตถุนั้น โดยทั่วไปแบงเปน ๓ มิติ คือ ความกวาง ความยาว และความสูง
ความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปสของวัตถุ ไดแก ความสัมพันธระหวาง ๓ มิติ กับ ๒ มิติ
ความสัมพันธระหวางตำแหนงที่อยูของวัตถุหนึ่งกับวัตถุหนึ่ง ความสัมพันธระหวางสเปสของวัตถุกับ
เวลา ไดแก ความสัมพันธของการเปลี่ยนแปลงตำแหนงของวัตถุกับชวงเวลา หรือความสัมพันธ
ของสเปสของวัตถทุ ี่เปลย่ี นไปกับชวงเวลา

ทักษะท่ี ๖ การจัดกระทำ และสื่อความหมายขอมูล (Communication) หมายถึง
การนำขอมูลที่ไดจากการสังเกต และการวัด มาจัดกระทำใหมีความหมาย โดยการหาความถี่ การ
เรียงลำดบั การจัดกลุม การคำนวณคา เพอื่ ใหผ ูอนื่ เขา ใจความหมายไดด ีข้ึน ผา นการเสนอในรูปแบบ
ของตาราง แผนภมู ิ วงจร เขียนหรือบรรยาย เปน ตน

ทกั ษะที่ ๗ การลงความเห็นจากขอมูล (Inferring) หมายถึง การเพิ่มความคิดเห็นของ
ตนตอ ขอมลู ที่ไดจ ากการสงั เกตอยางมเี หตุผลจากพน้ื ฐานความรูหรือประสบการณท ่ีมี

ทกั ษะท่ี ๘ การพยากรณ (Predicting) หมายถึง การทำนายหรือการคาดคะเนคำตอบ
โดยอาศัยขอมูลที่ไดจากการสังเกตหรือการทำซ้ำ ผานกระบวนการแปรความหายของขอมูลจาก
สัมพันธภายใตความรทู างวทิ ยาศาสตร



ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข ้นั บูรณาการ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นบูรณาการ เปนทักษะกระบวนการขั้นสูงที่มีความ
ซับซอนมากขึ้น เพื่อแสวงหาความรู โดยใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน
เปน พ้นื ฐานในการพฒั นา ประกอบดว ย ๕ ทักษะ

ทักษะท่ี ๙ การตั้งสมมติฐาน (Formulating hypotheses) หมายถึง การตั้งคำถาม
หรือคิดคำตอบลวงหนากอนการทดลองเพื่ออธิบายหาความสัมพันธระหวางตัวแปรตาง ๆ วามี
ความสัมพันธอยางไร โดยสมมติฐานสรางขึ้นจะอาศัยการสังเกต ความรู และประสบการณภายใต
หลักการ กฎ หรือทฤษฎที สี่ ามารถอธบิ ายคำตอบได

ทักษะที่ ๑๐ การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining operationally) หมายถึง
การกำหนดและอธิบายความหมาย และขอบเขตของคำตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการศึกษา หรือ
การทดลองเพือ่ ใหเ กิดความเขา ใจตรงกันระหวางบุคคล

ทกั ษะที่ ๑๑ การกำหนด และควบคุมตัวแปร (Identifying and controlling
variables) หมายถึง การบงชี้ และกำหนดลักษณะตัวแปรใด ๆใหเปนเปนตัวแปรอิสระหรือตัวแปร
ตน และตัวแปรใด ๆ ใหเปน ตัวแปรตาม และตัวแปรใด ๆใหเปนตวั แปรควบคุม

ทกั ษะที่ ๑๒ การทดลอง (Experimenting) หมายถึง กระบวนการปฏิบัติ และทำซ้ำ
ในขั้นตอนเพือ่ หาคำตอบจากสมมตฐิ าน แบงเปน ๓ ขน้ั ตอน คือ

๑. การออกแบบการทดลอง หมายถึง การวางแผนการทดลองกอนการทดลองจริง ๆ เพ่ือ
กำหนดวิธีการและขั้นตอนการทดลองที่สามารถดำเนินการไดจริง รวมถึงวิธีการแกไขปญหาอุปสรรค
ทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ขณะทำการทดลองเพ่ือใหก ารทดลองสามารถดำเนินการใหส ำเรจ็ ลุลว งดวยดี

๒. การปฏิบตั กิ ารทดลอง หมายถงึ การปฏิบัตกิ ารทดลองจรงิ
๓. การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกขอมูลที่ไดจากการทดลองซึ่งอาจเปน
ผลจากการสังเกต การวดั และอ่ืน ๆ
ทักษะท่ี ๑๓ การตีความหมายขอมูล และการลงขอมูล (Interpreting data and
conclusion) หมายถึง การแปรความหมายหรือการบรรยายลักษณะและสมบัติของขอมูลที่มีอยู
การตีความหมายขอ มลู ในบางครงั้ อาจตอ งใชทกั ษะอ่ืน ๆ เชน ทกั ษะการสงั เกต ทกั ษะการคำนวณ



คณุ ภาพผเู รียน

จบชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๓

๑. เขา ใจลักษณะทว่ั ไปของสง่ิ มชี วี ติ และการดำรงชีวิตของสิง่ มชี ีวิตรอบตัว
๒. เขาใจลักษณะที่ปรากฏ ชนิดและสมบัติบางประการของวัสดุที่ใชทำวัตถุและ
การเปลย่ี นแปลงของวสั ดุรอบตวั
๒. เขาใจการดึง การผลัก แรงแมเหล็ก และผลของแรงที่มีตอการเปลี่ยนแปลง
การเคล่อื นท่ีของวตั ถุ พลังงานไฟฟา และการผลติ ไฟฟา การเกดิ เสยี ง แสงและการมองเหน็
๓. เขาใจการปรากฏของดวงอาทิตย ดวงจันทร และดาว ปรากฏการณขึ้นและตกของ
ดวงอาทิตย การเกิดกลางวันกลางคืน การกำหนดทิศ ลักษณะของหิน การจำแนกชนิดดินและการใช
ประโยชน ลักษณะและความสำคัญของอากาศ การเกดิ ลม ประโยชนและโทษของลม
๔. ต้งั คำถามหรือกำหนดปญหาเก่ยี วกับส่ิงท่จี ะเรียนรูตามท่ีกำหนดใหหรือตามความสนใจ
สังเกต สำรวจตรวจสอบโดยใชเครื่องมืออยางงาย รวบรวมขอมูล บันทึก และอธิบายผลการสำรวจ
ตรวจสอบดวยการเขียนหรือวาดภาพ และสื่อสารสิ่งที่เรียนรูดวยการเลาเรื่อง หรือดวยการแสดง
ทา ทางเพ่ือใหผอู ่ืนเขา ใจ
๕. แกปญหาอยางงายโดยใชข้ันตอนการแกปญหา มีทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสอื่ สารเบื้องตน รกั ษาขอมูลสวนตัว
๖. แสดงความกระตือรือรน สนใจที่จะเรยี นรู มคี วามคิดสรา งสรรคเก่ียวกับเร่ืองที่จะศึกษา
ตามทีก่ ำหนดให หรอื ตามความสนใจ มสี วนรว มในการแสดงความคดิ เหน็ และยอมรบั ฟงความคิดเห็น
ผอู น่ื
๗. แสดงความรับผิดชอบดวยการทำงานท่ีไดรับมอบหมายอยางมุงมั่น รอบคอบ ประหยัด
ซื่อสัตย จนงานลุลวงเปน ผลสำเรจ็ และทำงานรว มกับผอู ่ืนอยางมีความสขุ
๙. ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการ
ดำรงชวี ติ ศึกษาหาความรูเ พิม่ เตมิ ทำโครงงานหรอื ชนิ้ งานตามทีก่ ำหนดใหหรือตามความสนใจ

จบชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖

๑. เขาใจโครงสราง ลักษณะเฉพาะและการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งความสัมพันธของ
สิ่งมชี ีวิตในแหลง ท่ีอยู การทำหนา ท่ีของสว นตา ง ๆ ของพืช และการทำงานของระบบยอยอาหารของ
มนุษย

๑๐

๒. เขาใจสมบัติและการจำแนกกลุมของวัสดุ สถานะและการเปลี่ยนสถานะของสสารการ
ละลาย การเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไดและผันกลับไมได และการแยกสาร
อยา งงาย

๓. เขาใจลักษณะของแรงโนมถวงของโลก แรงลัพธ แรงเสียดทาน แรงไฟฟาและผลของ
แรงตาง ๆ ผลที่เกิดจากแรงกระทำตอวัตถุ ความดัน หลักการที่มีตอวัตถุ วงจรไฟฟาอยางงาย
ปรากฏการณเบอ้ื งตน ของเสยี ง และแสง

๔. เขาใจปรากฏการณการขึ้นและตก รวมถงึ การเปล่ียนแปลงรูปรางปรากฏของดวงจันทร
องคประกอบของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห ความแตกตางของดาวเคราะหและ ดาว
ฤกษ การขึ้นและตกของกลุมดาวฤกษ การใชแผนที่ดาว การเกิดอุปราคา พัฒนาการและประโยชน
ของเทคโนโลยอี วกาศ

๕. เขาใจลักษณะของแหลงน้ำ วัฏจักรน้ำ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำคาง น้ำคางแข็ง
หยาดน้ำฟา กระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหิน การใชประโยชนหินและแร การเกิดซากดึกดำบรรพ
การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและ
ผลกระทบของปรากฏการณเรอื นกระจก

๖. คนหาขอมูลอยางมีประสิทธิภาพและประเมินความนาเชื่อถือ ตัดสินใจเลือกขอมูลใช
เหตุผลเชงิ ตรรกะในการแกป ญ หา ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการทำงานรว มกนั เขา ใจ
สิทธิและหนา ที่ของตน เคารพสทิ ธขิ องผูอ ื่น

๗. ตง้ั คำถามหรือกำหนดปญหาเก่ยี วกับสิ่งท่ีจะเรียนรูตามที่กำหนดใหหรือตามความสนใจ
คาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สรางสมมติฐานที่สอดคลองกับคำถามหรือปญหาที่จะสำรวจ
ตรวจสอบ วางแผนและสำรวจตรวจสอบโดยใชเครื่องมือ อุปกรณ และเทคโนโลยีสารสนเทศท่ี
เหมาะสม ในการเก็บรวบรวมขอ มลู ท้ังเชิงปรมิ าณและคุณภาพ

๘. วิเคราะหขอมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธของขอมูลที่มาจากการสำรวจ
ตรวจสอบในรูปแบบที่เหมาะสม เพื่อสื่อสารความรูจากผลการสำรวจตรวจสอบไดอยางมีเหตผุ ลและ
หลกั ฐานอา งองิ

๙. แสดงถึงความสนใจ มุงมั่น ในสิ่งที่จะเรียนรู มีความคิดสรางสรรคเกี่ยวกับเรื่องที่จะ
ศึกษาตามความสนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในขอมูลที่มีหลักฐานอางอิง
และรับฟง ความคดิ เห็นผูอ น่ื

๑๐. แสดงความรับผดิ ชอบดว ยการทำงานท่ีไดร ับมอบหมายอยา งมงุ มน่ั รอบคอบ ประหยัด
ซ่ือสตั ย จนงานลุลว งเปน ผลสำเร็จ และทำงานรวมกับผูอ นื่ อยางสรางสรรค

๑๑

๑๑. ตระหนักในคุณคาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ใชความรูและกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตรใ นการดำรงชีวิต แสดงความชนื่ ชม ยกยอ ง และเคารพสทิ ธิในผลงานของผูคิดคนและ
ศกึ ษาหาความรูเพมิ่ เตมิ ทำโครงงานหรือชิ้นงานตามทกี่ ำหนดใหห รอื ตามความสนใจ

๑๒. แสดงถึงความซาบซ้งึ หว งใย แสดงพฤตกิ รรมเกยี่ วกบั การใช การดแู ลรักษาทรัพยากร
ธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ มอยางรคู ณุ คา

ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรูแกนกลาง

สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรชวี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๑ เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งไมมีชีวิต
กับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ
การถายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมาย
ของ ประชากร ปญหาและผลกระทบที่มีตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
แนวทางในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม
รวมทงั้ นำความรไู ปใชประโยชน

ชั้น ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง
ป.๑ ๑. ระบชุ ่ือพืชและสตั วท ่ีอาศัยอยู • บรเิ วณตาง ๆ ในทอ งถนิ่ เชน สนามหญา
ใตตน ไม สวนหยอ ม แหลงนำ้ อาจพบพืชและ
บรเิ วณตาง ๆ จากขอมลู ทีร่ วบรวมได สตั วห ลายชนดิ อาศัยอยู
๒. บอกสภาพแวดลอ มทีเ่ หมาะสม • บริเวณที่แตกตางกนั อาจพบพชื และสัตว
กับการดำรงชวี ิตของสตั วใ นบรเิ วณ แตกตา งกัน เพราะสภาพแวดลอมของแตล ะ
ท่อี าศยั อยู บรเิ วณ จะมีความเหมาะสมตอการดำรงชีวิต
ของพชื และสตั วที่อาศยั อยใู นแตละบริเวณ
เชน สระน้ำ มีน้ำเปน ทอ่ี ยูอาศยั ของหอย ปลา
สาหราย เปนท่ีหลบภัยและมีแหลงอาหารของ
หอยและปลา บริเวณตน มะมวงมตี นมะมว ง
เปนแหลง ที่อยูและมีอาหารสำหรบั กระรอก
และมด

๑๒

ชั้น ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง

• ถาสภาพแวดลอมในบรเิ วณท่พี ชื และสตั ว

อาศยั อยูมีการเปลย่ี นแปลง จะมผี ลตอ

การดำรงชวี ติ ของพืชและสัตว

ป.๒ - -

ป.๓ - -

ป.๔ - -

ป.๕ ๑. บรรยายโครงสรางและลกั ษณะ • ส่งิ มชี ีวติ ทงั้ พชื และสัตวมีโครงสรางและ

ของสิง่ มีชวี ิตทเ่ี หมาะสมกบั การดำรงชีวติ ลักษณะท่เี หมาะสมในแตละแหลง ที่อยู ซง่ึ เปน

ซ่ึงเปนผลมาจากการปรบั ตวั ของสงิ่ มีชวี ิต ผลมาจากการปรบั ตัวของส่ิงมีชวี ติ เพื่อให

ในแตล ะแหลงทอี่ ยู ดำรงชวี ติ และอยรู อดไดในแตละแหลง ที่อยู

เชน ผกั ตบชวามีชองอากาศในกา นใบชวยให

ลอยน้ำได ตนโกงกางที่ขึ้นอยูในปา ชายเลน

มีรากค้ำจุนทำใหล ำตน ไมล ม ปลามีครบี ชวย

ในการเคล่ือนท่ใี นนำ้

๒. อธบิ ายความสัมพันธร ะหวางส่งิ มชี ีวิต • ในแหลง ท่อี ยูหน่งึ ๆ สงิ่ มีชวี ิตจะมี

กบั สิ่งมีชวี ติ และความสัมพนั ธระหวาง ความสัมพันธซ่ึงกนั และกัน และสมั พันธก บั

สิง่ มชี วี ิตกับสิง่ ไมมีชวี ิต เพอ่ื ประโยชนต อ สงิ่ ไมมีชวี ติ เพ่ือประโยชนต อ การดำรงชีวิต

การดำรงชวี ิต เชน ความสัมพนั ธกนั ดานการกินกนั เปน

๓. เขียนโซอ าหารและระบุบทบาทหนาท่ี อาหาร เปน แหลงที่อยูอ าศยั หลบภัย

ของส่ิงมชี วี ิตทเ่ี ปนผผู ลติ และผบู ริโภคใน และเลีย้ งดลู กู ออน ใชอากาศในการหายใจ

โซอ าหาร • สงิ่ มีชีวติ มีการกนิ กนั เปน อาหาร โดยกนิ

๔. ตระหนักในคณุ คา ของสิ่งแวดลอมทีม่ ี ตอ กนั เปนทอด ๆ ในรูปแบบของโซอาหาร

ตอการดำรงชีวติ ของสิ่งมชี วี ิต โดยมี ทำใหส ามารถระบุบทบาทหนาที่ของสงิ่ มีชวี ิต

สว นรวมในการดูแลรกั ษาส่ิงแวดลอ ม เปนผผู ลติ และผูบริโภค

ป.๖ - -

๑๓

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตรชวี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา ใจสมบตั ขิ องส่งิ มีชีวิต หนวยพน้ื ฐานของสิ่งมีชวี ิต การลำเลียงสารเขา และออก
จากเซลลความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของระบบตาง ๆ ของสัตว
และมนษุ ยท ่ีทำงานสัมพนั ธกัน ความสมั พนั ธของโครงสราง และหนา ที่ ของอวัยวะ
ตาง ๆ ของพชื ทท่ี ำงานสัมพันธกนั รวมทง้ั นำความรไู ปใชประโยชน

ชนั้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.๑ ๑. ระบชุ ื่อ บรรยายลักษณะและบอก • มนุษยมสี ว นตาง ๆ ทีม่ ีลักษณะและหนาท่ี

หนาทขี่ องสวนตา ง ๆ ของรา งกายมนษุ ย แตกตางกัน เพ่ือใหเ หมาะสมในการดำรงชีวติ

สัตวแ ละพชื รวมท้งั บรรยายการทำหนาที่ เชน ตามีหนา ที่ไวมองดโู ดยมีหนังตาและ

รวมกนั ของสวนตาง ๆ ของรา งกาย ขนตา เพื่อปอ งกนั อนั ตรายใหกบั ตา หูมหี นา ที่

มนษุ ยใ นการทำกจิ กรรมตาง ๆ รบั ฟงเสยี ง โดยมีใบหแู ละรหู เู พอ่ื เปนทางผาน

จากขอมลู ทร่ี วบรวมได ของเสียง ปากมีหนา ท่พี ูด กนิ อาหาร

๒. ตระหนักถึงความสำคัญของ มีชอ งปากและมรี ิมฝป ากบนลาง แขนและมอื

สวนตาง ๆ ของรางกายตนเอง มหี นาท่ยี ก หยิบ จบั มที อนแขนและนิ้วมือ

โดยการดูแลสวนตาง ๆ อยางถกู ตอง ที่ขยบั ไดส มองมหี นา ท่ีควบคมุ การทำงาน

ใหป ลอดภัย และรกั ษาความสะอาด ของสวนตาง ๆ ของรางกายอยใู นกะโหลก

อยเู สมอ ศรี ษะ โดยสว นตาง ๆ ของรา งกาย จะทำ

หนา ทีร่ วมกันในการทำกจิ กรรม

ในชีวติ ประจำวนั

• สัตวม ีหลายชนดิ แตล ะชนิดมสี วนตาง ๆ

ที่มลี กั ษณะและหนา ท่ีแตกตางกนั เพื่อให

เหมาะสมในการดำรงชวี ิต เชน ปลามคี รีบ

เปนแผน สวนกบ เตา แมว มีขา ๔ ขา และ

มีเทา สำหรบั ใชในการเคลอื่ นท่ี

• พชื มีสว นตา ง ๆ ทม่ี ีลกั ษณะและหนาท่ี

แตกตา งกนั เพื่อใหเหมาะสมในการดำรงชีวิต

โดยทว่ั ไป รากมีลกั ษณะเรียวยาว และแตก

แขนงเปนรากเล็ก ๆ ทำหนา ท่ดี ูดนำ้ ลำตน

มลี กั ษณะเปนทรงกระบอก ตั้งตรงและ

๑๔

ช้นั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง

มกี ง่ิ กาน ทำหนาที่ชูก่ิงกา น ใบ และดอก

ใบมลี ักษณะเปนแผนแบน ทำหนาท่ี

สรางอาหาร นอกจากน้ีพชื หลายชนดิ อาจมี

ดอกท่มี ีสีรูปรางตาง ๆ ทำหนาที่สบื พนั ธุ

รวมท้ังมผี ลท่ีมเี ปลือก มเี นื้อหอหมุ เมลด็

และมเี มลด็ ซงึ่ สามารถงอกเปนตนใหมได

• มนุษยใ ชส ว นตาง ๆ ของรางกายในการทำ

กิจกรรมตา ง ๆ เพื่อการดำรงชวี ิต มนษุ ยจ งึ

ควรใชสว นตาง ๆ ของรา งกายอยา งถูกตอง

ปลอดภยั และรกั ษาความสะอาดอยเู สมอ เชน

ใชตามองตวั หนงั สือในท่ีที่มีแสงสวางเพยี งพอ

ดแู ลตาใหปลอดภยั จากอนั ตราย และรักษา

ความสะอาดตาอยเู สมอ

ป.๒ ๑. ระบุวา พชื ตองการแสงและนำ้ • พืชตอ งการนำ้ แสง เพ่ือการเจรญิ เติบโต

เพือ่ การเจรญิ เตบิ โต โดยใชขอมลู

จากหลักฐานเชิงประจักษ

๒. ตระหนักถึงความจาํ เปนท่ีพืช

ตองไดร ับน้ำและแสงเพื่อการเจริญเติบโต

โดยดแู ลพชื ใหไดรบั สิ่งดังกลาว

อยา งเหมาะสม

๓. สรางแบบจาํ ลองท่บี รรยายวฏั จกั ร • พชื ดอกเม่ือเจรญิ เติบโตและมดี อก ดอกจะมี

ชีวิตของพืชดอก การสบื พนั ธเุ ปลีย่ นแปลงไปเปนผล ภายในผล

มีเมล็ดเม่ือเมลด็ งอก ตน ออนทอ่ี ยภู ายในเมล็ด

จะเจรญิ เตบิ โตเปนพืชตน ใหม พชื ตน ใหมจะ

เจรญิ เตบิ โตออกดอกเพือ่ สบื พันธุมผี ลตอไป

ไดอ ีก หมุนเวียนตอ เน่ืองเปน วัฏจักรชีวิต

ของพืชดอก

ป.๓ ๑. บรรยายส่ิงทีจ่ าํ เปนตอ การดำรงชีวิต • มนุษยแ ละสตั วตองการอาหาร น้ำ และ

และการเจรญิ เติบโตของมนุษยแ ละสตั ว อากาศ เพ่ือการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโต

โดยใชขอ มลู ที่รวบรวมได

๑๕

ช้ัน ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง

๒. ตระหนกั ถึงประโยชนของอาหาร นำ้ • อาหารชว ยใหรา งกายแข็งแรง

และอากาศ โดยการดแู ลตนเองและสตั ว และเจรญิ เติบโต น้ำชวยใหร า งกายทำงานได

ใหไดรับสง่ิ เหลา น้ีอยางเหมาะสม อยา งปกติ อากาศใชใ นการหายใจ

๓. สรา งแบบจําลองที่บรรยายวัฏจักร • สตั วเ มอื่ เปนตัวเต็มวยั จะสืบพันธมุ ลี ูก

ชีวติ ของสัตวแ ละเปรยี บเทียบวัฏจกั รชีวติ เม่ือลกู เจรญิ เติบโตเปนตวั เต็มวัยก็สืบพนั ธุ

ของสตั วบ างชนดิ มลี กู ตอไปไดอ ีก หมนุ เวยี นตอเน่ืองเปน วฏั จกั ร

๔. ตระหนกั ถงึ คุณคาของชีวิตสัตว ชวี ิตของสัตว ซึ่งสตั วแตล ะชนิด เชน ผเี สื้อ กบ

โดยไมทำใหวฏั จักรชีวิตของสตั ว ไก มนุษย จะมวี ฏั จกั รชีวิตที่เฉพาะ

เปลี่ยนแปลง และแตกตางกนั

ป.๔ ๑. บรรยายหนา ท่ขี องราก ลำตน ใบ • สว นตาง ๆ ของพชื ดอกทำหนา ทแ่ี ตกตางกัน

และดอกของพชื ดอก โดยใชข อ มูล - รากทำหนาท่ีดูดนำ้ และธาตุอาหารข้นึ ไปยัง

ที่รวบรวมได ลำตน

- ลำตนทำหนา ทีล่ าํ เลียงน้ำตอไปยัง

สวนตา ง ๆ ของพชื

- ใบทำหนา ท่ีสรางอาหาร อาหารท่ีพืช

สรางขนึ้ คอื นำ้ ตาลซ่ึงจะเปล่ยี นเปนแปง

- ดอกทำหนาทีส่ บื พนั ธุ ประกอบดว ย

สวนประกอบตา ง ๆไดแก กลีบเล้ียง กลบี ดอก

เกสรเพศผูและเกสรเพศเมยี ซ่งึ สว นประกอบ

แตล ะสว นของดอกทำหนา ที่แตกตางกนั

ป.๕ - -

ป.๖ ๑. ระบสุ ารอาหารและบอกประโยชน • สารอาหารทอี่ ยูในอาหารมี๖ ประเภท ไดแก

ของสารอาหารแตละประเภทจากอาหาร คารโ บไฮเดรต โปรตีน ไขมนั เกลือแร วติ ามิน

ทต่ี นเองรบั ประทาน และน้ำ

๒. บอกแนวทางในการเลือกรับประทาน • อาหารแตล ะชนดิ ประกอบดวยสารอาหาร

อาหารใหไ ดสารอาหารครบถวน ท่ีแตกตางกนั อาหารบางอยางประกอบดว ย

ในสดั สว นที่เหมาะสมกับเพศและวัย สารอาหารประเภทเดียว อาหารบางอยาง

รวมท้งั ความปลอดภยั ตอสุขภาพ ประกอบดวยสารอาหารมากกวาหน่ึงประเภท

• สารอาหารแตละประเภทมีประโยชนต อ

รางกายแตกตางกัน โดยคารโบไฮเดรต

๑๖

ช้ัน ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง

๓. ตระหนกั ถึงความสำคญั ของ โปรตนี และไขมัน เปนสารอาหารทใี่ ห

สารอาหาร โดยการเลอื กรบั ประทาน พลังงานแกร างกายสวนเกลอื แร

อาหารทมี่ สี ารอาหารครบถวน วติ ามนิ และนำ้ เปน สารอาหารท่ไี มใ ห

ในสดั สวนทีเ่ หมาะสมกบั เพศและวัย พลังงานแกร า งกาย แตชว ยใหรางกายทำงาน

รวมท้ังปลอดภัยตอสขุ ภาพ ไดเปนปกติ

• การรบั ประทานอาหาร เพ่ือใหรางกายเจรญิ

เติบโต มีการเปลี่ยนแปลงของรา งกายตามเพศ

และวัย และมีสขุ ภาพดี จำเปนตอ ง

รบั ประทานใหไดพลังงานเพยี งพอกับ

ความตอ งการของรา งกาย และใหได

สารอาหารครบถวน ในสดั สวนทเี่ หมาะสมกบั

เพศและวัย รวมท้ังตอ งคำนึงถงึ ชนิด

และปรมิ าณของวตั ถุเจือปนในอาหาร

เพอ่ื ความปลอดภยั ตอสขุ ภาพ

๔. สรางแบบจําลองระบบยอยอาหาร • ระบบยอยอาหารประกอบดวยอวยั วะตาง ๆ

และบรรยายหนา ท่ีของอวัยวะในระบบ ไดแก ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร

ยอ ยอาหาร รวมทั้งอธิบายการยอย ลาํ ไสเ ล็ก ลําไสใหญ ทวารหนัก ตับและ

อาหารและการดดู ซึมสารอาหาร ตบั ออน ซ่ึงทำหนาทีร่ ว มกันในการยอ ย

๕. ตระหนักถึงความสำคัญของระบบ และดดู ซึมสารอาหาร

ยอ ยอาหาร โดยการบอกแนวทางในการ - ปากมฟี นชว ยบดเคยี้ วอาหารใหมขี นาด

ดูแลรักษาอวยั วะในระบบยอ ยอาหารให เล็กลงและมลี ้ินชว ยคลุกเคลา อาหารกับ

ทำงานเปน ปกติ น้ำลาย ในน้ำลายมเี อนไซมย อยแปงใหเ ปน

น้ำตาล

- หลอดอาหารทำหนา ที่ลําเลียงอาหารจาก

ปากไปยังกระเพาะอาหาร ภายในกระเพาะ

อาหาร มกี ารยอยโปรตีนโดยกรดและเอนไซม

ที่สรา งจากกระเพาะอาหาร

- ลําไสเลก็ มีเอนไซมทส่ี รางจากผนังลําไสเลก็

เองและจากตับออนทช่ี วยยอยโปรตีน

คารโบไฮเดรต และไขมัน โดยโปรตีน

๑๗

ชัน้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง

คารโ บไฮเดรต และไขมันทีผ่ านการยอยจน

เปนสารอาหารขนาดเล็กพอท่ีจะดูดซึมได

รวมถึงนำ้ เกลอื แรแ ละวติ ามินจะถกู ดดู ซมึ ท่ี

ผนังลาํ ไสเ ลก็ เขา สูกระแสเลือด เพ่ือลําเลยี งไป

ยังสว นตาง ๆ ของรางกาย ซ่ึงโปรตนี

คารโ บไฮเดรต และไขมัน จะถกู นําไปใช

เปนแหลงพลงั งานสำหรบั ใชในกจิ กรรมตาง ๆ

สวนน้ำ เกลอื แรแ ละวิตามนิ จะชว ยให

รางกายทำงานไดเ ปนปกติ

- ตับสรางน้ำดแี ลวสง มายังลาํ ไสเล็ก ชวยให

ไขมนั แตกตวั

- ลาํ ไสใหญทำหนาท่ดี ดู น้ำและเกลือแร

เปน บรเิ วณท่ีมีอาหารทย่ี อยไมไ ดหรือยอย

ไมหมดเปนกากอาหาร ซึ่งจะถกู กาํ จัดออก

ทางทวารหนัก

• อวัยวะตา ง ๆ ในระบบยอยอาหาร

มคี วามสำคัญ จงึ ควรปฏบิ ตั ิตน ดแู ลรักษา

อวัยวะใหทำงานเปน ปกติ

สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช วี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๓ เขาใจกระบวนการและความสำคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร
พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลตอสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย
ทางชีวภาพและวิวฒั นาการของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งนำความรูไปใชประโยชน

ชั้น ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง

ป.๑ - -

ป.๒ ๑. เปรียบเทียบลักษณะของส่ิงมชี วี ติ และ • สิ่งทีอ่ ยรู อบตัวเรามีท้ังท่เี ปน ส่งิ มีชีวติ

สงิ่ ไมมีชวี ติ จากขอมูลทีร่ วบรวมได และส่ิงไมม ชี ีวติ ส่ิงมชี ีวิตตอ งการอาหาร

มีการหายใจเจรญิ เติบโตขบั ถายเคลือ่ นไหว

ตอบสนองตอ ส่งิ เรา และสืบพันธุไดล กู ทีม่ ี

๑๘

ชัน้ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรแู กนกลาง
ลกั ษณะคลา ยคลึงกบั พอ แม สว นส่ิงไมม ชี วี ิต
ป.๓ - จะไมมลี ักษณะดังกลา ว
ป.๔ ๑. จาํ แนกส่งิ มชี วี ิตโดยใชความเหมอื น -
• สิง่ มชี วี ติ มีหลายชนดิ สามารถจัดกลมุ ได
และความแตกตางของลักษณะของ โดยใชความเหมือนและความแตกตา งของ
ส่งิ มีชวี ิตออกเปนกลมุ พืช กลุมสตั วแ ละ ลกั ษณะตา ง ๆ เชน กลุมพืชสรางอาหารเองได
กลมุ ทีไ่ มใชพชื และสัตว และเคล่ือนทด่ี ว ยตนเองไมได กลมุ สัตวกนิ
ส่ิงมชี ีวิตอนื่ เปนอาหาร และเคลอ่ื นที่ไดก ลุม ท่ี
๒. จาํ แนกพืชออกเปน พืชดอก และ ไมใ ชพ ชื และสัตว เชน เห็ด รา จุลนิ ทรยี 
พืชไมมีดอก โดยใชการมีดอกเปนเกณฑ • การจําแนกพชื สามารถใชการมีดอก
โดยใชขอ มูลทรี่ วบรวมได เปน เกณฑในการจาํ แนก ไดเ ปน พชื ดอก
๓. จาํ แนกสตั วออกเปน สัตวมีกระดูก และพืชไมม ีดอก
สนั หลัง และสตั วไ มม ีกระดูกสนั หลงั • การจําแนกสตั วสามารถใชก ารมีกระดูก
โดยใชก ารมกี ระดูกสันหลังเปนเกณฑ สนั หลังเปนเกณฑในการจําแนกไดเ ปน สตั ว
โดยใชข อมลู ทรี่ วบรวมได มีกระดูกสันหลงั และสัตวไมม ีกระดูกสันหลงั
๔. บรรยายลักษณะเฉพาะทส่ี ังเกตได
ของสตั วมีกระดูกสนั หลังในกลมุ ปลา • สตั วม กี ระดกู สันหลงั มหี ลายกลุม ไดแก
กลมุ สตั วสะเทนิ นำ้ สะเทินบก กลมุ ปลา กลุม สตั วส ะเทนิ น้ำ สะเทินบก
กลมุ สัตวเลอ้ื ยคลาน กลุม นก และ กลุมสตั วเลื้อยคลาน กลมุ นก และกลุม สตั ว
กลมุ สัตวเ ลี้ยงลกู ดวยนำ้ นม และ เลีย้ งลกู ดว ยนำ้ นม ซงึ่ แตละกลมุ จะมีลักษณะ
ยกตัวอยา งสิ่งมชี ีวติ ในแตละกลุม เฉพาะท่ีสงั เกตได
ป.๕ ๑. อธบิ ายลักษณะทางพันธกุ รรมท่ีมี
การถา ยทอดจากพอแมส ูลกู ของพืช • สิ่งมีชีวิตท้ังพชื สัตวแ ละมนุษยเ มื่อโตเต็มท่ี
สัตว และมนษุ ย จะมีการสบื พันธุเ พื่อเพ่ิมจำนวนและดำรงพนั ธุ
๒. แสดงความอยากรูอยากเห็น โดย โดยลูกทเ่ี กิดมาจะไดร ับการถายทอดลกั ษณะ
การถามคาํ ถามเกยี่ วกบั ลกั ษณะท่ี ทางพนั ธกุ รรมจากพอแม ทำใหมลี กั ษณะ
คลายคลึงกันของตนเองกับพอแม ทางพนั ธุกรรมทเี่ ฉพาะแตกตา งจากส่งิ มีชวี ิต
ชนดิ อน่ื
• พืชมีการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
เชน ลักษณะของใบ สดี อก

๑๙

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู กนกลาง

• สัตวม ีการถายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม

เชน สขี น ลักษณะของขน ลักษณะของหู

• มนษุ ยมกี ารถายทอดลักษณะทางพันธกุ รรม

เชน เชงิ ผมท่ีหนาผากลักย้มิ ลักษณะหนังตา

การหอ ลิน้ ลักษณะของติง่ หู

ป.๖ - -

สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตรกายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๑ เขาใจสมบัติของสสาร องคประกอบของสสาร ความสัมพนั ธร ะหวา งสมบัติ
ของสสารกับโครงสรา งและแรงยึดเหน่ยี วระหวางอนภุ าค หลักและธรรมชาติของ
การเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี

ชนั้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง

ป.๑ ๑. อธบิ ายสมบตั ทิ ่ีสงั เกตไดข องวัสดุทใ่ี ช • วสั ดทุ ี่ใชทำวตั ถุท่เี ปน ของเลน ของใช

ทำวัตถุ ซึ่งทำจากวัสดชุ นดิ เดียว หรือ มีหลายชนิด เชน ผา แกว พลาสตกิ ยาง ไม

หลายชนิดประกอบกนั โดยใชหลกั ฐาน อิฐ หิน กระดาษ โลหะ วสั ดุแตละชนิด

เชิงประจักษ มสี มบัติทส่ี ังเกตไดตา ง ๆ เชน สีนุม แขง็

๒. ระบุชนดิ ของวสั ดุและจดั กลุม วสั ดุ ขรขุ ระ เรยี บ ใส ขนุ ยดื หดได บิดงอได

ตามสมบตั ิที่สงั เกตได • สมบตั ทิ ส่ี งั เกตไดข องวัสดุแตล ะชนิดอาจ

เหมอื นกนั ซ่ึงสามารถนำมาใชเ ปน เกณฑใน

การจัดกลุมวสั ดุได

• วัสดุบางอยางสามารถนํามาประกอบกนั

เพอ่ื ทำเปนวตั ถุตา ง ๆ เชน ผาและกระดมุ

ใชทำเส้อื ไม และโลหะ ใชทำกระทะ

ป.๒ ๑. เปรียบเทียบสมบัติการดูดซับนำ้ • วัสดแุ ตละชนิดมีสมบัติการดูดซบั น้ำ

ของวัสดโุ ดยใชหลักฐานเชิงประจกั ษ แตกตา งกัน จึงนําไปทำวตั ถุเพ่อื ใชป ระโยชน

และระบุการนาํ สมบัติการดูดซับนำ้ ไดแ ตกตา งกนั เชน ใชผ า ท่ดี ูดซบั นำ้ ไดมาก

ของวัสดไุ ปประยุกตใชในการทำวตั ถุ ทำผา เช็ดตวั ใชพ ลาสตกิ ซง่ึ ไมดดู ซบั นำ้ ทำรม

ในชีวิตประจำวนั

๒๐

ชั้น ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู กนกลาง

๒. อธบิ ายสมบตั ิทสี่ ังเกตไดของวัสดุ • วสั ดบุ างอยา งสามารถนํามาผสมกัน ซึ่งทำให

ทีเ่ กดิ จากการนําวสั ดมุ าผสมกันโดยใช ไดส มบัตทิ เี่ หมาะสม เพ่ือนําไปใชป ระโยชน

หลักฐานเชิงประจกั ษ ตามตองการ เชน แปงผสมน้ำตาลและกะทิ

ใชทำขนมไทย ปนู ปลาสเตอรผสมเยือ่

กระดาษใชทำกระปุกออมสิน ปนู ผสมหนิ

ทราย และน้ำใชท ำคอนกรีต

๓. เปรยี บเทยี บสมบตั ทิ สี่ ังเกตไดของวสั ดุ • การนําวัสดุมาทำเปนวัตถใุ นการใชง านตาม

เพอ่ื นาํ มาทำเปนวตั ถุในการใชงาน วตั ถุประสงคขึน้ อยูกับสมบตั ิของวสั ดุวัสดุ

ตามวตั ถุประสงค และอธิบายการนําวสั ดุ ทีใ่ ชแลวอาจนํากลับมาใชใหมได เชน

ทใ่ี ชแ ลว กลบั มาใชใ หมโ ดยใชหลักฐาน กระดาษใชแ ลว อาจนํามาทำเปนจรวด

เชงิ ประจักษ กระดาษ ดอกไมป ระดิษฐ ถงุ ใสของ

๔. ตระหนักถงึ ประโยชนข องการนําวสั ดุ

ทใี่ ชแ ลวกลับมาใชใ หม โดยการนาํ วสั ดุ

ทใ่ี ชแลวกลับมาใชใหม

ป.๓ ๑. อธบิ ายวา วตั ถปุ ระกอบข้นึ จาก • วตั ถุอาจทำจากชน้ิ สวนยอย ๆ ซ่งึ แตละชนิ้

ช้ินสว นยอย ๆ ซ่งึ สามารถแยกออกจาก มีลักษณะเหมือนกนั มาประกอบเขา ดวยกนั

กันไดแ ละประกอบกนั เปน วตั ถชุ น้ิ ใหมได เมื่อแยกชนิ้ สว นยอย ๆ แตล ะช้ินของวัตถุ

โดยใชหลักฐานเชงิ ประจกั ษ ออกจากกัน สามารถนาํ ช้นิ สว นเหลา นั้นมา

ประกอบเปน วัตถชุ ้ินใหมได เชน กาํ แพงบา น

มีกอ นอฐิ หลาย ๆ กอนประกอบเขา ดวยกัน

และสามารถนํากอนอิฐจากกาํ แพงบา น

มาประกอบเปน พ้ืนทางเดินได

๒. อธบิ ายการเปล่ียนแปลงของวสั ดุ • เมือ่ ใหความรอนหรอื ทำใหว ัสดุรอนขึ้น

เมอื่ ทำใหรอนขนึ้ หรอื ทำใหเย็นลง และเม่ือลดความรอนหรอื ทำใหวัสดุเยน็ ลง

โดยใชหลกั ฐานเชงิ ประจักษ วัสดุจะเกิดการเปลีย่ นแปลงไดเชน สเี ปลย่ี น

รปู รางเปล่ียน

ป.๔ ๑. เปรยี บเทยี บสมบตั ทิ างกายภาพ • วสั ดุแตละชนดิ มีสมบัตทิ างกายภาพ

ดานความแข็ง สภาพยืดหยนุ การนํา แตกตา งกนั วสั ดุท่มี ีความแขง็ จะทนตอ

ความรอน และการนําไฟฟาของวสั ดุ แรงขูดขดี วัสดุที่มสี ภาพยดื หยนุ จะ

โดยใชหลกั ฐานเชิงประจักษจาก เปล่ียนแปลงรูปรางเมื่อมแี รง

๒๑

ช้นั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง

การทดลองและระบกุ ารนาํ สมบตั ิ มากระทำและกลบั สภาพเดิมได

เรอื่ งความแข็ง สภาพยดื หยุน การนํา วสั ดทุ น่ี ําความรอ นจะรอนไดเ ร็วเมอ่ื ไดรับ

ความรอ น และการนาํ ไฟฟาของวสั ดุ ความรอนและวัสดทุ น่ี าํ ไฟฟาไดจ ะให

ไปใชในชวี ติ ประจำวันผา นกระบวนการ กระแสไฟฟาผา นได ดงั นั้นจงึ อาจนาํ

ออกแบบชน้ิ งาน สมบตั ิตาง ๆ มาพิจารณาเพื่อใชใ น

๒. แลกเปลย่ี นความคดิ กับผูอื่น กระบวนการออกแบบชน้ิ งานเพอ่ื ใชป ระโยชน

โดยการอภปิ รายเกยี่ วกับสมบัติ ในชวี ติ ประจำวัน

ทางกายภาพของวสั ดอุ ยางมีเหตผุ ล

จากการทดลอง

๓. เปรียบเทยี บสมบัตขิ องสสาร • วัสดเุ ปน สสารเพราะมมี วลและตองการที่อยู

ทั้ง ๓ สถานะ จากขอมูลทีไ่ ด สสารมีสถานะเปนของแข็ง ของเหลว

จากการสังเกตมวล การตองการท่ีอยู หรือแกส ของแข็งมปี ริมาตรและรูปรา งคงท่ี

รปู รา ง และปรมิ าตรของสสาร ของเหลวมปี ริมาตรคงทีแ่ ตมรี ูปรางเปลยี่ นไป

๔. ใชเคร่อื งมือเพ่ือวดั มวล และปริมาตร ตามภาชนะเฉพาะสวนทีบ่ รรจุของเหลว

ของสสารทงั้ ๓ สถานะ สวนแกสมปี รมิ าตรและรปู รางเปล่ียนไปตาม

ภาชนะทบี่ รรจุ

ป.๕ ๑. อธิบายการเปลยี่ นสถานะของสสาร • การเปลีย่ นสถานะของสสาร

เมือ่ ทำใหสสารรอ นขึน้ หรือเย็นลง โดยใช เปน การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เม่อื เพ่ิม

หลกั ฐานเชงิ ประจักษ ความรอนใหกับสสารถงึ ระดับหนึ่งจะทำให

สสารทเ่ี ปน ของแข็งเปลย่ี นสถานะ

เปน ของเหลว เรยี กวา การหลอมเหลว

และเม่ือเพ่ิมความรอนตอไปจนถึง

อีกระดับหน่งึ ของเหลวจะเปล่ียนเปนแกส

เรียกวา การกลายเปนไอ แตเม่ือลดความรอน

ลงถึงระดับหน่งึ แกสจะเปลย่ี นสถานะเปน

ของเหลว เรียกวา การควบแนน และถาลด

ความรอ นตอไปอีกจนถงึ ระดับหนึง่ ของเหลว

จะเปลย่ี นสถานะเปนของแข็ง เรยี กวา

การแขง็ ตัว สสารบางชนิดสามารถเปลีย่ น

สถานะจากของแข็งเปนแกส โดยไมผ าน

๒๒

ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรูแ กนกลาง

การเปนของเหลว เรยี กวา การระเหดิ

สวนแกส บางชนิดสามารถเปลี่ยนสถานะเปน

ของแขง็ โดยไมผานการเปนของเหลวเรียกวา

การระเหดิ กลบั

๒. อธิบายการละลายของสารในน้ำ • เม่ือใสส ารลงในนำ้ แลวสารนั้น รวมเปน

โดยใชห ลักฐาน เน้อื เดยี วกนั กับนำ้ ทั่วทุกสว น แสดงวาสารเกดิ

เชิงประจกั ษ การละลาย เรียกสารผสมที่ไดวาสารละลาย

๓. วเิ คราะหการเปลย่ี นแปลงของสาร • เมือ่ ผสมสาร ๒ ชนิดขึ้นไปแลว มีสารใหม

เมอื่ เกดิ การเปล่ยี นแปลงทางเคมี โดยใช เกดิ ขนึ้ ซ่งึ มีสมบตั ติ า งจากสารเดิมหรอื เมื่อ

หลกั ฐานเชิงประจกั ษ สารชนดิ เดยี วเกดิ การเปล่ียนแปลงแลว มี

สารใหมเ กิดขน้ึ การเปลี่ยนแปลงนเี้ รียกวา

การเปลีย่ นแปลงทางเคมี ซึ่งสงั เกตไดจ ากมีสี

หรือกล่ินตา งจากสารเดมิ หรือมีฟองแกส หรือ

มีตะกอนเกดิ ข้ึน หรือมีการเพิ่มข้ึนหรอื ลดลง

ของอุณหภูมิ

๔. วเิ คราะหและระบุการเปลี่ยนแปลง • เมื่อสารเกดิ การเปลีย่ นแปลงแลว

ท่ผี ันกลบั ไดแ ละการเปลยี่ นแปลงทผ่ี ัน สารสามารถเปลีย่ นกลบั เปนสารเดิมได

กลบั ไมได เปนการเปล่ียนแปลงทผ่ี นั กลบั ได เชน

การหลอมเหลว การกลายเปนไอ การละลาย

แตส ารบางอยา งเกิดการเปลี่ยนแปลงแลว

ไมส ามารถเปลี่ยนกลับเปน สารเดมิ ได

เปนการเปล่ยี นแปลงท่ี ผนั กลับไมไ ด เชน

การเผาไหมการเกิดสนิม

ป.๖ ๑. อธบิ ายและเปรยี บเทยี บการแยก • สารผสมประกอบดวยสารต้ังแต ๒ ชนิด

สารผสมโดยการหยิบออก การรอ น ขึ้นไปผสมกัน เชน น้ำมนั ผสมนำ้ ขาวสาร

การใชแ มเ หล็กดึงดดู การรินออก ปนกรวดทราย วิธกี ารทเี่ หมาะสมในการแยก

การกรอง และการตกตะกอน โดยใช สารผสมขึ้นอยูก ับลักษณะและสมบัตขิ องสาร

หลักฐานเชงิ ประจกั ษร วมทัง้ ระบวุ ิธี ทผี่ สมกนั ถา องคประกอบของสารผสม

แกป ญ หาในชวี ติ ประจำวันเกี่ยวกับ เปน ของแข็งกับของแข็งที่มขี นาดแตกตางกนั

การแยกสาร

๒๓

ชน้ั ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง

อยา งชัดเจน อาจใชวธิ ีการหยิบออก หรอื

การรอนผา นวสั ดทุ ีม่ ีรูถามสี ารใดสารหนึ่ง

เปนสารแมเหลก็ อาจใชว ธิ ีการใชแมเหล็ก

ดงึ ดดู ถาองคป ระกอบเปน ของแข็งที่ไมละลาย

ในของเหลว อาจใชวิธกี ารรินออกการกรอง

หรอื การตกตะกอน ซึ่งวธิ ีการแยกสารสามารถ

นําไปใชป ระโยชนใ นชวี ิตประจำวนั ได

สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตรก ายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๒ เขาใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำตอวัตถุ
ลกั ษณะ การเคลื่อนทแ่ี บบตา ง ๆ ของวตั ถุรวมทงั้ นำความรูไปใชป ระโยชน

ช้ัน ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง

ป.๑ - -

ป.๒ - -

ป.๓ ๑. ระบผุ ลของแรงที่มีตอการ • การดงึ หรอื การผลกั เปนการออกแรงกระทำ

เปลยี่ นแปลงการเคล่ือนท่ขี องวตั ถุ ตอวตั ถุแรงมีผลตอการเคล่อื นท่ีของวัตถุแรง

จากหลกั ฐานเชิงประจักษ อาจทำใหวัตถเุ กิดการเคลื่อนที่โดยเปลีย่ น

ตำแหนงจากท่หี นงึ่ ไปยังอีกท่ีหนึง่

• การเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนทข่ี องวัตถุ ไดแก

วตั ถุที่อยนู ง่ิ เปลีย่ นเปน เคล่อื นที่ วตั ถุทกี่ าํ ลงั

เคล่อื นท่เี ปลี่ยนเปนเคลอื่ นทีเ่ รว็ ข้ึนหรือชา ลง

หรือหยุดนง่ิ หรอื เปลยี่ นทิศทางการเคล่ือนท่ี

๒. เปรยี บเทยี บและยกตัวอยางแรงสมั ผัส • การดึงหรือการผลักเปนการออกแรงทเ่ี กิด

และแรงไมส มั ผสั ท่ีมผี ลตอการเคล่ือนที่ จากวตั ถุหนึง่ กระทำกับอีกวตั ถุหน่ึง โดยวตั ถุ

ของวตั ถุโดยใชหลกั ฐานเชิงประจกั ษ ทั้งสองอาจสัมผัสหรอื ไมต องสัมผสั กนั เชน

การออกแรงโดยใชมอื ดึงหรอื การผลักโตะให

เคลอ่ื นทเี่ ปนการออกแรงท่วี ัตถุตอ งสมั ผสั กนั

แรงนีจ้ งึ เปน แรงสมั ผสั สวนการทีแ่ มเหลก็

ดงึ ดดู หรอื ผลกั ระหวา งแมเหล็ก เปน แรงท่ี

๒๔

ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง

เกดิ ข้นึ โดยแมเ หล็กไมจ ำเปน ตอ งสัมผสั กัน

แรงแมเหล็กนีจ้ ึงเปน แรงไมส ัมผัส

๓. จําแนกวตั ถโุ ดยใชการดึงดูดกับ • แมเ หล็กสามารถดึงดูดสารแมเ หล็กได

แมเหล็กเปนเกณฑจากหลกั ฐาน • แรงแมเหล็กเปน แรงท่ีเกดิ ข้ึนระหวา ง

เชิงประจักษ แมเหล็กกับสารแมเ หล็ก หรือแมเหลก็ กบั

๔. ระบขุ วั้ แมเ หล็กและพยากรณผล แมเหลก็ แมเ หล็ก มี๒ ขว้ั คือ ขั้วเหนือและ

ท่เี กิดข้ึนระหวา งขั้วแมเหลก็ เมอ่ื นาํ มา ขว้ั ใต ขวั้ แมเหลก็ ชนดิ เดียวกันจะผลกั กนั

เขา ใกลกนั จากหลักฐานเชิงประจักษ ตา งชนิดกนั จะดึงดูดกนั

ป.๔ ๑. ระบผุ ลของแรงโนม ถว งที่มีตอวัตถุ • แรงโนมถว งของโลกเปน แรงดึงดูดทโ่ี ลก

จากหลักฐานเชิงประจักษ กระทำตอวัตถุมีทิศทางเขา สศู ูนยกลางโลก

๒. ใชเครื่องช่ังสปริงในการวัดนำ้ หนัก และเปนแรงไมส ัมผสั แรงดงึ ดูดท่ีโลกกระทำ

ของวตั ถุ กับวัตถหุ น่ึง ๆ ทำใหวัตถตุ กลงสูพื้นโลกและ

ทำใหวัตถมุ ีนำ้ หนัก วัดนำ้ หนักของวตั ถไุ ดจาก

เคร่อื งชง่ั สปรงิ นำ้ หนกั ของวตั ถุขึ้นกับมวล

ของวัตถุโดยวัตถุทมี่ มี วลมากจะมนี ำ้ หนักมาก

วัตถุท่ีมมี วลนอ ยจะมนี ้ำหนักนอย

๓. บรรยายมวลของวัตถทุ ีม่ ผี ลตอการ • มวล คอื ปริมาณเนื้อของสสารท้ังหมดท่ี

เปลยี่ นแปลง ประกอบกันเปน วัตถซุ ง่ึ มผี ลตอความยากงา ย

การเคลอ่ื นท่ขี องวตั ถุจากหลกั ฐานเชงิ ในการเปล่ียนแปลงการเคลื่อนท่ีของวตั ถุ

ประจักษ วตั ถุทม่ี ีมวลมากจะเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ี

ไดยากกวา วตั ถทุ ่มี ีมวลนอ ย ดังน้นั มวลของ

วตั ถุ นอกจากจะหมายถงึ เน้ือทั้งหมดของวัตถุ

น้ันแลว ยงั หมายถงึ การตานการเปลีย่ นแปลง

การเคลอ่ื นทข่ี องวตั ถุน้นั ดวย

ป.๕ ๑. อธิบายวธิ กี ารหาแรงลัพธข องแรง • แรงลัพธเปนผลรวมของแรงที่กระทำตอวตั ถุ

หลายแรงในแนวเดยี วกนั ที่กระทำตอวตั ถุ โดยแรงลัพธข องแรง ๒ แรงที่กระทำตอ วตั ถุ

ในกรณที ่ีวัตถุอยนู ่ิงจากหลักฐาน เดยี วกนั จะมีขนาดเทา กับผลรวมของแรง

เชิงประจกั ษ ท้ังสองเมอื่ แรงทั้งสองอยูในแนวเดยี วกนั และ

มที ศิ ทางเดยี วกนั แตจะมีขนาดเทากบั ผลตา ง

ของแรงท้งั สองเมื่อแรงทงั้ สองอยูในแนว

๒๕

ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง

๒. เขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระทำ เดยี วกนั แตมที ิศทางตรงขามกัน สำหรบั วัตถทุ ี่

ตอ วตั ถทุ ี่อยใู นแนวเดยี วกันและแรงลพั ธ อยนู ิ่งแรงลัพธท กี่ ระทำตอวัตถมุ ีคา เปน ศนู ย

ทกี่ ระทำตอวัตถุ • การเขยี นแผนภาพของแรงที่กระทำตอวตั ถุ

๓. ใชเคร่อื งชงั่ สปรงิ ในการวดั แรง สามารถเขียนไดโดยใชลกู ศร โดยหัวลกู ศร

ทกี่ ระทำตอวัตถุ แสดงทิศทางของแรง และความยาวของลูกศร

แสดงขนาดของแรงที่กระทำตอวัตถุ

๔. ระบผุ ลของแรงเสยี ดทานทม่ี ตี อการ • แรงเสียดทานเปน แรงท่เี กดิ ขน้ึ ระหวาง

เปลีย่ นแปลงการเคลื่อนท่ีของวตั ถุ ผวิ สัมผัสของวตั ถุ เพื่อตานการเคล่ือนที่ของ

จากหลักฐานเชงิ ประจักษ วัตถุน้นั โดยถาออกแรงกระทำตอวตั ถทุ ่ีอยนู ิ่ง

๕. เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทาน บนพนื้ ผิวหนง่ึ ใหเ คลอ่ื นท่แี รงเสยี ดทานจาก

และแรงท่ีอยูในแนวเดียวกันที่กระทำ พน้ื ผิวนั้นกจ็ ะตา นการเคล่ือนท่ขี องวตั ถุ แตถา

ตอ วตั ถุ วัตถุกําลงั เคลื่อนที่แรงเสยี ดทานกจ็ ะทำให

วัตถนุ ้นั เคล่ือนท่ีชา ลงหรือหยุดนง่ิ

ป.๖ ๑. อธบิ ายการเกิดและผลของแรงไฟฟา • วัตถุ ๒ ชนิดทผ่ี า นการขดั ถูแลว เมอื่ นาํ เขา

ซึง่ เกดิ จากวตั ถทุ ผี่ า นการขดั ถู โดยใช ใกลก นั อาจดึงดูดหรือผลกั กัน แรงที่เกดิ ข้นึ น้ี

หลักฐานเชิงประจกั ษ เปน แรงไฟฟา ซ่ึงเปนแรงไมส ัมผสั เกดิ ข้นึ

ระหวา งวตั ถทุ ่มี ปี ระจุไฟฟา ซึ่งประจไุ ฟฟาม๒ี

ชนดิ คือ ประจไุ ฟฟา บวกและประจุไฟฟา ลบ

วัตถุท่มี ีประจุไฟฟา ชนิดเดียวกนั ผลักกนั

ชนดิ ตรงขามกันดึงดูดกัน

๒๖

สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลียนแปลงและการถ่ายโอน

พลงั งาน ปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างสสารและพลงั งาน พลงั งานในชีวติ ประจําวนั

ธรรมชาติ ของคลนื ปรากฏการณ์ทเี กยี วขอ้ งกบั เสยี ง แสง และ

คลนื แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทงั นําความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ชนั้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง

ป.๑ ๑. บรรยายการเกดิ เสียงและทิศทาง • เสยี งเกิดจากการสั่นของวัตถวุ ัตถุทที่ ำให

การเคลอื่ นท่ขี องเสียงจากหลักฐาน เกดิ เสียงเปน แหลง กำเนิดเสียง ซึ่งมที ้ัง

เชงิ ประจกั ษ แหลง กำเนดิ เสยี งตามธรรมชาติและ

แหลง กำเนิดเสยี งท่ีมนษุ ยส รา งข้นึ

เสียงเคล่ือนท่ีออกจากแหลงกำเนดิ เสยี ง

ทกุ ทิศทาง

ป.๒ ๑. บรรยายแนวการเคล่อื นที่ของแสงจาก • แสงเคล่ือนทจี่ ากแหลง กำเนิดแสง

แหลงกำเนดิ แสง และอธบิ ายการมองเห็น ทกุ ทิศทางเปน แนวตรง เมอื่ มีแสงจากวตั ถุ

วตั ถุจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ มาเขา ตาจะทำใหมองเห็นวัตถุนั้น

๒. ตระหนกั ในคุณคาของความรูของ การมองเห็นวตั ถุทเี่ ปนแหลง กำเนดิ แสง

การมองเหน็ โดยเสนอแนะแนวทาง แสงจากวตั ถุนน้ั จะเขาสูต าโดยตรง

การปอ งกันอนั ตรายจากการมองวตั ถุท่ีอยู สวนการมองเหน็ วัตถุทไี่ มใ ชแหลง กำเนดิ แสง

ในบริเวณท่ีมแี สงสวางไมเหมาะสม ตอ งมีแสงจากแหลงกำเนดิ แสงไปกระทบวตั ถุ

แลวสะทอนเขา ตา ถามแี สงที่สวา งมาก ๆ

เขา สตู า อาจเกิดอันตรายตอตาไดจึงตอง

หลีกเลย่ี งการมองหรือใชแผนกรองแสงทีม่ ี

คุณภาพเมือ่ จําเปน และตองจัดความสวาง

ใหเหมาะสมกบั การทำกิจกรรมตาง ๆ เชน

การอา นหนังสือ การดจู อโทรทัศน การใช

โทรศัพทเ คล่อื นท่ีและแทบ็ เล็ต

ป.๓ ๑. ยกตวั อยา งการเปลยี่ นพลังงานหนึ่ง • พลังงานเปนปรมิ าณท่แี สดงถงึ

ไปเปน อีกพลังงานหนึง่ จากหลักฐาน ความสามารถในการทำงาน

เชงิ ประจักษ พลงั งานมีหลายแบบ เชน พลังงานกล

พลังงานไฟฟา พลงั งานแสง พลงั งานเสียง

๒๗

ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง
และพลงั งานความรอน โดยพลงั งานสามารถ
๒. บรรยายการทำงานของเครือ่ งกำเนิด เปลย่ี นจากพลงั งานหน่ึงไปเปนอกี พลงั งาน
ไฟฟา และระบุแหลง พลงั งานในการผลติ หน่ึงไดเชน การถูมอื จนรสู ึกรอนเปน การ
ไฟฟา จากขอ มลู ท่รี วบรวมได เปล่ียนพลังงานกลเปนพลังงานความรอน
๓. ตระหนกั ในประโยชนและโทษ แผงเซลลส ุริยะเปลีย่ นพลงั งานแสงเปน
ของไฟฟา โดยนําเสนอวิธกี ารใชไ ฟฟา พลงั งานไฟฟา หรอื เคร่อื งใชไฟฟาเปล่ียน
อยางประหยดั และปลอดภยั พลังงานไฟฟาเปนพลังงานอ่ืน
• ไฟฟา ผลิตจากเคร่ืองกำเนดิ ไฟฟา ซึง่ ใช
ป.๔ ๑. จําแนกวตั ถุเปน ตัวกลางโปรง ใส พลังงานจากแหลงพลงั งานธรรมชาติ
ตัวกลางโปรง แสง และวัตถุทึบแสง หลายแหลง เชน พลงั งานจากลม พลงั งาน
จากลกั ษณะการมองเหน็ สงิ่ ตาง ๆ จากน้ำ พลังงานจากแกสธรรมชาติ
ผา นวัตถนุ น้ั เปนเกณฑ โดยใชห ลกั ฐาน • พลังงานไฟฟามีความสำคญั ตอ
เชิงประจักษ ชวี ติ ประจำวัน การใชไ ฟฟานอกจากตองใช
อยา งถูกวิธปี ระหยัดและคุมคาแลว ยงั ตอง
ป.๕ ๑. อธบิ ายการไดยินเสยี งผานตัวกลาง คำนึงถึงความปลอดภัยดว ย
จากหลักฐานเชิงประจักษ • เมอ่ื มองสิ่งตา ง ๆ โดยมวี ัตถุตา งชนิดกนั
มากนั้ แสงจะทำใหลกั ษณะการมองเห็น
๒. ระบุตัวแปร ทดลอง และอธบิ าย ส่งิ นน้ั ๆ ชัดเจนตางกัน จึงจําแนกวัตถุ
ลักษณะและการเกิดเสยี งสงู เสียงตำ่ ที่มาก้นั ออกเปน ตวั กลางโปรง ใสซ่ึงทำให
๓. ออกแบบการทดลองและอธบิ าย มองเห็นส่งิ ตาง ๆ ไดช ดั เจน ตัวกลาง
ลกั ษณะและการเกิดเสียงดงั เสยี งคอย โปรง แสงทำใหมองเหน็ สิง่ ตา ง ๆ ไดไมช ัดเจน
และวตั ถทุ บึ แสงทำใหมองไมเห็นสงิ่ ตาง ๆ
• การไดยินเสียงตองอาศัยตวั กลาง โดยอาจ
เปน ของแขง็ ของเหลว หรืออากาศ เสียงจะ
สงผานตัวกลางมายังหู
• เสยี งที่ไดย ินมีระดับสูงตำ่ ของเสยี งตางกนั
ขน้ึ กบั ความถี่ของการสน่ั ของแหลง กำเนิด
เสียง โดยเมือ่ แหลง กำเนิดเสียงสั่นดวย
ความถตี่ ่ำจะเกดิ เสยี งตำ่ แตถ าสั่นดว ยความถ่ี
สูงจะเกิดเสยี งสงู สวนเสยี งดังคอ ยท่ีไดย นิ

๒๘

ช้นั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง

๔. วัดระดบั เสียงโดยใชเคร่ืองมอื ขน้ึ กับพลงั งานการสน่ั ของแหลง กำเนิดเสยี ง

วดั ระดบั เสียง โดยเม่อื แหลง กำเนิดเสียงส่ันดวยพลงั งานมาก

๕. ตระหนักในคุณคาของความรู จะเกิดเสยี งดัง แตถาแหลงกำเนดิ เสียง

เรือ่ งระดับเสยี ง โดยเสนอแนะแนวทาง สั่นดว ยพลังงานนอยจะเกิดเสียงคอ ย

ในการหลกี เลี่ยงและลดมลพิษทางเสยี ง • เสยี งดงั มาก ๆ เปนอันตรายตอการไดย ิน

และเสียงท่ีกอใหเ กดิ ความรําคาญเปน มลพิษ

ทางเสยี ง เดซเิ บลเปน หนวยท่ีบอกถึงความดัง

ของเสยี ง

ป.๖ ๑. ระบสุ ว นประกอบและบรรยายหนา ที่ • วงจรไฟฟา อยางงายประกอบดวย

ของแตละสว นประกอบของวงจรไฟฟา แหลงกำเนิดไฟฟา สายไฟฟา และ

อยางงา ยจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ เครื่องใชไฟฟา หรืออปุ กรณไฟฟา

๒. เขียนแผนภาพและตอวงจรไฟฟา แหลง กำเนิดไฟฟา เชน ถานไฟฉาย หรือ

อยางงา ย แบตเตอร่ี ทำหนาทีใ่ หพลังงานไฟฟา

สายไฟฟา เปนตวั นําไฟฟา ทำหนาท่ีเช่ือมตอ

ระหวา งแหลง กำเนิดไฟฟา และเครื่องใชไฟฟา

เขา ดวยกัน เครื่องใชไฟฟา มหี นาท่ีเปลี่ยน

พลังงานไฟฟา เปน พลงั งานอนื่

๓. ออกแบบการทดลองและทดลองดว ย • เมื่อนาํ เซลลไ ฟฟาหลายเซลลม าตอเรียงกัน

วธิ ีท่เี หมาะสมในการอธิบายวิธกี ารและผล โดยใหข ้ัวบวกของเซลลไฟฟา เซลลหน่ึงตอกบั

ของการตอ เซลลไฟฟาแบบอนกุ รม ขว้ั ลบของอกี เซลลหนึง่ เปน การตอแบบ

๔. ตระหนักถงึ ประโยชนของความรูของ อนุกรม ทำใหมีพลงั งานไฟฟา เหมาะสมกบั

การตอเซลลไฟฟาแบบอนุกรม โดยบอก เครื่องใชไฟฟา ซึ่งการตอเซลลไฟฟา

ประโยชนและการประยกุ ตใช แบบอนุกรมสามารถนําไปใชป ระโยชน

ในชวี ติ ประจำวัน ในชีวติ ประจำวัน เชน การตอ เซลลไ ฟฟา

ในไฟฉาย

๕. ออกแบบการทดลองและทดลองดว ย • การตอหลอดไฟฟา แบบอนุกรมเมื่อถอด

วธิ ีท่เี หมาะสมในการอธิบายการตอหลอด หลอดไฟฟาดวงใดดวงหน่งึ ออก ทำให

ไฟฟาแบบอนกุ รมและแบบขนาน หลอดไฟฟาที่เหลือดบั ทัง้ หมด สว นการตอ

๖. ตระหนกั ถงึ ประโยชนข องความรขู อง หลอดไฟฟาแบบขนาน เมอ่ื ถอดหลอดไฟฟา

การตอหลอดไฟฟาแบบอนุกรม ดวงใดดวงหนง่ึ ออก หลอดไฟฟาทเี่ หลอื ก็ยัง

๒๙

ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง
และแบบขนาน โดยบอกประโยชน สวางไดการตอหลอดไฟฟาแตละแบบ
ขอ จาํ กัดและการประยุกตใ ช สามารถนําไปใชป ระโยชนไ ด เชน การตอ
ในชีวติ ประจำวนั หลอดไฟฟา หลายดวงในบา นจึงตอง
ตอ หลอดไฟฟา แบบขนาน เพ่ือเลือกใช
๗. อธิบายการเกดิ เงามดื เงามัว หลอดไฟฟาดวงใดดวงหนึ่งไดตามตองการ
จากหลักฐานเชงิ ประจักษ • เม่ือนาํ วัตถทุ ึบแสงมากั้นแสงจะเกดิ เงา
๘. เขียนแผนภาพรังสีของแสง บนฉากรับแสงที่อยูด า นหลังวัตถุโดยเงามี
แสดงการเกิดเงามืดเงามัว รูปรา งคลายวัตถทุ ี่ทำใหเ กิดเงา เงามัวเปน
บรเิ วณทมี่ แี สงบางสวนตกลงบนฉาก
สว นเงามืดเปนบรเิ วณที่ไมมีแสงตกลงบนฉาก

สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตรโลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๑ เขาใจองคประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ
กาแล็กซีดาวฤกษและระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะ ที่สงผล
ตอส่ิงมีชีวติ และการประยกุ ตใชเทคโนโลยอี วกาศ

ชน้ั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรูแ กนกลาง

ป.๑ ๑. ระบุดาวที่ปรากฏบนทอ งฟา ในเวลา • บนทอ งฟามีดวงอาทิตยด วงจันทรและดาว

กลางวันและกลางคนื จากขอมูลท่ี ซงึ่ ในเวลากลางวนั จะมองเห็นดวงอาทิตย

รวบรวมได และอาจมองเหน็ ดวงจันทรบางเวลาในบางวนั

๒. อธบิ ายสาเหตทุ ี่มองไมเหน็ ดาว แตไ มส ามารถมองเหน็ ดาว

สวนใหญใ นเวลากลางวนั จากหลกั ฐาน • ในเวลากลางวนั มองไมเ หน็ ดาวสว นใหญ

เชิงประจกั ษ เนือ่ งจากแสงอาทิตยส วา งกวาจึงกลบแสงของ

ดาว สว นในเวลากลางคนื จะมองเหน็ ดาวและ

มองเหน็ ดวงจันทรเ กือบทกุ คืน

ป.๒ - -

ป.๓ ๑. อธิบายแบบรปู เสน ทางการข้นึ และตก • คนบนโลกมองเห็นดวงอาทิตยป รากฏขึ้น

ของดวงอาทติ ยโ ดยใชห ลักฐาน ทางดา นหนึ่งและตกทางอีกดานหนึ่งทกุ วนั

เชงิ ประจกั ษ หมนุ เวียนเปน แบบรูปซ้ำ ๆ

๓๐

ช้นั ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแ กนกลาง

๒. อธบิ ายสาเหตกุ ารเกดิ ปรากฏการณ • โลกกลมและหมนุ รอบตัวเองขณะโคจรรอบ

การขน้ึ และตกของดวงอาทติ ยการเกดิ ดวงอาทิตยทำใหบ ริเวณของโลกไดรบั

กลางวันกลางคนื และการกำหนดทิศ แสงอาทติ ยไมพรอมกัน โลกดานทไ่ี ดร บั แสง

โดยใชแ บบจาํ ลอง จากดวงอาทติ ยจ ะเปน กลางวัน สว นดาน

๓. ตระหนักถึงความสำคัญของ ตรงขา มที่ไมไดร ับแสงจะเปนกลางคนื

ดวงอาทติ ย โดยบรรยายประโยชน นอกจากนคี้ นบนโลกจะมองเห็น

ของดวงอาทิตยตอ สิง่ มชี วี ิต ดวงอาทิตยปรากฏขึ้นทางดา นหนึ่ง

ซ่ึงกําหนดใหเปน ทศิ ตะวันออก และมองเหน็

ดวงอาทติ ยต กทางอีกดานหน่ึง ซง่ึ กาํ หนดให

เปนทศิ ตะวันตก และเมือ่ ใหดานขวามอื อยู

ทางทิศตะวนั ออก ดา นซา ยมืออยูทางทิศ

ตะวันตก ดา นหนา จะเปนทิศเหนือ และ

ดา นหลงั จะเปนทิศใต

• ในเวลากลางวันโลกจะไดร ับพลงั งานแสง

และพลงั งานความรอนจากดวงอาทติ ยทำให

ส่งิ มีชวี ติ ดำรงชวี ิตอยไู ด

ป.๔ ๑. อธบิ ายแบบรูปเสนทางการขึ้นและตก • ดวงจนั ทรเ ปน บริวารของโลก โดยดวงจนั ทร

ของดวงจันทร โดยใชห ลักฐาน หมนุ รอบตัวเองขณะโคจรรอบโลก ขณะทโ่ี ลก

เชงิ ประจกั ษ ก็หมุนรอบตวั เองดวยเชน กัน การหมนุ

รอบตวั เองของโลกจากทิศตะวันตก

ไปทิศตะวนั ออกในทศิ ทางทวนเขม็ นาิกา

เม่ือมองจากขวั้ โลกเหนอื ทำใหม องเหน็

ดวงจนั ทรป รากฏขน้ึ ทางดา นทิศตะวนั ออก

และตกทางดานทศิ ตะวันตก หมนุ เวยี นเปน

แบบรูปซ้ำ ๆ

๒. สรา งแบบจาํ ลองทีอ่ ธบิ ายแบบรูป • ดวงจันทรเ ปน วตั ถุทเี่ ปนทรงกลม แตร ูปรา ง

การเปลยี่ นแปลงรูปรา งปรากฏของ ของดวงจนั ทรทม่ี องเหน็ หรอื รูปรางปรากฏ

ดวงจนั ทร และพยากรณร ูปรา งปรากฏ ของดวงจนั ทรบนทองฟาแตกตางกนั ไปในแต

ของดวงจนั ทร ละวัน โดยในแตละวันดวงจนั ทรจะมรี ปู ราง

ปรากฏเปน เสีย้ วที่มีขนาดเพ่ิมข้ึนอยาง

๓๑

ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ตอ เนอ่ื งจนเตม็ ดวง จากนน้ั รูปรา งปรากฏของ

ดวงจนั ทรจ ะแหวง และมีขนาดลดลงอยา ง

ตอ เนอ่ื งจนมองไมเหน็ ดวงจนั ทร จากน้ัน

รปู รางปรากฏของดวงจนั ทรจ ะเปน เส้ยี วใหญ

ขึ้นจนเตม็ ดวงอีกคร้ัง การเปล่ียนแปลงเชน น้ี

เปนแบบรปู ซำ้ กันทุกเดือน

๓. สรา งแบบจําลองแสดงองคประกอบ • ระบบสรุ ิยะเปน ระบบท่ีมีดวงอาทติ ย

ของระบบสรุ ยิ ะ และอธิบายเปรยี บเทยี บ เปนศนู ยก ลางและมีบริวารประกอบดว ย

คาบการโคจรของดาวเคราะหตา ง ๆ ดาวเคราะหแ ปดดวงและบรวิ าร

จากแบบจําลอง ซง่ึ ดาวเคราะหแตล ะดวงมขี นาดและระยะหา ง

จากดวงอาทิตยแ ตกตา งกัน และ

ยังประกอบดว ย ดาวเคราะหแคระ

ดาวเคราะหนอย ดาวหาง และวตั ถขุ นาดเล็ก

อน่ื ๆ โคจรอยรู อบดวงอาทติ ยวตั ถุขนาดเลก็

อนื่ ๆ เม่อื เขา มาในชน้ั บรรยากาศเนื่องจาก

แรงโนม ถว งของโลก ทำใหเ กิดเปนดาวตกหรอื

ผีพุงไตและอกุ กาบาต

ป.๕ ๑. เปรียบเทยี บความแตกตางของ • ดาวทมี่ องเห็นบนทองฟาอยูในอวกาศ

ดาวเคราะหและดาวฤกษจากแบบจําลอง ซ่ึงเปนบรเิ วณที่อยูนอกบรรยากาศของโลก

มที ั้งดาวฤกษแ ละดาวเคราะห ดาวฤกษเปน

แหลงกำเนิดแสงจงึ สามารถมองเหน็ ได

สว นดาวเคราะหไ มใชแหลง กำเนดิ แสง

แตส ามารถมองเหน็ ไดเน่ืองจากแสงจาก

ดวงอาทติ ยตกกระทบดาวเคราะห

แลว สะทอ นเขาสตู า

๒. ใชแผนทด่ี าวระบตุ ำแหนง และ • การมองเหน็ กลุมดาวฤกษมีรูปรางตาง ๆ

เสน ทางการข้ึนและตกของกลุมดาวฤกษ เกดิ จากจินตนาการของผูสงั เกต กลุม ดาวฤกษ

บนทองฟา และอธบิ ายแบบรูปเสน ทาง ตาง ๆ ทีป่ รากฏในทอ งฟาแตละกลมุ มีดาว

การข้นึ และตกของกลุมดาวฤกษ ฤกษแตละดวงเรยี งกันทต่ี ำแหนงคงทแี่ ละมี

บนทองฟาในรอบป เสน ทางการข้ึนและตกตามเสนทางเดิมทกุ คืน

๓๒

ชั้น ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง

ซง่ึ จะปรากฏตำแหนงเดมิ การสังเกตตำแหนง

และการข้นึ และตกของดาวฤกษและกลุม ดาว

ฤกษส ามารถทำไดโ ดยใชแผนทดี่ าว ซึ่งระบุ

มมุ ทิศและมุมเงยท่ีกลมุ ดาวน้ันปรากฏ

ผูส ังเกตสามารถใชมือในการประมาณคาของ

มมุ เงยเมื่อสังเกตดาวในทองฟา

ป.๖ ๑. สรา งแบบจาํ ลองทอี่ ธิบายการเกิด • เมอื่ โลกและดวงจันทรโ คจรมาอยใู นแนว

และเปรียบเทียบปรากฏการณ เสนตรงเดียวกันกับดวงอาทติ ยในระยะทางที่

สรุ ยิ ุปราคาและจนั ทรุปราคา เหมาะสม ทำใหดวงจนั ทรบงั ดวงอาทิตย

เงาของดวงจันทรทอดมายังโลก ผสู ังเกตท่ีอยู

บริเวณเงาจะมองเห็นดวงอาทิตยม ดื ไป

เกิดปรากฏการณส รุ ยิ ปุ ราคา ซึ่งมที งั้

สุรยิ ปุ ราคาเต็มดวง สุรยิ ปุ ราคาบางสวน

และสุริยปุ ราคาวงแหวน

• หากดวงจนั ทรและโลกโคจรมาอยใู นแนว

เสน ตรงเดยี วกันกบั ดวงอาทติ ยแลว ดวงจันทร

เคล่ือนทีผ่ านเงาของโลกจะมองเหน็ ดวงจันทร

มืดไป เกิดปรากฏการณจันทรุปราคา

ซ่งึ มีทั้งจนั ทรุปราคาเต็มดวง และจันทรุปราคา

บางสวน

๒. อธบิ ายพฒั นาการของเทคโนโลยี • เทคโนโลยีอวกาศเรมิ่ จากความตองการของ

อวกาศ และยกตัวอยางการนําเทคโนโลยี มนษุ ยใ นการสาํ รวจวตั ถุทอ งฟาโดยใชตาเปลา

อวกาศมาใชประโยชนในชวี ิตประจำวัน กลองโทรทรรศนและไดพัฒนาไปสกู ารขนสง

จากขอมลู ทร่ี วบรวมได เพ่อื สํารวจอวกาศดว ยจรวดและยานขนสง

อวกาศ ปจ จุบนั มีการนําเทคโนโลยอี วกาศบาง

ประเภทมาประยกุ ตใชในชีวิตประจำวนั เชน

การใชด าวเทียมเพ่อื การสื่อสาร การพยากรณ

อากาศ หรือการสํารวจทรพั ยากรธรรมชาติ

การใชอ ปุ กรณว ัดชีพจรและการเตน ของหัวใจ

หมวกนิรภยั ชุดกฬี า

๓๓

สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตรโ ลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เขาใจองคประกอบและความสัมพันธของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา อากาศ
และภมู อิ ากาศโลก รวมทั้งผลตอ สิ่งมชี ีวติ และสง่ิ แวดลอ ม

ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง

ป.๑ ๑. อธิบายลักษณะภายนอกของหนิ • หนิ ทอี่ ยใู นธรรมชาติมีลักษณะภายนอก

จากลกั ษณะเฉพาะตัวทสี่ ังเกตได เฉพาะตัวท่ีสังเกตได เชน สี ลวดลาย นำ้ หนกั

ความแขง็ และเน้ือหิน

ป.๒ ๑. ระบุสว นประกอบของดิน และจําแนก • ดินประกอบดว ยเศษหิน ซากพืช ซากสัตว

ชนิดของดิน โดยใชลกั ษณะเน้ือดนิ และ ผสมอยูในเน้อื ดนิ มอี ากาศและน้ำแทรกอยู

การจบั ตัวเปนเกณฑ ตามชอ งวา งในเน้ือดนิ ดนิ จําแนกเปน ดินรว น

๒. อธิบายการใชป ระโยชนจ ากดิน ดินเหนียว และดินทราย ตามลักษณะเน้ือดิน

จากขอมลู ท่รี วบรวมได และการจบั ตัวของดนิ ซ่งึ มผี ลตอ การอุมนำ้

ที่แตกตางกัน

• ดินแตละชนดิ นําไปใชประโยชนไดแตกตา ง

กันตามลักษณะและสมบตั ขิ องดนิ

ป.๓ ๑. ระบุสวนประกอบของอากาศ • อากาศโดยท่ัวไปไมมสี ีไมมีกลน่ิ ประกอบดว ย

บรรยายความสำคญั ของอากาศ และ แกส ไนโตรเจน แกสออกซิเจน

ผลกระทบของมลพิษทางอากาศตอ แกสคารบอนไดออกไซด แกส อื่น ๆ รวมท้ัง

ส่ิงมีชวี ิต จากขอมูลท่ีรวบรวมได ไอน้ำ และฝุนละออง อากาศมคี วามสำคัญตอ

๒. ตระหนกั ถึงความสำคัญของอากาศ สง่ิ มชี วี ิต หากสวนประกอบของอากาศ

โดยนําเสนอแนวทางการปฏิบตั ิตน ไมเหมาะสม เน่ืองจากมีแกสบางชนิดหรอื

ในการลดการเกดิ มลพษิ ทางอากาศ ฝนุ ละอองในปริมาณมาก อาจเปน อนั ตรายตอ

สิ่งมีชวี ติ ชนดิ ตาง ๆ จัดเปนมลพษิ ทางอากาศ

• แนวทางการปฏิบัติตนเพอื่ ลดการปลอ ย

มลพษิ ทางอากาศ เชน ใชพ าหนะรวมกัน หรอื

เลือกใชเ ทคโนโลยที ีล่ ดมลพิษทางอากาศ

๓. อธบิ ายการเกดิ ลมจากหลักฐาน • ลม คืออากาศทเี่ คลื่อนที่ เกิดจาก

เชิงประจกั ษ ความแตกตา งกันของอุณหภมู ิอากาศบรเิ วณท่ี

อยใู กลกัน โดยอากาศบรเิ วณทมี่ อี ุณหภูมสิ ูง

๓๔

ชั้น ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง

จะลอยตวั สงู ขึน้ และอากาศบริเวณทมี่ ี

อณุ หภูมติ ่ำกวา จะเคลอื่ นเขาไปแทนที่

๔. บรรยายประโยชนแ ละโทษของลม • ลมสามารถนำมาใชเ ปนแหลงพลังงาน

จากขอมลู ทีร่ วบรวมได ทดแทนในการผลติ ไฟฟา และนาํ ไปใช

ประโยชนในการทำกิจกรรมตาง ๆ ของมนษุ ย

หากลมเคลื่อนท่ดี วยความเรว็ สงู อาจทำใหเ กิด

อนั ตรายและความเสยี หายตอชวี ติ และ

ทรัพยส ินได

ป.๔ - -

ป.๕ ๑. เปรยี บเทยี บปรมิ าณน้ำในแตล ะแหลง • โลกมีทงั้ น้ำจดื และน้ำเคม็ ซ่ึงอยูในแหลงน้ำ

และระบุปริมาณน้ำที่มนุษยส ามารถ ตา ง ๆ ท่ีมที ้งั แหลง นำ้ ผิวดนิ เชน ทะเล

นำมาใชประโยชนไ ด จากขอ มลู ท่ี มหาสมทุ ร บงึ แมน ้ำ และแหลงน้ำใตด นิ เชน

รวบรวมได น้ำในดิน และน้ำบาดาล น้ำท้ังหมดของโลก

แบง เปนนำ้ เค็มประมาณรอยละ ๙๗.๕ ซงึ่ อยู

ในมหาสมุทร และแหลง นำ้ อ่ืน ๆ และทีเ่ หลอื

อกี ประมาณรอ ยละ ๒.๕ เปน นำ้ จืด

ถาเรยี งลำดับปรมิ าณน้ำจืดจากมากไปนอย

จะอยทู ่ี ธารน้ำแขง็ และพดื น้ำแขง็ น้ำใตด ิน

ช้นั ดนิ เยือกแข็งคงตัวและนำ้ แข็ง ใตดนิ

ทะเลสาบ ความชื้นในดิน ความชน้ื ใน

บรรยากาศ บึง แมน ้ำ และน้ำในสิง่ มีชวี ติ

๒. ตระหนักถงึ คุณคา ของน้ำโดยนําเสนอ • นำ้ จดื ท่มี นุษยน ำมาใชไ ดมีปรมิ าณนอ ยมาก

แนวทางการใชนำ้ อยา งประหยัด และ จงึ ควรใชน ำ้ อยา งประหยดั และรว มกนั

การอนุรักษนำ้ อนรุ กั ษน ้ำ

๓. สรางแบบจําลองท่ีอธบิ าย • วัฏจักรน้ำ เปนการหมนุ เวยี นของนำ้ ทีม่ ี

การหมนุ เวยี นของน้ำในวฏั จักรน้ำ แบบรปู ซ้ำเดมิ และตอเนือ่ งระหวา ง

น้ำในบรรยากาศ น้ำผวิ ดนิ และนำ้ ใตด ิน

โดยพฤติกรรมการดำรงชีวิตของพชื และสัตว

สงผลตอ วฏั จกั รนำ้

๓๕

ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

๔. เปรียบเทยี บกระบวนการเกิดเมฆ • ไอนำ้ ในอากาศจะควบแนนเปนละอองน้ำ

หมอก นำ้ คาง และนำ้ คา งแข็ง เลก็ ๆ โดยมลี ะอองลอย เชน เกลอื ฝุนละออง

จากแบบจาํ ลอง ละอองเรณูของดอกไมเปนอนุภาคแกนกลาง

เม่อื ละอองนำ้ จำนวนมากเกาะกลมุ รวมกนั

ลอยอยูสูงจากพื้นดินมาก เรียกวา เมฆ

แตละอองนำ้ ทเ่ี กาะกลุมรวมกันอยูใกลพืน้ ดิน

เรียกวา หมอก สว นไอน้ำท่ีควบแนน เปน

ละอองนำ้ เกาะอยบู นพนื้ ผวิ วัตถุใกลพนื้ ดิน

เรียกวา น้ำคาง ถา อณุ หภูมิใกลพ้นื ดินต่ำกวา

จดุ เยอื กแข็งนำ้ คา งกจ็ ะกลายเปนน้ำคา งแข็ง

๕. เปรียบเทยี บกระบวนการเกิดฝน หิมะ • ฝน หมิ ะ ลกู เหบ็ เปน หยาดนำ้ ฟา ซง่ึ เปน น้ำ

และลูกเหบ็ จากขอ มลู ที่รวบรวมได ท่ีมสี ถานะตา ง ๆ ท่ีตกจากฟา ถึงพื้นดิน ฝน

เกดิ จากละอองนำ้ ในเมฆที่รวมตวั กัน

จนอากาศไมส ามารถพยงุ ไวไดจึงตกลงมา

หมิ ะเกิดจากไอน้ำในอากาศระเหิดกลบั เปน

ผลึกน้ำแข็ง รวมตัวกันจนมีน้ำหนัก

มากขึ้นจนเกินกวา อากาศจะพยงุ ไวจ ึงตกลงมา

ลกู เหบ็ เกิดจากหยดนำ้ ทเ่ี ปลีย่ นสถานะเปน

น้ำแข็ง แลว ถกู พายุพัดวนซำ้ ไปซำ้ มาในเมฆ

ฝนฟาคะนองทีม่ ีขนาดใหญและอยใู นระดบั สูง

จนเปน กอ นนำ้ แข็งขนาดใหญข้นึ แลว ตกลงมา

ป.๖ ๑. เปรียบเทียบกระบวนการเกดิ หนิ อัคนี • หนิ เปนวัสดุแขง็ เกิดขึน้ เองตามธรรมชาติ

หนิ ตะกอน และหินแปร และอธิบาย ประกอบดว ย แรต ั้งแตห นงึ่ ชนดิ ขน้ึ ไป

วฏั จกั รหนิ จากแบบจาํ ลอง สามารถจําแนกหนิ ตามกระบวนการเกดิ ได

เปน ๓ ประเภท

ไดแก หนิ อัคนหี นิ ตะกอน และหินแปร

• หนิ อัคนีเกดิ จากการเยน็ ตวั ของแมกมา

เนื้อหินมีลกั ษณะเปน ผลกึ ทั้งผลกึ ขนาดใหญ

และขนาดเล็ก บางชนดิ อาจเปนเน้อื แกวหรือมี

รพู รุน

๓๖

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแ กนกลาง

• หินตะกอน เกดิ จากการทบั ถมของตะกอน

เม่อื ถูกแรงกดทับและมสี ารเช่ือมประสาน

จงึ เกิดเปน หนิ เนอ้ื หนิ กลุม นส้ี วนใหญ

มีลกั ษณะเปนเมด็ ตะกอน มที ั้งเนือ้ หยาบ

และเน้ือละเอียด บางชนิดเปนเน้ือผลกึ

ท่ียดึ เกาะกนั เกิดจากการตกผลกึ

หรอื ตกตะกอนจากน้ำ โดยเฉพาะน้ำทะเล

บางชนิด มีลกั ษณะเปน ชัน้ ๆ จึงเรียกอีกชอ่ื วา

หนิ ชัน้

• หินแปร เกดิ จากการแปรสภาพของหินเดมิ

ซ่งึ อาจเปน หินอัคนหี นิ ตะกอน หรือหินแปร

โดยการกระทำของความรอ น ความดัน และ

ปฏิกิริยาเคมเี น้ือหนิ ของหินแปรบางชนิด

ผลกึ ของแรเ รียงตัวขนานกนั เปนแถบ

บางชนิดแซะออกเปนแผนได บางชนิดเปน

เนอื้ ผลึกทีม่ ีความแข็งมาก

• หนิ ในธรรมชาติทงั้ ๓ ประเภท

มกี ารเปลี่ยนแปลงจากประเภทหนึ่งไปเปน

อีกประเภทหนง่ึ หรอื ประเภทเดิมไดโดยมี

แบบรูปการเปลย่ี นแปลงคงที่และตอเน่ือง

เปน วฏั จกั ร

๒. บรรยายและยกตวั อยางการใช • หินและแรแตละชนิดมลี ักษณะและสมบตั ิ

ประโยชนข องหินและแร แตกตางกัน มนษุ ยใชประโยชนจ ากแร

ในชีวิตประจำวันจากขอมูลท่ีรวบรวมได ในชวี ติ ประจำวัน ในลกั ษณะตา ง ๆ เชน

นําแรม าทำเคร่ืองสาํ อาง ยาสีฟน

เครื่องประดบั อุปกรณทางการแพทย

และนาํ หนิ มาใชใ นงานกอสรา งตาง ๆ เปนตน

๓. สรางแบบจาํ ลองท่อี ธบิ ายการเกดิ • ซากดึกดำบรรพเ กิดจากการทับถม หรือ

ซากดึกดำบรรพ และคาดคะเน การประทับรอยของสงิ่ มีชีวติ ในอดีต จนเกิด

เปน โครงสรา งของซากหรือรองรอยของ

๓๗

ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง

สภาพแวดลอมในอดตี ของ ส่งิ มีชีวิตท่ีปรากฏอยูในหิน ในประเทศไทย

ซากดกึ ดำบรรพ พบซากดกึ ดำบรรพทีห่ ลากหลาย เชน พืช

ปะการงั หอย ปลา เตา ไดโนเสาร และ

รอยตีนสัตว

• ซากดกึ ดำบรรพสามารถใชเปน หลักฐานหนึ่ง

ทช่ี ว ยอธบิ ายสภาพแวดลอ มของพื้นท่ีในอดีต

ขณะเกดิ สิ่งมชี ีวิตน้นั เชน หากพบซาก

ดึกดำบรรพของหอยนำ้ จืด สภาพแวดลอม

บริเวณนน้ั อาจเคยเปน แหลง น้ำจืดมากอน

และหากพบซากดึกดำบรรพของพชื

สภาพแวดลอมบรเิ วณนั้นอาจเคยเปนปา

มากอน นอกจากนีซ้ ากดกึ ดำบรรพ

ยังสามารถใชร ะบอุ ายุของหิน และเปนขอมลู

ในการศึกษาวิวัฒนาการของส่ิงมชี ีวติ

๔. เปรียบเทียบการเกดิ ลมบก ลมทะเล • ลมบก ลมทะเล และมรสมุ เกิดจากพนื้ ดนิ

และมรสุมรวมท้ังอธบิ ายผลท่ีมตี อ และพืน้ น้ำ รอนและเย็นไมเทากนั ทำให

สง่ิ มชี ีวติ และส่งิ แวดลอ มจากแบบจําลอง อณุ หภมู ิอากาศเหนือพนื้ ดนิ และพน้ื นำ้

แตกตา งกนั จงึ เกิดการเคล่ือนทีข่ องอากาศ

จากบริเวณท่ีมีอุณหภมู ติ ่ำไปยังบริเวณทม่ี ี

อณุ หภมู ิสูง

• ลมบกและลมทะเลเปน ลมประจำถิ่นท่ีพบ

บริเวณชายฝง โดยลมบกเกิดในเวลากลางคืน

ทำใหมีลมพัดจากชายฝง ไปสูทะเล สวนลม

ทะเลเกิดในเวลากลางวนั ทำใหม ีลมพดั จาก

ทะเลเขาสชู ายฝง

๕. อธบิ ายผลของมรสุมตอการเกิดฤดู • มรสมุ เปน ลมประจำฤดเู กดิ บรเิ วณเขตรอ น

ของประเทศไทยจากขอมลู ทร่ี วบรวมได ของโลก ซึง่ เปนบริเวณกวางระดบั ภมู ภิ าค

ประเทศไทยไดรับผลจากมรสุมะวันออก

เฉียงเหนอื ในชวงประมาณกลางเดือนตุลาคม

จนถึงเดอื นกุมภาพนั ธทำใหเกิดฤดหู นาว และ

๓๘

ช้ัน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง

ไดรับผลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใตในชวง

ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมจนถึง

กลางเดือนตลุ าคมทำใหเกิดฤดฝู น สว นชวง

ประมาณกลางเดือนกุมภาพันธจนถึง

กลางเดือนพฤษภาคมเปนชว งเปลย่ี นมรสมุ

และประเทศไทยอยูใกลเ สน ศูนยส ูตร

แสงอาทติ ยเกือบต้งั ตรงและตั้งตรงประเทศ

ไทยในเวลาเท่ียงวนั ทำใหไ ดรับความรอนจาก

ดวงอาทติ ยอยา งเต็มท่ีอากาศจงึ รอนอบอาว

ทำใหเ กิดฤดูรอน

๖. บรรยายลักษณะและผลกระทบของ • นำ้ ทวม การกัดเซาะชายฝง ดินถลม

นำ้ ทวม การกัดเซาะชายฝง ดินถลม แผน ดนิ ไหว และสึนามิมีผลกระทบตอชวี ิต

แผน ดินไหว สึนามิ และสิง่ แวดลอ มแตกตา งกัน

๗. ตระหนักถึงผลกระทบของ • มนษุ ยควรเรียนรวู ิธีปฏบิ ัติตนใหปลอดภยั

ภยั ธรรมชาตแิ ละธรณีพบิ ตั ภิ ัย เชน ตดิ ตามขา วสารอยางสม่ำเสมอ

โดยนาํ เสนอแนวทางในการเฝาระวงั และ เตรยี มถุงยังชีพใหพ รอมใชตลอดเวลา และ

ปฏบิ ัติตนใหป ลอดภัยจากภยั ธรรมชาติ ปฏิบตั ติ ามคำส่งั ของผูป กครองและเจา หนา ที่

และธรณีพบิ ัตภิ ยั ทีอ่ าจเกิดในทองถิน่ อยางเครงครัดเม่ือเกดิ ภัยธรรมชาติและธรณี

พบิ ตั ภิ ัย

๘. สรางแบบจาํ ลองทีอ่ ธิบายการเกดิ • ปรากฏการณเ รือนกระจกเกิดจาก

ปรากฏการณเ รือนกระจกและผลของ แกส เรือนกระจกในช้ันบรรยากาศของโลก

ปรากฏการณเรือนกระจกตอสิง่ มชี วี ิต กักเก็บความรอนแลวคายความรอนบางสว น

๙. ตระหนักถงึ ผลกระทบของ กลบั สผู ิวโลก ทำใหอ ากาศบนโลกมีอุณหภมู ิ

ปรากฏการณเ รือนกระจก โดยนําเสนอ เหมาะสมตอการดำรงชวี ติ

แนวทางการปฏิบตั ติ นเพื่อลดกิจกรรม • หากปรากฏการณเ รือนกระจกรนุ แรงมากขึน้

ทีก่ อ ใหเกดิ แกส เรอื นกระจก จะมผี ลตอการเปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศโลก

มนษุ ยจ งึ ควรรวมกนั ลดกิจกรรมทก่ี อใหเกิด

แกสเรือนกระจก

๓๙

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๑ เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง
อยางรวดเร็ว ใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและศาสตร
อื่น ๆ เพื่อแกปญหาหรือพัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรค ดวยกระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสม โดยคำนึงถึงผลกระทบ
ตอ ชีวติ สงั คม และสิง่ แวดลอม

ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง
ป.๑ - -

ป.๒ - -
ป.๓ - -
ป.๔ - -
ป.๕ - -
ป.๖ - -

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๒ เขาใจและใชแนวคดิ เชิงคำนวณในการแกปญ หาท่ีพบในชีวติ จรงิ อยางเปน ข้นั ตอน
และเปนระบบ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู การทำงาน
และการแกป ญหาไดอยางมีประสทิ ธิภาพ รูเทา ทนั และมีจริยธรรม

ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ กนกลาง

ป.๑ ๑. แกปญ หาอยางงา ยโดยใชก ารลองผดิ • การแกป ญหาใหประสบความสำเรจ็ ทำได

ลองถกู การเปรยี บเทียบ โดยใชข ั้นตอนการแกป ญหา

• ปญหาอยางงาย เชน เกมเขาวงกต เกมหา

จดุ แตกตา งของภาพ การจดั หนงั สือใสกระเปา

๒. แสดงลำดบั ข้นั ตอนการทำงานหรอื • การแสดงข้นั ตอนการแกปญหา ทำไดโดย

การแกป ญหาอยา งงายโดยใชภาพ การเขียน บอกเลา วาดภาพ หรือใชส ัญลกั ษณ

สัญลกั ษณหรือขอความ • ปญ หาอยางงา ย เชน เกมเขาวงกต

เกมหาจดุ แตกตางของภาพ การจดั หนงั สอื

ใสกระเปา

๔๐

ช้ัน ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง
๓. เขียนโปรแกรมอยา งงาย โดยใช • การเขยี นโปรแกรมเปน การสรา งลำดบั ของ
ซอฟตแ วรหรือสื่อ คำสง่ั ใหคอมพิวเตอรท ำงาน
• ตัวอยางโปรแกรม เชน เขยี นโปรแกรมส่งั ให
๔. ใชเทคโนโลยีในการสราง จัดเกบ็ ตัวละครยายตำแหนง ยอขยาย ขนาดเปล่ียน
เรียกใชขอมูลตามวตั ถุประสงค รูปรา ง
• ซอฟตแวรห รือส่ือท่ีใชในการเขียนโปรแกรม
๕. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน ใชบตั รคำส่ังแสดงการเขียนโปรแกรม,
อยา งปลอดภัย ปฏบิ ตั ิตามขอตกลง Code.org
ในการใชค อมพวิ เตอรรวมกัน • การใชง านอุปกรณเทคโนโลยเี บือ้ งตน เชน
ดแู ลรักษาอุปกรณเ บือ้ งตน การใชเ มาสค ียบ อรด จอสัมผัส การเปด -ปด
ใชงานอยา งเหมาะสม อุปกรณเทคโนโลยี
• การใชง านซอฟตแ วรเบ้ืองตน เชน การเขา
และออกจากโปรแกรม การสรางไฟล
การจดั เก็บ การเรียกใชไฟล ทำไดในโปรแกรม
เชน โปรแกรมประมวลคํา โปรแกรมกราฟก
โปรแกรมนําเสนอ
• การสรางและจดั เก็บไฟลอยางเปนระบบจะ
ทำใหเ รยี กใชค น หาขอมลู ไดงา ยและรวดเรว็
• การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศอยางปลอดภัย
เชน รจู ักขอมลู สวนตัว อันตรายจาก
การเผยแพรขอ มลู สว นตัว และไมบอกขอมูล
สว นตวั กับบุคคลอนื่ ยกเวนผูป กครองหรือครู
แจงผูเกีย่ วของเมื่อตองการความชว ยเหลือ
เกีย่ วกบั การใชง าน
• ขอ ปฏบิ ตั ิในการใชง านและการดแู ลรกั ษา
อปุ กรณ เชน ไมข ีดเขยี นบนอุปกรณ
ทำความสะอาด ใชอปุ กรณอยางถูกวธิ ี
• การใชงานอยา งเหมาะสม เชน จัดทา น่งั
ใหถ กู ตอง การพกั สายตาเม่ือใชอ ุปกรณเปน
เวลานาน ระมัดระวังอบุ ัติเหตุจากการใชงาน

๔๑

ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง

ป.๒ ๑. แสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน หรือ • การแสดงขน้ั ตอนการแกปญหา ทำไดโดย

การแกป ญหาอยางงา ยโดยใชภาพ การเขียนบอกเลา วาดภาพ หรือใชส ญั ลกั ษณ

สัญลักษณห รือขอความ • ปญหาอยางงา ย เชน เกมตวั ตอ ๖-๑๒ ช้นิ

การแตงตวั มาโรงเรียน

๒. เขียนโปรแกรมอยางงาย โดยใช • ตัวอยางโปรแกรม เชน เขยี นโปรแกรมส่ังให

ซอฟตแวรห รือสื่อ และตรวจหา ตัวละครทำงานตามทต่ี องการ และตรวจสอบ

ขอผิดพลาดของโปรแกรม ขอ ผดิ พลาด ปรับแกไขใหไดผ ลลัพธตามท่ี

กำหนด

• การตรวจหาขอผดิ พลาด ทำไดโ ดย

ตรวจสอบคำสง่ั ที่แจงขอผิดพลาด หรอื หาก

ผลลพั ธไมเ ปนไปตามทตี่ องการใหต รวจสอบ

การทำงานทีละคำส่งั

• ซอฟตแ วรห รือสื่อที่ใชในการเขียนโปรแกรม

เชน ใชบ ตั รคาํ สัง่ แสดงการเขียนโปรแกรม,

Code.org

๓. ใชเ ทคโนโลยีในการสราง จดั หมวดหมู • การใชง านซอฟตแ วรเบ้ืองตน เชน การเขา

คนหาจัดเก็บ เรียกใชข อ มลู และออกจากโปรแกรม การสรางไฟล

ตามวัตถปุ ระสงค การจัดเกบ็ การเรยี กใชไฟลก ารแกไ ขตกแตง

เอกสารทำไดใ นโปรแกรม เชน โปรแกรม

ประมวลคาํ โปรแกรมกราฟก โปรแกรม

นําเสนอ

• การสรา ง คัดลอก ยา ย ลบ เปลยี่ นชื่อ

จัดหมวดหมไู ฟลแ ละโฟลเดอรอยางเปน ระบบ

จะทำใหเรียกใชคนหาขอ มูลไดง ายและรวดเร็ว

๔. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ • การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศอยางปลอดภยั

อยา งปลอดภยั ปฏิบตั ติ ามขอตกลง เชน รูจักขอมลู สวนตัว อนั ตรายจากการ

ในการใชคอมพวิ เตอรรว มกนั เผยแพรข อมลู สว นตวั และไมบอกขอมลู

ดูแลรกั ษาอุปกรณเบื้องตน สว นตวั กบั บุคคลอื่นยกเวน ผูป กครองหรือครู

ใชง านอยางเหมาะสม แจง ผูเ ก่ยี วขอ งเม่ือตองการความชวยเหลือ

เกีย่ วกับการใชง าน

๔๒

ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู กนกลาง
• ขอปฏิบัตใิ นการใชงานและการดแู ลรกั ษา
ป.๓ ๑. แสดงอลั กอริทึมในการทำงาน อปุ กรณ เชน ไมขีดเขียนบนอุปกรณ
หรือการแกป ญ หาอยา งงายโดยใชภ าพ ทำความสะอาด ใชอปุ กรณอ ยางถูกวิธี
สญั ลักษณหรือขอความ • การใชง านอยา งเหมาะสม เชน จัดทา นัง่ ให
ถูกตอง การพักสายตาเมอ่ื ใชอ ุปกรณเปน
๒. เขยี นโปรแกรมอยา งงาย โดยใช เวลานาน ระมดั ระวงั อุบตั ิเหตุจากการใชง าน
ซอฟตแ วรหรือส่ือ และตรวจหา • อลั กอริทึมเปน ขัน้ ตอนที่ใชใ นการแกปญหา
ขอ ผดิ พลาดของโปรแกรม • การแสดงอัลกอริทึม ทำไดโ ดยการเขยี น
บอกเลา วาดภาพ หรือใชสัญลักษณ
๓. ใชอินเทอรเ น็ตคนหาความรู • ตวั อยางปญ หา เชน เกมเศรษฐเี กมบันไดงู
เกม Tetris เกม OX การเดนิ ไปโรงอาหาร
การทำความสะอาดหองเรยี น
• การเขยี นโปรแกรมเปน การสรางลำดบั ของ
คำส่ังใหค อมพวิ เตอรท ำงาน
• ตวั อยางโปรแกรม เชน เขยี นโปรแกรม
ท่ีส่งั ใหตวั ละครทำงานซ้ำไมส้ินสุด
• การตรวจหาขอผดิ พลาด ทำไดโดย
ตรวจสอบคำสง่ั ที่แจง ขอ ผดิ พลาด หรือหาก
ผลลพั ธไมเปนไปตามท่ีตองการใหต รวจสอบ
การทำงานทีละคำสง่ั
• ซอฟตแวรห รือส่ือท่ีใชในการเขยี นโปรแกรม
เชน ใชบตั รคำส่ังแสดงการเขียนโปรแกรม,
Code.org
• อินเทอรเ นต็ เปนเครือขา ยขนาดใหญช วยให
การติดตอสื่อสารทำไดสะดวกและรวดเร็ว
และเปน แหลงขอมูลความรูท ี่ชวยในการเรยี น
และการดำเนินชวี ิต
• เว็บเบราวเ ซอรเปนโปรแกรมสำหรบั อาน
เอกสารบนเว็บเพจ

๔๓

ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง

• การสืบคน ขอ มูลบนอนิ เทอรเนต็ ทำไดโ ดย

ใชเว็บไซตส ำหรับสบื คน และตองกำหนด

คําคนทเ่ี หมาะสมจงึ จะไดขอมูลตามตอ งการ

• ขอมลู ความรูเ ชน วธิ ีทําอาหาร วิธีพบั

กระดาษเปน รปู ตา ง ๆ ขอมลู ประวตั ศิ าสตร

ชาติไทย (อาจเปนความรูในวิชาอนื่ ๆ หรอื

เรื่องทเ่ี ปน ประเดน็ ท่ีสนใจในชวงเวลาน้นั )

• การใชอ ินเทอรเ นต็ อยางปลอดภัยควรอยู

ในการดแู ลของครูหรือผูปกครอง

๔. รวบรวม ประมวลผล และนาํ เสนอ • การรวบรวมขอมลู ทำไดโ ดยกำหนดหวั ขอ

ขอ มูล โดยใชซ อฟตแ วรต ามวัตถปุ ระสงค ทตี่ อ งการ เตรียมอปุ กรณใ นการจดบนั ทกึ

• การประมวลผลอยางงา ย เชน เปรียบเทียบ

จดั กลุม เรียงลำดบั

• การนําเสนอขอมลู ทำไดหลายลกั ษณะตาม

ความเหมาะสม เชน การบอกเลา การทำ

เอกสารรายงาน การจดั ทำปายประกาศ

• การใชซ อฟตแ วรท ำงานตามวัตถปุ ระสงค

เชน ใชซอฟตแวรนาํ เสนอ หรอื ซอฟตแ วร

กราฟกสรา งแผนภมู ริ ูปภาพ ใชซอฟตแ วร

ประมวลคําทำปายประกาศหรือ

เอกสารรายงาน ใชซอฟตแวรตารางทำงาน

ในการประมวลผลขอ มูล

๕. ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ • การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยางปลอดภัย

อยา งปลอดภยั ปฏบิ ตั ิตามขอตกลง เชน ปกปองขอมูลสว นตวั

ในการใชอินเทอรเ น็ต • ขอความชวยเหลือจากครูหรือผปู กครอง

เมอ่ื เกดิ ปญ หาจากการใชง าน เมื่อพบขอมูล

หรือบุคคลที่ทำใหไมสบายใจ

• การปฏบิ ัตติ ามขอตกลงในการใช

อินเทอรเนต็ จะทำใหไมเ กิดความเสยี หายตอ

๔๔

ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแ กนกลาง
ตนเองและผอู ืน่ เชน ไมใชคําหยาบ ลอเลียน
ป.๔ ๑. ใชเหตผุ ลเชิงตรรกะในการแกปญ หา ดาทอ ทำใหผูอ่ืนเสยี หายหรือเสยี ใจ
การอธบิ ายการทำงาน การคาดการณ • ขอ ดีและขอเสียในการใชเ ทคโนโลยี
ผลลพั ธจ ากปญหาอยางงา ย สารสนเทศและการส่ือสาร
• การใชเ หตผุ ลเชงิ ตรรกะเปนการนาํ กฎเกณฑ
๒. ออกแบบ และเขยี นโปรแกรม หรือเงอ่ื นไขทคี่ รอบคลมุ ทกุ กรณมี าใช
อยางงาย โดยใชซ อฟตแวรหรอื ส่อื พจิ ารณาในการแกปญหา การอธิบายการ
และตรวจหาขอผดิ พลาดและแกไ ข ทำงาน หรอื การคาดการณผลลัพธ
• สถานะเร่ิมตน ของการทำงานทแ่ี ตกตางกัน
จะใหผลลพั ธท่แี ตกตางกนั
• ตวั อยางปญ หา เชน เกม OX โปรแกรมทม่ี ี
การคาํ นวณ โปรแกรมที่มีตวั ละครหลายตัว
และมีการส่ังงานที่แตกตา งหรอื มีการสือ่ สาร
ระหวางกนั การเดินทางไปโรงเรยี น
โดยวธิ ีการตา ง ๆ
• การออกแบบโปรแกรมอยางงาย เชน
การออกแบบโดยใช storyboard หรือ
การออกแบบอลั กอรทิ ึม
• การเขยี นโปรแกรมเปนการสรางลำดับของ
คำส่งั ใหค อมพิวเตอรท ำงาน เพ่อื ใหไดผ ลลัพธ
ตามความตองการ หากมีขอ ผิดพลาดให
ตรวจสอบการทำงานทีละคำส่ัง เมอื่ พบจุดท่ี
ทำใหผ ลลพั ธไ มถกู ตอง ใหทำการแกไขจนกวา
จะไดผ ลลัพธท ี่ถูกตอง
• ตัวอยา งโปรแกรมที่มเี รอ่ื งราว เชน นทิ าน
ที่มีการโตตอบกบั ผูใ ชการตนู สน้ั เลากิจวตั ร
ประจำวนั ภาพเคลือ่ นไหว
• การฝกตรวจหาขอผดิ พลาดจากโปรแกรม
ของผูอื่น จะชวยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุ
ของปญ หาไดดีย่ิงข้นึ

๔๕

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู กนกลาง
๓. ใชอินเทอรเนต็ คนหาความรู • ซอฟตแวรที่ใชใ นการเขยี นโปรแกรม เชน
และประเมินความนาเช่ือถือของขอมลู Scratch, logo
• การใชค ําคนที่ตรงประเด็น กระชับ จะทำให
๔. รวบรวม ประเมนิ นําเสนอขอมลู ไดผลลัพธทร่ี วดเรว็ และตรงตามความตองการ
และสารสนเทศ โดยใชซอฟตแวร • การประเมนิ ความนาเช่อื ถอื ของขอ มูล เชน
ท่หี ลากหลาย เพ่ือแกปญหา พิจารณาประเภทของเวบ็ ไซต(หนวยงาน
ในชีวิตประจำวนั ราชการ สำนักขาว องคก ร) ผูเขียน วนั ท่ี
เผยแพรข อมลู การอางอิง
• เมื่อไดขอ มูลที่ตองการจากเวบ็ ไซตต า ง ๆ
จะตองนําเนอ้ื หามาพจิ ารณา เปรียบเทียบ
แลวเลือกขอมลู ท่ีมีความสอดคลองและ
สัมพนั ธกัน
• การทำรายงานหรือการนาํ เสนอขอ มลู
จะตอ งนําขอมลู มาเรียบเรียง สรุป เปนภาษา
ของตนเองที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมายและ
วธิ กี ารนาํ เสนอ (บูรณาการกับวชิ าภาษาไทย)
• การรวบรวมขอมลู ทำไดโ ดยกำหนดหัวขอ
ทต่ี องการ เตรียมอปุ กรณในการจดบันทึก
• การประมวลผลอยางงาย เชน เปรียบเทยี บ
จดั กลุม เรยี งลำดบั การหาผลรวม
• วเิ คราะหผ ลและสรางทางเลือกท่เี ปน ไปได
ประเมนิ ทางเลือก (เปรียบเทียบ ตดั สิน)
• การนาํ เสนอขอมลู ทำไดหลายลักษณะตาม
ความเหมาะสม เชน การบอกเลา
เอกสารรายงาน โปสเตอรโ ปรแกรมนําเสนอ
• การใชซอฟตแ วรเ พ่ือแกป ญ หา
ในชวี ิตประจำวนั เชน การสํารวจเมนอู าหาร
กลางวัน โดยใชซอฟตแวรสรา งแบบสอบถาม
และเกบ็ ขอ มลู ใชซ อฟตแ วรต ารางทำงาน
เพอื่ ประมวลผลขอมูล รวบรวมขอ มลู เกย่ี วกับ

๔๖

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง
คุณคา ทางโภชนาการ และสรางรายการ
๕. ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ อาหารสำหรบั ๕ วนั ใชซ อฟตแวร
อยางปลอดภยั เขาใจสทิ ธิและหนา ที่ นําเสนอผลการสํารวจรายการอาหารทเ่ี ปน
ของตน เคารพในสิทธขิ องผอู ่ืน ทางเลือกและขอมลู ดานโภชนาการ
แจงผเู กี่ยวของเม่ือพบขอมลู หรือบคุ คล • การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา งปลอดภยั
ท่ีไมเหมาะสม เขาใจสิทธิและหนา ที่ของตน เคารพในสิทธิ
ของผูอ่ืน เชน ไมสรางขอความเท็จและสง ให
ป.๕ ๑. ใชเ หตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา ผูอ่นื ไมสรางความเดือดรอ นตอผอู น่ื
การอธบิ ายการทำงาน การคาดการณ โดยการสงสแปม ขอความลูกโซ สงตอ โพสต
ผลลัพธจ ากปญ หาอยางงา ย ทม่ี ขี อมูลสวนตวั ของผูอนื่ สงคําเชญิ เลน เกม
ไมเ ขา ถงึ ขอมูลสวนตัว หรือการบา นของ
๒. ออกแบบ และเขยี นโปรแกรมทม่ี ี บุคคลอื่นโดยไมไ ดร ับอนญุ าต ไมใ ชเครื่อง
การใชเ หตุผลเชงิ ตรรกะอยา งงา ย คอมพิวเตอร/ช่ือบญั ชขี องผอู ่ืน
ตรวจหาขอ ผดิ พลาดและแกไข • การสอื่ สารอยา งมมี ารยาทและรูก าลเทศะ
• การปกปอ งขอมูลสวนตวั เชน การออกจาก
ระบบเมื่อเลิกใชงาน ไมบอกรหัสผาน ไมบ อก
เลขประจาํ ตัวประชาชน
• การใชเ หตุผลเชงิ ตรรกะเปน การนํากฎเกณฑ
หรอื เงื่อนไขทค่ี รอบคลุมทุกกรณีมาใช
พิจารณาในการแกปญ หาการอธบิ าย
การทำงาน หรือการคาดการณผลลพั ธ
• สถานะเร่มิ ตน ของการทำงานที่แตกตา งกนั
จะใหผ ลลพั ธที่แตกตางกนั
• ตวั อยางปญหา เชน เกม Sudoku โปรแกรม
ทาํ นายตวั เลข โปรแกรมสรา งรูปเรขาคณิต
ตามคาขอมูลเขา การจัดลำดับการทำงานบาน
ในชว งวนั หยุด จัดวางของในครัว
• การออกแบบโปรแกรมสามารถทำไดโดย
เขยี นเปนขอความหรือผังงาน


Click to View FlipBook Version