The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การศึกษาแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mediapbn1, 2022-06-07 02:28:17

การศึกษาแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ

การศึกษาแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ

42

(รา่ ง) แผนภำพ 3 กรอบแนวคิดเชงิ ระบบแนวทางการดาเนินการขบั เคลื่อนการบริหารจัดการ
โรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

43

(ร่ำง) แผนภำพ 4 กรอบแนวคดิ แนวทางการดาเนินการขบั เคล่ือนการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นปลอด
ขยะของสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

จำกแผนภำพ กรอบแนวคิดแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ
ของสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 มีรายละเอียด ดงั น้ี
1. กำรกำหนดนโยบำย

1.1 กำรกำหนดนโยบำย หมำยถึง มีการกาหนดนโยบายและวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน ในการดาเนินงาน
โรงเรียนปลอดขยะ และประกาศนโยบายและวิสัยทัศน์ไปยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อให้การปฏิบัติเป็นไป
ในทิศทางเดียวกันอย่างตอ่ เนอ่ื งและย่ังยืน

1.2 วัตถุประสงคก์ ำรกำหนดนโยบำย
1) เพ่อื สง่ เสริมสนับสนนุ ให้โรงเรียนในสังกัด ดาเนินงานโรงเรยี นปลอดขยะอย่างต่อเนอื่ ง
2) เพอื่ สรา้ งองค์ความรแู้ ละจิตสานึกในการลดปริมาณขยะในโรงเรียน ตามหลกั 3R
3) เพื่อกากับติดตามผลสาเร็จของการดาเนินงานโรงเรียนในการจัดการขยะและอนุรักษ์

ส่งิ แวดลอ้ ม เพอ่ื มีตน้ แบบโรงเรยี นปลอดขยะ
1.3 กำรดำเนนิ กำรกำหนดนโยบำย
1.3.1 บทบำทของสำนักงำนเขตพื้นทกี่ ำรศกึ ษำ
1) จัดทานโยบายการขบั เคลอ่ื นการบริหารจดั การโรงเรยี นปลอดขยะ

44

2) ส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนทุกโรงเรียนในสังกัด ดาเนินการจัดทานโยบายด้าน
การจดั การขยะตามรูปแบบของโรงเรยี น Zero Waste

3) ส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนทุกโรงเรียนในสังกัด บูรณาการการจัดการเรียนการสอน
ในเรื่องการจัดการขยะมูลฝอย ตามหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรเพ่ิมเติม กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่ม
เวลารู้

4) ดาเนินการกากับติดตามผลสาเร็จของการดาเนินงานโรงเรียนในการจดั การขยะ
1.3.2 บทบำทของโรงเรยี น

1) มีการกาหนดนโยบายและวิสัยทัศน์ด้านการจัดการขยะ กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น
กรรมการสถานศกึ ษา ผปู้ กครอง กรรมการนักเรยี น หนว่ ยงานที่เกี่ยวขอ้ ง

2) มกี ารประกาศนโยบายและวิสยั ทัศนไ์ ปยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ชดั เจนและครบถว้ น
3) มีการกาหนดโครงสร้างการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ให้มีคณะทางาน
ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการและกาหนดบทบาทหน้าที่ โดยใช้รูปแบบการบริหารจัดการแบบมสี ่วนร่วม
4) มกี ารสนับสนุนการดาเนนิ งานในด้านตา่ งๆ เชน่ งบประมาณ วสั ดุอปุ กรณ์ การฝกึ อบรม
ฯลฯ จากผู้บรหิ ารและหน่วยงานหรือบคุ ลากรที่เกี่ยวขอ้ ง
5) ผู้บริหารมีการกากับดูแลการดาเนินงานให้เป็นไปตามนโยบายท่ีกาหนดไว้และติดตาม
ความก้าวหนา้ ของการดาเนินงานโรงเรยี นปลอดขยะเพ่ือให้เป็นไปตามขั้นตอนทช่ี ดั เจน
6) มีการจดั ทาแผนงาน/โครงการ และวิธีการดาเนินงานของโรงเรยี นปลอดขยะ

2. กำรสร้ำงควำมรูค้ วำมเขำ้ ใจ
2.1 กำรสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจ หมำยถึง กระบวนการส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ

ท้ังภายในและนอกโรงเรียน การพัฒนาครู/บุคลากรเพ่ือนาไปสู่การส่งเสริมโรงเรียนปลอดขยะ
กระบวนการส่งเสรมิ การสรา้ งวนิ ัยและความรบั ผดิ ชอบในการจัดการขยะมูลฝอยให้แกผ่ ู้เรียนและบุคลากร
ในโรงเรียน โดยมีการบูรณาการหลกั สตู รการเรียนการสอน ในเรื่องการจัดการขยะมูลฝอย ตามหลักสตู ร
แกนกลางและหลักสูตรเพิ่มเติม กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ และมีการส่งเสริมให้มีจุดเรียนรู้และ
แหล่งเรียนรูใ้ นโรงเรียน

2.2 วตั ถปุ ระสงค์กำรสร้ำงควำมรู้ควำมเขำ้ ใจ
1) เพ่อื ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียน ครแู ละบคุ ลากรในโรงเรียนทุกคนมคี วามรู้ความเขา้ ใจในการจัดการขยะ

มลู ฝอยในโรงเรยี น
2) เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียนทุกคน มีวินัยและความรับผิดชอบใน

การจดั การขยะมลู ฝอยในโรงเรยี น
3) เพ่ือส่งเสริมให้โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจ ในรูปแบบการจัดการขยะ

โดยศกึ ษาจากจุดเรียนรหู้ รือแหลง่ เรยี นรใู้ นโรงเรียน
4) เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนมีการจัดทาหลักสูตรบูรณาการจัดการขยะมูลฝอยภายในโรงเรียน

ปลอดขยะ หรอื หลกั สูตรเพม่ิ เตมิ ทเ่ี กยี่ วข้อง
2.3 กำรดำเนนิ กำรสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจ
2.3.1 บทบำทของสำนกั งำนเขตพืน้ ที่กำรศึกษำ

45

1) ส่งเสริมและแจ้งแนวทางการดาเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ โดยให้โรงเรียนดาเนินการ
สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจ สรา้ งวนิ ยั จติ สานึกและความรับผดิ ชอบในการจัดการขยะมลู ฝอยในโรงเรียน

2) ส่งเสริมใหโ้ รงเรียนมจี ดุ เรยี นร้หู รอื แหลง่ เรยี นร้ใู นโรงเรยี น ในการจัดการขยะ
3) ส่งเสริมให้โรงเรียนจัดทาหลักสูตรบูรณาการจัดการขยะมูลฝอยภายในโรงเรียนปลอด
ขยะ หรอื หลกั สตู รเพ่มิ เติมที่เกีย่ วขอ้ ง
4) นิเทศ กากบั ติดตามและประเมินผล
2.3.2 บทบำทของโรงเรียน
1) มกี ารสรา้ งกระบวนการพัฒนาและส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการจดั การขยะมูลฝอย
ใหก้ บั ผ้เู รียน ครูและบุคลากรในโรงเรยี นทกุ คน
2) มีการจดั กระบวนการเรยี นรู้เก่ยี วกับวินยั และความรับผิดชอบในการจดั การขยะมูลฝอย
ให้กบั ผเู้ รียน ครแู ละบุคลากรในโรงเรยี นทุกคน
3) มจี ุดเรียนรูห้ รือแหลง่ เรยี นรู้ในโรงเรยี น เพ่ือเป็นฐานเรยี นรแู้ ละการจดั กจิ กรรมโรงเรียน
ปลอดขยะ
4) มีการจัดทาหลักสูตรบูรณาการจัดการขยะมูลฝอยภายในโรงเรียนปลอดขยะ หรือ
หลกั สูตรเพม่ิ เตมิ ทเ่ี กี่ยวข้อง
5) มีการนิเทศ ติดตามและประเมินผลที่เกี่ยวกับกระบวนการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ
และกระบวนการส่งเสริมการสรา้ งวินัยและความรับผิดชอบในการจัดการขยะมูลฝอยให้แก่ผู้เรียน ครแู ละ
บุคลากร ในโรงเรยี น

3. กำรส่งเสริมกำรมีสว่ นร่วม
3.1 กำรส่งเสริมกำรมีส่วนร่วม หมำยถึง กระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูล

ฝอย ของผู้เรียน ครูและบุคลากรภายในโรงเรียน และของภาคส่วนต่างๆภายนอกโรงเรียนที่เข้าร่วมหรอื
สนับสนุนการดาเนินกิจกรรม เช่น คณะกรรมการสถานศกึ ษา เครือขา่ ยผู้ปกครอง ชุมชน หนว่ ยงานต่างๆ

3.2 วัตถปุ ระสงค์กำรส่งเสรมิ กำรมสี ่วนรว่ ม
1) เพ่ือส่งเสริมการสร้างกระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ครูและบุคลากรภาย

ในโรงเรยี นและภายนอกโรงเรียนในการดาเนินการจดั การขยะมลู ฝอย
2) เพื่อสรา้ งเครอื ข่ายที่เก่ียวข้องกับการจดั การขยะในโรงเรยี น

3.3 กำรดำเนินกำรสง่ เสริมกำรมีส่วนร่วม
3.3.1 บทบำทของสำนกั งำนเขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำ
1) ส่งเสริมและแจ้งแนวทางการดาเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ โดยให้โรงเรียนสร้าง

กระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ครูและบุคลากรภายในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน
ในการดาเนินการจัดการขยะมูลฝอย

2) ส่งเสรมิ ให้โรงเรียนมกี ารสรา้ งเครือข่ายที่เกย่ี วขอ้ งกับการจดั การขยะในโรงเรยี น
3.3.2 บทบำทของโรงเรยี น

1) มีการสร้างกระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ครูและบุคลากรภาย
ในโรงเรยี นและหนว่ ยงานภายนอกโรงเรียนในการดาเนินการจัดการขยะมลู ฝอย

46

2) มีการสร้างเครือข่ายที่เก่ียวข้องกับการจัดการขยะในโรงเรียน เช่น การทาบันทึก
ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ในการดาเนินงานด้านการจัดการขยะ ระหว่างโรงเรียนและชุมชนให้
เป็นโรงเรยี นปลอดขยะ

4. กำรบรหิ ำรจัดกำรขยะ
4.1 กำรบริหำรจัดกำรขยะ หมายถึง กระบวนการหรือวิธีการเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอยอย่าง

มีประสิทธิภาพ โดยใช้หลัก 1A3R คือ มีการจัดกิจกรรมการหลีกเล่ียงหรืองด (Avoid) ใช้วัตถุดิบหรือ
ผลิตภัณฑ์สนิ ค้าตา่ งๆท่ีก่อให้เกิดขยะ การจดั กิจกรรมการลดปริมาณขยะมูลฝอยตัง้ แต่ต้นทาง (Reduce)
การใช้ซ้า (Reuse) และการนากลับมาใช้ใหม่ (Recycle) รวมถึงส่งเสริมการจัดกิจกรรมการคัดแยกขยะ
4 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป ขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย และการประยุกต์ใช้หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสรมิ คุณภาพส่ิงแวดล้อมในการบริหารจัดการขยะในโรงเรียน และ
มนี วตั กรรมการจัดการขยะมลู ฝอยของโรงเรียน

4.2 วตั ถุประสงคก์ ำรบรหิ ำรจัดกำรขยะ
1) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ โรงเรียนในสังกัดสานักงาน

เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ใหเ้ ปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกัน
2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องได้นาแนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ไป

ประยกุ ต์ใชใ้ หเ้ กิดประสิทธภิ าพสงู สดุ
3) เพื่อรวบรวมข้อมูลวิธกี ารปฏิบตั ทิ ี่ดีของโรงเรียนต้นแบบการบริหารจดั การโรงเรียนปลอดขยะ

4.3 กำรดำเนนิ กำรบรหิ ำรจัดกำรขยะ
4.3.1 บทบำทของสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศกึ ษำ
1) ส่งเสริมและแจ้งแนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ให้โรงเรียนในสังกัด

ดาเนินการเป็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั
2) จดั เก็บรวบรวมข้อมลู และจดั ทาข้อมูลสารสนเทศการบรหิ ารจดั การโรงเรียนปลอดขยะ
3) ส่งเสริมให้โรงเรียนมีการบูรณาการจัดทาหลักสูตร ในสาระการเรียนรู้ ด้านการจัด

การขยะมูลฝอยภายในโรงเรียน
4) ดาเนนิ การจัดประกวดโรงเรยี นปลอดขยะ
5) นิเทศ กากับ ติดตามและประเมนิ ผลโรงเรียนปลอดขยะ

4.3.2 บทบำทของโรงเรยี น
1) จัดทาแผนการดาเนินโครงการด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของโรงเรียน และ

แผนการดาเนนิ การโครงการดา้ นการจัดการขยะมลู ฝอยทั้ง 4 ประเภทภายในโรงเรียน
2) ส่งเสริมการจัดกิจกรรม A3R ลดขยะในสถานศึกษา โดยมีการจัดกิจกรรม

การหลีกเลี่ยงหรอื งด (Avoid) ใชว้ ัตถุดิบหรอื ผลิตภณั ฑ์สินค้าตา่ งๆท่ีก่อใหเ้ กดิ ขยะ การจดั กิจกรรมการลด
ปริมาณขยะมูลฝอยต้ังแต่ต้นทาง (Reduce) การใช้ซ้า (Reuse) และการนากลับมาใช้ใหม่ (Recycle)
และให้มนี วัตกรรมการจดั การขยะมูลฝอยของโรงเรยี น

3) มีการจัดกิจกรรมการคัดแยกขยะ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป ขยะย่อยสลาย
ขยะรีไซเคลิ และขยะอนั ตราย

47

4) มีการบูรณาการ ด้านการจัดการขยะในหลักสูตรแกนกลาง หลักสูตรเพิ่มเติม กิจกรรม
ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ตัง้ แต่ระดับอนุบาล – ชว่ งชั้นท่ี 3

5) มีการจัดการขยะตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและส่งเสรมิ คุณภาพสิง่ แวดล้อม
6) มีการจัดทาระบบเอกสารและบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทก่อนและหลัง
การดาเนนิ งานและการประมวลผลข้อมูลปรมิ าณขยะแต่ละประเภท เชน่ ในรปู ของกราฟหรือตารางข้อมูล
แสดงขอ้ มลู รายเดอื น/รายปี เปน็ ต้น
7) มีการเผยแพร่ขอ้ มลู การดาเนินกจิ กรรมโรงเรยี นปลอดขยะในรปู แบบต่างๆ
8) มีการดาเนนิ การธนาคารขยะโรงเรียน
9) มีนวตั กรรมการบรหิ ารจดั การขยะในโรงเรียน
10) สรุปรายงานผลการดาเนนิ งานการบริหารจัดการโรงเรยี นปลอดขยะ

5. กำรประเมนิ ผลกำรดำเนินงำน
5.1 กำรประเมินผลกำรดำเนินงำน
การประเมินผลการดาเนินงาน หมายถึง การกากับ ติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน

กระบวนการบริหารจัดการขยะในโรงเรียน และการประเมินผลกระบวนการส่งเสริมการสร้างวินัย
ในการจัดการขยะมูลฝอยให้แก่ผเู้ รยี น ครแู ละบุคลากรในโรงเรยี น

5.2 วตั ถปุ ระสงค์กำรประเมินผลกำรดำเนินงำน
1) เพื่อประเมินผลสาเร็จการดาเนินงานการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะของโรงเรียน

ในสงั กดั สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน
2) เพ่ือประเมินปริมาณขยะมูลฝอยที่นากลับมาใช้ประโยชน์ผ่านกิจกรรม และปริมาณขยะมูล

ฝอย ท่ีนาไปกาจัดลดลง
3) เพ่อื ประเมินจติ สานึกและพฤตกิ รรมการจดั การขยะที่ดีของผู้เรียน ครูและบคุ ลากรในโรงเรียน
4) เพ่ือประเมินผลสาเร็จของการดาเนินงานโรงเรียนในการจัดการขยะและอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม

เพอื่ มตี ้นแบบโรงเรียนปลอดขยะ
5.3 กำรประเมนิ ผลกำรดำเนนิ งำน
5.3.1 บทบำทของสำนักงำนเขตพ้นื ที่กำรศึกษำ
1) ประเมินผลสาเร็จการดาเนินงานการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะของโรงเรียน

ในสงั กัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 ตามเกณฑก์ ารประเมิน
2) เก็บรวบรวมผลประเมินปรมิ าณขยะมูลฝอยที่นากลับมาใช้ประโยชนผ์ ่านกิจกรรม และ

ปริมาณขยะมลู ฝอยทนี่ าไปกาจดั ลดลง ของโรงเรยี นทกุ โรงเรยี นในสงั กัด
3) เก็บรวบรวมผลการประเมินจิตสานึกและพฤติกรรมการจัดการขยะที่ดีของผู้เรียน ครู

และบคุ ลากรในโรงเรียนทุกโรงเรยี นในสังกดั
4) ประเมินผลสาเร็จของการดาเนินงานโรงเรียนในการจดั การขยะและอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม

เพ่ือมตี ้นแบบโรงเรยี นปลอดขยะ
5.3.2 บทบำทของโรงเรียน
1) มีการประเมินตนเอง ในการดาเนินงานการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ

ของโรงเรยี นตามเกณฑ์การประเมนิ

48

2) จดั ทาขอ้ มลู ปริมาณขยะมูลฝอยทน่ี ากลับมาใชป้ ระโยชนผ์ ่านกิจกรรม และปรมิ าณขยะ
มูลฝอยทนี่ าไปกาจัดลดลงของโรงเรยี น

3) มีการประเมินจิตสานึกและพฤติกรรมการจัดการขยะท่ีดีของผู้เรียน ครูและบุคลากร
ในโรงเรียน

4) สรุปรายงานผลการดาเนินงานการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ให้สานักงาน
เขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

ผลจากการตรวจสอบแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียน
ปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 โดยการจัดส่งร่าง ให้
ผู้เช่ียวชาญจานวน 5 คน ท่ีมีความเชี่ยวชาญในด้านการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ และผู้ท่ีมีความ
เช่ียวชาญในด้านการวิจัยและประเมินผลการศึกษา เพื่อตรวจสอบความครอบคลุมของโครงสร้างเนื้อหา
ความเหมาะสมและความตรงเชงิ เน้อื หา ความถูกต้อง และความเปน็ ไปได้ในการปฏิบัติงาน และประโยชน์
โดยผู้เช่ียวชาญได้ตรวจสอบแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของ
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ในภาพรวม พร้อมทั้งให้ความเห็นและ
ขอ้ เสนอแนะโดยสรุปในแตล่ ะประเดน็ ดงั น้ี

1. กรอบแนวคิดเชิงระบบแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ
ของสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 มีประเดน็ ดงั น้ี

ประเด็นท่ี 1 ความเหมาะสมของ ดา้ นปัจจยั ประกอบด้วย ทรพั ยากรมนุษย์ ได้แก่
ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง เครือข่าย และงบประมาณ ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นพ้องกันว่า
องค์ประกอบของด้านปจั จัยในภาพรวมมีความเหมาะสม แต่ควรเพม่ิ ทรัพยากรมนษุ ย์ คาวา่ ครู เพ่ิมเป็นครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา และคาวา่ เครอื ขา่ ย เพ่มิ เป็นเครอื ข่ายชมุ ชนและหนว่ ยงานตา่ งๆ

ประเดน็ ที่ 2 ความเหมาะสมของ ดา้ นกระบวนการ ประกอบดว้ ย การกาหนด
นโยบายการสร้างความรู้ความเข้าใจ การส่งเสริมการมีส่วนร่วม การบริหารจัดการขยะ และ
การประเมินผลการดาเนินงาน ผู้เช่ียวชาญมีความเห็นพ้องกันว่าองค์ประกอบของด้านกระบวนการใน
ภาพรวมมีความเหมาะสม

ประเด็นท่ี 3 ความเหมาะสมของ ด้านผลผลิต ประกอบด้วย โรงเรียนมีผลการ
ประเมินการบริหารจัดการขยะผ่านเกณฑ์การประเมิน ปริมาณขยะมูลฝอยในโรงเรียนลดลง ผู้เรียน ครู
และบุคลากรภายในโรงเรียนมีจิตสานึกและพฤติกรรมการจัดการขยะที่ดี และโรงเรียนมีความยั่งยืนใน
การดาเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ ผู้เช่ียวชาญมีความเห็นพ้องกันว่าองค์ประกอบของด้านผลผลิตใน
ภาพรวมมีความเหมาะสม

2. แนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 มปี ระเดน็ ดังนี้

ประเด็นที่ 1 ความเหมาะสมของขั้นตอนที่ 1 การกาหนดนโยบาย ผู้เช่ียวชาญมี
ความเหน็ พอ้ งกันวา่ องคป์ ระกอบของการกาหนดนโยบายในภาพรวมมคี วามเหมาะสมทุกข้อ แต่ถา้ หากมี
การเพิ่มวัตถุประสงค์การกาหนดนโยบายในข้อ 2 ควรเพ่ิมตามหลัก 3R เป็น A3R เพื่อมีโรงเรียน
ตน้ แบบในการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นปลอดขยะ

ประเดน็ ที่ 2 ความเหมาะสมของขน้ั ตอนที่ 2 การสร้างความรูค้ วามเขา้ ใจ ผู้เช่ยี วชาญ
มีความเหน็ พอ้ งกันว่าองคป์ ระกอบของการสร้างความรูค้ วามเขา้ ใจในภาพรวมมีความเหมาะสมทกุ ข้อ

49

ประเด็นท่ี 3 ความเหมาะสมของข้ันตอนที่ 3 การส่งเสริมการมีส่วนร่วม ผู้เช่ียวชาญ
มีความเห็นพ้องกันวา่ องคป์ ระกอบของการสร้างความรูค้ วามเขา้ ใจในภาพรวมมีความเหมาะสมทกุ ข้อ

ประเด็นที่ 4 ความเหมาะสมของข้ันตอนท่ี 4 การบริหารจัดการขยะ ผู้เช่ียวชาญ
มีความเห็นพ้องกันว่าองค์ประกอบของการบริหารจัดการขยะในภาพรวมมีความเหมาะสมทุกข้อ แต่ถ้า
หากมกี ารปรบั เพม่ิ ให้เพ่ิมขอ้ ความเต็มวา่ “ของ” ในข้อความหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เน่ืองจาก
เปน็ ชอื่ เฉพาะของโครงการพระราชดาริ

ประเด็นที่ 5 ความเหมาะสมของขั้นตอนท่ี 5 การประเมินผลการดาเนินงาน ผู้เชี่ยวชาญ
มีความเห็นพ้องกันว่าองค์ประกอบของการบริหารจัดการขยะในภาพรวมมีความเหมาะสมทุกข้อ แต่ถ้า
หากมีการปรับเพ่ิมให้แก้ไข้ในวัตถุประสงค์ข้อ 4 เป็น “เพ่ือประเมินผลสาเร็จของความยั่งยืนในการ
ดาเนินการโรงเรียนปลอดขยะ” และให้เพ่ิมเติมวัตถุประสงค์ ข้อ 5 เพื่อมีโรงเรียนต้นแบบการบริหาร
จดั การโรงเรียนปลอดขยะ

ผู้ วิ จั ย ได้ ส รุ ป คว ามคิด เ ห็น แล ะข้อเ ส นอแน ะของผู้ เ ชี่ ย วช าญ ในด้ าน การ บริ ห ารจั ด การ
โรงเรยี นปลอดขยะ และผ้ทู ีม่ คี วามเชยี่ วชาญในด้านการวิจยั และประเมนิ ผลการศึกษา พรอ้ มทงั้ ไดป้ รับแก้
ตามขอ้ เสนอแนะดังต่อไปน้ี

แผนภำพ 5 กรอบแนวคิดเชิงระบบแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการ
โรงเรยี นปลอดขยะ ของสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

50

แผนภำพ 6 แนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจดั การโรงเรยี นปลอดขยะของสานกั งานเขต
พื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

จำกแผนภำพ แนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงาน
เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 มี 5 ขน้ั ตอน ดงั นี้
1. กำรกำหนดนโยบำย

1.1 กำรกำหนดนโยบำย หมำยถึง มีการกาหนดนโยบายและวิสัยทัศน์ท่ีชัดเจน ในการดาเนินงาน
โรงเรียนปลอดขยะ และประกาศนโยบายและวิสัยทัศน์ไปยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อให้การปฏิบัติเป็นไป
ในทศิ ทางเดียวกันอยา่ งตอ่ เน่อื งและยง่ั ยืน

1.2 วตั ถุประสงค์กำรกำหนดนโยบำย
1) เพือ่ สง่ เสริมสนบั สนนุ ให้โรงเรียนในสังกดั ดาเนนิ งานโรงเรยี นปลอดขยะอย่างต่อเนือ่ ง
2) เพอ่ื สรา้ งองค์ความรแู้ ละจติ สานึกในการลดปริมาณขยะในโรงเรียน ตามหลกั 1A3R
3) เพื่อกากับติดตามผลสาเร็จของการดาเนินงานโรงเรียนในการจัดการขยะและอนุรักษ์

สงิ่ แวดลอ้ ม เพอื่ มีต้นแบบโรงเรยี นปลอดขยะ
1.3 กำรดำเนินกำรกำหนดนโยบำย
1.3.1 บทบำทของสำนกั งำนเขตพนื้ ท่กี ำรศกึ ษำ
1) จดั ทานโยบายการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรยี นปลอดขยะ

51

2) ส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนทุกโรงเรียนในสังกัด ดาเนินการจัดทานโยบายด้าน
การจัดการขยะตามรปู แบบของโรงเรียน Zero Waste

3) ส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนทุกโรงเรียนในสังกัด บูรณาการการจัดการเรียนการสอน
ในเรื่องการจัดการขยะมูลฝอย ตามหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรเพ่ิมเติม กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่ม
เวลารู้

4) ดาเนนิ การกากบั ตดิ ตามผลสาเรจ็ ของการดาเนินงานโรงเรียนในการจัดการขยะ
1.3.2 บทบำทของโรงเรียน

1) มีการกาหนดนโยบายและวิสัยทัศน์ด้านการจัดการขยะ กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น
กรรมการสถานศึกษา ผูป้ กครอง กรรมการนกั เรยี น หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้อง

2) มีการประกาศนโยบายและวิสยั ทัศนไ์ ปยงั ผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสีย ชัดเจนและครบถ้วน
3) มีการกาหนดโครงสร้างการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ให้มีคณะทางาน
ผู้รับผดิ ชอบโครงการและกาหนดบทบาทหน้าที่ โดยใช้รปู แบบการบรหิ ารจัดการแบบมสี ว่ นร่วม
4) มีการสนบั สนนุ การดาเนนิ งานในดา้ นตา่ งๆ เช่น งบประมาณ วสั ดอุ ปุ กรณ์ การฝกึ อบรม
ฯลฯ จากผ้บู รหิ ารและหน่วยงานหรอื บุคลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
5) ผู้บริหารมีการกากับดูแลการดาเนินงานให้เป็นไปตามนโยบายที่กาหนดไว้และติดตาม
ความก้าวหน้าของการดาเนินงานโรงเรยี นปลอดขยะเพื่อให้เป็นไปตามข้ันตอนทช่ี ัดเจน
6) มกี ารจัดทาแผนงาน/โครงการ และวธิ กี ารดาเนนิ งานของโรงเรียนปลอดขยะ

2. กำรสรำ้ งควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจ
2.1 กำรสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจ หมำยถึง กระบวนการส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ

ท้ังภายในและนอกโรงเรียน การพัฒนาครู/บุคลากรเพ่ือนาไปสู่การส่งเสริมโรงเรียนปลอดข ยะ
กระบวนการส่งเสริมการสร้างวนิ ัยและความรบั ผดิ ชอบในการจัดการขยะมูลฝอยใหแ้ กผ่ ู้เรยี นและบุคลากร
ในโรงเรียน โดยมีการบูรณาการหลกั สตู รการเรียนการสอน ในเรื่องการจัดการขยะมูลฝอย ตามหลักสูตร
แกนกลางและหลักสูตรเพ่ิมเติม กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ และมีการส่งเสริมให้มีจุดเรียนรู้และ
แหล่งเรียนรใู้ นโรงเรียน

2.2 วัตถปุ ระสงคก์ ำรสร้ำงควำมรู้ควำมเขำ้ ใจ
1) เพ่ือส่งเสริมใหผ้ ู้เรียน ครแู ละบคุ ลากรในโรงเรียนทุกคนมคี วามรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะ

มลู ฝอยในโรงเรียน
2) เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียนทุกคน มีวินัยและความรับผิดชอบใน

การจัดการขยะมูลฝอยในโรงเรียน
3) เพ่ือส่งเสริมให้โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจ ในรูปแบบการจัดการขยะ

โดยศกึ ษาจากจุดเรยี นรหู้ รือแหลง่ เรียนรใู้ นโรงเรียน
4) เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนมีการจัดทาหลักสูตรบูรณาการจัดการขยะมูลฝอยภายในโรงเรียน

ปลอดขยะ หรือหลกั สูตรเพิ่มเตมิ ที่เกย่ี วข้อง

52

2.3 กำรดำเนนิ กำรสรำ้ งควำมรู้ควำมเขำ้ ใจ
2.3.1 บทบำทของสำนักงำนเขตพื้นทกี่ ำรศึกษำ
1) ส่งเสริมและแจ้งแนวทางการดาเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ โดยให้โรงเรียนดาเนิน

การสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจ สร้างวนิ ยั จติ สานกึ และความรบั ผิดชอบในการจัดการขยะมลู ฝอยในโรงเรยี น
2) ส่งเสรมิ ใหโ้ รงเรียนมีจุดเรียนรู้หรือแหลง่ เรียนรู้ในโรงเรยี น ในการจัดการขยะ
3) ส่งเสริมให้โรงเรียนจัดทาหลักสูตรบูรณาการจัดการขยะมูลฝอยภายในโรงเรียน

ปลอดขยะ หรือหลกั สตู รเพ่ิมเตมิ ท่เี กย่ี วข้อง
4) นเิ ทศ กากับ ติดตามและประเมนิ ผล

2.3.2 บทบำทของโรงเรยี น
1) มีการสร้างกระบวนการพัฒนาและส่งเสริมความรูค้ วามเข้าใจในการจดั การขยะมูลฝอย

ใหก้ บั ผเู้ รยี น ครแู ละบคุ ลากรในโรงเรยี นทกุ คน
2) มกี ารจัดกระบวนการเรียนร้เู ก่ยี วกบั วินยั และความรบั ผิดชอบในการจัดการขยะมูลฝอย

ให้กับผู้เรยี น ครูและบุคลากรในโรงเรยี นทุกคน
3) มีจุดเรียนรูห้ รอื แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เพื่อเปน็ ฐานเรียนรแู้ ละการจัดกจิ กรรมโรงเรียน

ปลอดขยะ
4) มีการจัดทาหลักสูตรบูรณาการจัดการขยะมูลฝอยภายในโรงเรียนปลอดขยะ หรือ

หลกั สตู รเพม่ิ เตมิ ทเ่ี กีย่ วข้อง
5) มีการนิเทศ ติดตามและประเมินผลที่เกี่ยวกับกระบวนการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ

และกระบวนการส่งเสริมการสรา้ งวินยั และความรับผิดชอบในการจัดการขยะมลู ฝอยให้แก่ผู้เรียน ครูและ
บุคลากรในโรงเรยี น

3. กำรสง่ เสริมกำรมีส่วนรว่ ม
3.1 กำรส่งเสริมกำรมีส่วนร่วม หมำยถึง กระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูล

ฝอย ของผู้เรียน ครูและบุคลากรภายในโรงเรียน และของภาคส่วนต่างๆภายนอกโรงเรียนท่ีเข้าร่วมหรือ
สนับสนนุ การดาเนนิ กิจกรรม เชน่ คณะกรรมการสถานศกึ ษา เครือขา่ ยผ้ปู กครอง ชมุ ชน หนว่ ยงานต่างๆ

3.2 วัตถุประสงค์กำรส่งเสรมิ กำรมสี ่วนร่วม
1) เพ่ือส่งเสริมการสร้างกระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ครูและบุคลากรภาย

ในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียนในการดาเนินการจัดการขยะมูลฝอย
2) เพ่อื สรา้ งเครือขา่ ยท่เี กยี่ วขอ้ งกับการจัดการขยะในโรงเรียน

3.3 กำรดำเนินกำรส่งเสรมิ กำรมสี ว่ นร่วม
3.3.1 บทบำทของสำนกั งำนเขตพนื้ ทีก่ ำรศกึ ษำ
1) ส่งเสริมและแจ้งแนวทางการดาเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ โดยให้โรงเรียนสร้าง

กระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ครูและบุคลากรภายในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน
ในการดาเนินการจัดการขยะมูลฝอย

2) ส่งเสริมใหโ้ รงเรียนมีการสร้างเครือข่ายทีเ่ กี่ยวข้องกบั การจดั การขยะในโรงเรียน

53

3.3.2 บทบำทของโรงเรยี น
1) มีการสร้างกระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ครูและบุคลากรภาย

ในโรงเรยี นและหนว่ ยงานภายนอกโรงเรียนในการดาเนนิ การจดั การขยะมูลฝอย
2) มีการสร้างเครือข่ายท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการขยะในโรงเรียน เช่น การทาบันทึก

ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ในการดาเนินงานด้านการจัดการขยะ ระหว่างโรงเรียนและชุมชนให้เป็น
โรงเรยี นปลอดขยะ

4. กำรบรหิ ำรจัดกำรขยะ
4.1 กำรบริหำรจัดกำรขยะ หมายถึง กระบวนการหรือวิธีการเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอยอย่าง

มีประสิทธิภาพ โดยใช้หลัก 1A3R คือ มีการจัดกิจกรรมการหลีกเลี่ยงหรืองด (Avoid) ใช้วัตถุดิบหรือ
ผลติ ภัณฑ์สนิ ค้าต่างๆที่ก่อให้เกิดขยะ การจดั กิจกรรมการลดปรมิ าณขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง (Reduce)
การใช้ซ้า (Reuse) และการนากลับมาใช้ใหม่ (Recycle) รวมถึงส่งเสริมการจัดกิจกรรมการคัดแยกขยะ
4 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป ขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย และการประยุกต์ใช้หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสรมิ คุณภาพสิ่งแวดล้อมในการบริหารจัดการขยะในโรงเรียน และ
มีนวัตกรรมการจดั การขยะมูลฝอยของโรงเรียน

4.2 วตั ถุประสงคก์ ำรบริหำรจดั กำรขยะ
1) เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ โรงเรียนในสังกัดสานักงาน

เขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 ใหเ้ ปน็ ไปในทิศทางเดียวกัน
2) เพ่ือส่งเสริมให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องได้นาแนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ

ไปประยุกตใ์ ช้ให้เกิดประสทิ ธิภาพสูงสุด
3) เพอื่ รวบรวมขอ้ มลู วธิ กี ารปฏิบัตทิ ี่ดขี องโรงเรียนต้นแบบการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นปลอดขยะ

4.3 กำรดำเนินกำรบริหำรจดั กำรขยะ
4.3.1 บทบำทของสำนกั งำนเขตพื้นท่ีกำรศกึ ษำ
1) ส่งเสริมและแจ้งแนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ให้โรงเรียนในสังกัด

ดาเนินการเป็นไปในทิศทางเดยี วกัน
2) จดั เก็บรวบรวมข้อมูลและจดั ทาขอ้ มลู สารสนเทศการบรหิ ารจดั การโรงเรียนปลอดขยะ
3) ส่งเสริมให้โรงเรียนมีการบูรณาการจัดทาหลักสูตร ในสาระการเรียนรู้ ด้านการจัดการ

ขยะมูลฝอยภายในโรงเรยี น
4) ดาเนนิ การจัดประกวดโรงเรียนปลอดขยะ
5) นิเทศ กากับ ติดตามและประเมินผลโรงเรียนปลอดขยะ

4.3.2 บทบำทของโรงเรียน
1) จัดทาแผนการดาเนินโครงการด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของโรงเรียน และ

แผนการดาเนนิ การโครงการด้านการจัดการขยะมูลฝอยท้ัง 4 ประเภทภายในโรงเรียน
2) ส่งเสริมการจัดกิจกรรม A3R ลดขยะในสถานศึกษา โดยมีการจัดกิจกรรม

การหลีกเลี่ยงหรืองด (Avoid) ใช้วัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์สินค้าต่างๆที่ก่อให้เกิดขยะ การจัดกิจกรรมการ
ลดปริมาณขยะมูลฝอยต้ังแต่ตน้ ทาง (Reduce) การใช้ซ้า (Reuse) และการนากลับมาใชใ้ หม่ (Recycle)
และให้มนี วัตกรรมการจัดการขยะมลู ฝอยของโรงเรียน

54

3) มีการจัดกิจกรรมการคัดแยกขยะ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป ขยะย่อยสลาย
ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย

4) มีการบูรณาการ ด้านการจัดการขยะในหลักสูตรแกนกลาง หลักสูตรเพิ่มเติม กิจกรรม
ลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ ตง้ั แตร่ ะดับอนุบาล – ชว่ งชัน้ ท่ี 3

5) มีการจัดการขยะตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและส่งเสริมคุณภาพ
สงิ่ แวดลอ้ ม

6) มีการจัดทาระบบเอกสารและบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทก่อนและหลัง
การดาเนินงานและการประมวลผลข้อมลู ปรมิ าณขยะแตล่ ะประเภท เชน่ ในรูปของกราฟหรอื ตารางข้อมูล
แสดงข้อมูลรายเดอื น/รายปี เป็นตน้

7) มกี ารเผยแพร่ข้อมลู การดาเนนิ กจิ กรรมโรงเรยี นปลอดขยะในรูปแบบต่างๆ
8) มกี ารดาเนนิ การธนาคารขยะโรงเรียน
9) มนี วตั กรรมการบริหารจดั การขยะในโรงเรยี น
10) สรุปรายงานผลการดาเนนิ งานการบริหารจดั การโรงเรียนปลอดขยะ

5. กำรประเมนิ ผลกำรดำเนนิ งำน
5.1 กำรประเมินผลกำรดำเนนิ งำน
การประเมินผลการดาเนินงาน หมายถึง การกากับ ติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน

กระบวนการบริหารจัดการขยะในโรงเรียน และการประเมินผลกระบวนการส่งเสริมการสร้างวินัย
ในการจดั การขยะมลู ฝอยให้แก่ผู้เรียน ครแู ละบุคลากรในโรงเรยี น

5.2 วัตถุประสงคก์ ำรประเมินผลกำรดำเนนิ งำน
1) เพื่อประเมินผลสาเร็จการดาเนินงานการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะของโรงเรีย น

ในสงั กดั สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
2) เพื่อประเมินปริมาณขยะมูลฝอยที่นากลับมาใช้ประโยชน์ผ่านกิจกรรม และปริมาณขยะมูล

ฝอย ทีน่ าไปกาจัดลดลง
3) เพือ่ ประเมินจติ สานกึ และพฤตกิ รรมการจัดการขยะท่ดี ีของผู้เรยี น ครแู ละบุคลากรในโรงเรยี น
4) เพือ่ ประเมนิ ผลสาเร็จของความยงั่ ยืนในการบริหารจัดการโรงเรยี นปลอดขยะ
5) เพอ่ื มีโรงเรยี นต้นแบบการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นปลอดขยะ

5.3 กำรประเมินผลกำรดำเนินงำน
5.3.1 บทบำทของสำนักงำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำ
1) ประเมินผลสาเร็จการดาเนินงานการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะของโรงเรียน

ในสงั กัดสานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ตามเกณฑ์การประเมิน
2) เก็บรวบรวมผลประเมินปรมิ าณขยะมูลฝอยท่ีนากลับมาใช้ประโยชนผ์ ่านกิจกรรม และ

ปริมาณขยะมูลฝอยท่นี าไปกาจัดลดลง ของโรงเรียนทกุ โรงเรยี นในสังกดั
3) เก็บรวบรวมผลการประเมินจิตสานึกและพฤติกรรมการจัดการขยะท่ีดีของผู้เรียน ครู

และบุคลากรในโรงเรยี นทกุ โรงเรียนในสงั กัด
4) ประเมินผลสาเรจ็ ของการดาเนินงานโรงเรียนในการจดั การขยะและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

เพอ่ื มีต้นแบบโรงเรียนปลอดขยะ

55

5.3.2 บทบำทของโรงเรียน
1) มีการประเมินตนเอง ในการดาเนินงานการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะของ

โรงเรยี น ตามเกณฑก์ ารประเมิน
2) จดั ทาข้อมูลปริมาณขยะมูลฝอยทน่ี ากลับมาใช้ประโยชนผ์ ่านกิจกรรม และปริมาณขยะ

มูลฝอยทน่ี าไปกาจดั ลดลงของโรงเรียน
3) มีการประเมินจิตสานึกและพฤติกรรมการจัดการขยะท่ีดีของผู้เรียน ครูและบุคลากร

ในโรงเรียน
4) สรุปรายงานผลการดาเนินงานการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ให้สานักงาน

เขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

ตอนที่ 3 ผลการประเมินแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ
ของสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู แบบการหาคุณภาพของคู่มือแนวทางการดาเนนิ การขบั เคลื่อน การ
บริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ผู้วิจัย
นาเสนอ โดยแยกเป็น 4 ด้าน คือ ความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์
ดังตารางที่ 5 – 9

ตำรำงที่ 5 ค่าเฉล่ียส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการแปลผลการหาคุณภาพของคู่มือแนวทาง

การดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

ประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 โดยภาพรวม

ท่ี ดำ้ น ค่ำเฉลีย่ ค่ำเบย่ี งเบน ระดบั ควำมถูกตอ้ ง เหมำะสม
( ) มำตรฐำน( ) เปน็ ไปไดแ้ ละเป็นประโยชน์

1 ความถูกตอ้ ง 4.49 0.505 มาก

2 ความเหมาะสม 4.49 0.519 มาก

3 ความเปน็ ไปได้ 4.46 0.517 มาก

4 ความเปน็ ประโยชน์ 4.51 0.524 มากที่สุด

ภาพรวม 4.49 0.514 มาก

จำกตำรำงที่ 5 พบว่าผลการหาคุณภาพของคู่มือแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหาร
จดั การโรงเรยี นปลอดขยะ ของสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 โดยภาพรวม

อยใู่ นระดับมาก (μ=4.49) 1.ส่วนดา้ นที่มีระดับสงู สุด คือด้านความเป็นประโยชน์ (μ=4.51) 2.รองลงมา
คือ ความถูกต้อง (μ=4.49) และความเหมาะสม (μ=4.49) 3. ลาดับน้อยท่ีสุด คือ ความเป็นไปได้
(μ=4.46)

56

ตำรำงที่ 6 ระดบั ความถูกต้องของคูม่ ือแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนบริหารจดั การโรงเรยี น

ปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

ที่ ดำ้ นควำมถกู ตอ้ ง ค่ำเฉล่ยี คำ่ เบ่ียงเบน ระดบั ควำมถูกตอ้ ง
( ) มำตรฐำน เหมำะสม เป็นไปได้
และเปน็ ประโยชน์
( )

1 ความเปน็ มาของคู่มือนี้มีความชัดเจน 4.39 0.491 มาก

2 หลักการและเหตผุ ลของคู่มือนมี้ ีความชดั เจน 4.46 0.511 มาก

3 วตั ถปุ ระสงค์ของคมู่ ือน้มี ีความชัดเจน 4.50 0.507 มากทีส่ ุด

4 แนวทางการดาเนนิ งานแต่ละตอนของคู่มอื น้ีมี 4.52 0.508 มากทส่ี ดุ

ความเหมาะสมตามข้นั ตอนกระบวนการ

5 ข้อมูลแต่ละตอนของคู่มอื น้ีครอบคลุมเนื้อหา 4.51 0.506 มากทสี่ ดุ

และการกาหนดบทบาทหนา้ ท่ีมีความชัดเจน

6 เนือ้ หาของคู่มือนี้เข้าใจงา่ ย มีความชดั เจนง่าย 4.58 0.505 มากท่ีสดุ

ต่อการนาไปปฏิบตั ิ

ภาพรวม 4.49 0.505 มาก

จำกตำรำงที่ 6 พบว่าด้านความถูกต้องคู่มือแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหาร
จัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 โดยภาพรวม
อยู่ในระดับมาก (μ=4.49) สว่ นประเดน็ ที่มรี ะดบั สูงสุด คือ เนือ้ หาของค่มู ือน้เี ข้าใจง่าย มีความชดั เจนง่าย
ต่อการนาไปปฏิบัติ (μ=4.58) รองลงมา คือ แนวทางการดาเนินงานแต่ละตอนของคู่มือนี้มีความ
เหมาะสมตามข้ันตอนกระบวนการ (μ=4.52) ข้อมูลแต่ละตอนของคู่มือน้ีครอบคลุมเนื้อหาและ
การกาหนดบทบาทหน้าที่มีความชัดเจน (μ=4.51) วัตถุประสงค์ของคู่มือนี้มีความชัดเจน(μ=4.50)
หลักการและเหตุผลของคู่มือนี้มีความชดั เจน (μ=4.46) และประเดน็ ที่มรี ะดับน้อยทส่ี ุด คือ ความเป็นมา
ของค่มู อื นมี้ คี วามชดั เจน (μ=4.51)

ตำรำงท่ี 7 ระดับความเหมาะสมของคู่มือแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียน

ปลอดขยะ ของสานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

ที่ ด้ำนควำมเหมำะสม ค่ำเฉลี่ย คำ่ เบี่ยงเบน ระดับควำมถูกต้อง
( ) มำตรฐำน เหมำะสม เปน็ ไปได้
และเปน็ ประโยชน์
( )

1 คู่มอื น้ีมีความเหมาะสมในการนาไปใช้ในการ 4.53 0.529 มากทส่ี ุด

ดาเนนิ งานในสถานศึกษา

2 คูม่ อื น้ีมีความสอดคล้องกับนโยบายของ 4.51 0.524 มากที่สดุ

สถานศึกษาอยา่ งชดั เจน

3 คมู่ ือน้ีมีองค์ประกอบของรูปแบบชดั เจน 4.47 0.494 มาก

4 ภารกจิ และขอบข่ายงานตามข้นั ตอนทีร่ ะบุไว้ 4.48 0.530 มาก

ในคู่มือนี้สามารถนาไปเป็นแนวทางปฏิบัตไิ ด้

57

ตารางท่ี 7 (ตอ่ )

ท่ี ดำ้ นควำมเหมำะสม คำ่ เฉลยี่ ค่ำเบ่ียงเบน ระดบั ควำมถูกตอ้ ง
( ) มำตรฐำน เหมำะสม เปน็ ไปได้
5 รปู เล่มของคู่มือนม้ี ีความเหมาะสมต่อการใช้
งาน 4.48 ( ) และเปน็ ประโยชน์
ภาพรวม
0.519 มาก

4.49 0.519 มาก

จำกตำรำงท่ี 7 พบว่าด้านความเหมาะสมคู่มือแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหาร
จัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 โดยภาพรวม

อยู่ในระดับมาก (μ=4.49) ส่วนประเด็นที่มีระดับสูงสุด คือคู่มือน้ีมีความเหมาะสมในการนาไปใช้ในการ
ดาเนินงานในสถานศึกษา (μ=4.53) รองลงมา คือคู่มือนี้มีความสอดคล้องกับนโยบายของสถานศึกษา
อย่างชัดเจน (μ=4.51) ภารกิจและขอบข่ายงานตามขั้นตอนท่ีระบุไว้ในคู่มือน้ีสามารถนาไปเป็นแนวทาง
ปฏบิ ตั ไิ ด้ (μ=4.48) รูปเล่มของค่มู ือนีม้ คี วามเหมาะสมต่อการใชง้ าน(μ=4.48) และประเด็นทมี่ รี ะดบั น้อย
ทส่ี ุด คอื คู่มือนีม้ ีองคป์ ระกอบของรูปแบบชัดเจน (μ=4.47)

ตำรำงท่ี 8 ระดับความเป็นไปได้ของคู่มือแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียน

ปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

ที่ ด้ำนควำมเปน็ ไปได้ ค่ำเฉลีย่ ค่ำเบยี่ งเบน ระดบั ควำมถูกตอ้ ง
( ) มำตรฐำน เหมำะสม เปน็ ไปได้
และเป็นประโยชน์
( )

1 คู่มอื นส้ี ามารถนาไปใชใ้ นสถานการณ์จรงิ ได้ 4.41 0.539 มาก

2 คมู่ ือน้สี ามารถยอมรับได้ 4.49 0.499 มาก

3 มคี วามเป็นไปได้ที่สถานศึกษาจะนาค่มู ือน้ีไป 4.50 0.515 มากท่สี ดุ

ใชเ้ ปน็ แบบอย่าง

4 คู่มือนี้เปน็ ไปได้ทีจ่ ะใช้เป็นแนวปฏบิ ตั ิให้ 4.44 0.513 มาก

สามารถทางานได้ตามขนั้ ตอนและมี

ประสิทธิภาพ

5 คู่มือน้ีมคี วามเปน็ ไปไดท้ ่ีสถานศึกษาจะ 4.47 0.517 มาก

นาไปใช้อย่างเหมาะสม เปน็ ระบบ ระเบยี บ

เรียบร้อย

ภาพรวม 4.49 0.517 มาก

จำกตำรำงที่ 8 พบว่าด้านความเปน็ ไปได้คมู่ ือแนวทางการดาเนนิ การขับเคลื่อนการบริหาร
จัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 โดยภาพรวม

อยใู่ นระดบั มาก (μ=4.49) สว่ นประเด็นทีม่ ีระดบั สูงสดุ คือ มีความเปน็ ไปได้ทส่ี ถานศึกษาจะนาคูม่ ือนี้ไป

58

ใช้เป็นแบบอย่าง (μ=4.50) รองลงมา คอื คู่มือน้ีสามารถยอมรบั ได้ (μ=4.49) คู่มือนี้มีความเปน็ ไปได้ที่
สถานศึกษาจะนาไปใช้อย่างเหมาะสม เป็นระบบ ระเบียบเรียบร้อย (μ=4.47) คู่มอื น้ีเปน็ ไปได้ทจ่ี ะใช้
เปน็ แนวปฏบิ ตั ิให้สามารถทางานได้ตามขัน้ ตอนและมปี ระสทิ ธภิ าพ(μ=4.41) และประเด็นทีม่ ีระดับน้อย
ทส่ี ุด คอื คู่มอื นส้ี ามารถนาไปใชใ้ นสถานการณ์จรงิ ได้ (μ=4.47)

ตำรำงท่ี 9 ระดับความเป็นประโยชน์ของคู่มือแนวทางการดาเนินการขบั เคล่ือนการบรหิ ารจัดการ

โรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

ที่ ดำ้ นควำมเปน็ ประโยชน์ ค่ำเฉลี่ย คำ่ เบี่ยงเบน ระดบั ควำมถูกตอ้ ง
( ) มำตรฐำน เหมำะสม เปน็ ไปได้
และเปน็ ประโยชน์
( )

1 การดาเนนิ งานตามคู่มือนี้มปี ระโยชนต์ ่อการ 4.49 0.527 มาก

ดาเนินการขับเคลือ่ นการบรหิ ารจัดการ

โรงเรียนปลอดขยะ

2 การนาคู่มือไปใช้จะทาใหส้ ถานศกึ ษามี 4.50 0.524 มากท่สี ดุ

แนวทางในการดาเนนิ การบริหารจัดการขยะ

ในโรงเรียน

3 การดาเนนิ การตามคู่มือน้ีมีความชัดเจนและ 4.48 0.531 มาก

ผลที่ได้จากการดาเนินการตามคู่มือแต่ละ

ขั้นตอนมีประโยชน์ต่อแนวทางการดาเนินการ

ขบั เคลอื่ นการบริหารจัดการโรงเรียนปลอด

ขยะให้กบั ผู้บริหาร ครู และเจ้าหน้าท่ีที่

เก่ียวข้องของสถานศึกษา

4 ข้อมูลที่ได้จากการปฏบิ ตั ติ ามคู่มอื นจี้ ะเป็น 4.55 0.515 มากทสี่ ดุ

แนวทางในการดาเนินการขับเคลื่อนการ

บรหิ ารจดั การโรงเรยี นปลอดขยะของ

สถานศึกษาทุกแหง่ ในสงั กัดสานักงานเขต

พนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

ภาพรวม 4.51 0.524 มากทสี่ ุด

จำกตำรำงที่ 9 พบว่าด้านความเป็นประโยชน์คู่มือแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อน
การบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (μ=4.51) ส่วนประเด็นท่ีมีระดับสูงสุด คือข้อมูลท่ีได้จากการปฏิบัติตาม
คู่มือน้ีจะเป็นแนวทางในการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะของสถานศึกษา

ทุกแห่งในสงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 (μ=4.55) รองลงมา คือ การ

นาคู่มอื ไปใช้จะทาให้สถานศึกษามีแนวทางในการดาเนินการบริหารจัดการขยะในโรงเรยี น (μ=4.50) การ
ดาเนินงานตามคู่มือน้ีมีประโยชน์ต่อการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ

(μ=4.49) และประเด็นท่ีมีระดับน้อยที่สุด คือ การดาเนินการตามคู่มือนี้มีความชัดเจนและผลท่ีได้

59

จากการดาเนินการตามคู่มือแต่ละขั้นตอนมีประโยชน์ต่อแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหาร
จัดการโรงเรียนปลอดขยะให้กบั ผบู้ ริหาร ครู และเจา้ หน้าทที่ ีเ่ ก่ยี วขอ้ งของสถานศกึ ษา (μ=4.48)

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อเสนอแนะในการหาคุณภาพของคู่มือแนวทางการดาเนินการบริหาร
จดั การโรงเรยี นปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 พบวา่

1. ควรมีการนาคู่มือไปทดสอบหรือทดลองใช้ปฏิบัติจริง โดยให้สถานศึกษาศึกษารายละเอียด
ของคู่มือแนวทางการดาเนินการเพ่ือนาไปวางแผนการดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและดาเนินการ
อย่างต่อเนอื่ ง

2. ควรมกี ารประชาสัมพนั ธค์ ่มู อื ผา่ นทางเว็บไซต์ของสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษา
เพชรบูรณ์ เขต 1 เพื่อเป็นแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงาน
เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

60

บทท่ี 5

บทสรุป

การวิจัย เรื่องการศึกษาแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ
(Zero Waste School) ของสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 มี
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทาง การสร้างแนวทาง และการประเมินแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อน
การบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1
สามารถสรุปผลวิจยั ได้ ดงั น้ี

สรุปผลกำรวิจยั
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ศึกษาแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ

ของสานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 ปรากฏผล ดงั นี้
1. แนวคิดเชิงระบบแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ

ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 พบว่า มีแนวทางการดาเนินการ
ขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ มีแนวทาง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านปัจจัย ด้านกระบวนการ
ด้านผลผลติ

2. แนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงาน
เขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 พบว่า มอี งคป์ ระกอบ 5 องค์ประกอบ ดังน้ี

องค์ประกอบที่ 1 การกาหนดนโยบาย ในการดาเนินการกาหนดโนบายในการบริหารจัดการ
ขยะ มีกระบวนการในการดาเนินการโดยมีการกาหนดนโยบายและการสื่อสารนโยบายของผู้บริหาร
ภายในโรงเรียน การสนับสนุนของผ้บู ริหารโรงเรยี น มีแผนการดาเนินงานโรงเรยี นปลอดขยะ และจัดให้
มีการทาบันทึกข้อตกลง MOU การดาเนินการจัดการขยะในระดับสถานศึกษากับหน่วยงานและชุมชน
ใหเ้ ป็นโรงเรยี นปลอดขยะ

องค์ประกอบท่ี 2 การสร้างความรู้ความเข้าใจ ในการสร้างความรู้ความเข้าใจในการบริหาร
จัดการขยะ มีกระบวนการในการดาเนินการโดยมีกระบวนการส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ
ทั้งภายในและนอกโรงเรียน การพัฒนาครูบุคลากรเพื่อนาไปสู่การส่งเสริมโรงเรียนปลอดขยะ
กระบวนการส่งเสรมิ การสรา้ งวนิ ัยและความรับผิดชอบในการจดั การขยะมลู ฝอยให้แก่ผู้เรียนและบุคลากร
ในโรงเรยี น บูรณาการหลกั สูตรการเรียนการสอนและสง่ เสรมิ ให้มีจุดเรยี นร้แู ละแหล่งเรยี นรู้ในโรงเรียน

องค์ประกอบท่ี 3 การส่งเสริมการมีส่วนร่วม ในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหาร
จัดการขยะ มีกระบวนการในการดาเนินการโดยการมีส่วนร่วมของผู้เรียนและบุคลากรภายในโรงเรียน
เพื่อดาเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ และการมีส่วนร่วมของภาคสว่ นต่างๆภายนอกโรงเรียนเพ่ือดาเนินการ
ในการบรหิ ารจดั การขยะในโรงเรยี น

องค์ประกอบท่ี 4 การบริหารจัดการขยะ ในการบริหารจัดการขยะ มีกระบวนการใน
การดาเนินการโดยมีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของโรงเรียนปลอดขยะ โดยใช้หลัก A3R คือ มีการจัด
กิจกรรมการหลีกเล่ียงหรืองด (Avoid) ใช้วัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์สินค้าต่างๆที่ก่อให้เกิดขยะ การจัด
กจิ กรรมการลดปรมิ าณขยะมลู ฝอยตัง้ แตต่ ้นทาง (Reduce) การใช้ซ้า (Reuse) และการนากลับมาใช้ใหม่

61

(Recycle) รวมถึงส่งเสริมการจัดกิจกรรมการคัดแยกขยะ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป ขยะย่อยสลาย
ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย และการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสริม
คุณภาพสิ่งแวดล้อมในการบริหารจัดการขยะในโรงเรียน และมีนวัตกรรมการจัดการขยะมูลฝอย
ของโรงเรยี น

องค์ประกอบที่ 5 การประเมินผลการดาเนินงาน ในการประเมินการดาเนินงาน มีกระบวนการ
ในการดาเนนิ การโดยมีการกากับ ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานกระบวนการบริหารจัดการขยะใน
โรงเรียน และการประเมินผลกระบวนการส่งเสรมิ การสร้างวนิ ัยในการจดั การขยะมูลฝอยใหแ้ ก่ผ้เู รียน ครู
และบุคลากรในโรงเรียน

นอกจากองค์ประกอบของแนวทางท้ัง 2 ส่วนข้างต้นแล้ว พบว่าได้จัดทารูปเล่มคู่มือแนวทางการ
ดาเนินการขับเคลอื่ นการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นปลอดขยะ ของสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เพชรบูรณ์ เขต 1 ประกอบด้วยส่วนประกอบ 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนท่ี 1 บทนา ส่วนที่ 2 แนวทางการ
ขับเคล่อื นการบริหารจัดการโรงเรยี นปลอดขยะ และส่วนที่ 3 การประกวดโรงเรยี นปลอดขยะ

ผลการประเมินหาคุณภาพของคู่มือแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ
ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต1 พบว่า ด้านความถูกต้อง ด้านความ
เหมาะสม ด้านความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ใน ระดับมาก
(μ=4.49) ส่วนด้านท่ีมีระดับสูงสุด คือด้านความเป็นประโยชน์ (μ=4.51) รองลงมา คือ ความถูกต้อง
(μ=4.49) และความเหมาะสม (μ=4.49) ลาดับน้อยทีส่ ดุ คอื ความเปน็ ไปได้ (μ=4.46)

อภิปรำยผล
จากการวิจัย เร่ืองผลการศึกษาแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียน

ปลอดขยะ ของสังกัดสานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 ปรากฏ ผลการวจิ ัย ดงั นี้
1.แนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงาน

เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 มีองค์ประกอบ 5 องค์ประกอบ องค์ประกอบท่ี 1
การกาหนดนโยบาย องค์ประกอบที่ 2 การสร้างความรู้ความเข้าใจ องค์ประกอบท่ี 3 การส่งเสริมการ
มีส่วนร่วม องค์ประกอบที่ 4 การบริหารจัดการขยะ องค์ประกอบท่ี 5 การประเมินผลการ ดาเนินงาน
สอดคล้องแนวดาเนินงานโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ของ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
(2560 : 15) ที่กาหนดระดับของการดาเนินงาน ออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับหน่วยงานสานักงาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษาสานักงานศึกษาธิการจังหวัด ระดับโรงเรียน และระดับชุมชน โดยให้มีกลไก
การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ดังนี้ 1) สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สานักงานศึกษาธิการ
จังหวัด ดาเนินการตามแนวทางการจัดการขยะ A3Rs และ ZERO WASTE ในระดับโรงเรียน รูปแบบ
ต่างๆ 2) การส่งเสริมการคัดแยกขยะ เช่น ธนาคารขยะรีไซเคิล ร้าน 0 บาท เป็นต้น 3) สานักงาน
เขตพ้ืนที่การศึกษา สานักงานศึกษาธิการจังหวัด เก็บรวบรวมข้อมูลและจัดทาข้อมูลสารสนเทศ การลด
ปริมาณขยะและคัดแยกขยะในสถานศึกษา ในรูปแบบของ Carbon Footprint และ Carbon Emission
ตามข้อมูลของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานเพ่ิมเติมในโรงเรียน 4) การบูรณาการเรื่อง
การจัดการขยะในสาระการเรียนรู้ ด้านการจัดการขยะ ด้วยรูปแบบการ LCA หรืออ่ืนๆ (สถานศึกษา)
5) ดาเนินการจัดประกวดโรงเรียนปลอดขยะสู่ชุมชนปลอดขยะ 6) ดาเนินการประกวดโรงเรียน
จัดแผนการเรียนรู้เรื่องขยะ 7) ดาเนินการประกวดส่ือ และนวัตกรรมเพื่อโลกสวยด้วยการลดขยะ

62

8) นากิจกรรมเข้าสู่ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ และกาหนดให้มีการประเมินความสาเร็จของสานักงาน
เขตพื้นท่ีการศึกษา สานักงานศึกษาธิการจังหวัด 6 ประเด็น ดังนี้ 1) การเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดการ
ขยะก่อนดาเนินการและหลังดาเนินตามโปรแกรมกิจกรรมการจัดการขยะ และคัดแยกขยะในโรงเรียน
สรุปผลการดาเนินงาน 2) รวบรวมผลการปฏิบัติงานท่ีดีและเป็นเลิศ และการวิจัยดาเนินการคัดแยกขยะ
3) ผลการประเมินคารับรองตัวชี้วัด ARS ตามกลยุทธ์ ท่ี 1 ตัวช้ีวัดท่ี 13 4) สรุปผลการนิเทศ ติดตาม
และประเมินผล โรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ โดยใช้เครือข่าย 5) ผลสาเร็จการประกวดโรงเรียน
บ้าน ชุมชน ปลอดขยะ 6) ผลการขยายเครือข่ายทุกระดับ และระดับโรงเรียนให้มีการดาเนินการจัดทา
MOU กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ผู้นาชุมชน) และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง โดยมีกลไกการขับเคล่ือน
โครงการโรงเรียนปลอดขยะ ประเด็น ดังน้ี 1) กาหนดนโยบายด้านการจัดการขยะตามรูปแบบ
ของโรงเรียน ZERO WASTE 2) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการคัดแยกขยะ 4 ประเภท ได้ ขยะทั่วไป
ขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย 3) ส่งเสริมกิจกรรม 1A3Rs ลดขยะในสถานศึกษา 4) จัด
ให้มีการ MOU การดาเนินการด้านการจัดการขยะ ระหว่างโรงเรียนและชุมชนให้เป็นโรงเรียนปลอดขยะ
5) จัดให้มีการบูรณาการ ด้านการจัดการขยะ ในหลักสูตรสาระแกนกลาง หลักสูตรเพิ่มเติม กิจกรรม
ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ 6) เก็บรวบรวมข้อมูลก่อนเร่ิมดาเนินการจัดการขยะ และมีการเปรียบเทียบ
จัดทาระบบสารสนเทศในการจัดการขยะตามแนวการดาเนินงานตามรูปแบบ ที่สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษากาหนด พร้อมรายงานให้ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพ่ือจัดส่งให้ สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน 7) จัดให้มีค่าย กิจกรรมรณรงค์ A3Rs ให้มีความรู้ด้านการคัดแยกขยะและจัดการ
ขยะตามหลักประชาสัมพันธ์ 8) สรุปรายงานการดาเนินการจัดการขยะในโรงเรียนร่วมนิเทศ และให้
โรงเรียนใช้วิธีการประเมินความสาเร็จของโครงการ ดังนี้ 1) การเก็บรวบรวมข้อมูลการจัดการขยะก่อน
ดาเนนิ การและหลังดาเนนิ ตามโปรแกรมกจิ กรรมการจัดการขยะ และคดั แยกขยะในโรงเรียน สรุปผลการ
ดาเนินงาน 2) รวบรวมผลการปฏิบัติงานที่ดีและเป็นเลิศ/การวิจัยดาเนินการคัดแยกขยะ 3) ผลการ
ประเมินคารับรองตัวช้ีวัด ARS ตาม กลยุทธ์ท่ี 1 ตัวชี้วัดที่ 13 4) สรุปผลการนิเทศ ติดตาม และ
ประเมินผล โรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ โดยใช้เครือข่าย 5) ผลสาเร็จการประกวดโรงเรียน บ้าน ชุมชน
ปลอดขยะ 6) ผลการขยายเครือข่ายทุกระดับRHA สอดคล้องกับกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (2561:ออนไลน์) ที่กาหนดแนวทางการจัดทาเอกสาร
ประกอบการพิจารณาโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ปี 2561 มีวัตถุประสงคเ์ พื่อกระตุ้นรณรงค์เสริมสร้าง
จิตสานึกและความรู้ความเข้าใจถึงแนวทางในการลดปริมาณขยะ การแยกขยะและการนาขยะไปใช้
ประโยชน์ รวมทั้งการรวบรวมขยะเพ่ือนาไปกาจัดอย่างถูกวิธีให้กับเครือข่ายสถานศึกษา และเพ่ิม
เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่สถานศึกษาทั่วประเทศได้มีโอกาสพัฒนาการเรียนการสอนการบริหาร
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม การจัดกิจกรรมโดยใช้เยาวชนเป็นศูนย์การเรียนรู้และการ
มีส่วนร่วมของครูอาจารย์ ผู้เรียน และชุมชนโดยรอบสถานศึกษา ได้กาหนดเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือก
เป็น 6 สว่ น สว่ นที่ 1 นโยบาย การสนับสนุนและแผนการดาเนินงาน สว่ นที่ 2 การสง่ เสรมิ ความรคู้ วาม
เข้าใจและการสร้างวินัยในการจัดการขยะ ส่วนที่ 3 กระบวนการปลูกฝังความรู้และส่งเสริมการ
มสี ว่ นร่วมในการจดั การขยะ ส่วนท่ี 4 การดาเนนิ กจิ กรรมโรงเรียนปลอดขยะ โดยใชห้ ลกั 3Rs สว่ นท่ี 5
การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม และการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่วนที่ 6 ผลสาเร็จและความยั่งยืนของโรงเรียนปลอดขยะ
สอดคล้องกับงานวิจัยของ เก ประเสริฐสังข์ (2560) ได้ศึกษาเร่ืองการวิจัยปฏิบัติการเชิงวิพากษ์เพื่อสร้าง

63

รูปแบบ และกลไกการจัดการขยะอย่างครบวงจรบนฐานการมีส่วนร่วมของโรงเรียนและชุมชน
มีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างรูปแบบและกลไกการจัดการขยะอย่างครบวงจร บนฐานการมีส่วนร่วมของ
โรงเรียนและชุมชน และสังเคราะห์รูปแบบและกลไกการจัดการขยะอย่างครบวงจรของโรงเรียนและ
ชุมชน พบว่า มีรูปแบบและกลไกในการจัดการขยะอย่างครบวงจรบนฐานการมีส่วนร่วมของโรงเรียนและ
ชุมชน ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ (4C) ได้แก่ 1) การสร้างพ้ืนท่ีสาธารณะของกลุ่ม (Create Public
Sphere) 2) การเปล่ียนการเรียนรู้ ( Change Learning) 3) การเปลี่ยนความเข้าใจ ( Change
Understanding) 4) การเปล่ียนพฤติกรรม (Change Behavioral) ภายใต้เง่ือนไขแห่งการปฏิบัติ 3 ด้าน
ไดแ้ ก่ เง่ือนไขด้านรายได้ เงอื่ นไขดา้ นการตระหนัก ต่อสิ่งแวดลอ้ ม และเงื่อนไขด้านบุญ

2. ผลการประเมินแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ
ของสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 พบว่าจากการตอบแบบสอบถาม
คุณภาพของคู่มือแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 จากผู้อานวยการโรงเรียน รองผู้อานวยการ
โรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์
เขต 1 จานวน 126 คน ผลการประเมินด้านความถูกต้อง ด้านความเหมาะสม ด้านความเป็นไปได้
ด้านความเป็นประโยชน์ พบว่า มีภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก (μ=4.49) ส่วนด้านท่ีมีระดับ
สูงสุด คือดา้ นความเป็นประโยชน์ (μ=4.51) รองลงมา คือ ความถกู ตอ้ ง (μ=4.49) และความเหมาะสม
(μ=4.49) ลาดับน้อยที่สุด คือ ความเป็นไปได้ (μ=4.46) ที่สอดคล้องกับเร่ืองการประเมินคุณภาพ
ของคู่มือแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ในด้านความถูกต้อง ด้านความเหมาะสม ด้านความเป็นไปได้
ด้านความเป็นประโยชน์ งานวิจัยของ สิริกร ประสพสุข (2555) กล่าวว่า ลักษณะของคู่มือท่ีดีควร
มีลักษณะ ดังน้ีด้านรูปแบบ มีขนาดรูปเล่มเหมาะสม ตัวอักษรอ่านง่าย ชัดเจน รูปประกอบเหมาะสม
กับเน้ือหาและการนาเสนอกิจกรรมแต่ละขั้นตอนมีความชัดเจน ด้านเนื้อหาวัตถุประสงค์ของคู่มือกาหนด
ไว้ชัดเจน เหมาะสม ระบุขอบข่ายเน้ือหา เนื้อหาครอบคลุม ตามวัตถุประสงค์คา แนะนาการศึกษาคู่มือ
เขียนได้ชัดเจน เข้าใจง่ายเนื้อหาความรู้มีความเหมาะสม ตรงกับความต้องการและความจาเป็น และ
ดา้ นการนาไปใช้กาหนดขั้นตอนการศึกษาค่มู ือไว้ชัดเจน กาหนดกจิ กรรมเนื้อหาและแบบฝึกไดส้ ัมพันธ์กัน
มีกจิ กรรมประเมินผลเหมาะสมกับเนื้อหา นอกจากน้ียังสอดคล้องกับแนวคิดของสาระ ปัทมพงศา (2551)
ที่กล่าวว่าคู่มือที่ดีนั้นควรมีลักษณะ ในประเด็นหลักๆ คือเน้ือหาต้องถูกต้องและครอบคลุมสาระของคู่มือ
นั้น การจัดลาดับข้อมูล นาเสนอเป็นข้ัน ตอนเข้าใจง่าย มีคาชี้แจง มีวัตถุประสงค์ชัดเจน ผู้ใดอ่านแล้ว
สามารถนาไปปฏิบัติได้ รูปแบบของคู่มือเหมาะสมและทนต่อการใช้งาน ภาษาเหมาะสมกับผู้ใชเ้ ข้าใจง่าย
มตี วั อย่างประกอบ และมแี หล่งสบื คน้ ขอ้ มูลหรอื หนังสืออ้างอิง ตลอดจนสอดคล้องกบั แนวคิดของแสงรุนีย์
มพี ร (2552) ทกี่ ล่าววา่ คูม่ อื ทดี่ ีนน้ั ควรให้รายละเอียดครอบคลุมประเดน็ ตา่ ง ๆ คอื มกี ารระบุใหช้ ัดเจนว่า
ค่มู อื นั้นเป็นค่มู ือสาหรบั ใคร ใครเป็นผูใ้ ชม้ ีการกาหนดวัตถปุ ระสงค์ให้ชดั เจนว่า มสี ่วนนาท่ีจูงใจใหผ้ ูใ้ ช้รู้ว่า
คู่มือนี้จะช่วยผู้ใช้ได้อย่างไรผู้ใช้จะได้ประโยชน์อะไรบ้าง มีส่วนที่ให้หลักการหรือความรู้ท่ีจาเป็น แก่ผู้ใช้
คู่มือ มีส่วนท่ีให้คาแนะนาแก่ผู้ใช้เกี่ยวกับการเตรียมตัว การเตรียมเครื่องมือวัสดุอุปกรณ์ และ ส่ิงจาเป็น
ในการดา เนินการตามคู่มือแนะนา มีส่วนท่ีให้คาแนะนาแก่ผู้ใช้เกี่ยวกับขั้นตอนหรือ กระบวนการใน
การทาส่ิงใดส่ิงหน่ึง มีการตรวจสอบความเข้าใจการอ่านหรือการปฏิบัตติ ามข้ันตอน ที่เสนอแนะ มีการใช้

64

เทคนิคต่าง ๆ ในการช่วยให้ผู้ใช้คู่มือสามารถใช้คู่มือได้โดยสะดวกเช่น การจัด รูปเล่ม การเลือกตัวอักษร
ขนาดของตัวอักษร การใช้ตัวดาการใชส้ ี การใช้ภาพ การตีกรอบ การเน้น ข้อความบางตอน เป็นต้น และ
มีการให้แหล่งอ้างอิงที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ใช้คู่มือและสอดคล้องกับแนวคิดของ คัมภีร์ สุดแท้ (2553)
ที่กล่าวว่าคู่มือท่ีดีต้องเป็นแนวปฏิบัติที่สาคัญ วิธีการจัดกิจกรรม มีความละเอียดอ่อน สามารถนาไป
ปฏิบัติได้ควรแสดงแผนภาพ แผนภูมิแผนผังเพื่อช่วยให้ปฏิบัติตามข้ันตอนต่าง ๆ ได้ง่ายและรูปแบบของ
คมู่ ือควรเป็นท่ีน่าสนใจ มีแหล่งอ้างองิ ทสี่ ามารถค้นคว้าเพิ่มเติมได้

ข้อเสนอแนะ
1. ขอ้ เสนอแนะสาหรับการนาผลการวจิ ัยไปใช้
ผลการศึกษาแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ

ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ทาให้ทราบแนวทางการดาเนินการ
ขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ และมีคู่มือแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการ
โรงเรียนปลอดขยะ สาหรบั สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา เขต 1 และสถานศึกษามขี ้อเสนอแนะ
เพือ่ นาผลการศกึ ษาไปใช้ ดงั น้ี

1.1 สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ควรนาผลการวิจัยเร่ือง
การศึกษาแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 และคู่มือแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียน
ปลอดขยะ ไปใช้ในการกาหนดแนวทางส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ
ของสถานศกึ ษาในสงั กัด ให้มีประสทิ ธิภาพและย่ังยืน

1.2 สถานศึกษา ควรนาผลการวิจัยเรื่องการศึกษาแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อน
การบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1
และคู่มือแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ไปใช้ในการวางแผน
การขบั เคล่ือนนโยบายในการบริหารจดั การขยะในสถานศกึ ษา ใหม้ ีประสิทธภิ าพและย่งั ยนื

2. ข้อเสนอแนะสาหรบั การวิจยั ครง้ั ต่อไป
ควรมีการดาเนินการวิจัยในระยะต่อไป โดยนาแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหาร

จัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์เขต 1 ไปดาเนินการ

65

บรรณำนกุ รม

กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม. (2555).รายงานสถานการณม์ ลพษิ ของ
ประเทศไทย ปี 2554. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั ดอกเบี้ย จากัด.

กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2559).แผนแม่บทการบรหิ ารจัดการ
ขยะมลู ฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559-2564). พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท แอคทีฟ พริน้ ท์
จากดั

กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม. (2561). แนวปฏบิ ตั ิการลด และคดั
แยกขยะมูลฝอย ในหน่วยงานภาครัฐ. กทมฯ: บรษิ ัท ฮยี ์ จากดั .

กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถ่นิ กระทรวงมหาดไทย. (ม.ป.ป.). มาตรฐานการจดั การขยะมูลฝอย
และสิ่งปฏกิ ลู . สืบค้นวันท่ี 5 สงิ หาคม 2564, จาก
http://www.dla.go.th/work/e_book/eb1/stan9.htm

กรมส่งเสรมิ คุณภาพส่งิ แวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม. (2560). คูม่ อื กิจกรรม
ส่งิ แวดลอ้ มศึกษา Zero Waste ปฏิบัตกิ ารขยะเหลือศนู ย.์ กทมฯ: กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพ
ส่ิงแวดล้อม

กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม. (2561). แนวทางการ
จดั ทาเอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี
2561. กทมฯ: กรมส่งเสรมิ คุณภาพสง่ิ แวดล้อม.

กรมสง่ เสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม. (2563). การจดั การขยะ
ในสถานศึกษา กรมส่งเสริมสง่ิ แวดลอ้ ม. (พมิ พ์ครั้งที่ 1). กทมฯ: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ ม

กองทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดนนทบรุ .ี (2561). เกณฑก์ ารพิจารณา
การประกวดโรงเรียนปลอดขยะ. สืบค้นวันท่ี 6 สงิ หาคม 2564,
จาก http://nont-pro.go.th/public/news_upload/backend/files_169_1.pdf

กลุ ธิดา สนธิมูล. (2554). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลตาบล
ด่านซา้ ย อาเภอดา่ นซ้าย จงั หวัดเลย. วทิ ยานิพนธ์
ปรญิ ญาโท หลักสตู รรฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. เพชรบรู ณ์: มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ์.

เก ประเสริฐสังข.์ (2561). การวิจัยปฏิบตั กิ ารเชิงวพิ ากษเ์ พ่ือสรา้ งรูปแบบและกลไกการจัดการขยะอยา่ ง
ครบวงจร บนฐานการมีสว่ นรว่ มของโรงเรยี นและชุมชน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั ศรีนครินทร์
วิโรฒ.

66

คมั ภีร์ สุดแท.้ (2553). การพัฒนารปู แบบการบรหิ ารงานวิชาการสาหรบั โรงเรียนขนาดเล็ก. วารสาร
มหาวิทยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม.

จารญู ยาสมทุ ร. (2555). อนามยั สงิ่ แวดล้อมเร่ืองการจัดการขยะมูลฝอย (อ้างถงึ ใน ไกรลักษณ์ พีรพุท
ธรางกูร, 2546). พิมพ์ครง้ั ท่ี 1. กรุงเทพฯ: กองทุนเผยแพร่ด้านวิชาการสิ่งแวดล้อมและการ
สาธารณสุข มหาวิทยาลยั ราชภัฎเชียงใหม.่

ญาณาธิป พงษาโคตร. (2554). การศึกษาความคดิ เห็นของประชาชนท่มี ีต่อประสิทธภิ าพการจัดการมลู
ฝอยในเขตเทศบาลตาบลโคกสะอาด อาเภอศรเี ทพ จังหวัดเพชรบรู ณ.์ วทิ ยานิพนธ์
ปรญิ ญาโท หลกั สูตรบรหิ ารธุรกิจมหาบณั ฑติ . เพชรบูรณ์: มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ์.

ธงชัย สันติวงษ.์ (2543). กลยทุ ธ์และนโยบายธรุ กจิ . กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ

นริ ันดร์ ย่งิ ยวด. (2560). การพัฒนาความรแู้ ละความตระหนกั ในการจัดการขยะ สาหรบั นิสติ สาขาวชิ า
เกษตรและสิง่ แวดล้อมศึกษาผ่านการมีสว่ นร่วมระหวา่ งเครอื ข่ายมหาวทิ ยาลยั โรงเรยี นและชมุ ชน.
ม.ป.ท.: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ปนัดดา วเิ ษศษรจนา. (2559). การจดั การขยะมูลฝอย ของสานกั งานเขตดินแดง กรุงเทพมหานคร.
วิทยานิพนธร์ ัฐศาสตรมหาบณั ฑติ (ร.ม.) คณะรัฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง

ปยิ ชาติ ศลิ ปสวุ รรณ. (2557). บทความวิชาการ ขยะมลู ฝอยชมุ ชน ปัญหาใหญท่ ป่ี ระเทศกาลังเผชญิ
(Municipal solid waste : The Significant problem of Thailand). กทมฯ: สานักงาน
เลขาธกิ ารวฒุ ิสภา.

พชรวรรณ ศรวี าลัย. (2543). พฤติกรรมการกาจัดขยะของประชาชนในชนบทจงั หวดั นครนายก.
วทิ ยานพิ นธร์ ัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ . ชลบุรี: มหาวิทยาลยั บรู พา

พลั ลภ สิงหเสนี. แนวทางการบรกิ ารจดั การขยะมูลฝอยชมุ ชนอยา่ งยั่งยนื ในรปู แบบประชารฐั .
ประจวบคีรขี นั ธ์ : วิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักรหลกั สูตรการป้องกนั ราชอาณาจกั ร รุ่นท่ี 59,
2559-2560.

พระราชบัญญตั ิรักษาความสะอาดและความเปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ยของบา้ นเมือง พ.ศ. 2535. สืบค้นวันท่ี
5 สิงหาคม 2564, จาก http://www.sanklangcm.go.th/file_know/ca44cc69ecf6f6b.pdf

พระราชบัญญัติสาธารณสขุ พ.ศ. 2535. สืบค้นวนั ท่ี 5 สิงหาคม 2564, จาก https://zhort.link/e0A

มาลัย เอ่ยี มจาเริญ. “การบริหารจัดการขยะมูลฝอย ในพน้ื ท่อี งค์การบรหิ ารส่วนตาบลบางโฉลง อาเภอ
บางพลี จงั หวัดสมุทรปราการ” วารสารวิชาการมหาวิทยาลยั ธนบรุ ี. ปที ี่ 8 ฉบับที่ 15 : 21-27 :
มกราคม – เมษายน 2557.

67

รฐั ศิรินทร์ วงั กานนท.์ (2558). เอกสารประกอบการบรรยายกระบวนวชิ าองค์การและนวัตกรรมใน
องค์การ.กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง, โครงการรฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ ภาคพิเศษ.

โรงเรยี นบ้านยางลาด. (2561). ผลการปฏบิ ตั งิ านตามที่ประสบความสาเร็จ ตามจุดเนน้ ของสถานศกึ ษา
การดาเนินงานโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) [ผลงาน]. โรงเรยี นบา้ นยาง
ลาด.

โรงเรยี นบา้ นวงั โค้ง. (2562). โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี 2562 [ผลงาน].
โรงเรยี นบา้ นวังโค้ง.

วิมลชญาน์ สถติ สุนทรพันธ์, ธานี เกสทอง, และทีปพิพฒั น์ สันตะวัน. (2563). รูปแบบการบรหิ ารจัดการ
ขยะมลู ฝอยในสถานศกึ ษา. นครสวรรค์: มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์.

ศิริวรรณ ณ เสรีรตั นแ์ ละคณะ. (2545). องค์การและการจัดการ. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพธ์ รรมสาร.

ศนู ย์บรกิ ารสาธารณสขุ ท่ี 17. (2563). แนวคิด 3RS รกั ษโ์ ลก. สืบคน้ วนั ท่ี 3 สงิ หาคม 2564,
จาก http://www.bangkok.go.th/healthcenter17/page/sub/17417/1/1/info/180949/
แนวคิด-3RS-รักษ์โลก

สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม. (2563). ความหมาย/ประเภท/องค์ประกอบและสาเหตขุ องขยะมลู
ฝอย. สบื ค้นวันที่ 10 สิงหาคม 2564, จาก https://zhort.link/eDt

สาระ ปัทมพงศา. (2551). การพัฒนาคมู่ ือการจดั การเรยี นร่วมในโรงเรยี นวัดกาญนาราม
สังกัดสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาสรุ าษฎร์ธานี เขต 1. ภาคนิพนธ์ ค.ม.
สรุ าษฎรธ์ านี: มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ าน.ี

สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1. (2562). แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปี
งบประมาณ
พ.ศ. 2562. เพชรบูรณ:์ สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1.

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน. (2560). เอกสารประกอบการขับเคลอื่ นนโยบายการ
จัดการขยะ. กรุงเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน.

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน. (2562). นโยบาย สานกั งานคณะกรรมการศึกษาข้นั
พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ 2563. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทยจากัด

สานักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตรช์ าต.ิ (2561). ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561-2580
(ฉบับประกาศราชกิจจานเุ บกษา). (พิมพ์คร้ังท่ี 1). กรงุ เทพฯ: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ.

68

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดล้อม.(ม.ป.ป.). นโยบายและแผนการส่งเสรมิ และรักษาคณุ ภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.
2540 – 2559.
กรงุ เทพฯ: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม.

สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
ส่งิ แวดลอ้ ม. (ม.ป.ป.). นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ.
2560 – 2579. กรุงเทพฯ: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม.

สานักเลขาธิการคณะรฐั มนตรี. (2564). แผนปฏิบัตกิ ารลด และคัดแยกขยะมูลฝอย สานกั เลขาธกิ าร
คณะกรรมการคณะรฐั มนตรี ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564. กรุงเทพฯ: สานกั เลขาธกิ าร
คณะรฐั มนตรี.

สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 –
2579. พิมพ์คร้งั ท่ี 1. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั พรกิ หวานกราฟฟคิ จากัด.

สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ. (2562). แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ประเด็น การเตบิ โตอย่างยัง่ ยืน (พ.ศ. 2561- 2580). สืบค้นวนั ที่ 5 สิงหาคม 2564, จาก
http://nscr.nesdc.go.th/แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสต/

สริ ิกร ประสพสขุ . (2555). การพัฒนาคมู่ ือการจัดการเรียนการสอนการเรยี นรู้เพ่มิ เติม สาหรบั ครรู ะดับ
มธั ยมศึกษาตอนต้น สงั กดั สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอบุ ลราชธานี เขต 5.
วิทยานพิ นธ์ ค.ม. อบุ ลราชธานี: มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อบุ ลราชธาน.ี

สุรชยั วิเชียรสรรค.์ (2553). การมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอย กรณีศึกษา : เทศบาล
ตาบลโพธ์ิประทบั ช้าง จงั หวัดพจิ ิตร. (วทิ ยานิพนธ์
ปริญญาโท หลักสตู รรฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ ). เพชรบูรณ์: มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบูรณ์.

แสงสุรีย์ มพี ร. (2522). การวจิ ยั และพฒั นาคูม่ ือการจัดการความรู้เพื่อการบริหารจดั การ หลักสตู ร
สถานศกึ ษา. วิทยานิพนธ์ ค.ด. ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

Henri Fayol. (1949). General and Industrial Management. London: Sir Issac Pitman
And Sons Ltd.

69

ภาคผนวก

70

ก. รำยชื่อผเู้ สนอเชยี่ วชำญในกำรตรวจสอบควำมตรงเชิงเน้ือหำ (Conternt Validity) ของ
แนวทำงกำรดำเนนิ กำรขับเคลื่อนกำรบรหิ ำรจัดกำรโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste
School) ของสำนกั งำนเขตพื้นท่กี ำรศึกษำประถมศกึ ษำเพชรบรู ณ์ เขต 1

ผู้ทม่ี ีความเชีย่ วชาญในการตรวจสอบตรงเชิงเนอื้ หา (Conternt Validity) ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. นายอานาจ บญุ ทรง ตาแหน่งข้าราชการบานาญ อดตี ผอู้ านวยการสานักงาน
2. นายทวีศักด์ิ เดชสองชน้ั เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1
3. นายพฤฒสภา แยม้ พราย ตาแหนง่ ข้าราชการบานาญ อดีตผอู้ านวยการโรงเรียน
4. นายพิน สงคป์ ระเสริฐ อนุบาลเพชรบูรณ์ วิทยฐานะเชีย่ วชาญ
ตาแหนง่ ขา้ ราชการบานาญ อดีตผอู้ านวยการโรงเรียน
5. นายปราโมทย์ วงค์กาอนิ ทร์ บ้านยาวี-หว้ ยโป่ง วทิ ยฐานะเชย่ี วชาญ
ตาแหนง่ ผ้อู านวยการกล่มุ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผล
การจดั การศกึ ษา วิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ
สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1
ตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้านยางลาด
วิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ
สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

71

ข. เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการตรวจสอบความตรงเชิงเน้อื หา

แบบตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา

ร่างแนวทางการดาเนนิ การขับเคล่อื นการบรหิ ารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School)
ของสานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

กรอบแนวคิดเชิงระบบ ผลการพิจารณาของผู้เชยี่ วชาญ
(ร่าง) แนวทางการขบั เคลอ่ื นการบรหิ ารจดั การ
โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) เห็นด้วย ไม่ ไม่เหน็
ประเดน็ องคป์ ระกอบ แน่ใจ ดว้ ย ขอ้ เสนอแนะ

1. ด้านปัจจัย
1.1 ทรัพยากรมนษุ ย์

1.1.1 ผูบ้ รหิ าร

1.1.2 ครู

1.1.3 นักเรียน

1.1.4 ผู้ปกครอง

1.1.5 เครือข่าย

1.2 งบประมาณ

2. ดา้ นกระบวนการ

2.1 การกาหนดนโยบาย

2.2 การสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจ

2.3 การส่งเสริมการมีส่วนรว่ ม

2.4 การบริหารจดั การขยะ

2.5 การประเมินผลการดาเนินงาน

3. ดา้ นผลผลิต

3.1 โรงเรียนมีผลการประเมินการบริหารจัดการ
ขยะผา่ นเกณฑ์การประเมนิ

3.2 ปริมาณขยะมลู ฝอยในโรงเรียนลดลง

3.3 ผู้เรียน ครูและบุคลากรภายในโรงเรียนมี
จิตสานึกและพฤตกิ รรมการจดั การขยะที่ดี

3.4 โรงเรียนมีความยั่งยืนในการดาเนินงาน
โรงเรยี นปลอดขยะ

1. การกาหนดนโยบาย
1.1 การกาหนดนโยบาย หมายถงึ มีการกาหนด

นโยบายและวิสัยทัศน์ท่ีชัดเจน ในการดาเนินงาน

โรงเรียนปลอดขยะ และประกาศนโยบายและ

72

กรอบแนวคิด ผลการพิจารณาของผเู้ ชี่ยวชาญ
(รา่ ง) แนวทางการขับเคล่ือนการบริหารจดั การ
โรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) เหน็ ด้วย ไม่ ไมเ่ หน็
ประเด็นองคป์ ระกอบ แน่ใจ ดว้ ย ขอ้ เสนอแนะ

วิสยั ทัศนไ์ ปยงั ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสยี เพ่อื ให้การ
ปฏบิ ัตเิ ป็นไปในทิศทางเดยี วกันอยา่ งต่อเนอ่ื ง
และยงั่ ยนื

1.2 วัตถุประสงค์การกาหนดนโยบาย
1) เพ่อื สง่ เสริมสนับสนุนให้โรงเรียนในสังกัด

ดาเนินงานโรงเรยี นปลอดขยะอยา่ งตอ่ เน่อื ง
2) เพื่อสร้างองค์ความรู้และจิตสานึกในการ

ลดปริมาณขยะในโรงเรียน ตามหลกั 3R
3) เพ่ือกากับติดตามผลสาเร็จของการ

ดาเนินงานโรงเรียนในการจัดการขยะและ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เพ่ือมีต้นแบบโรงเรียนปลอด
ขยะ

1.3 การดาเนนิ การกาหนดนโยบาย
1.3.1 บทบาทของสานักงานเขตพ้นื ที่

การศึกษา
1) จัดทานโยบายการขับเคล่ือนการ

บรหิ ารจดั การโรงเรยี นปลอดขยะ
2) ส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนทุก

โรงเรียนในสังกัด ดาเนินการจัดทานโยบายด้าน
การจดั การขยะตามรูปแบบของโรงเรียน

3) ส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนทุก
โรงเรียนในสังกัด บูรณาการการจัดการเรียนการ
สอน ในเรื่องการจัดการขยะมูลฝอย ตาม
ห ลั ก สู ต ร แ ก น ก ล า ง แ ล ะ ห ลั ก สู ต ร เ พ่ิ ม เ ติ ม
กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้

4) ดาเนินการกากับติดตามผลสาเร็จ
ของการดาเนินงานโรงเรยี นในการจัดการขยะ
1.3.2 บทบาทของโรงเรยี น

1) มีการกาหนดนโยบายและวิสัยทัศน์
ด้านการจัดการขยะ กบั ผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสีย เชน่
กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง กรรมการ
นักเรียน หน่วยงานทเี่ กยี่ วข้อง

73

กรอบแนวคิด ผลการพิจารณาของผู้เชีย่ วชาญ

(รา่ ง) แนวทางการขับเคลือ่ นการบรหิ ารจัดการ เหน็ ด้วย ไม่ ไม่เห็น

โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) แนใ่ จ ดว้ ย ขอ้ เสนอแนะ
ประเด็นองค์ประกอบ

2) มกี ารประกาศนโยบายและ
วสิ ัยทัศน์ไปยงั ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสยี ชดั เจนและ
ครบถ้วน

3) มีการกาหนดโครงสรา้ งการบริหาร

จดั การโรงเรียนปลอดขยะ ให้มคี ณะทางาน

ผู้รับผิดชอบโครงการและกาหนดบทบาทหนา้ ที่

โดยใชร้ ปู แบบการบริหารจดั การแบบมสี ่วนรว่ ม
4) มีการสนับสนุนการดาเนนิ งานใน

ดา้ นตา่ งๆ เช่น งบประมาณ วัสดุอปุ กรณ์ การ
ฝึกอบรม ฯลฯ จากผ้บู ริหารและหน่วยงานหรอื
บคุ ลากรท่ีเก่ยี วขอ้ ง

5) ผูบ้ ริหารมีการกากับดูแลการ
ดาเนินงานให้เป็นไปตามนโยบายทก่ี าหนดไว้และ
ติดตามความก้าวหนา้ ของการดาเนนิ งานโรงเรียน
ปลอดขยะเพ่ือให้เป็นไปตามข้ันตอนทช่ี ัดเจน

6) มกี ารจดั ทาแผนงาน/โครงการ และ
วธิ กี ารดาเนนิ งานของโรงเรยี นปลอดขยะ

2. การสร้างความรู้ความเขา้ ใจ
2.1 การสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจ หมายถงึ

กระบวนการส่งเสรมิ และเผยแพรค่ วามรู้ความ
เข้าใจทงั้ ภายในและนอกโรงเรียน การพฒั นาครู
บุคลากรเพื่อนาไปสู่การส่งเสริมโรงเรียนปลอด
ขยะ กระบวนการสง่ เสริมการสร้างวนิ ัยและ
ความรบั ผดิ ชอบในการจัดการขยะมลู ฝอยใหแ้ ก่
ผเู้ รียนและบคุ ลากรในโรงเรียน โดยมีการบรู ณา
การหลกั สูตรการเรยี นการสอน ในเรือ่ งการ
จัดการขยะมูลฝอย ตามหลักสูตรแกนกลางและ
หลกั สตู รเพ่ิมเติม กจิ กรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลา
รู้ และมีการส่งเสริมใหม้ จี ุดเรียนรู้และแหลง่
เรยี นร้ใู นโรงเรียน

2.2 วตั ถปุ ระสงค์การสร้างความรู้ความเข้าใจ
1) เพื่อส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี น ครแู ละ

บุคลากรในโรงเรียนทุกคนมีความร้คู วามเข้าใจใน
การจดั การขยะมูลฝอยในโรงเรยี น

74

กรอบแนวคิด ผลการพิจารณาของผู้เช่ยี วชาญ
(รา่ ง) แนวทางการขับเคล่อื นการบริหารจดั การ
โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) เห็นด้วย ไม่ ไมเ่ หน็
ประเดน็ องคป์ ระกอบ แนใ่ จ ดว้ ย ข้อเสนอแนะ

2) เพื่อส่งเสรมิ ให้ผ้เู รยี น ครแู ละ
บุคลากรในโรงเรียนทุกคน มวี ินยั และความ
รับผดิ ชอบในการจัดการขยะมลู ฝอยในโรงเรียน

3) เพ่ือส่งเสรมิ ใหโ้ รงเรยี นมีการจัด
กจิ กรรมสร้างความรู้ความเข้าใจ ในรปู แบบการ
จัดการขยะ โดยศกึ ษาจากจดุ เรยี นรู้หรือแหลง่
เรียนรู้ในโรงเรียน
4) เพ่ือสง่ เสริมใหโ้ รงเรยี นมีการจดั ทาหลักสตู ร
บูรณาการจัดการขยะมูลฝอยภายในโรงเรียน
ปลอดขยะ หรือหลักสูตรเพิม่ เติมทีเ่ กยี่ วข้อง
2.3 การดาเนินการสรา้ งความรู้ความเข้าใจ

2.3.1 บทบาทของสานักงานเขตพ้นื ท่ี
การศึกษา

1) สง่ เสริมและแจ้งแนวทางการ
ดาเนนิ งานโรงเรียนปลอดขยะ โดยใหโ้ รงเรียน
ดาเนนิ การสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจ สร้างวนิ ยั
จติ สานกึ และความรับผดิ ชอบในการจัดการขยะ
มลู ฝอยในโรงเรยี น

2) ส่งเสรมิ ให้โรงเรียนมจี ดุ เรียนรหู้ รือ
แหล่งเรียนร้ใู นโรงเรยี น ในการจดั การขยะ

3) สง่ เสริมให้โรงเรยี นจัดทาหลกั สตู ร
บรู ณาการจดั การขยะมูลฝอยภายในโรงเรียน
ปลอดขยะ หรอื หลักสูตรเพิ่มเตมิ ทเ่ี กี่ยวข้อง

4) นเิ ทศ กากบั ติดตามและ
ประเมินผล

2.3.2 บทบาทของโรงเรยี น
1) มีการสร้างกระบวนการพัฒนาและ

ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการจดั การขยะมูล
ฝอย ใหก้ ับผู้เรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียนทุก
คน

2) มกี ารจัดกระบวนการเรยี นรู้
เก่ียวกับวินัยและความรบั ผดิ ชอบในการจดั การ
ขยะมูลฝอย ใหก้ บั ผ้เู รยี น ครูและบคุ ลากรใน
โรงเรยี นทกุ คน

75

กรอบแนวคิด ผลการพจิ ารณาของผเู้ ช่ยี วชาญ
(รา่ ง) แนวทางการขบั เคลอื่ นการบริหารจัดการ
โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) เห็นด้วย ไม่ ไมเ่ ห็น
ประเด็นองค์ประกอบ แนใ่ จ ด้วย ข้อเสนอแนะ

3. การส่งเสริมการมสี ่วนรว่ ม
3.1 การสง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ ม หมายถงึ
กระบวนการสง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มในการจดั การ
ขยะมูลฝอยของผู้เรยี น ครูและบคุ ลากรภายใน
โรงเรยี น และของภาคสว่ นต่างๆภายนอก
โรงเรยี นที่เข้าร่วมหรอื สนับสนนุ การดาเนนิ
กิจกรรม เช่น คณะกรรมการสถานศกึ ษา
เครือข่ายผูป้ กครอง ชุมชน หน่วยงานต่างๆ
3.2 วตั ถุประสงค์การส่งเสริมการมีสว่ นรว่ ม
1) เพื่อส่งเสรมิ การสรา้ งกระบวนการส่งเสรมิ การ
มสี ว่ นรว่ มของผ้เู รียน ครแู ละบุคลากรภายใน
โรงเรียนและหนว่ ยงานภายนอกโรงเรียนในการ
ดาเนินการจัดการขยะมลู ฝอย

2) เพื่อสร้างเครือข่ายที่เกยี่ วข้องกับการ
จดั การขยะในโรงเรยี น

3.3 การดาเนนิ การสง่ เสริมการมสี ่วนร่วม
3.3.1 บทบาทของสานักงานเขตพืน้ ที่

การศึกษา
1) ส่งเสริมและแจง้ แนวทางการ

ดาเนนิ งานโรงเรยี นปลอดขยะ โดยให้โรงเรยี น
สรา้ งกระบวนการสง่ เสริมการมสี ่วนรว่ มของ
ผเู้ รียน ครูและบคุ ลากรภายในโรงเรียนและ
ภายนอกโรงเรยี นในการดาเนินการจัดการขยะ
มูลฝอย

2) ส่งเสริมให้โรงเรยี นมีการสรา้ ง
เครอื ข่ายที่เก่ยี วข้องกบั การจัดการขยะใน
โรงเรยี น

3.3.2 บทบาทของโรงเรียน
1) มกี ารสรา้ งกระบวนการสง่ เสรมิ การ

มสี ่วนรว่ มของผูเ้ รยี น ครูและบคุ ลากรภายใน
โรงเรียนและหน่วยงานภายนอกโรงเรียนในการ
ดาเนินการจัดการขยะมูลฝอย

76

กรอบแนวคิด ผลการพิจารณาของผูเ้ ชย่ี วชาญ

(รา่ ง) แนวทางการขบั เคลอื่ นการบรหิ ารจัดการ เห็นดว้ ย ไม่ ไม่เหน็
โรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School)
แนใ่ จ ดว้ ย ข้อเสนอแนะ
ประเดน็ องค์ประกอบ

2) มีการสรา้ งเครอื ข่ายทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การจัดการ
ขยะในโรงเรียน เช่น การทาบันทกึ ข้อตกลงความ
ร่วมมอื (MOU) ในการดาเนินงานดา้ นการจัดการ
ขยะ ระหวา่ งโรงเรียนและชุมชนให้เป็นโรงเรียน
ปลอดขยะ
4. การบรหิ ารจดั การขยะ

4.1 การบรหิ ารจัดการขยะ หมายถงึ
กระบวนการหรือวธิ ีการเกยี่ วกับการจดั การขยะ
มลู ฝอยอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ โดยใช้หลัก A3R คือ
มกี ารจดั กจิ กรรมการหลกี เลี่ยงหรืองด (Avoid)
ใช้วัตถุดิบหรือผลิตภัณฑส์ นิ ค้าตา่ งๆที่ก่อใหเ้ กิด
ขยะ การจดั กิจกรรมการลดปรมิ าณขยะมลู ฝอย
ต้ังแต่ต้นทาง (Reduce) การใชซ้ ้า (Reuse)
และการนากลับมาใช้ใหม่ (Recycle) รวมถึง
สง่ เสรมิ การจัดกิจกรรมการคัดแยกขยะ 4
ประเภท ไดแ้ ก่ ขยะทัว่ ไป ขยะยอ่ ยสลาย ขยะรี
ไซเคิล และขยะอนั ตราย และการประยกุ ต์ใช้
หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การสง่ เสริม
คุณภาพสง่ิ แวดล้อมในการบริหารจดั การขยะใน
โรงเรียน และมนี วตั กรรมการจัดการขยะมูลฝอย
ของโรงเรยี น
4.2 วัตถปุ ระสงค์การบรหิ ารจัดการขยะ

1) เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนการบรหิ ารจัดการ
โรงเรยี นปลอดขยะ โรงเรียนในสังกดั สานักงาน
เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต
1 ให้เป็นไปในทศิ ทางเดียวกัน

2) เพื่อสง่ เสรมิ ใหผ้ ทู้ เ่ี ก่ียวข้องได้นาแนว
ทางการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นปลอดขยะ ไป
ประยุกต์ใชใ้ ห้เกิดประสทิ ธิภาพสงู สดุ

3) เพอ่ื รวบรวมขอ้ มูลวธิ ีการปฏบิ ตั ทิ ่ดี ขี อง
โรงเรยี นต้นแบบการบรหิ ารจัดการโรงเรียน
ปลอดขยะ

77

กรอบแนวคิด ผลการพิจารณาของผ้เู ชีย่ วชาญ

(รา่ ง) แนวทางการขับเคล่ือนการบรหิ ารจดั การ เห็นด้วย ไม่ ไมเ่ ห็น

โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) แนใ่ จ ดว้ ย ข้อเสนอแนะ
ประเด็นองคป์ ระกอบ

4.3 การดาเนินการบรหิ ารจดั การขยะ
4.3.1 บทบาทของสานักงานเขตพนื้ ที่

การศกึ ษา
1) ส่งเสรมิ และแจง้ แนวทางการบริหาร

จัดการโรงเรยี นปลอดขยะ ให้โรงเรยี นในสงั กดั
ดาเนินการเป็นไปในทิศทางเดียวกนั

2) จัดเกบ็ รวบรวมข้อมูลและจัดทา
ข้อมูลสารสนเทศการบรหิ ารจัดการโรงเรียน
ปลอดขยะ

3) ส่งเสริมให้โรงเรยี นมีการบูรณาการ
จัดทาหลกั สูตร ในสาระการเรียนรู้ ด้านการ
จัดการขยะมูลฝอยภายในโรงเรยี น

4) ดาเนินการจัดประกวดโรงเรยี น
ปลอดขยะ

5) นเิ ทศ กากบั ติดตามและประเมินผล
โรงเรยี นปลอดขยะ

4.3.2 บทบาทของโรงเรยี น
1) จดั ทาแผนการดาเนนิ โครงการด้าน

การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยของโรงเรียน และ
แผนการดาเนินการโครงการด้านการจดั การขยะ
มูลฝอยทั้ง 4 ประเภทภายในโรงเรยี น

2) ส่งเสรมิ การจัดกิจกรรม A3R ลด
ขยะในสถานศึกษา โดยมีการจัดกิจกรรมการ
หลีกเลย่ี งหรืองด (Avoid) ใช้วัตถดุ ิบหรอื
ผลิตภัณฑส์ ินค้าต่างๆที่ก่อให้เกิดขยะ การจัด
กจิ กรรมการลดปริมาณขยะมูลฝอยตงั้ แตต่ ้นทาง
(Reduce) การใช้ซ้า (Reuse) และการนา
กลบั มาใช้ใหม่ (Recycle) และใหม้ ีนวตั กรรม
การจัดการขยะมูลฝอยของโรงเรยี น

3) มกี ารจัดกจิ กรรมการคัดแยกขยะ 4
ประเภท ได้แก่ ขยะท่ัวไป ขยะย่อยสลาย ขยะรี
ไซเคลิ และขยะอนั ตราย
4) มกี ารบรู ณาการ ดา้ นการจดั การ

ขยะในหลกั สตู รแกนกลาง หลกั สตู รเพมิ่ เติม

กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้ ต้ังแตร่ ะดับ

อนุบาล – ช่วงชัน้ ท่ี 3

78

กรอบแนวคิด ผลการพจิ ารณาของผ้เู ช่ยี วชาญ

(รา่ ง) แนวทางการขับเคลื่อนการบรหิ ารจัดการ เหน็ ด้วย ไม่ ไมเ่ ห็น

โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) แนใ่ จ ดว้ ย ข้อเสนอแนะ

ประเด็นองคป์ ระกอบ

5) มกี ารจดั การขยะตามหลกั ปรชั ญา
เศรษฐกจิ พอเพียงและสง่ เสริมคณุ ภาพ
สงิ่ แวดล้อม

6) มีการจัดทาระบบเอกสารและ
บนั ทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทกอ่ นและ
หลังการดาเนนิ งาน และการประมวลผลขอ้ มูล
ปรมิ าณขยะแตล่ ะประเภท เช่น ในรูปของกราฟ
หรอื ตารางข้อมลู แสดงขอ้ มูลรายเดือน/รายปี
เปน็ ตน้

7) มีการเผยแพรข่ ้อมลู การดาเนนิ
กิจกรรมโรงเรยี นปลอดขยะ ในรปู แบบต่างๆ

8) มีการดาเนินการธนาคารขยะ
โรงเรยี น

9) มีนวัตกรรมการบริหารจดั การขยะ
โรงเรยี น
10) สรุปรายงานผลการดาเนนิ งานการ

บริหารจดั การโรงเรียนปลอดขยะ
5. การประเมนิ ผลการดาเนินงาน

5.1 การประเมินผลการดาเนินงาน
การประเมนิ ผลการดาเนินงาน

หมายถึง การกากับ ติดตามและประเมนิ ผลการ
ดาเนินงานกระบวนการบรหิ ารจดั การขยะใน
โรงเรยี น และการประเมินผลกระบวนการ
ส่งเสริมการสร้างวินัยในการจัดการขยะมูลฝอย
ให้แก่ผู้เรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียน
5.2 วัตถุประสงคก์ ารประเมินผลการดาเนินงาน

1) เพ่ือประเมินผลสาเรจ็ การดาเนนิ งานการ
บรหิ ารจัดการโรงเรียนปลอดขยะของโรงเรียนใน
สังกัดสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษา
เพชรบรู ณ์ เขต 1 ผา่ นเกณฑ์การประเมิน

2) เพ่ือประเมินปริมาณขยะมูลฝอยท่นี า
กลับมาใชป้ ระโยชนผ์ า่ นกจิ กรรม และปริมาณ
ขยะมลู ฝอยทีน่ าไปกาจดั ลดลง

79

กรอบแนวคิด ผลการพจิ ารณาของผูเ้ ชี่ยวชาญ

(ร่าง) แนวทางการขบั เคล่ือนการบริหารจัดการ เหน็ ด้วย ไม่ ไม่เห็น

โรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) แนใ่ จ ด้วย ขอ้ เสนอแนะ
ประเดน็ องคป์ ระกอบ

3) เพือ่ ประเมินจติ สานึกและพฤติกรรม
การจัดการขยะที่ดขี องผูเ้ รยี น ครูและบุคลากรใน
โรงเรยี น

4) เพ่ือประเมินผลสาเรจ็ ของการ
ดาเนนิ งานโรงเรียนในการจัดการขยะและ
อนรุ ักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม เพือ่ มีต้นแบบโรงเรยี นปลอด
ขยะ
5.3 การประเมินผลการการดาเนินการ

5.3.1 บทบาทของสานักงานเขตพนื้ ที่
การศกึ ษา

1) ประเมนิ ผลสาเร็จการดาเนินงาน
งานบริหารจัดการโรงเรยี นปลอดขยะของ
โรงเรียนในสงั กัดสานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา
ประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1 ตามเกณฑ์การ
ประเมนิ

2) เก็บรวบรวมผลประเมินปริมาณ
ขยะมลู ฝอยทน่ี ากลบั มาใชป้ ระโยชนผ์ ่านกิจกรรม
และปรมิ าณขยะมลู ฝอยทน่ี าไปกาจัดลดลง ของ
โรงเรียนทุกโรงเรยี นในสังกัด

3) เก็บรวบรวมผลการประเมิน
จติ สานกึ และพฤติกรรมการจัดการขยะท่ดี ีของ
ผ้เู รยี น ครูและบคุ ลากรในโรงเรยี นทกุ โรงเรียนใน
สังกัด

4) ประเมินผลสาเรจ็ ของการดาเนินงาน
โรงเรยี นในการจัดการขยะและอนรุ ักษ์
ส่ิงแวดล้อม เพื่อมตี น้ แบบโรงเรียนปลอดขยะ

5.3.2 บทบาทของโรงเรียน
1) มีการประเมินตนเอง ในการ

ดาเนนิ งานการบรหิ ารจดั การโรงเรียนปลอดขยะ
ของโรงเรยี น ตามเกณฑ์การประเมนิ

2) จัดทาข้อมูลปรมิ าณขยะมูลฝอยท่ี
นากลับมาใช้ประโยชน์ผ่านกิจกรรม และปริมาณ
ขยะมูลฝอยท่ีนาไปกาจัดลดลงของโรงเรยี น

80

กรอบแนวคิด ผลการพจิ ารณาของผเู้ ชี่ยวชาญ
(รา่ ง) แนวทางการขับเคลือ่ นการบรหิ ารจดั การ
โรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) เหน็ ด้วย ไม่ ไม่เห็น
ประเด็นองคป์ ระกอบ แน่ใจ ด้วย ขอ้ เสนอแนะ

3) มกี ารประเมินจิตสานกึ และพฤติกรรม
การจดั การขยะท่ีดีของผู้เรยี น ครแู ละบุคลากรใน
โรงเรียน

4) สรุปรายงานผลการดาเนนิ งานการ
บริหารจดั การโรงเรียนปลอดขยะ ให้สานักงาน
เขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์
เขต 1

ลงชอื่ ผเู้ ชี่ยวชาญ
()

81

ค. การวิเคราะหข์ อ้ มูล

ผลการวิเคราะห์คา่ ดชั นีความสอดคล้อง แนวทางการแนวทางการดาเนนิ การขับเคลอ่ื น

การบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ของสานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา

ประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1

ขอ้ แนวทาง ความเห็นของผู้เช่ียวชาญ (คนที่) คา่

ท่ี 1 2 3 4 6 IOC

1 ดา้ นปจั จยั ไดแ้ ก่ ทรพั ยากร (ผ้บู ริหาร ครู 1 1 1 1 1 1.00

นักเรียน ผปู้ กครองเครือข่าย) และงบประมาณ

2 ด้านกระบวนการ ไดแ้ ก่ การกาหนดนโยบาย 1 1 1 1 1 1.00

การสร้างความรคู้ วามเข้าใจ การส่งเสรมิ การมี

สว่ นร่วม การบริหารจัดการขยะ และการ

ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน

3 ดา้ นผลิต ไดแ้ ก่ โรงเรยี นมีผลการประเมินการ 0 1 1 1 1 0.8

บรหิ ารจัดการขยะผ่านเกณฑ์การประเมิน

ปรมิ าณขยะมลู ฝอยในโรงเรียนลดลง ผูเ้ รียน

ครูและบุคลากรภายในโรงเรียนมจี ติ สานกึ และ

พฤติกรรมการจดั การขยะทดี่ ี โรงเรียนมคี วาม

ยงั่ ยนื ในการดาเนนิ งานโรงเรียนปลอดขยะ

4 การกาหนดนโยบาย หมายถึง มีการกาหนด 1 1 1 1 1 1.00

นโยบายและวสิ ยั ทศั น์ที่ชัดเจน ในการดาเนนิ งาน

โรงเรยี นปลอดขยะ และประกาศนโยบายและ

วสิ ัยทัศน์ไปยงั ผ้มู สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี เพื่อใหก้ าร

ปฏบิ ัติเป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างต่อเน่อื งและ

ยงั่ ยนื

5 วตั ถปุ ระสงค์การกาหนดนโยบาย 1 1 1 1 1 1.00

1) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนในสังกัด

ดาเนินงานโรงเรียนปลอดขยะอย่างต่อเนอื่ ง

2) เพื่อสร้างองค์ความรู้และจิตสานึกในการลด

ปริมาณขยะในโรงเรียน ตามหลัก 3R

3) เพ่ือกากับติดตามผลสาเรจ็ ของการ

ดาเนนิ งานโรงเรยี นในการจัดการขยะและอนุรักษ์

สงิ่ แวดลอ้ ม เพ่ือมีต้นแบบโรงเรียนปลอดขยะ

82

ขอ้ แนวทาง ความเห็นของผู้เชีย่ วชาญ (คนท)ี่ คา่
ท่ี 12 346 IOC
11 111 1.00
6 การดาเนินการกาหนดนโยบาย
บทบาทของสานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา 01 111 0.8
1) จัดทานโยบายการขับเคล่ือนการ
บริหารจัดการโรงเรียนปลอด 2) ส่งเสริม
สนับสนุนให้โรงเรียนทุกโรงเรียนในสังกัด
ดาเนินการจัดทานโยบายด้านการจัดการ
ขยะตามรูปแบบของโรงเรียน3) ส่งเสริม
สนับสนุนให้โรงเรียนทุกโรงเรียนในสังกัด
บูรณาการการจัดการเรียนการสอน ใน
เร่ืองการจัดการขยะมูลฝอย ตามหลักสูตร
แกนกลางและหลักสูตรเพิ่มเติม กิจกรรม
ลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ 4) ดาเนินการ
กากับติดตามผลสาเร็จของการดาเนินงาน
โรงเรียนในการจัดการขยะ

7 การดาเนนิ การกาหนดนโยบาย บทบาท
ของโรงเรียน 1) มีการกาหนดนโยบาย
และวิสยั ทศั น์ดา้ นการจดั การขยะ กับผูม้ ี
ส่วนได้ส่วนเสยี เชน่ กรรมการสถานศกึ ษา
ผู้ปกครอง กรรมการนักเรยี น หน่วยงานท่ี
เกยี่ วขอ้ ง 2) มีการประกาศนโยบายและ
วสิ ัยทศั นไ์ ปยงั ผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสยี ชดั เจน
และครบถ้วน 3) มกี ารกาหนดโครงสร้าง
การบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ใหม้ ี
คณะทางานผรู้ บั ผิดชอบโครงการและ
กาหนดบทบาทหน้าที่ โดยใชร้ ูปแบบการ
บริหารจดั การแบบมีสว่ นรว่ ม 4) มกี าร
สนบั สนนุ การดาเนนิ งานในดา้ นตา่ งๆ เชน่
งบประมาณ วสั ดุอปุ กรณ์ การฝกึ อบรม
ฯลฯ จากผบู้ รหิ ารและหนว่ ยงานหรือ
บุคลากรทเ่ี กีย่ วข้อง 5) ผู้บรหิ ารมีการ
กากบั ดูแลการดาเนินงานให้เปน็ ไปตาม
นโยบายทีก่ าหนดไวแ้ ละติดตาม
ความก้าวหนา้ ของการดาเนินงานโรงเรียน
ปลอดขยะเพ่ือให้เปน็ ไปตามข้ันตอนที่
ชดั เจน 6) มีการจัดทาแผนงาน/โครงการ
และวธิ กี ารดาเนนิ งานของโรงเรยี นปลอด
ขยะ

83

ข้อ แนวทาง ความเห็นของผเู้ ชีย่ วชาญ (คนท่ี) คา่
ท่ี 12 346 IOC
11 111 1.00
8 การสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจ หมายถึง
กระบวนการสง่ เสรมิ และเผยแพร่ความรู้ 11 111 1.00
ความเขา้ ใจทั้งภายในและนอกโรงเรียน
การพัฒนาครูบคุ ลากรเพื่อนาไปส่กู าร 01 111 0.80
ส่งเสริมโรงเรยี นปลอดขยะ กระบวนการ
สง่ เสริมการสร้างวนิ ัยและความรบั ผิดชอบ
ในการจัดการขยะมูลฝอยให้แกผ่ ู้เรยี นและ
บุคลากรในโรงเรียน โดยมีการบูรณาการ
หลกั สูตรการเรียนการสอน ในเรือ่ งการ
จัดการขยะมลู ฝอย ตามหลกั สตู ร
แกนกลางและหลักสูตรเพม่ิ เติม กจิ กรรม
ลดเวลาเรียนเพมิ่ เวลารู้ และมีการส่งเสรมิ
ใหม้ จี ุดเรยี นรู้และแหลง่ เรียนรู้ในโรงเรียน

9 วัตถุประสงค์การสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจ
1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรยี น ครูและบุคลากร
ในโรงเรยี นทกุ คนมีความรูค้ วามเข้าใจ
ในการจัดการขยะมลู ฝอยในโรงเรยี น
2) เพ่ือส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รยี น ครแู ละบคุ ลากร
ในโรงเรียนทุกคน มวี ินยั และความ
รับผดิ ชอบในการจัดการขยะมูลฝอยใน
โรงเรียน 3) เพอื่ สง่ เสรมิ ให้โรงเรยี นมกี าร
จัดกิจกรรมสร้างความรคู้ วามเข้าใจ ใน
รูปแบบการจัดการขยะ โดยศึกษาจากจุด
เรียนรู้หรอื แหล่งเรียนรูใ้ นโรงเรียน 4) เพอ่ื
สง่ เสรมิ ใหโ้ รงเรยี นมกี ารจัดทาหลักสูตร
บูรณาการจดั การขยะมูลฝอยภายใน
โรงเรียนปลอดขยะ หรือหลักสูตรเพิ่มเติม
ที่เกย่ี วข้อง

10 การดาเนนิ การสร้างความรู้ความเข้าใจ
บทบาทของสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา
1) สง่ เสรมิ และแจ้งแนวทางการดาเนนิ งาน
โรงเรียนปลอดขยะ โดยให้โรงเรยี น
ดาเนนิ การสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจ สร้าง
วินัย จิตสานกึ และความรับผิดชอบในการ
จัดการขยะมูลฝอยในโรงเรียน 2) ส่งเสริม
ให้โรงเรยี นมจี ดุ เรียนรู้หรอื แหล่งเรยี นรู้ใน
โรงเรยี น ในการจัดการขยะ3) ส่งเสริมให้

84

ข้อ แนวทาง ความเห็นของผู้เชยี่ วชาญ (คนท่)ี ค่า
ที่ 12 346 IOC
11 111 1.00
โรงเรียนจัดทาหลกั สตู รบูรณาการจัดการ
ขยะมูลฝอยภายในโรงเรยี นปลอดขยะ 11 111 1.00
หรอื หลกั สูตรเพิ่มเติมท่ีเกย่ี วข้อง 4) นเิ ทศ
กากับ ติดตามและประเมินผล 11 111 1.00
11 การดาเนนิ การสรา้ งความรู้ความเข้าใจ
บทบาทของโรงเรยี น ได้แก่1) มีการสรา้ ง 11 111 1.00
กระบวนการพัฒนาและส่งเสริมความรู้
ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอย
ให้กับผู้เรียน ครูและบุคลากรในโรงเรยี น
ทุกคน 2) มีการจัดกระบวนการเรยี นรู้
เก่ยี วกับวินยั และความรบั ผิดชอบในการ
จดั การขยะมลู ฝอย ให้กบั ผ้เู รียน ครแู ละ
บุคลากรในโรงเรียนทุกคน
12 การสง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ ม หมายถงึ
กระบวนการส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมในการ
จัดการขยะมลู ฝอยของผู้เรยี น ครูและ
บคุ ลากรภายในโรงเรียน และของภาคสว่ น
ตา่ งๆภายนอกโรงเรยี นทเ่ี ข้าร่วมหรือ
สนับสนุนการดาเนินกจิ กรรม เชน่
คณะกรรมการสถานศึกษา เครอื ข่าย
ผู้ปกครอง ชุมชน หนว่ ยงานต่างๆ
13 วัตถปุ ระสงค์การส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วม
1) เพื่อส่งเสริมการสร้างกระบวนการ
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ครูและ
บุคลากรภายในโรงเรียนและหน่วยงาน
ภายนอกโรงเรียนในการดาเนินการจัดการ
ขยะมูลฝอย2) เพ่ือสร้างเครือข่ายท่ี
เกยี่ วข้องกบั การจัดการขยะในโรงเรียน
14 การดาเนนิ การสง่ เสริมการมีส่วนรว่ ม
บทบาทของสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
1) ส่งเสริมและแจง้ แนวทางการดาเนินงาน
โรงเรยี นปลอดขยะ โดยใหโ้ รงเรยี นสรา้ ง
กระบวนการส่งเสริมการมสี ่วนร่วมของ
ผเู้ รยี น ครแู ละบคุ ลากรภายในโรงเรียน
และภายนอกโรงเรยี นในการดาเนินการ

85

ขอ้ แนวทาง ความเห็นของผูเ้ ชยี่ วชาญ (คนท)ี่ คา่
ท่ี 12 3 4 6 IOC
11 1 1 1 1.00
จัดการขยะมูลฝอย2) สง่ เสริมให้โรงเรียนมี
การสรา้ งเครือขา่ ยท่เี กีย่ วข้องกบั การจัดการ 11 1 1 1 1.00
ขยะในโรงเรยี น
15 การดาเนินการสง่ เสรมิ การมสี ่วนรว่ ม 11 1 1 1 1.00
บทบาทของโรงเรยี น 1) มีการสร้าง
กระบวนการส่งเสริมการมสี ว่ นร่วมของ
ผู้เรียน ครูและบุคลากรภายในโรงเรียนและ
หนว่ ยงานภายนอกโรงเรยี นในการ
ดาเนินการจดั การขยะมลู ฝอย 2) มกี าร
สร้างเครอื ข่ายท่เี กีย่ วขอ้ งกับการจดั การขยะ
ในโรงเรียน เชน่ การทาบนั ทึกขอ้ ตกลง
ความรว่ มมอื (MOU) ในการดาเนินงานดา้ น
การจดั การขยะ ระหว่างโรงเรียนและชุมชน
ให้เปน็ โรงเรียนปลอดขยะ
16 การบริหารจัดการขยะ หมายถงึ
กระบวนการหรือวิธีการเก่ียวกบั การจดั การ
ขยะมลู ฝอยอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ โดยใช้หลกั
1A3R คอื มีการจดั กจิ กรรมการหลีกเล่ียง
หรอื งด (Avoid) ใช้วัตถดุ บิ หรือผลติ ภณั ฑ์
สนิ คา้ ตา่ งๆท่ีกอ่ ใหเ้ กิดขยะ การจัดกจิ กรรม
การลดปริมาณขยะมลู ฝอยตั้งแตต่ ้นทาง
(Reduce) การใช้ซา้ (Reuse) และการนา
กลบั มาใช้ใหม่ (Recycle) รวมถงึ สง่ เสริม
การจดั กิจกรรมการคัดแยกขยะ 4 ประเภท
ไดแ้ ก่ ขยะทั่วไป ขยะย่อยสลาย ขยะรี
ไซเคลิ และขยะอันตราย และการ
ประยุกต์ใช้หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การส่งเสรมิ คณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ มในการ
บรหิ ารจัดการขยะในโรงเรยี น และมี
นวตั กรรมการจดั การขยะมลู ฝอยของ
โรงเรยี น
17 วตั ถุประสงค์การบริหารจดั การขยะ 1) เพ่อื
สง่ เสริมสนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการโรงเรยี น
ปลอดขยะ โรงเรยี นในสังกัดสานกั งานเขต
พื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์
เขต 1 ใหเ้ ป็นไปในทศิ ทางเดยี วกัน 2) เพ่อื
สง่ เสริมใหผ้ ้ทู เี่ ก่ยี วข้องไดน้ าแนวทางการ
บริหารจดั การโรงเรียนปลอดขยะ

86

ขอ้ แนวทาง ความเห็นของผู้เชย่ี วชาญ (คนที่) คา่
ท่ี 12 346 IOC
11 111 1.00
ไปประยุกตใ์ ช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
3) เพื่อรวบรวมข้อมลู วิธีการปฏบิ ตั ทิ ่ีดีของ 11 111 1.00
โรงเรียนตน้ แบบการบริหารจัดการ
โรงเรยี นปลอดขยะ
18 การดาเนินการบริหารจัดการขยะ บทบาท
ของสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา 1)
ส่งเสริมและแจ้งแนวทางการบริหารจดั การ
โรงเรยี นปลอดขยะ ให้โรงเรียนในสงั กดั
ดาเนนิ การเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 2)
จดั เกบ็ รวบรวมข้อมูลและจดั ทาข้อมลู
สารสนเทศการบริหารจดั การโรงเรียน
ปลอด 3) ส่งเสริมให้โรงเรยี นมีการบูรณา
การจดั ทาหลกั สูตร ในสาระการเรยี นรู้
ด้านการจัดการขยะมูลฝอยภายในโรงเรยี น
4) ดาเนินการจัดประกวดโรงเรยี นปลอด
ขยะ 5) นิเทศ กากบั ตดิ ตามและ
ประเมนิ ผลโรงเรียนปลอดขยะ
19 การดาเนนิ การบริหารจัดการขยะ บทบาท
ของโรงเรยี น 1) จัดทาแผนการดาเนิน
โครงการดา้ นการบรหิ ารจัดการขยะมลู
ฝอยของโรงเรียน และแผนการดาเนินการ
โครงการด้านการจดั การขยะมูลฝอยท้งั 4
ประเภทภายในโรงเรยี น 2) ส่งเสรมิ การจดั
กิจกรรม 1A3R ลดขยะในสถานศกึ ษา โดย
มีการจัดกิจกรรมการหลกี เล่ียงหรืองด
(Avoid) ใช้วัตถดุ บิ หรอื ผลิตภณั ฑส์ นิ ค้า
ต่างๆที่ก่อให้เกิดขยะ การจัดกิจกรรมการ
ลดปริมาณขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง
(Reduce) การใช้ซา้ (Reuse) และการนา
กลับมาใช้ใหม่ (Recycle) และให้มี
นวตั กรรมการจดั การขยะมูลฝอยของ
โรงเรยี น3) มกี ารจัดกิจกรรมการคดั แยก
ขยะ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป
ขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิล และขยะ
อันตราย 4) มีการบรู ณาการ ด้านการ
จัดการขยะในหลกั สตู รแกนกลาง หลกั สตู ร
เพ่ิมเติม กจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพิม่ เวลารู้

87

ขอ้ แนวทาง ความเหน็ ของผูเ้ ชย่ี วชาญ (คนที)่ ค่า
ท่ี 12 346 IOC

5) มีการจดั การขยะตามหลักปรัชญา 11 111 1.00
เศรษฐกิจพอเพยี งและสง่ เสริมคณุ ภาพ 11 111 1.00
สง่ิ แวดลอ้ ม 6) มีการจัดทาระบบเอกสาร
และบันทึกข้อมลู ปริมาณขยะแต่ละ
ประเภทก่อนและหลงั การดาเนินงาน และ
การประมวลผลข้อมลู ปริมาณขยะแต่ละ
ประเภท เช่น ในรูปของกราฟหรือ
ตารางข้อมูล แสดงข้อมลู รายเดือน/รายปี
เปน็ ต้น 7) มีการเผยแพรข่ ้อมูลการดาเนิน
กจิ กรรมโรงเรียนปลอดขยะ ในรปู แบบ
ต่างๆ 8) มีการดาเนินการธนาคารขยะ
โรงเรียน 9) มีนวัตกรรมการบรหิ ารจดั การ
ขยะโรงเรยี น 10) สรุปรายงานผลการ
ดาเนินงานการบริหารจัดการโรงเรยี น
ปลอดขยะ

20 การประเมินผลการดาเนินการ หมายถึง
การกากบั ติดตามและประเมินผลการ
ดาเนินงานกระบวนการบริหารจดั การขยะ
ในโรงเรียน และการประเมนิ ผล
กระบวนการสง่ เสริมการสร้างวนิ ัยในการ
จัดการขยะมลู ฝอยให้แกผ่ เู้ รยี น ครูและ
บคุ ลากรในโรงเรียน

21 วัตถปุ ระสงค์การประเมนิ ผลการ
ดาเนนิ งาน1) เพอื่ ประเมินผลสาเรจ็ การ
ดาเนนิ งาน การบริหารจดั การโรงเรยี น
ปลอดขยะของโรงเรยี นในสงั กัด ผา่ น
เกณฑ์การประเมิน 2) เพอื่ ประเมนิ ปรมิ าณ
ขยะมูลฝอยท่ีนากลบั มาใช้ประโยชนผ์ ่าน
กิจกรรม และปรมิ าณขยะ
มลู ฝอยทีน่ าไปกาจดั ลดลง 3) เพอ่ื ประเมนิ
จิตสานึกและพฤติกรรมการจดั การขยะทด่ี ี
ของผ้เู รียน ครูและบุคลากรในโรงเรียน 4)
เพื่อประเมินผลสาเร็จของการดาเนนิ งาน
โรงเรยี นในการจัดการขยะและอนรุ ักษ์
สง่ิ แวดล้อม เพื่อมีต้นแบบโรงเรียนปลอด
ขยะ

88

ขอ้ แนวทาง ความเห็นของผู้เชยี่ วชาญ (คนท่ี) ค่า
ท่ี 12 346 IOC
11 111 1.00
22 การประเมนิ ผลการการดาเนินงาน
บทบาทของสานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา 11 111 1.00
1) ประเมนิ ผลสาเร็จการดาเนินงานการ
บริหารจัดการโรงเรยี นปลอดขยะของ
โรงเรียนในสังกดั สานักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1
ตามเกณฑ์การประเมนิ 2) เก็บรวบรวมผล
ประเมินปรมิ าณขยะมูลฝอยที่นากลับมาใช้
ประโยชน์ผ่านกิจกรรม และปรมิ าณขยะ
มลู ฝอยทน่ี าไปกาจดั ลดลง ของโรงเรยี นทกุ
โรงเรยี นในสงั กดั 3) เก็บรวบรวมผลการ
ประเมินจิตสานึกและพฤติกรรมการจดั การ
ขยะทีด่ ีของผู้เรียน ครูและบุคลากรใน
โรงเรียนทกุ โรงเรียนในสงั กัด 4) ประเมิน
ผลสาเรจ็ ของการดาเนินงานโรงเรยี นใน
การจดั การขยะและอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อม
เพอื่ มตี น้ แบบโรงเรยี นปลอดขยะ

23 การประเมินผลการการดาเนินงาน
บทบาทของโรงเรียน 1) มีการประเมนิ
ตนเอง ในการดาเนินงานการบริหาร
จัดการโรงเรยี นปลอดขยะของโรงเรยี น
ตามเกณฑ์การประเมนิ 2) จัดทาข้อมลู
ปริมาณขยะมูลฝอยท่นี ากลับมาใช้
ประโยชนผ์ า่ นกิจกรรม และปริมาณขยะ
มลู ฝอยที่นาไปกาจัดลดลงของโรงเรียน
3) มีการประเมินจิตสานึกและพฤติกรรม
การจัดการขยะที่ดีของผู้เรียน ครูและ
บุคลากรในโรงเรียน 4) สรุปรายงานผล
การดาเนินงานการบริหารจัดการโรงเรียน
ปลอดขยะให้สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

89

รายชื่อโรงเรียนในสงั กัดสานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1
ท่ีตอบแบบประเมนิ หาคุณภาพของคู่มือแนวทางดาเนนิ การขับเคลื่อนการบริหารจดั การโรงเรียนปลอด

ขยะ (Zero Waste School) ของสานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1

ที่ ช่ือโรงเรยี น ที่ ช่ือโรงเรยี น ที่ ช่ือโรงเรยี น ท่ี ชื่อโรงเรียน
1 บ้านชอนไพร 35 บ้านสะเดยี ง 69 บ้านศาลาลาย 103 บ้านโคกหนองจอก
2 บ้านคลองสาโรง 36 อนุบาลเพชรบูรณ์ 70 บ้านโป่งตาเบ้า 104 ลกู จันทน์ปิยะอุย
3 บ้านสกั แห้ง 37 บ้านนาเลา 71 อนุบาลชนแดน 105 บ้านหนองใหญ่
4 บ้านดงมลู เหลก็ 38 บ้านห้วยผักไล 72 คลองห้วยนาพฒั นาการ 106 บ้านถาแกว้
5 บ้านโนนสะอาด 39 บ้านโคก 73 บ้านโคกเจริญ 107 บ้านดงลาน
6 บ้านคลองบง 40 บ้านกงกะยาง 74 บ้านซบั เจริญ 108 สายสมร
7 บ้านโนนตะแบก 41 บ้านวังจาน 75 บ้านทรัพย์พทุ รา 109 บ้านคลองปลาหมอ
8 บ้านทา่ กกตาล 42 บ้านโตก 76 บ้านดงขุย 110 บ้านซับขลงุ
9 บ้านวังโคง้ 43 บ้านโตกใต้ 77 บ้านหนองระมาน 111 บ้านคลองนาคนั
10 บ้านป่าบง 44 บ้านพี 78 บ้านบ่งุ คล้า 112 บ้านซบั เปิบ
11 บ้านตะเบาะ 45 การไฟฟา้ สว่ นภูมิ 79 บ้านดงขุยใต้
12 บ้านห้วยไคร้ 46 บ้านป่าแดง 80 บ้าน กม.28 113 ชมุ ชนบา้ นวงั กระดาษเงิน
13 บ้านเขาขาด 47 บ้านป่าเลา 81 บ้านเขาสัก
14 บ้านอมกง 48 บ้านยางลาด 82 บ้านเขาน้อย 114 บ้านวังชะนาง
15 บ้านโพธิ์งาม 83 บ้านโป่งนกแก้ว 115 อนุบาลวังโป่ง
16 บ้านทา่ พล 49 บ้านวงั ขอนมติ รภาพท่ี 137 84 บ้านหนองกลอย 116 บ้านไร่ฝาย
17 บ้านวังซอง 85 บ้านท่าข้าม 117 บ้านโนนตมู
18 บ้านดง 50 บ้านยางกุด 86 บ้านกฏุ ิพระ 118 บ้านทางข้าม
19 บ้านโพธ์ิทอง 51 บ้านระวิง 87 บ้านตะกุดจ่ัน 119 บ้านวังแช่กลอย
20 บ้านนาง่ัว 52 บ้านยางหัวลม 88 บ้านตะกดุ เป้า 120 บ้านวงั ศาล
21 บ้านเฉลียงลบั 53 บ้าน กม.2 89 บ้านวังปลาชอ่ น 121 บ้านดงลึก
22 บ้านปากนา 54 บ้านยาวี-ห้วยโป่ง 90 บ้านกลว้ ย 122 บ้านวงั หิน
23 บ้านบง 55 บ้านสามแยกวงั ชมภู 91 บ้านเขาชะโงก 123 บ้านใหมว่ งั ตะเคยี น
24 บ้านกกไทร 56 บ้านคลองห้วยนา 92 บ้านวงั รวก 124 บ้านวังพลบั
25 บ้านนาป่า 57 บ้านวังทอง 93 บ้านเขาคณฑา 125 นาอ้อมประชาสรรค์
26 ตาดหมอกวิทยา 58 บ้านซบั ข่อย 94 บ้านห้วยงาชา้ ง 126 บ้านวังหินซอง
27 บ้านนายม 59 บ้านชัยมงคล 95 บ้านห้วยตมู
28 บ้านขมวด 60 บ้านห้วยสะแก 96 บ้านลาดน้อย
29 บ้านหัวนา 61 บ้านห้วยนาค 97 บ้านนาลดั
30 บ้านถานาบัง 62 บ้านเนินสงา่ 98 บ้านกกจั่น
31 บ้านบุฉนวน 63 บ้านห้วยใหญ่ 99 บ้านผาทอง
32 ชมุ ชนบ้านนาร้อน 64 บ้านสะแกงาม 100 บ้านลาดแค
33 บ้านทงุ่ หินปูน 65 บ้านนาเดอ่ื 101 บ้านโคกยาว
34 เมอื งเพชรบูรณ์ 66 บ้านโป่งหว้า 102 ธาราครี ี
67 บ้านห้วยแหน
68 บ้านนาเดอ่ื ใต้

90

ง. เคร่อื งมือทีใ่ ชใ้ นกำรเก็บรวบรวมขอ้ มลู

แบบประเมินหาคุณภาพของคู่มอื แนวทางดาเนินการขบั เคลือ่ นการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นปลอดขยะ ของ
สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1

เรอื่ ง การศกึ ษาแนวทางการขบั เคลอื่ นการบริหารจดั การโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School)
ของสานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณเ์ ขต 1

................................................................................. .........

คำช้แี จง้
แบบการหาคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์ เพ่ือสอบถาม ความคิดเห็นของท่านท่ีมีต่อการใช้คู่มือ

แนวทางดาเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 เพื่อนาขอ้ มูลทไี่ ดไ้ ปปรับปรงุ แก้ไขคู่มือดงั กล่าวใหม้ ีความถูกต้องเหมาะสม
ความเป็นไปไดแ้ ละความเปน็ ประโยชนข์ องคู่มือ แบบการหาคณุ ภาพ ฉบบั นแ้ี บง่ ออกเป็น 3 ตอน คอื

ตอนท่ี 1 สถานภาพส่วนตัวของผูต้ อบแบบการหาคุณภาพ
ตอนท่ี 2 แบบประเมินการหาประเมินคุณภาพของการพัฒนาคู่มือแนวทางการดาเนินการ
ขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์
เขต 1
ตอนท่ี 3 ข้อเสนอเสนอ
ข้อมูลจากแบบการหาคุณภาพน้ีจะใช้เฉพาะในการวิจัยเท่าน้ัน และขอรับรองว่าผลจากการตอบ
แบบการประสิทธิภาพของคู่มือแนวทางการดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียนปลอดขยะ
ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 จะไม่ส่งผลกระทบต่อท่านหรือ
สถานศึกษาทท่ี า่ นสงั กดั

ขอขอบพระคณุ ในความร่วมมือของท่าน

กลุม่ สง่ เสริมการจัดการศึกษา
สานกั งานสานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1

91

ตอนท่ี 1 สถานภาพส่วนตัวของผู้ตอบแบบการหาคุณภาพ

คาช้แี จง โปรดทาเครอ่ื งหมาย  ลงใน  ตามความเป็นจริง

1. เพศ
 ชาย
 หญิง

2. ตาแหน่ง
 ผู้อานวยการโรงเรียน
 รองอานวยการโรงเรียน
 ครู และบุคลากรทางการศึกษา

3. ประสบการณ์ในการทางานหรืออายุราชการ
 ตา่ กว่า 5 ปี
 6 – 10 ปี
 11 – 15 ปี
 16 ปีขนึ้ ไป

4. วุฒกิ ารศึกษา
 ต่ากว่าปรญิ ญาตรี
 ปรญิ ญาตรี
 ปริญญาโท
 สงู กว่าปรญิ ญาโท

ตอนท่ี 2 แบบประเมนิ การหาประเมินคณุ ภาพของการพัฒนาคู่มือแนวทางการดาเนินการขบั เคล่อื นการ
บรหิ ารจดั การโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เพชรบรู ณ์ เขต 1

คำช้ีแจง โปรดทาเครือ่ งหมาย   ลงในชอ่ งขวามอื ซ่ึงมที ัง้ หมด 5 ระดับการปฏบิ ตั ิ ซงึ่ ในแตล่ ะ
ระดับมี

ความหมายดังตอ่ ไปน้ี
ระดับคะแนน 5 = มีระดับความถูกต้อง/ความเหมาะสม/เป็นไปได้/มีประโยชน์มากท่สี ดุ
ระดับคะแนน 4 = มีระดับความถูกต้อง/ความเหมาะสม/เปน็ ไปได้/มีประโยชนม์ าก
ระดับคะแนน 3 = มรี ะดับความถูกต้อง/ความเหมาะสม/เปน็ ไปได้/มปี ระโยชน์ปานกลาง
ระดับคะแนน 2 = มรี ะดับความถูกต้อง/ความเหมาะสม/เปน็ ไปได/้ มปี ระโยชน์น้อย
ระดับคะแนน 1 = มรี ะดับความถกู ต้อง/ความเหมาะสม/เป็นไปได/้ มปี ระโยชนน์ ้อยที่สุด


Click to View FlipBook Version