The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มคู่มือ แนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ชยุต หาญชาญพาณิชย์, 2024-05-31 03:09:40

เล่มคู่มือ แนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน

เล่มคู่มือ แนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน

1 โดย โรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต


คู่มือ แนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง จัดท าโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ธนภัทร ปัจฉิมม์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์กันวิศา สุขพานิช ดร.มุทิตา มากวิจิตร์ นางฉวีวรรณ นิลวงศ์ โรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต


คณะผู้จัดท ำ ที่ปรึกษำ รองศาสตราจารย์ ดร.ธนภัทร ปัจฉิมม์ ต าแหน่ง คณบดีโรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต หมายเลขโทรศัพท์มือถือ 09 – 2323 – 2833 อีเมล : [email protected] ผู้จัดท ำ 1) ผู้ช่วยศาสตราจารย์กันวิศา สุขพานิช ต าแหน่ง อาจารย์ประจ าหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต โรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต หมายเลขโทรศัพท์มือถือ 08 - 1909 - 7898 อีเมล : [email protected] 2) ดร. มุทิตา มากวิจิตร์ ต าแหน่ง อาจารย์ประจ าหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายปกครองและการบริหารงานภาครัฐ โรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต หมายเลขโทรศัพท์มือถือ 08 - 2874 - 1563 อีเมล : [email protected] 3) นางฉวีวรรณ นิลวงศ์ ต าแหน่ง พนักงานราชการ ต าแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน กลุ่มงานเชี่ยวชาญเฉพาะ ส านักงาน ป.ป.ท. หมายเลขโทรศัพท์มือถือ 08 – 5485 - 7627 อีเมล : [email protected]


ค ำน ำ คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ในเขตเทศบาลนคร เป็นส่วนหนึ่งจากการด าเนินงานโครงการวิจัยแนวทางในการยกระดับ ค่าดัชนีการรับรู้การติดสินบนและการเปิดเผยข้อมูลของเทศบาลนคร ซึ่งได้รับทุนสนับสนุน จากส านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ทั้งนี้ คู่มือฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อขับเคลื่อนการจัดการต่อต้านการติดสินบน ในประเด็นการขอใบอนุญาตก่อสร้างอาคารให้มีประสิทธิภาพ โดยคณะผู้จัดท า ได้น าแนวทางตามกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 มาประยุกต์ใช้เพื่อวางแนวทาง ในการยกระดับให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถสร้างระบบการจัดการ และปรับปรุงแผนการปฏิบัติการต่อต้านการติดสินบนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนลดความเสี่ยงที่จะเกิดการติดสินบนภายในองค์กร อันจะเป็นการเสริมสร้าง ความโปร่งใส และสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ประชาชน ผู้ประกอบการ กลุ่มนักธุรกิจ ทั้งในประเทศและต่างประเทศในการเข้ามาลงทุนมากยิ่งขึ้น คณะผู้จัดท า ขอขอบคุณผู้สนับสนุนทุกท่านที่ท าให้การจัดท าคู่มือฉบับนี้ ส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่ให้การสนับสนุนการด าเนินงานด้านต่าง ๆ ตลอดจนกลุ่มผู้เชี่ยวชาญจากส านักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ที่อนุเคราะห์ให้แนวทางการด าเนินงานจัดท าคู่มือ ทั้งนี้ คณะผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือนี้จะสามารถเสริมสร้างความรู้และ เป็นแนวทางในการจัดการต่อต้านการติดสินบน กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งในการยกระดับค่าคะแนน ดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศให้สูงขึ้น ตามเป้าหมายของแผนแม่บทรองรับยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต และประพฤติมิชอบต่อไป คณะผู้จัดท า มีนาคม 2567


สารบัญ หน้า คณะผู้จัดท า ค าน า สารบัญ บทที่ 1 บทน า 1 1.1 หลักการระบบการจัดการต่อต้านการให้และรับสินบน ตามมาตรฐาน ISO 37001 3 1.2 ความส าคัญและขอบเขตของพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522ในกรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 15 1.3 โครงสร้างอ านาจกองช่าง ของเทศบาลนคร 17 บทที่ 2 การจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 22 2.1 รายละเอียดระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยการประยุกต์ใช้ จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 24 2.2 สรุประบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการ ขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยประยุกต์จากกรอบ มาตรฐาน ISO 37001: 2016 กับรูปแบบ PDCA (Plan – Do – Check – Act) 28 2.3 จ าแนกขั้นตอนการจัดระบบการจัดการต่อต้ าน การติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดย การประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 30


สารบัญ (ต่อ) หน้า 2.4 แนวทางการจัดระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยการประยุกต์ใช้ จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 32 บทที่ 3 ประเด็นการพิจารณาส าหรับวางแผนการจัดการบริหารความเสี่ยง เพื่อไปสู่ความส าเร็จ (Success) ในการจัดการต่อต้านการติดสินบน 40 3.1 ประเด็นความเสี่ยงในการติดสินบนในแต่ละขั้นตอน ของการขอใบอนุญาตก่อสร้าง เพื่อเตรียมความพร้อม สู่ความส าเร็จ (success) ในการจัดการต่อต้านการติดสินบน 42 3.2 แนวทางการบริหารความเสี่ยงการติดสินบน เพื่อน าไปสู่ ความส าเร็จ (Success) 45 บทที่ 4 เกณฑ์การประเมินการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอ ใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 ตามกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 54 ขั้นการวางแผน (Plan) 56 ขั้นลงมือปฏิบัติ (Do) 62 ขั้นการตรวจสอบ (Check) 68 ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Act) 70 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการจัดการต่อต้าน การติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ISO 37001: 2016 72 บรรณานุกรม 74


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 1 บทน า


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 2 บทที่ 1 บทน า คณะผู้จัดท ำคู่มือแนวทำงกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรติดสินบน กรณีกำรขอใบอนุญำต ก่อสร้ำงอำคำรในเขตเทศบำลนคร ได้เห็นถึงควำมส ำคัญในกำรขับเคลื่อนกำรจัดกำร ต่อต้ำนกำรติดสินบน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในประเด็นเรื่องกำรส่งเสริมระบบกลไก ในกำรต่อต้ำนกำรติดสินบน ในกรณีเรื่องกำรขอใบอนุญำตก่อสร้ำงอย่ำงเป็นรูปธรรม ซึ่งกรอบตำมมำตรฐำน ISO 37001: 2016 ถือว่ำเป็นแนวทำงในกำรจัดกำรต่อต้ำน กำรติดสินบนในระดับสำกลที่ถูกออกแบบมำเพื่อยกระดับให้องค์กรสำมำรถ สร้ำงระบบกำรจัดกำร และปรับปรุงแผนกำรปฏิบัติตำมกำรต่อต้ำนกำรติดสินบน ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ด้วยเหตุนี้ คณะผู้จัดท ำจึงน ำกรอบของมำตรฐำน ISO 37001: 2016 มำประยุกต์ใช้เพื่อสร้ำงระบบกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรติดสินบน ในกรณีกำรขอใบอนุญำต ก่อสร้ำงอำคำร โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง ในกลุ่มส ำนักช่ำงขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งมีหน้ำที่ดูแลในเรื่องกำรขอใบอนุญำตก่อสร้ำงอำคำรเป็นส ำคัญ ทั้งนี้ เพื่อสร้ำงระบบ กำรจัดกำรต่อต้ำนกำรติดสินบน ในกรณีกำรขอใบอนุญำตก่อสร้ำงอำคำรให้มีมำตรฐำน ตลอดจนยกระดับประสิทธิภำพกำรด ำเนินงำนในมิติของกำรลดควำมเสี่ยงที่จะเกิด กำรติดสินบนภำยในองค์กร อันจะเป็นกำรเสริมสร้ำงควำมโปร่งใส และสร้ำงควำมเชื่อมั่น ให้แก่ประชำชน ผู้ประกอบกำรกลุ่มนักธุรกิจ ทั้งในประเทศและต่ำงประเทศในกำรเข้ำมำ ลงทุนมำกยิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งในกำรยกระดับค่ำคะแนนดัชนีกำรรับรู้กำรทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศให้สูงขึ้น ตำมเป้ำหมำยของ แผนแม่บทรองรับยุทธศำสตร์ชำติว่ำด้วยกำรต่อต้ำนกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ ต่อไปได้


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 3 ทั้งนี้ เพื่อเป็นกำรอธิบำยและเสริมสร้ำงควำมรู้ ควำมเข้ำใจ เกี่ยวกับกำรสร้ำง ระบบกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรติดสินบน และควำมส ำคัญและขอบเขตเกี่ยวกับกฎหมำย ในกำรขอใบอนุญำตก่อสร้ำงอำคำร ในเบื้องต้น คณะผู้จัดท ำจึงได้แบ่งเนื้อหำสำระ เพื่ออธิบำยหลักกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรติดสินบนตำมมำตรฐำน ISO 37001 รวมถึงกฎหมำยและข้อบังคับที่เกี่ยวกับกำรขอใบอนุญำตก่อสร้ำงอำคำรไว้ในบทน ำ ซึ่งแบ่งเนื้อหำออกเป็น 3 ประเด็น ดังนี้ 1.1 หลักกำรระบบกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบนตำมมำตรฐำน ISO 37001 1.2 ควำมส ำคัญและขอบเขตของพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ. 2522 : ในกรณีกำรขอใบอนุญำตก่อสร้ำง อ. 1 1.3 โครงสร้ำงอ ำนำจกองช่ำง ของเทศบำลนคร 1.1 หลักการระบบการจัดการต่อต้านการให้และรับสินบน ตามมาตรฐาน ISO 37001 ม ำ ต ร ฐ ำน ISO 37001 (Anti-Bribery Management Systems (ABMS) พัฒนำขึ้นโดยองค์กำรระหว่ำงประเทศว่ำด้วยมำตรฐำนสำกล (International Organization for Standardization, ISO) โดยใช้โครงสร้ำงเดียวกันกับมำตรฐำน กำรจัดกำรอื่นๆ ทั้งที่เป็นข้อก ำหนด และเป็นแนวทำงกำรปฏิบัติ เช่น ISO 9001 Quality Management System - Requirements, ISO 19600 Compliance Management Systems – Guidelines เป็นต้น มาตรฐาน ISO 37001 เป็นระบบการจัดการต่อต้านการให้และรับสินบน ที่ถูกออกแบบมาเพื่อยกระดับให้องค์กรสามารถสร้างระบบการจัดการ และปรับปรุง แผนกำรปฏิบัติตำมกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบนได้ตลอดจนก ำหนดมำตรกำรต่ำง ๆ ที่องค์กรต้องด าเนินการ ซึ่งระบบดังกล่าวเป็นแนวทางปฏิบัติที่ดีในกำรต่อต้ำน กำรให้และรับสินบนที่เป็นที่ยอมรับทั่วโลก (ส านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม, 2563)


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 4 1.1.1 ความส าคัญในการจัดท าระบบการจัดการต่อต้านการให้และรับสินบน ตามมาตรฐาน ISO 37001 การจัดท าระบบกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบนตำมมำตรฐำน ISO 37001 เกิดจากหลักแนวคิดที่ว่าการจัดท าระบบการจัดการต่อต้านการให้และ รับสินบนที่ดี จะต้องเริ่มจากการมีนโยบายที่ใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติและมีระบบ การจัดการที่เหมาะสม พร้อมทั้งมีวิธีการปฏิบัติที่สอดคล้องและเป็นไปตามกฎระเบียบ ขององค์กร ซึ่งจุดส าคัญและผลที่ตามมาก็คือ องค์กรสามารถลดความเสี่ยง หรือลดต้นทุน ความเสียหายที่เกิดจากการให้และรับสินบน ตลอดจนสามารถส่งเสริมและสร้าง ความเชื่อมั่นให้แก่กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น ประชาชน กลุ่มผู้ประกอบการ นักธุรกิจ และลงทุนในการเข้ามาร่วมลงทุนด าเนินกิจการต่าง ๆในระยะยาวต่อไปได้ 1.1.2 ประโยชน์ที่ได้รับจากการท าระบบการจัดการต่อต้านการให้และรับสินบน ตามมาตรฐาน ISO 37001 ป ระโยชน์ของ ระบบก ำรจัดก ำรต่อต้ำนก ำ รให้และรับสินบน ตำมมำตรฐำน ISO 37001 สำมำรถสรุปได้เป็น 6 ด้ำน (ส ำนักงำนมำตรฐำนผลิตภัณฑ์ อุตสำหกรรม, 2563) ดังนี้ 1) ด้านการป้องกัน ตรวจจับ และจัดการกับความเสี่ยงของการให้และ รับสินบน ระบบมำตรฐำน ISO 37001 มีส่วนช่วยในกำรขับเคลื่อนระบบ และกลไกกำรป้องกัน ตรวจจับ และจัดกำรกับควำมเสี่ยงกำรให้และรับสินบนภำยใน องค์กรได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ 2) ด้านสร้างความเชื่อมั่นในกลุ่มภาคประชาชน รวมทั้งสร้างภาพลักษณ์ และชื่อเสียงขององค์กรที่ดี ระบบมำตรฐำน ISO 37001 มีส่วนช่วยในกำรจัดกำรควำมเสี่ยง เรื่องกำรให้และรับสินบนภำยในองค์กร ซึ่งเมื่อองค์กรมีควำมโปร่งใส ปรำศจำก กำรให้และรับสินบนแล้ว ก็จะท ำให้เกิดควำมเชื่อมั่นให้แก่กลุ่มภำคประชำชน กลุ่มผู้ประกอบการ นักธุรกิจ และลงทุน อันจะเป็นกำรยกระดับและสร้ำงภำพลักษณ์ องค์กรที่ดียิ่งขึ้น


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 5 3) ด้านการเพิ่มการยอมรับในระดับสากล ระบบมำตรฐำน ISO 37001 จะเป็นกำรกำรันตีมำตรฐำนคุณภำพ ขององค์กรเกี่ยวกับกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบน ซึ่งจะเป็นกำรเพิ่ม กำรยอมรับในระดับสำกลมำกยิ่งขึ้น 4) ด้านการลดต้นทุน ระบบมำตรฐำน ISO 37001 เป็นเครื่องมือในกำรบริหำรจัดกำร และควบคุมเรื่องงบกำรเงิน ตลอดจนสร้ำงกลไกและกระบวนกำรในกำรติดตำม ตรวจสอบเอกสำร ธุรกรรมต่ำง ๆ ซึ่งเป็นกำรเสริมสร้ำงควำมโปร่งใสให้แก่องค์กร 5) ด้านการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ระบบมำตรฐำน ISO 37001 เป็นกำรสร้ำงระบบกลไกกำรปฏิบัติงำน เพื่อป้องกันเรื่องควำมขัดแย้งกันทำงผลประโยชน์ (Conflict of Interests) ตลอดจนสร้ำงควำมตระหนักให้แก่บุคลำกรภำยในองค์กร ได้ทรำบถึงผลกระทบ ที่จะตำมมำในกรณีที่มีกำรให้และรับสินบน 6) ด้านการส่งเสริมวัฒนธรรมเพื่อต่อต้านการให้และรับสินบน ระบบมำตรฐำน ISO 37001 จะเป็นส่วนหนึ่งที่เสริมสร้ำงคุณค่ำ ทำงจริยธรรม คุณธรรม ให้แก่บุคลำกรภำยในองค์กร ตลอดจนส่งเสริมเรื่องกำรรับรู้ และวัฒนธรรมกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบน เพื่อเป็นกำรสร้ำงวัฒนธรรมองค์กรที่ดี ไม่ทนต่อกำรทุจริตในระยะยำว 1.1.3 รายละเอียดโครงสร้างมาตรฐาน ISO 37001 มาตรฐาน ISO 37001 เป็นไปตามข้อก าหนดของ ISO ซึ่งมีการก าหนด มาตรฐานระบบการจัดการ กล่าวคือ ยึดหลักปฏิบัติตามหลักโครงสร้างระดับสูง ซึ่งรายละเอียดที่ระบุในมาตรฐานจะมีข้อความหรือนิยามที่เหมือนกันกับมาตรฐาน ISO อื่น ๆ ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ขององค์กรในการน าระบบ ISO 37001 มาใช้ร่วมกับ มาตรฐานระบบการจัดการอื่น ๆ ด้วย เช่น ISO 9001 โดยสามารถเปรียบเทียบ โครงสร้างหลักระหว่าง High Level Structure (HLS) กับโครงสร้างหลัก ISO 37001 ได้ตำมแผนภำพต่อไปนี้


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 6 มาตรา 1 ขอบข่าย แผนภาพเปรียบเทียบโครงสร้างมาตรฐาน High Level Structure (HLS) กับโครงสร้าง ISO 37001 บทน า บทน า 1. ขอบข่าย 2. เอกสารอ้างอิง 3. ค าศัพท์และบทนิยาม 4. บริบทขององค์กร 5. ความเป็นผู้น า 6. การวางแผน 7. การสนับสนุน 8. การด าเนินการ 10. การปรับปรุง 9. การประเมินสมรรถนะ มาตรา 3 ค าศัพท์ และค าจ ากัด ความ โครงสร้างหลัก HLS โครงสร้างหลัก ISO 37001 มาตรา 2 อ้างอิง มาตรา 4 บริบทองค์กร มาตรา 5 ความเป็นผู้น า มาตรา 6 การวางแผนส าหรับระบบ มาตรา 7 การสนับสนุน มาตรา 8 การปฏิบัติการ มาตรา 9 การประเมินสมรรถนะ มาตรา 10 การพัฒนา


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 7 ทั้งนี้ในส่วนของข้อก าหนดมาตรฐาน ISO 37001 ระบบการจัดการต่อต้าน การให้และรับสินบน สามารถอธิบายรายละเอียดได้ตามแผนภาพโครงสร้างและ ค าอธิบาย ดังนี้ แผนภาพ ข้อก าหนด ISO 37001: 2016 ระบบการจัดการต่อต้านการให้และรับสินบน 4.1 ความข้าใจในองค์กรและบริบทขององค์กร 4.2 การท าความเข้าใจความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสีย 4.3 การก าหนดขอบเขตของระบบการจัดการการต่อต้านการให้และรับสินบน 4.4 ระบบการจัดการการต่อต้านการให้และรับสินบน 4.5 การประเมินความเสี่ยงจากการให้สินบน บทน า 1. ขอบข่าย 2. เอกสารอ้างอิง 3. ค าศัพท์และบทนิยาม 4. บริบทขององค์กร 5. ความเป็นผู้น า 5.1 ภาวะผู้น าและความมุ่งมั่น 5.2 นโยบายต่อต้านการให้และรับสินบน 5.3 บทบาทหน้าที่และอ านาจขององค์กร 6. การวางแผน 6.1 การด าเนินการแสดงความสี่ยงและโอกาส 6.2 วัตถุประสงค์การต่อต้านการให้และรับสินบน และการวางแผนให้บรรลุผลส าเร็จ 7. การสนับสนุน 7.1 ทรัพยากร 7.2 ความสามารถ 7.3 การฝึกอบรม และความตระหนัก 7.4 การสื่อสาร 7.5 เอกสารสารสนเทศ 8. การด าเนินการ 8.1 การวางเผนและการควบคุมการด าเนินการ 8.2 การตรวจสอบวิเคราะห์สถานะธุรกิจ 8.3 การควบคุมทางการเงิน 8.4 การควบคุมที่ไม่ใช่การเงิน 8.5 การด าเนินการควบคุมการต่อต้านการให้และรับสินบนโดยองค์การควบคุม และโดยนักธุรกิจ 8.6 การต่อต้านการให้และรับสินบน 8.7 ของขวัญ การต้อนรับ การบริจาค เละผลประโยชน์ที่คล้ายคลึง 8.8 การจัดการความไม่เพียงพอของการควบคุมการให้และรับสินบน 8.9 การสร้างความระมัดระวังให้มากขึ้น 8.10 การสอบสวนและการจัดการกับการให้สินบน 9. การประเมินสมรรถนะ 9.1 การเฝ้าระวัง การวัด การวิเคราห์ และการประเมิน 9.2 การตรวจประเมินภายใน 9.3 การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร 9.4 ทบทวนธุรกิจการปฏิบัติ 10. การปรับปรุง 10.1 สิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก าหนดเละการปฏิบัติการแก้ไข 10.2 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 8 ค ำอธิบำยข้อก ำหนดส ำคัญของ ISO 37001: 2016 มีดังนี้ ข้อ 4 : บริบทขององค์กร (Context of The Organization) (4.1) บุคคลหรือกลุ่มที่มีหน้ำที่รับผิดชอบ มีอ ำนำจหน้ำที่ในกำรด ำเนินกำร เพื่อให้บรรลุตำมวัตถุประสงค์ขององค์กรจะต้องท ำควำมเข้ำใจและบริบทของค์กร ทั้งนี้ เพื่อจะได้ก ำหนดแนวทำงในกำรจัดท ำระบบกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรให้และ รับสินบน (ABMS) ได้สอดคล้องกับบริบทขององค์กร (4.2) จะต้องท ำควำมเข้ำใจถึงควำมต้องกำรและผลประโยชน์ของ ผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับระบบกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบนขององค์กร (ABMS) (4.3) จะต้องมีกำรก ำหนดขอบเขตของระบบกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรให้ และรับสินบนเพื่อบังคับใช้ภำยในองค์กร (4.4) วำงระบบกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบนตำมข้อก ำหนด ของระบบกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบนในองค์กร (4.5) ต้องด ำเนินกำรประเมินควำมเสี่ยงด้วยกำรให้และรับสินบนภำยใน องค์กร ข้อ 5 : ความเป็นผู้น า (Leadership) (5.1) ผู้บริหำรระดับสูงขององค์กรอนุมัตินโยบำยต่อต้ำนกำรให้สินบน ภำยในองค์กร โดยในกำรก ำหนดกลยุทธ์ขององค์กรและนโยบำยต่อต้ำนกำรให้ และรับสินบนนั้น จะต้องมีควำมสอดคล้องกัน ตลอดจนมีกำรตรวจสอบข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหำกำรท ำงำนของระบบกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบน ซึ่งในกำรตรวจสอบจะต้องมีกำรพิจำรณำจัดสรรทรัพยำกรให้เหมำะสมและเพียงพอ เพื่อกำรด ำเนินงำนที่มีประสิทธิภำพของระบบกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบน ซึ่งผู้บริหำรระดับสูงต้องแสดงให้เห็นถึงควำมเป็นผู้น ำและควำมมุ่งมั่นต่อกำรจัดกำร ต่อต้ำนกำรให้และรับสินบน (ABMS) ร่วมด้วย


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 9 (5.2) ผู้บริหำรระดับสูงต้องจัดตั้งนโยบำยต่อต้ำนกำรให้และรับสินบน (5.3) ผู้บริหำรจะต้องมีกำรก ำหนดบทบำท ควำมรับผิดชอบ และหน้ำที่ ในกำรปฏิบัติงำนระบบกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบน ซึ่งประเด็นใด ที่องค์กรประเมินแล้วมีควำมเสี่ยงในกำรให้และรับสินบนต่ ำ ผู้บริหำรระดับสูง ควรจะต้องก ำหนดและรักษำกระบวนกำรหรือมำตรกำรควบคุมประสิทธิภำพ ของระบบดังกล่ำว ทั้งระบบมำตรฐำน กำรรำยงำน และกำรปฏิบัติหน้ำที่ตำมระบบ กำรให้และรับสินบน ข้อ 6 : การวางแผน (Planning) (6.1) มีกำรวำงแผนระบบกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบน โดยมีกำรวิเครำะห์ควำมเสี่ยงและโอกำส พร้อมทั้งก ำหนดมำตรกำรกำรควบคุม ที่มีประสิทธิภำพ (6.2) มีกำรก ำหนดวัตถุประสงค์ในกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบน ซึ่งจะต้องวัดผลได้และสำมำรถท ำให้มีควำมสอดคล้องกับนโยบำยที่ก ำหนดไว้ ข้อ 7 : การสนับสนุน (Support) องค์กรจะจัดหำทรัพยำกรที่จ ำเป็นในทุก ๆ ด้ำน ต่อกำรด ำเนินงำน เช่น มีกำรฝึกอบรม สร้ำงควำมตระหนักให้แก่บุคลำกรภำยในองค์กร ตลอดจนจะต้องมี กำรยกระดับระบบกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบนอย่ำงต่อเนื่อง และมีกำรสื่อสำร ทั้งภำยในและภำยนอกในช่องทำงที่เหมำะสม ข้อ 8 : การปฏิบัติงาน (Operation) (8.1) องค์กรต้องด ำเนินกำรติดตำมและควบคุมกระบวนกำรด ำเนินงำน เพื่อให้เป็นไปตำมข้อก ำหนดของระบบกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบน (8.2) องค์กรมีกำรตรวจสอบวิเครำะห์สถำนกำรณ์กำรปฏิบัติงำน


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 10 (8.3 และ 8.4) มีกำรควบคุมทำงกำรเงินและไม่ใช่กำรเงิน (8.5) มีกำรด ำเนินกำรควบคุมกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบน โดยบุคลำกรภำยในองค์กร ร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (8.6) มีกำรด ำเนินกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบน (8.7) มีขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนเพื่อป้องกันกำรให้ของขวัญ กำรบริจำค และรับผลประโยชน์ต่ำง ๆ (8.8.) มีกำรบริหำรจัดกำรและควบคุมกำรให้และรับสินบน ในกรณีที่ ไม่สำมำรถด ำเนินกำรจัดกำรหรือควบคุมได้ (8.9) องค์กรต้องมีกำรปฏิบัติต่อบุคลำกรอย่ำงเหมำะสม มีขั้นตอน กำรรักษำควำมลับ และปกป้องคุ้มครองบุคลำกร (8.10) องค์กรต้องด ำเนินกำรตำมขั้นตอนกำรสอบสวนและกำรจัดกำร กำรให้และรับสินบน ทั้งนี้ เพื่อท ำให้มั่นใจว่ำมีกำรสอบสวน และด ำเนินกำร อย่ำงเหมำะสม ข้อ 9 : การประเมินประสิทธิภาพ (Performance Evaluation) องค์กรต้องตรวจสอบวัดและประเมินนโยบำยต่อต้ำนกำรให้และ รับสินบน โดยพิจำรณำถึงประเด็นที่จะต้องตรวจสอบ ว่ำจะต้องใช้วิธีกำรใด ในกำรตรวจสอบวัดผล เพื่อรับรองผลลัพธ์ที่ถูกต้อง ซึ่งจะต้องเป็นกำรประเมินผล โดยยึดหลักตำมกฎหมำยหรือระเบียบข้อบังคับที่ก ำลังด ำเนินกำรอยู่ รวมถึงระบบ ต่อต้ำนกำรให้และรับสินบนนั้น จะต้องสอดคล้องกับข้อก ำหนดขององค์กร และข้อก ำหนดมำตรฐำนสำกล โดยจะมีกระบวนกำรตรวจประเมินระบบกำรจัดกำร ต่อต้ำนกำรให้และรับสินบน (ABMS) ภำยในองค์กร และด ำเนินกำรทบทวนระบบ กำรจัดกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบน (ABMS) จำกหน่วยงำนที่ก ำกับดูแล เป็นระยะอย่ำงต่อเนื่อง


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 11 ข้อ 10 : การปรับปรุง (Improvement) องค์กรด ำเนินกำรเพื่อควบคุมแก้ไขและจัดกำรกับผลที่ตำมมำ โดยทบทวนถึงสำเหตุและปัจจัยที่ท ำให้กำรด ำเนินงำนยังไม่เป็นไปตำมที่ก ำหนด ตลอดจนองค์กรควรด ำเนินกำรปรับปรุงระบบกำรจัดกำรต่อต้ำนกำรให้และรับสินบน ให้มีประสิทธิภำพอย่ำงต่อเนื่อง เพื่อยกระดับองค์กรให้มีควำมโปร่งใส ปรำศจำกกำรให้ และรับสินบนโดยแท้จริง ทั้งนี้ กำรวำงระบบและวิธีกำรด ำเนินกำรตำมมำตรฐำน ISO 37001 จะมีก า รว าง ระบบและวิธีก า รด าเนินก ารด้วย รูปแบบ PDCA (Plan – Do – Check – Act) โดยมาตรฐาน ISO 37001 เป็นมาตรฐานเฉพาะในด้านการป้องกัน การทุจริต รวมทั้งเป็นการประเมินความเสี่ยงในเรื่องการทุจริต ติดสินบน ซึ่งจะเป็นการยกระดับและส่งเสริมให้องค์กรที่น ามาตรฐานนี้มาใช้ มีความโปร่งใส ปรำศจำกกำรให้และรับสินบน ตลอดจนเป็นกำรเสริมสร้ำงกำรรับรู้และวัฒนธรรมองค์กร ให้บุคลากรทุกคนปฏิบัติหน้าที่ตามหลักธรรมาภิบาล ดังแผนภำพต่อไปนี้ แผนภาพ PDCA Cycle applied to the anti –Bribery management cycle Plan การวางแผนและการประเมินความเสี่ยง ABMS Do การน า ABMS ไปใช้ Check การเฝ้าระวังและทบทวน ABMS Act การปรับปรุง ABMS การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องของ ABMS ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย Personal ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ข้อก าหนดและ ความคาดหวัง


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 12 นิยามความหมายที่เกี่ยวข้อง - Bribery สินบน ISO 37001 ได้ให้ควำมหมำยสินบน หมำยถึง กำรเสนอ กำรสัญญำ กำรให้กำรรับ กำรเรียกร้องผลประโยชน์ที่ไม่สมควร ไม่ว่ำจะมีมูลค่ำเท่ำใด (ผลประโยชน์นั้น เป็นได้ทั้งในรูปตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน) ทั้งทำงตรงและทำงอ้อม และไม่ว่ำจะเป็นสถำนที่ใด ๆ ก็ตำม โดยเป็นกำรฝ่ำฝืนกฎหมำยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นกำรโน้มน้ำว หรือตอบแทนเพื่อให้บุคคลกระท ำ หรือละเว้นกำรกระท ำ อันเกี่ยวข้องกับกำรด ำเนินกำรตำมหน้ำที่ของบุคคลนั้น - Gifts ของขวัญ ISO 37001 ได้กล่ำวถึงประเด็นเรื่องของขวัญ หรือ ผลประโยชน์อื่นใดไว้ในข้อก ำหนดย่อยข้อหนึ่งของหัวข้อด้ำนกำรด ำเนินกำร (Operation) โดยก ำหนดว่ำ “องค์กรต้องด ำเนินกำรตำมกระบวนกำรที่ออกแบบขึ้น เพื่อป้องกันกำรเสนอ กำรให้ หรือกำรรับของขวัญ เครื่องแสดงไมตรีจิต กำรบริจำค และประโยชน์ในลักษณะเดียวกัน เมื่อกำรเสนอ กำรให้ หรือกำรรับสำมำรถพิจำรณำ อย่ำงเป็นเหตุเป็นผลได้ว่ำคือสินบน” - ความเสี่ยงการรับสินบน หมำยถึง จุดอ่อนเชิงระบบและแนวปฏิบัติ ให้มีโอกำสสูงของกำรตรวจจับ หรือกำรตรวจสอบย้อนกลับได้ ที่อำจเกิดขึ้น จำกกำรกระท ำของเจ้ำหน้ำที่รัฐที่แสวงหำผลประโยชน์ที่มิควรได้เพื่อตนเอง หรือพวกพ้อง - การบริหารความเสี่ยงการรับสินบน หมำยถึง กระบวนกำรช่วยในกำรค ำนวณ ควำมไม่แน่นอนและคำดกำรณ์ผลกระทบ ในกำรจัดกำรจุดอ่อนเชิงระบบและ แนวปฏิบัติให้มีโอกำสของกำรตรวจจับสูง รวมถึงสำมำรถตรวจสอบย้อนกลับได้ ซึ่งควำมเสี่ยงดังกล่ำวอำจเกิดขึ้นจำกกำรกระท ำของเจ้ำหน้ำที่รัฐที่แสวงหำ ผลประโยชน์ที่มิควรได้เพื่อตนเองหรือพวกพ้อง - ประเด็นความเสี่ยง การทุจริต เป็นขั้นตอนในกำรค้นหำว่ำมีรูปแบบ หรือเหตุกำรณ์ที่อำจจะควำมเสี่ยงกำรทุจริตในอนำคต - โอกาส (Likelihood) โอกำสหรือควำมเป็นไปได้ที่เหตุกำรณ์อำจจะเกิดขึ้น ในอนำคต


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 13 - ผลกระทบ (Impact) ผลกระทบจำกเหตุกำรณ์ที่อำจจะเกิดขึ้น ทั้งที่เป็น ตัวเงินหรือไม่เป็นตัวเงิน - ระดับความรุนแรงของความเสี่ยงการทุจริต (Risk Score) คะแนนรวม ที่แสดงให้เห็นถึงระดับควำมรุนแรงของควำมเสี่ยงกำรทุจริต ที่เป็นผลจำกกำรประเมิน ควำมเสี่ยงกำรทุจริต จำก 2 ปัจจัย คือ โอกำสเกิด (Likelihood) และผลกระทบ (Impact) - ผู้รับผิดชอบความเสี่ยงการทุจริต (Risk Owner) ผู้ปฏิบัติงำนหรือรับผิดชอบ กระบวนงำนหรือโครงกำร การจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 กับรูปแบบ PDCA (Plan – Do – Check – Act) จ ำกป ระเด็นข้อก ำหนดของกรอบของม ำต รฐ ำน ISO 37001: 2016 ท ำให้สำมำรถน ำกรอบกำรด ำเนินงำนตำมมำตรฐำน ISO 37001 กับรูปแบบ PDCA (Plan – Do – Check – Act) มำประยุกต์ใช้ในกำรจัดท ำคู่มือแนวทำงกำรจัดกำร ต่อต้ำนกำรติดสินบน : กรณีกำรขอใบอนุญำตก่อสร้ำงในเขตเทศบำลนคร ได้ซึ่งแบ่งออกเป็น 11 ขั้นตอน ตำมแผนภำพในหน้ำถัดไป ส่วนกำรน ำระบบไปใช้ ในกำรปฏิบัติจะอยู่ในบทที่ 2 กำรจัดกำรต่อต้ำนกำรติดสินบน : กรณีกำรขอใบอนุญำต ก่อสร้ำง อ.1 โดยกำรประยุกต์ใช้จำกกรอบมำตรฐำน ISO 37001: 2016 ของคู่มือ ฉบับนี้


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 14 แผนภาพ การจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 กับรูปแบบ PDCA การจัดการต่อต้านการติดสินบน กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบ มาตรฐาน ISO 37001 ด้านบริบทองค์กร ด้านความเป็นผู้น า การป้องกันการติดสินบน ด้านการสนับสนุนทรัพยากร การป้องกันการติดสินบนด้านการด าเนินงาน การป้องกันการติดสินบนด้านการประเมิน สมรรถนะการป้องกัน การติดสินบน ด้านการปรับปรุงและประเมิน การปฏิบัติตามคู่มือการป้องกัน การติดสินบน11.ควรมีการปรับปรุงและทบทวนผลการปฏิบัติงาน การป้องกันการติดสินบนในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ.1อย่างต่อเนื่อง 10.มีการตรวจสอบ และประเมินผล การป้องกันการติดสินบนในการขอ ใบอนุญาตก่อสร้างอ. 1 ด้านการวางแผน การป้องกันการติดสินบน 7.ระบุขั้นตอนการตรวจสอบและควบคุมการยื่นขอ ใบอนุญาตก่อสร้างอ.1 เพื่อป้องกันการติดสินบน 8.มีการก าหนดระบบการสอบสวนและจัดการเมื่อมี การร้องเรียนหรือมีผู้แจ้งเบาะแสการติดสินบน ในการขอใบอนุญาตก่อสร้างอ. 1 9. ควรวางระบบการตรวจสอบ การแจ้งเบาะแส การติดสินบนในการขอใบอนุญาตก่อสร้างอ. 1 1.วิเคราะห์บริบทองค์กร และมีการอธิบายบริบท การด าเนินงานขอใบอนุญาตก่อสร้างอ. 1 เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานส าหรับการประเมิน ความเสี่ยงการติดสินบนในเบื้องต้น 2.ควรก าหนดนโยบาย วางระบบ และแนวทางป้องกัน การติดสินบนการขอใบอนุญาตก่อสร้างอ.1 3.มีการก าหนดบทบาทความรับผิดชอบ หน้าที่ ในการป้องกันการติดสินบนการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ.1และก าหนดบทลงโทษผู้กระท าผิด 4.ควรมีการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง/ โอกาสในการติดสินบนในการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 5.มีการวางแผนและก าหนดระเบียบวิธีการป้องกัน การติดสินบนในการยื่นขอใบอนุญาตก่อสร้างอ. 1 6.ควรมีการจัดสรรทรัพยากรในการด าเนินการป้องกัน การติดสินบนในการขอใบอนุญาตก่อสร้างอ. 1


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 15 1.2 ความส าคัญและขอบเขตของพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522: ในกรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 พระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ. 2522 ได้นิยำมค ำว่ำ อำคำร ว่ำหมำยถึง ตึก บ้ำน เรือน ร้ำน แพ หรือที่สร้ำงขึ้น ซึ่งบุคคลสำมำรถเข้ำอยู่หรือใช้สอยได้ ซึ่งหมำย รวมถึง เขื่อน สะพำน อุโมงค์ ทำง หรือ ท่อระบำยน้ ำ ท่ำน้ ำ รั้ว ก ำแพง ป้ำย หรือสิ่งที่ สร้ำงขึ้นส ำหรับติดตั้งป้ำยที่มีขนำดเกินกว่ำหนึ่งตำรำงเมตร หรือมีน้ ำหนักทั้งโครงสร้ำง เกินกว่ำ 10 กิโลกรัม ทั้งนี้เพื่อควำมปลอดภัยของผู้ใช้งำนในอำคำร จึงจ ำเป็นต้องมี กำรด ำเนินกำรยกร่ำงมำตรฐำนควบคุมอำคำร เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้มี แนวทำงในกำรปฏิบัติตำมอ ำนำจหน้ำที่ และประชำชนได้รับบริกำรอย่ำงสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส (กรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น, 2562) 1.2.1 วัตถุประสงค์ของกฎหมายควบคุมอาคาร 1) เพื่อให้สถำปัตยกรรม มีควำมสวยงำม และมีควำมเป็นระเบียบเรียบร้อย ภำยในบ้ำนเมือง 2) เพื่อควำมมั่นคงแข็งแรงของอำคำร 3) เพื่อควำมปลอดภัยของผู้อำศัยหรือผู้เข้ำไปใช้อำคำร 4) เพื่อป้องกันอัคคีภัยภำยในอำคำร 5) เพื่อให้เป็นไปตำมหลักสุขอนำมัย กำรสำธำรณสุข และรักษำคุณภำพ ของสิ่งแวดล้อม เช่น กำรถ่ำยเทอำกำศภำยในอำคำร กำรก ำหนดให้น้ ำทิ้งหรือน้ ำเสีย จำกอำคำรต้องผ่ำนระบบบ ำบัดให้เป็นน้ ำสะอำดก่อนระบำยลงสู่ทำงระบำยน้ ำ สำธำรณะ เป็นต้น 6) เพื่อเป็นกำรอ ำนวยควำมสะดวกด้ำนงำนจรำจร เช่น กำรก ำหนดให้ อำคำรบำงชนิดต้องจัดให้มีที่จอดรถยนต์ เพื่อไม่ให้รถยนต์จอดริมถนน ซึ่งอำจท ำให้ เกิดกำรกีดขวำงกำรจรำจรได้ เป็นต้น


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 16 1.2.2 การควบคุมอาคารตามกฎหมาย กำรก่อสร้ำง ดัดแปลง รื้อถอน หรือเปลี่ยนกำรใช้อำคำรในท้องที่ ที่ได้มีกฎหมำยควบคุมอำคำรใช้บังคับแล้ว จะต้องขออนุญำตและได้รับอนุญำต จำกเจ้ำพนักงำนท้องถิ่นก่อน 1) กำรขออนุญำตก่อสร้ำง ดัดแปลง รื้อถอน หรือเคลื่อนย้ำยอำคำร สำมำรถเลือกกระท ำได้ 2 วิธี (กรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น, 2562) คือ (1) กำรขอรับใบอนุญำตตำมมำตรำ 21 (ส ำหรับกำรก่อสร้ำง ดัดแปลงหรือเคลื่อนย้ำยอำคำร) และตำมมำตรำ 22 (ส ำหรับกำรรื้อถอนอำคำร) ในกรณีนี้ผู้ขออนุญำตจะต้องยื่นค ำขอรับใบอนุญำตพร้อมเอกสำรประกอบ กำรพิจำรณำ เพื่อให้เจ้ำพนักงำนท้องถิ่นตรวจพิจำรณำ โดยเจ้ำพนักงำนท้องถิ่น จะตรวจพิจำรณำและแจ้งผลกำรพิจำรณำให้ผู้ขอรับใบอนุญำตทรำบโดยไม่ชักช้ำ (2) กำรแจ้งตำมมำตรำ 39 ทวิ (ผู้ใดจะก่อสร้ำง ดัดแปลง รื้อถอน หรือเคลื่อนย้ำยอำคำร โดยไม่ยื่นค ำขอรับใบอนุญำตจำกเจ้ำพนักงำนท้องถิ่น) ในกรณีนี้ผู้ขออนุญำตจะต้องยื่นค ำร้อง พร้อมเอกสำรประกอบกำรพิจำรณำอื่น ๆ โดยมีเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ - สถำปนิกและวิศวกรผู้ออกแบบต้องมีวุฒิสถำปนิก และวุฒิวิศวกร - มีสถำปนิกและวิศวกรผู้ได้รับอนุญำตเป็นผู้ประกอบวิชำชีพ เป็นผู้ควบคุมงำน - ส ำเนำใบอนุญำตและรำยกำรค ำนวณที่สถำปนิกและวิศวกร ผู้ออกแบบลงนำมรับรอง - มีวันเริ่มต้นและสิ้นสุดกำรด ำเนินกำร เมื่อผู้แจ้งส่งเอกสำรต่ำง ๆ ครบถ้วนและถูกต้องแล้ว เจ้ำพนักงำน ท้องถิ่นจะออกใบรับแจ้งให้ และผู้แจ้งสำมำรถด ำเนินกำรก่อสร้ำง ดัดแปลง รื้อถอน หรือเคลื่อนย้ำยอำคำรได้


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 17 2) กำรใช้และเปลี่ยนกำรใช้อำคำร เมื่อได้ท ำกำรก่อสร้ำง ดัดแปลง หรือ เคลื่อนย้ำยอำคำรประเภทควบคุม กำรใช้เรียบร้อยแล้ว จะต้องให้เจ้ำพนักงำนท้องถิ่นทรำบก่อนที่จะเปิดใช้อำคำร เพื่อเจ้ำพนักงำนท้องถิ่นจะได้ท ำกำรตรวจสอบอำคำรนั้นว่ำ ได้ท ำกำรก่อสร้ำง ดัดแปลง รื้อถอน ไว้ถูกต้องตำมที่ได้รับอนุญำต จำกนั้น จึงจะออกใบรับรอง กำรก่อสร้ำง เจ้ำของอำคำรจึงจะสำมำรถเข้ำไปใช้อำคำรได้ 1.2.3 บทลงโทษ ผู้ที่ฝ่ำฝืนบทบัญญัติต ำมกฎหมำย ว่ำด้วยกำรควบคุมอ ำค ำ ร จะต้องมีโทษตำมที่บัญญัติไว้ในมำตรำ 65 ถึง มำตรำ 74 แห่งพระรำชบัญญัติควบคุม อำคำร พ.ศ. 2522 โดยมีโทษปรับ หรือระวำงโทษจ ำคุก หรือทั้งจ ำทั้งปรับ แล้วแต่กรณี เช่น ผู้ใดฝ่ำฝืนโดยกระท ำกำรก่อสร้ำง หรือ ใช้อำคำร เปลี่ยนกำรใช้ อำคำร โดยไม่ได้รับอนุญำตจำกเจ้ำพนักงำนท้องถิ่น จะต้องระวำงโทษจ ำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปรับไม่เกิน 6 หมื่นบำท หรือทั้งจ ำทั้งปรับ นอกจำกนี้ ยังต้องวำงระวำงโทษปรับรำยวันอีกวันละไม่เกิน 1 หมื่นบำท ตลอดเวลำที่ยังฝ่ำฝืน หรือจนกว่ำจะได้ปฏิบัติให้ถูกต้อง ตลอดจน หำกอำคำรที่ฝ่ำฝืนนั้น เป็นอำคำร เพื่ออุตสำหกรรม สำธำรณสุข กำรศึกษำ พำณิชยกรรม จะต้องระวำงโทษ เป็นสองเท่ำ 1.3 โครงสร้างอ านาจกองช่าง ของเทศบาลนคร 1.3.1 อ านาจหน้าที่กองช่าง มีอ ำนำจหน้ำที่และควำมรับผิดชอบเกี่ยวกับกำรส ำรวจ ออกแบบ กำรจัดท ำข้อมูลทำงด้ำนวิศวกรรมกำรจัดเก็บและทดสอบคุณภำพวัสดุ งำนออกแบบ และเขียนแบบ กำรตรวจสอบ กำรก่อสร้ำง งำนควบคุมอำคำรตำมระเบียบกฎหมำย งำนแผนกำรปฏิบัติงำนกำรก่อสร้ำงและซ่อมบ ำรุง กำรควบคุมกำรก่อสร้ำง และซ่อมบ ำรุง งำนแผนงำนด้ำนวิศวกรรมเครื่องจักรกล กำรรวบรวมประวัติติดตำม


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 18 ควบคุมกำรปฏิบัติงำน เครื่องจักรกล กำรควบคุม กำรบ ำรุงรักษำเครื่องจักรกล และยำนพำหนะ งำนเกี่ยวกับแผนงำนควบคุม เก็บรักษำ กำรเบิกจ่ำยวัสดุ อุปกรณ์ อะไหล่ น้ ำมันเชื้อเพลิง และงำนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือตำมที่ได้รับมอบหมำย 1.3.2 ส่วนควบคุมการก่อสร้างอาคารและผังเมือง ส่วนควบคุมกำรก่อสร้ำงอำคำรและผังเมือง มีหน้ำที่ควบคุมดูแล และรับผิดชอบกำรปฏิบัติงำนในหน้ำที่ของฝ่ำยบริหำรงำนทั่วไป ของส่วนควบคุม กำรก่อสร้ำงอำคำรและผังเมือง งำนจัดซื้อจัดจ้ำงโครงกำรก่อสร้ำง และงำนระบบ สำรสนเทศ ฝ่ำยควบคุมกำรก่อสร้ำง และฝ่ำยควบคุมอำคำรและผังเมือง ดังแผนภำพ ต่อไปนี้ ก แผนภาพ โครงสร้างส่วนควบคุมการก่อสร้างอาคารและผังเมืองของเทศบาลนคร ส่วนควบคุมการก่อสร้างและผังเมือง งานจัดซื้อ จัดจ้าง โครงการก่อสร้าง ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ฝ่ายควบคุม การก่อสร้าง ฝ่ายควบคุมอาคาร และผังเมือง • งานวิศวกรรมโยธา • งานสถาปัตยกรรม • งานขออนุญาตอาคารและควบคุมอาคาร • งานควบคุมผังเมืองและจัดท าผังเมือง


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 19 ฝ่ายควบคุมอาคารและผังเมือง มีหน้ำที่ควบคุมดูแลรับผิดชอบ กำรปฏิบัติงำนในหน้ำที่ของงำนขออนุญำตอำคำรและควบคุมอำคำร และงำนควบคุม ผังเมืองและจัดท ำผังเมือง ดังแผนภำพต่อไปนี้ 1) งานขออนุญาตอาคารและควบคุมอาคาร งำนขออนุญำตอำคำรและควบคุมอำคำร มีหน้ำที่เกี่ยวกับ 1. งำนตรวจสอบกำรขออนุญำต ตำมพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ. 2522 และฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติม 2. งำนตรวจสอบก ำหนดผังบริเวณ แนวระดับของอำคำรที่ขออนุญำต 3. งำนตรวจสอบกำรขออนุญำต ตำมพระรำชบัญญัติขุดดินถมดิน พ.ศ. 2543 4. งำนตรวจสอบติดตำมผลกำรด ำเนินกำร ตำมพระรำชบัญญัติ วิชำชีพวิศวกรรม วิชำชีพสถำปัตยกรรม พ.ศ. 2558 และหรือกฎหมำยอื่นที่เกี่ยวข้อง 5. งำนปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัติอ ำนวยควำมสะดวกในกำรพิจำรณำ อนุญำตของทำงรำชกำร พ.ศ. 2558 ฝ่ายควบคุมอาคารและผังเมือง งานขออนุญาตอาคารและควบคุมอาคาร งานควบคุมผังเมืองและจัดท าผังเมือง แผนภาพ โครงสร้างฝ่ายควบคุมอาคารและผังเมืองของเทศบาลนคร


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 20 6. งำนจัดท ำร่ำงเทศบัญญัติควบคุมอำคำร 7. งำนถ่ำยโอนภำรกิจดูแลโรงงำน ตำมพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ.2535 8. งำนถ่ำยโอนภำรกิจดูแลปั๊มน้ ำมันเชื้อเพลิง ตำมพระรำชบัญญัติ ควบคุมน้ ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542 9. งำนถ่ำยโอนภำรกิจจำกกรมเจ้ำท่ำ ตำมพระรำชบัญญัติกำรเดินเรือ ในน่ำนน้ ำไทย พ.ศ.2456 10. งำนถ่ำยโอนภำรกิจควบคุมกำรเจำะน้ ำบำดำลตำมพระรำชบัญญัติ น้ ำบำดำล พ.ศ.2520 11. งำนถ่ำยโอนภำรกิจกำรขออนุญำตติดตั้งด้ำนพลังงำนแสงอำทิตย์ ตำมพระรำชบัญญัติกำรส่งเสริมกำรอนุรักษ์พลังงำน พ.ศ.2535 12. งำนควบคุมกำรก่อสร้ำงอำคำร ตำมพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ.2522 13. งำนตรวจสอบก ำหนดผังบริเวณ แนวระดับของอำคำรที่ขออนุญำต 14. งำนตรวจรับรองอำคำร ตำมพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ.2522 และ/หรือกฎหมำยอื่นที่เกี่ยวข้อง 15. งำนตรวจสอบแก้ไขปัญหำเรื่องรำวและให้บริกำรประชำชนเกี่ยวกับ กำรควบคุมอำคำร 16. งำนรับรองระวังแนวเขตที่ดิน 17. งำนควบคุมแนวเขตถนนและทำงสำธำรณะ 18. งำนอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมำย 2) งานควบคุมผังเมืองและจัดท าผังเมือง งำนควบคุมผังเมืองและจัดท ำผังเมือง มีหน้ำที่เกี่ยวกับ 1. ควบคุมแนวเขตถนน ทำงสำธำรณะ 2. งำนรับรองระวังแนวเขตที่ดิน 3. งำนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทำงบก ทำงน้ ำ 4. งำนตรวจสอบโครงกำรพัฒนำผังเมือง


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 21 5. งำนควบคุมให้ปฏิบัติตำมผังเมืองรวม 6. งำนจัดท ำผังเมืองรวมและงำนจัดท ำผังเมืองเฉพำะ 7. งำนพัฒนำและปรับปรุงชุมชนแออัด 8. งำนส ำรวจรวบรวมข้อมูลด้ำนผังเมือง 9. งำนให้ค ำปรึกษำด้ำนผังเมืองและสิ่งแวดล้อม 10. งำนเวนคืนและจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน 11. งำนแผนที่ภำษี 12. งำนอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตำมที่ได้รับมอบหมำย


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 22 การจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบ มาตรฐาน ISO 37001: 2016


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 23 บทที่ 2 การจัดการต่อต้านการติดสินบน: กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ.1 โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 จากการศึกษาระบบการจัดการต่อต้านการให้และรับสินบนตามมาตรฐาน ISO 37001: 2016 ในบทที่ 1 คณะผู้จัดท าได้น าประเด็นดังกล่าวมาประยุกต์ เพื่อใช้ใน การวางระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบนในกรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 ซึ่งในบทนี้ คณะผู้จัดท าจะกล่าวถึงรายละเอียดของข้อก าหนดและขั้นตอนการด าเนินงาน ซึ่งได้ประยุกต์จากกรอบ ISO 37001: 2016 โดยจะอธิบายในแต่ละส่วนเพื่อให้เห็น ภาพ พร้อมทั้งจะสรุปในภาพรวมให้เห็นถึงกระบวนการวางระบบการจัดการต่อต้าน การติดสินบน ตั้งแต่ต้นกระบวนการจนสิ้นสุดกระบวนการ โดยน ากรอบของ PDCA (Plan – Do – Check – Act) มาประกอบการอธิบายร่วมด้วย จากนั้น จะอธิบายถึง แนวทางการจัดระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน กรณีการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 โดยจะมี การแนะน ารายละเอียดแต่ละขั้นตอน เพื่อให้แต่ละองค์กรสามารถน าไปวางกรอบ การด าเนินงานในการต่อต้านการติดสินบนต่อไปได้ ทั้งนี้ คณะผู้จัดท าได้แบ่งรายละเอียดในการอธิบายแนวทางการจัดการต่อต้าน การติดสินบนกรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 ไว้เป็น 4 ประเด็น ดังนี้ 2.1 รายละเอียดระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอ ใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 2.2 สรุประบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1โดยประยุกต์จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 กับรูปแบบ PDCA (Plan – Do – Check – Act) 2.3 จ าแนกขั้นตอนการจัดระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอ ใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 2.4 แนวทางการจัดระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอ ใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 24 2.1 รายละเอียดระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน กรณีการขอใบอนุญาต ก่อสร้างอ. 1โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 ระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน ISO 37001:2016 :กรณีการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 มีข้อก าหนด 7 ด้าน โดยแบ่งเป็น 11 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ด้านบริบทองค์กร (Context of the organization) 2. ด้านความเป็นผู้น าการป้องกันการติดสินบน (Leadership) 3. ด้านการวางแผนการป้องกันการติดสินบน (Planning) 4. ด้านการสนับสนุนทรัพยากรการป้องกันการติดสินบน (Support) 5. ด้านการด าเนินงานการป้องกันการติดสินบน (Operation) 6. ด้านการประเมินสมรรถนะการป้องกันการติดสินบน (Performance Evaluation) 7. ด้านการปรับปรุงและประเมินการปฏิบัติตามคู่มือการป้องกันการติดสินบน (Improvement) แผนภาพ ระบบการจัดการต่อต้านการให้และรับสินบน ISO 37001: 2016 ANTI – BRIBERY MANAGEMENT SYSTEMS


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 25 1. ด้านบริบทองค์กร (Context of the organization) 1) วิเคราะห์บริบทองค์กร และ มีการ อธิบายบริบทการด าเนินงาน ขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานส าหรับการประเมินความเสี่ยง การติดสินบนในเบื้องต้น 2. ด้านความเป็นผู้น าการป้องกันการติดสินบน (Leadership) 2) ผู้น าหน่วยงาน ควร ก าหนดนโยบาย วางระบบ และแนวปฏิบัติป้องกัน การติดสินบนการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 3) ผู้น าหน่วยงาน มีการ ก าหนดทบาท ความรับผิดชอบ และหน้าที่ ในการปฏิบัติงาน ในการป้องกันการติดสินบนการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 และก าหนดบทลงโทษและลงโทษผู้กระท าผิดในกรณีการติดสินบนการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 3. ด้านการวางแผนการป้องกันการติดสินบน (Planning) 4) หน่วยงาน ควร มีการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง/ โอกาส การติดสินบนการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 (กองช่าง) 5) หน่วยงาน มีการ การวางแผนและวางระเบียบวิธีการยื่นขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 4. ด้านการสนับสนุนทรัพยากรการป้องกันการติดสินบน (Support) 6) หน่วยงาน ควรพิจารณา การจัดสรรทรัพยากรในการด าเนินการ ป้องกันการติดสินบนการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 5. ด้านการด าเนินงานการป้องกันการติดสินบน (Operation) 7) หน่วยงาน ระบุขั้นตอนการตรวจสอบและควบคุมการยื่นขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 เพื่อป้องกันการติดสินบน (กองช่าง) 8) หน่วยงาน มีการ ก าหนดระบบสอบสวนและจัดการเมื่อมีการร้องเรียน หรือมีผู้แจ้งเบาะแสการติดสินบนการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 (กองช่าง) 9) หน่วยงาน ควร วางระบบการตรวจสอบ การแจ้งเบาะแสการติดสินบน ในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 จากประชาชนหรือหน่วยงานที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 (กองช่าง)


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 26 6. ด้านการประเมินสมรรถนะการป้องกันการติดสินบน (Performance Evaluation) 10) หน่วยงาน มีการ ก าหนดการตรวจสอบ และประเมินผลการป้องกัน การติดสินบน ในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 (กองช่าง) 7. ด้านการปรับปรุงและประเมินการปฏิบัติตามคู่มือการป้องกันการติดสินบน (Improvement) 11) หน่วยงาน ควร มีการปรับปรุงและทบทวนผลการปฏิบัติงาน ในการป้องกันการติดสินบนในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 อย่างต่อเนื่อง (ทุกปีงบประมาณ)


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 27 1 วิเคราะห์บริบท และมีการอธิบายการด าเนินงานขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ.1 เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐาน ส าหรับการประเมินความเสี่ยงการติดสินบนในเบื้องต้น (เทศบาลนคร) บทน า 1. ขอบข่าย 2. เอกสารอ้างอิง 3. ค าศัพท์และบทนิยาม 4. บริบทขององค์กร 5. ความเป็นผู้น า 2. ผู้น าหน่วยงาน ควรก าหนดนโยบาย วางระบบ และแนวปฏิบัติป้องกันการติดสินบน การขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 (กองช่าง) 3. ผู้น าหน่วยงาน มีการก าหนด บทบาท ความรับผิดชอบ และหน้าที่ในการปฏิบัติงาน ในการป้องกัน การติดสินบนการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 และก าหนดบทลงโทษและลงโทษผู้กระท าผิด (เทศบาลนครและกองช่าง) 6. การวางแผน 4. หน่วยงาน ควรมีการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง/โอกาสการติดสินบนการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1(กองช่าง) 5. หน่วยงาน มีการวางแผนและวางระเบียบวิธีการป้องกันการติดสินบนยื่นขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 (กองช่าง) 7. การสนับสนุน 6. หน่วยงาน ควรพิจารณาจัดสรรทรัพยากรในการด าเนินการป้องกันการติดสินบนการขอ ใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 (เทศบาลนครและกองช่าง) 8. การด าเนินการ 7. หน่วยงาน ระบุ ขั้นตอนการตรวจสอบและควบคุมการยื่นใบขออนุญาตก่อสร้างอ. 1 เพื่อป้องกัน การติดสินบน (กองช่าง) 8. หน่วยงาน มีการก าหนดระบบสอบสวนและจัดการเมื่อมีการร้องเรียนหรือมีผู้แจ้งเบาะแส การติดสินบนการขอใบอนุญาตก่อสร้างอ. 1 (กองช่าง) 9. หน่วยงาน ควรวางระบบการตรวจสอบ การแจ้งเบาะแสการติดสินบนในการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 จากประชาชนหรือหน่วยงานที่มีส่วนได้ส่วนเสียในการขอใบอนุญาต อ. 1 (กองช่าง) 9. การประเมินสมรรถนะ 10. หน่วยงาน มีการก าหนด การตรวจสอบ และประเมินผลการป้องกันการติดสินบน ในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 (กองช่าง) 10. การปรับปรุง 11. หน่วยงาน ควรมี การปรับปรุงและทบทวนผลการปฏิบัติงานการป้องกันการติดสินบน ในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 อย่างต่อเนื่อง (ทุกปีงบประมาณ) (กองช่าง) แผนภาพ การจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 28การจัดการต่อต้านการติดสินบน กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อาคาร โดยการประยุกต์ใช้จาก กรอบมาตรฐาน ISO 37001ด้านบริบทองค์กร ด้านความเป็นผู้น า การป้องกันการติดสินบน ด้านการสนับสนุนทรัพยากร การป้องกันการติดสินบนด้านการด าเนินงาน การป้องกันการติดสินบน ด้านการประเมิน สมรรถนะการป้องกัน การติดสินบนด้านการปรับปรุงและประเมิน การปฏิบัติตามคู่มือการป้องกัน การติดสินบน11.มีการปรับปรุงและทบทวนผลการปฏิบัติงาน การป้องกันการติดสินบนในการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ.1 อย่างต่อเนื่อง 10.มีการตรวจสอบ และประเมิน ผลการป้องกัการติดสินบนใน การขอใบอนุญาตก่อสร้างอ. 1 ด้านการวางแผน การป้องกันการติดสินบน 7.ระบุขั้นตอนการตรวจสอบและควบคุมการยื่น ขอใบอนุญาตก่อสร้างอ.1 เพื่อป้องกันการติด สินบน 8มีการก าหนดระบบการสอบสวนและจัดการ เมื่อมีการร้องเรียนหรือมีผู้แจ้งเบาะแสการติด สินบนการขอใบอนุญาตก่อสร้างอ. 1 9. ควรวางระบบตรวจสอบ การแจ้งเบาะแสการติด สินบนในการขอใบอนุญาตก่อสร้างอ. 1 1.วิเคราะห์บริบทองค์กร และมีการอธิบายบริบท การด าเนินงานขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานส าหรับการประเมิน ความเสี่ยงการติดสินบนในเบื้องต้น 2.ควรก าหนดนโยบาย วางระบบ และแนวทาง ป้องกันการติดสินบนการขอใบอนุญาต ก่อสร้างอ.1 3.มีการก าหนดบทบาท ความรับผิดชอบ หน้าที่ ในการป้องกันการติดสินบนการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ.1และก าหนดบทลงโทษและลงโทษ ผู้กระท าผิด 4.ควรมีการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง/โอกาส ในการติดสินบนการขอใบอนุญาตก่อสร้างอ. 1 5.มีการวางแผนและก าหนดระเบียบวิธีการป้องกัน การติดสินบนในการยื่นขอใบอนุญาตก่อสร้างอ.1 6.ควรมีการจัดสรรทรัพยากรในการด าเนินการป้องกันการติดสินบน การขอใบอนุญาตก่อสร้างอ. 1 Act Plan Do Check 2.2 สรุประบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยประยุกต์จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 กับรูปแบบ PDCA (Plan – Do – Check – Act) คู่มือฉบับนี้ได้สรุประบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยประยุกต์จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 กับรูปแบบ PDCA (Plan – Do – Check – Act) และอธิบายขั้นตอนการจัดการต่อต้านการติดสินบนในกรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 ซึ่งแบ่งออกเป็น 11 ขั้นตอน ตามแผนภาพต่อไปนี้


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 29 กล่าวโดยสรุปการน าระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 ไปปฏิบัติตามวงจร PDCA (Plan – Do – Check – Act) ในแต่ละช่วง การปฏิบัติมีค าอธิบายดังต่อไปนี้ Plan องค์กรจะต้องมีการวิเคราะห์บริบทขององค์กร และมีการอธิบายบริบท การด าเนินงานขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานส าหรับการประเมิน ความเสี่ยงการติดสินบนในเบื้องต้น ตลอดจนผู้น าองค์กรควรมีการขับเคลื่อนนโยบาย และแนวปฏิบัติป้องกันการติดสินบนการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 รวมถึงก าหนด บทบาท ความรับผิดชอบในการป้องกันการติดสินบนการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 พร้อม ทั้งก าหนดบทลงโทษและลงโทษผู้กระท าผิดในกรณีการติดสินบนการขอใบอนุญาต และ ควรมีการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงในการติดสินบนการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 และมีการวางแผนและก าหนดระเบียบวิธีการป้องกันการติดสินบนในการยื่นขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 Do องค์กรต้องมีการปฏิบัติตามแผนงานการป้องกันการติดสินบนการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 ตลอดจนมีการจัดสรรทรัพยากรในการด าเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงมีการระบุขั้นตอนการตรวจสอบควบคุมการยื่นขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 และมีการก าหนดระบบการสอบสวน ตรวจสอบ จัดการเมื่อมีการร้องเรียนหรือแจ้งเบาะแส การติดสินบน Check องค์กรจะต้องมีการก าหนดการตรวจสอบ และประเมินผลการป้องกัน การติดสินบนในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 เพื่อประเมินประสิทธิภาพของระบบ การจัดการต่อต้านการติดสินบน ทั้งนี้ สถานะและผลการด าเนินการตามข้อก าหนด การจัดการต่อต้านการติดสินบน จะต้องมีการรายงานให้ผู้บริหารสูงสุดขององค์กร รับทราบ เพื่อเป็นข้อมูลส าหรับการตัดสินใจปรับปรุงระบบการจัดการอย่างต่อเนื่อง


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 30 Act องค์กรจะต้องมีการปรับปรุงและทบทวนแผนบริหารความเสี่ยงการติดสินบน ในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 อย่างต่อเนื่อง เป็นประจ าทุกปีงบประมาณ เพื่อให้เกิดการด าเนินการแก้ไขอย่างเป็นระบบ มีความเหมาะสม สอดคล้องกับบริบท ขององค์กร 2.3 จ าแนกขั้นตอนการจัดระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอ ใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 คู่มือนี้ได้จ าแนกขั้นตอนการจัดระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 ไว้ โดยแบ่งเป็นขั้นตอนส าคัญ 11 ขั้นตอน ดังนี้ 1) วิเคราะห์บริบทองค์กร และ มีการอธิบายบริบทการด าเนินงานขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ.1 เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานส าหรับการประเมินความเสี่ยงการติดสินบนในเบื้องต้น 2) ควรก าหนดนโยบาย วางระบบ และแนวปฏิบัติในการป้องกันการติดสินบน การขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 3) มีการก าหนดบทบาท ความรับผิดชอบ หน้าที่ในการป้องกันการติดสินบน ในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 และก าหนดบทลงโทษและลงโทษผู้กระท าผิดในกรณี การติดสินบนในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 4) ควรมีการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง/โอกาสการติดสินบนในการขอ ใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 5) มีการวางแผนและก าหนดระเบียบวิธีการป้องกันการติดสินบนในการยื่น ขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 6) ควรมีการจัดสรรทรัพยากรในการด าเนินการป้องกันการติดสินบนในการขอ ใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 7) ระบุขั้นตอนการตรวจสอบและควบคุมการยื่นขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 เพื่อป้องกันการติดสินบน


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 31 8) มีการก าหนดระบบการสอบสวนและจัดการเมื่อมีการร้องเรียนหรือ มีผู้แจ้งเบาะแสการติดสินบนในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 9) ควรมีการวางระบบตรวจสอบ การแจ้งเบาะแสการติดสินบนในการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 10) มีการตรวจสอบ และประเมินผลการป้องกันการติดสินบนในการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 11) มีการปรับปรุงและทบทวนผลการปฏิบัติงานการป้องกันการติดสินบน ในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ในการจ าแนกขั้นตอนการจัดระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 สามารถแบ่งขั้นตอนตามรูปแบบ PDCA (Plan – Do – Check – Act) ได้ดังต่อไปนี้ แผนภาพ จ าแนกขั้นตอนการจัดท าระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ.1 โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 Plan DO Check ACT 1. วิเคราะห์บริบทองค์กร และมี การอธิบายบริบทการด าเนินงาน ในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง 2. ควรก าหนดนโยบาย วางระบบ และแนวทางการป้องกันการติด สิ นบนในการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ.1 3. มีการก าหนดบทบาท ความรับผิดชอบ หน้าที่ในการป้องกันการติดสินบน การขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 และก าหนดบทลงโทษและลงโทษ ผู้กระท าผิด 4. ควรมีการวิเคราะห์และประเมิน ความเสี่ยง โอกาสการติดสินบน ในการขอใบอนุญาตก่อสร้างอ.1 5. มีการวางแผนและก าหนดระเบียบ วิธีการป้องกันการติดสินบนใน การยื่นขอใบอนุญาตก่อสร้างอ.1 6. ควรพิจารณาจัดสรรทรัพยากร ในการด าเนินการป้องกันการติด สินบนการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 7. ระบุขั้นตอนการตรวจสอบและ ควบคุมการยื่นขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 เพื่อป้องกันการติด สินบน 8. มีการก าหนดระบบการสอบสวน และจัดการเมื่อมีการร้องเรียน หรือมีผู้แจ้งเบาะแสการติด สินบนในการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 9. ควรมีการวางระบบตรวจสอบ การแจ้งเบาะแสการติดสินบน ในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 10. มีการตรวจสอบ และประเมิน ผลการป้องกันการติดสินบน ในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 11. ควรมีการปรับปรุงและทบทวน ผลการปฏิบัติงานการป้องกัน การติดสินบนในการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 อย่างต่อเนื่อง


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 32 สรุป จากการศึกษาประเด็นเรื่องระบบการจัดการต่อต้านการให้และรับสินบน ตามมาตรฐาน ISO 37001: 2016 สามารถน ามาประยุกต์ใช้เพื่อเป็นแนวทางในการวาง ระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบนในกรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 ได้ ตลอดจนส าม า รถน าไปปฏิบัติต าม วงจ ร PDCA (Plan – Do – Check – Act) ซึ่งเป็นแนวการปฏิบัติการบริหารจัดการที่เป็นสากลอย่างครบวงจร โดยคู่มือนี้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลต าบล องค์การบริหารส่วนต าบล สามารถน าแนวทางดังกล่าวไปใช้เป็นการก าหนดมาตรฐาน การด าเนินงานภายในองค์กร เพื่อบริหารจัดการต่อต้านการติดสินบน ในกรณีการขอ ใบอนุญาตก่อสร้างได้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการยกระดับประสิทธิภาพการด าเนินงาน ในมิติของการลดความเสี่ยงที่จะเกิดการติดสินบนภายในองค์กร ตลอดจนยังเป็น การเสริมสร้างความโปร่งใส และสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ประชาชน ผู้ประกอบการ กลุ่มนักธุรกิจ ทั้งในประเทศและต่างประเทศในการเข้ามาลงทุนมากยิ่งขึ้น อันจะเป็น การยกระดับค่าคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI)ของประเทศ ให้สูงขึ้นตามเป้าหมายของแผนแม่บทรองรับยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบต่อไป 2.4 แนวทางการจัดระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ.1โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 จากประเด็นการจ าแนกขั้นตอนการจัดท าระบบการจัดการต่อต้าน การติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบ มาตรฐาน ISO 37001: 2016 ตามรูปแบบ PDCA ข้างต้น ท าให้คณะผู้จัดท าคู่มือ เล็งเห็นถึงความส าคัญในการก าหนดแนวทางการด าเนินงาน เพื่อน าไปสู่การจัดการ ต่อต้านการติดสินบนกรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 ในองค์กรที่ชัดเจน และเป็นรูปธรรมมากขึ้น ซึ่งสามารถอธิบายแนวทางในการด าเนินการ โดยแบ่งเป็น 7 ด้าน 11 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 33 ข้อ ขั้นตอน แนวทางการด าเนินการ ด้านบริบทองค์กร 1 วิเคราะห์บริบทองค์กร และมี การอธิบายบริบทการด าเนินงาน ขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 หน่วยงานจะต้องมีการวิเคราะห์บริบท ขององค์กร โดยส ารวจบริบทภายใน หน่วยงานเกี่ยวกับขั้นตอนการด าเนินงาน การขอใบอนุญาตก่อสร้าง รวมถึงพิจารณา ว่ามีกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มใดบ้าง ที่อาจน าไปสู่ความเสี่ยงในการติดสินบนได้ ทั้งนี้ เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานส าหรับ การประเมินความเสี่ยงการติดสินบน ในเบื้องต้น ด้านความเป็นผู้น าการป้องกันการติดสินบน 2 ควรก าหนดนโยบาย วางระบบ และแนวทางป้องกันการติดสินบน ในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 หน่วยงานควรมีการประกาศนโยบาย การต่อต้านการติดสินบน การออกใบ อนุญาตก่อสร้างอาคาร โดยผู้บริหารสูงสุด คนปัจจุบัน และเผยแพร่บนเว็บไชต์ของ หน่วยงาน ซึ่งเนื้อหาของนโยบายอย่างน้อย ต้องประกอบด้วย -ระบุวัตถุประสงค์ -ระบุขอบเขตว่าบังคับใช้กับกลุ่มผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียกลุ่มใดบ้าง - นิยามค าว่า สินบน หมายถึงอะไรบ้าง -กรณีมีการฝ่าฝืนนโยบายจะมีมาตรการ บริหารจัดการ หรือมีบทลงโทษอย่างไรบ้าง -ก าหนดมาตรการติดตามตรวจสอบ -ก าหนดช่องทางร้องเรียน แจ้งเบาะแส - ก าหนดมาตรการคุ้มครองผู้ร้องเรียน/ แจ้งเบาะแส การรักษาความปลอดภัยและ ความลับผู้แจ้งเบาะแส


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 34 ข้อ ขั้นตอน แนวทางการด าเนินการ 3 มีการก าหนดบทบาท ความรับผิดชอบ หน้าที่ในการป้องกันการติดสินบน การขอใบอนุญาตก่อสร้ าง อ. 1 และก าหนดบทลงโทษและลงโทษ ผู้กระท าผิด มีการก าหนดในรูปแบบของค าสั่ง และ มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจนในการก าหนด บทบาท ความรับผิดชอบ หน้ าที่ใน การป้องกันการติดสินบนการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 และก าหนดบทลงโทษ และลงโทษผู้กระท าผิด ด้านการวางแผนการป้องกันการติดสินบน 4 ควรมีการวิเคราะห์และประเมิน ความเสี่ยง/โอกาสในการติดสินบน ในการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 หน่วยงานควรมีการวิเคราะห์และ ประเมินความเสี่ยง/โอกาสในการติดสินบน การขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1เพื่อน าไป ก าหนดไว้ในแผนบริหารความเสี่ยงภายใน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นประจ า ทุ กปี หรื อแผนปฏิบั ติ การต่ อต้ าน การทุจริตและประพฤติมิชอบประจ าปี ทั้งนี้ ในการประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับ สินบน Bribery Risk Assessmentจะต้อง มีกระบวนการ ดังนี้ 1 มีการก าหนดเกณฑ์การประเมิน ความเสี่ยงการติดสนบน ประกอบด้วย 2 เกณฑ์ คือ โอกาสที่จะเกิด (Likelihood) และผลกระทบ (Impact) 2. การระบุประเด็นความเสี่ยงการติด สินบน (Risk identification) ระบุให้ชัดเจน : โดยระบุประเด็น ความเสี่ยงการติดสินบนในการพิจารณา อนุมัติ อนุญาต ในการขอใบอนุญาต


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 35 ข้อ ขั้นตอน แนวทางการด าเนินการ ก่อสร้างอาคาร ว่ามีใครที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการพิจารณาการออกใบอนุญาต ดังกล่ าวทั้งหมด ตั้งแต่ เจ้ าหน้ าที่ ที่รับเรื่อง ช่างโยธา วิศวกร ผอ.ส านักช่าง รองปลัด/ปลัดเทศบาล/เทศมนตรี/ นายกเทศมนตรี หน่วยงานต้องระบุตาม การปฏิบัติที่เป็นจริงในปัจจุบัน ว่ามีใคร เกี่ยวข้องบ้าง และหากเกี่ยวข้องกับฝ่าย หรือ ส านักอื่น เช่น ฝ่ายจัดเก็บรายได้ หน่วยงานต้องน ามาวิเคราะห์ความเสี่ยง เช่นเดียวกัน เป็นต้น ขั้นตอนนี้เป็นหัวใจส าคัญ ต้อง Point Focus เหตุการณ์ที่คาดการณ์ หรือ พยากรณ์ ในอนาคตว่าอาจจะเกิดการติด สินบนด้วยเหตุนี้ จึงจ าเป็นอย่างยิ่ง ที่หน่วยงานจะต้องระบุประเด็นความเสี่ยง ให้ชัดเจน ทั้งนี้ เพื่อจะน าไปสู่การก าหนด มาตรการควบคุมความเสี่ยงให้สามารถลด โอกาสหรือลดความเสี่ยงการติดสินบนได้ อย่างตรงจุดและที่ส าคัญต้องไม่น าปัญหา มาเป็นความเสี่ยง **ปัญหา หมายถึง เหตุการณ์ที่รู้แล้ว เกิดขึ้นแล้ว ส่วนความเสี่ยง หมายถึง เหตุการณ์ยังไม่เกิดขึ้น แต่อาจมีโอกาส เกิ ดขึ้นหรื ออาจจะไม่ เกิ ดขึ้ นก็ได้ ในอนาคต


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 36 ข้อ ขั้นตอน แนวทางการด าเนินการ วิธีการค้นหาความเสี่ยง ประสบการณ์จริง การรับรู้จากแหล่งต่างๆ บทเรียนที่เคยเกิดขึ้น ตัวอย่ างเช่น เคยมีประวัติ ใช้ข้อมูลในอดีตที่เลวร้าย ที่สุดมาเป็นตัวแทนเพื่อคาดการณ์ หรือ ตั้งสมมติฐานว่าอาจเกิดขึ้นในอนาคตได้อีก ซึ่งความเสี่ยงในอนาคตอาจแตกต่างจาก อดีตได้ รูปแบบของสินบน เช่น เงินใต้โต๊ะ (Kickbacks) ของขวัญ (Gifts) การต้อนรับ (Hospitality) การบริจาค (Donations) ค่ าอ านวยความสะดวก (Facilitation Payment) หรือ ผลประโยชน์ ในรูปแบบอื่น ๆ ที่ค านวณมูลค่าได้ การติดสินบน จากผุ้ประกอบการเอง หรือ จากบุคคลหรือตัวแทนขององค์กร (Third. Party) ที่ ปฏิ บั ติง านในนาม หรือเพื่อประโยชน์ขององค์กร ไม่ว่าการให้ หรือรับนั้นจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม 5 มีการวางแผนและก าหนดระเบียบ วิธีการป้องกันการติดสินบนในการยื่น ขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 มีการวางระบบ และก าหนดวิธีการ ป้ องกันการติดสินบนในการยื่นขอ ใบอนุญาตที่ชัดเจน ด้านการสนับสนุนทรัพยากรการป้องกันการติดสินบน 6 ควรมี การจั ดสรรทรั พย ากร ในการด าเนินการป้องกันการติด สินบนการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 การจั ดสรรทรั พยากรสนั บสนุ น ในการด าเนินการป้องกันการติดสินบน การขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 อาจมีหลาย วิธีการ เช่น


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 37 ข้อ ขั้นตอน แนวทางการด าเนินการ - มีการจัดอบรมด้านการจัดการความเสี่ยง การติดสินบนให้แก่บุคลากร และผู้ขอรับ ใบอนุญาต - มีการสื่อสารภายในหน่วยงานอย่างมี ประสิทธิภาพ เนื่องจากการวางระบบ การจัดการความเสี่ยงการติดสินบน จะต้อง มีการสื่อสารภายในหน่วยงาน ทั้งกับ ผู้บริหาร/เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการ พิจารณาออกใบอนุญาต กระบวนงาน : การออกใบอนุญาตก่อสร้างอาคารที่ดี ซึ่งการสื่อสารภายในอย่างมีประสิทธิภาพ จะได้ส่งผลดีในเรื่องการสร้างความร่วมมือ ท าให้ประสบความส าเร็จในการปฏิบัติ และสามารถด าเนิ นการลงโทษได้ หากมีผู้ไม่ปฏิบัติตาม และองค์กรจะได้ เห็นว่าผู้ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี เป็นบุคลากรที่มีคุณค่าและสามารถสร้าง ความยั่งยืนให้แก่องค์กรได้ นอกจากนี้จะต้องมีการสื่อสารภายนอก ให้ กั บผู้ ยื่ นขอใบอนุ ญ าตอย่ างมี ประสิทธิภาพร่วมด้วย เพื่อเสริมสร้าง การบริหารงานให้มีความโปร่งใส ตลอดจน สร้ างความเชื่อมั่นให้ กับประชาชน และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับองค์กร อย่างยั่งยืน


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 38 ข้อ ขั้นตอน แนวทางการด าเนินการ ด้านการด าเนินงานการป้องกันการติดสินบน 7 ระบุขั้นตอนการตรวจสอบและ ควบคุมในการยื่นขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1เพื่อป้องกันการติดสินบน แสดงขั้นตอน ระยะเวลา ในการปฏิบัติงาน การตรวจสอบ ตั้งแต่ต้นจนจบขั้นตอน การขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 ( End To End) โดยมี Flow Chart ประกอบการ อธิบายขั้นตอน 8 มีการก าหนดระบบการสอบสวน และจัดการเมื่อมีการร้องเรียนหรือ มีผู้แจ้งเบาะแสการติดสินบนในการขอ ใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 มีการก าหนดระบบการสอบสวนและ จัดการเมื่อมีการร้องเรียนหรือมีผู้แจ้ง เบาะแสการติดสินบนการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 ที่ชัดเจน 9 มีการวางระบบตรวจสอบ การแจ้ง เบาะแสการติดสินบนในการขอ ใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 มีการวางระบบที่แสดงถึงช่องทางการรับ เรื่องร้องเรียน /แจ้งเบาะแส ขั้นตอนวิธีการ ระยะเวลาด าเนินการของแต่ละขั้นตอน การจัดการข้อร้องเรียน การรายงานผลต่อ ผู้แจ้ง ตลอดจนมีการก าหนดมาตรการ การคุ้มครองความปลอดภัย ทั้งก่อน ระหว่าง หลังการแจ้งเรื่องร้องเรียน เช่น การปกปิดชื่อ-สกุล ผู้ร้องเรียน เพื่อให้ ผู้ร้องเรียนเกิดความมั่นใจ และหน่วยงาน จะต้องก าหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละ ขั้นตอนอย่างชัดเจน โดยการวางระบบ ตรวจสอบการแจ้งเบาะแสการติดสินบน ในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 ดังกล่าว อาจจั ดท าเป็ นคู่ มื อ มี Flow Chart ประกอบได้


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 39 ข้อ ขั้นตอน แนวทางการด าเนินการ ด้านการประเมินสมรรถนะการป้องกันการติดสินบน 10 มีการตรวจสอบ และประเมินผล การป้องกันการติดสินบนในการขอ ใบอนุญาต ก่อสร้าง อ. 1 หน่วยงานอาจก าหนดวิธีการตรวจสอบ และประเมินผลการป้องกันการติดสินบน ในการขอใบอนุญาตก่อสร้ าง อ. 1 ในรูปแบบค าสั่งที่มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน ด้านการปรับปรุงและประเมินการปฏิบัติตามคู่มือการป้องกันการติดสินบน 11 มีการปรับปรุงและทบทวนผลการ ปฏิบัติงานการป้องกันการติดสินบน ในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 อย่างต่อเนื่อง หน่วยงานจะต้องมีการก าหนดวงรอบ การทบทวนผลการปฏิบัติงานการป้องกัน การติดสินบนในการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1เป็นระยะอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนา และปรับปรุงจัดการความเสี่ยงการติด สินบนที่หน่วยงานต้องเผชิญได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และมีการเก็บรักษาข้อมูล สรุปไว้เป็นหลักฐาน สรุป การจ าแนกขั้นตอนการจัดท าระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 สามารถน าไปสู่การวางระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน ภายในองค์กร เพื่อให้สามารถตรวจพบและจัดการแนวปฏิบัติที่น าไปสู่การติดสินบน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการปฏิบัติตามการประยุกต์ของกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 ดังกล่าว ไม่ได้รับประกันว่าจะไม่มีการติดสินบนเกิดขึ้นในองค์กร แต่การน าแนวทางดังกล่าวมาใช้ภายในองค์กรจะช่วยขับเคลื่อน และจะท าให้องค์กร สามารถวางแนวทางในการปฏิบัติ เพื่อลดปัญหาการติดสินบน ในกรณีการขอ ใบอนุญาตก่อสร้างได้อย่างต่อเนื่องและครบวงจร


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 40 ประเด็นการพิจารณาส าหรับวางแผน การจัดการบริหารความเสี่ยง เพื่อไปสู่ความส าเร็จ (Success) ในการจัดการต่อต้านการติดสินบน


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 41 บทที่ 3 ประเด็นการพิจารณาส าหรับวางแผน การจัดการบริหารความเสี่ยงเพื่อไปสู่ความส าเร็จ (Success) ในการจัดการต่อต้านการติดสินบน จากการจ าแนกขั้นตอนการจัดท าระบบการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 โดยการประยุกต์ใช้จากกรอบมาตรฐาน ISO 37001: 2016 จะเห็นได้ว่าจะมีประเด็นองค์ประกอบในด้านการวางแผน การป้องกันการติดสินบน ซึ่งจะมีประเด็นย่อยในเรื่องการวิเคราะห์และประเมิน ความเสี่ยง/โอกาสในการติดสินบนการขอใบอนุญาตก่อสร้าง อ. 1 ที่ถือว่าเป็น ปัจจัยส าคัญในการขับเคลื่อนการจัดการต่อต้านการติดสินบนให้เกิดประสิทธิภาพ ดังนั้น เพื่อให้เป็นการขยายประเด็นดังกล่าวให้ชัดยิ่งขึ้น พร้อมทั้งหน่วยงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละหน่วยงาน จะสามารถน าประเด็นการพิจารณา การวิเคราะห์ดังกล่าวไปเป็นแนวทางในการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง ตลอดจนน ามาประยุกต์ใช้เพื่อก าหนดเป็นแนวปฏิบัติเพื่อต่อต้านการติดสินบนได้ อย่างมีประสิทธิภาพได้ คณะผู้จัดท าจึงได้แบ่งเนื้อหาการอธิบายออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ 3 .1 ป ระเด็นคว ามเสี่ยงในก า รติดสินบนในแต่ละขั้นตอนของ การขอใบอนุญาตก่อสร้าง เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ความส าเร็จ (success) ในการจัดการต่อต้านการติดสินบน 3.2 แนวทางการบริหารความเสี่ยงการติดสินบน เพื่อน าไปสู่ความส าเร็จ (Success)


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 42 3.1 ประเด็นความเสี่ยงในการติดสินบนในแต่ละขั้นตอนของการขอใบอนุญาต ก่อสร้าง เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ความส าเร็จ (success) ในการจัดการ ต่อต้านการติดสินบน ก่อนจะเข้าสู่ประเด็นรายละเอียดเกี่ยวกับแนวทางการบริหารความเสี่ยง การติดสินบน คณะผู้จัดท าจะน าเสนอประเด็นเกี่ยวกับความเสี่ยงในการติดสินบน ในแต่ละขั้นตอนของการขอใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ทั้งนี้ เพื่อให้องค์กรที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะน าไปใช้ประโยชน์ต่อไป สามารถเห็นประเด็นส าคัญเพื่อไปสู่แนวทาง ในการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงในเรื่องการติดสินบนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้จัดท าจึงน าประเด็นจากผลการศึกษาในเรื่องความเสี่ยงของการติดสินบน ในแต่ละขั้นตอนมาชี้ให้เห็นว่ามีความเสี่ยงต่อก า รติดสินบนจะอยู่ในช่วงใด เป็นพิเศษ ซึ่งจากผลการศึกษาพบว่า ขั้นตอนของการขอใบอนุญาตก่อสร้าง มีความเสี่ยง 3 ช่วง ดังนี้ ความเสี่ยงช่วงที่ 1 ขั้นตอน การรับค าร้อง ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน ความเสี่ยงช่วงที่ 2 ขั้นตอน การส ารวจพื้นที่ที่ขออนุญาตก่อสร้าง ความเสี่ยงช่วงที่ 3 ขั้นตอน การใช้ดุลพินิจพิจารณาอนุญาตก่อสร้าง ความเสี่ยงช่วงที่ 1 ขั้นตอน การรับค าร้อง ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน ขั้นตอนการรับค าร้อง และตรวจสอบเอกสารหลักฐานเป็นต้นทาง ในการยื่นเพื่อขอรับการอนุญาตก่อสร้างอาคาร ซึ่งขั้นตอนดังกล่าว เจ้าหน้าที่ผู้รับ ค าร้องและตรวจสอบเอกสาร มีโอกาสใช้ดุลพินิจในการพิจารณาเอกสารตั้งแต่ต้นทาง เพื่อเอื้อประโยชน์และช่วยเหลือพวกพ้อง รวมถึงบางกรณีอาจมีการกีดกัน หรือสร้างอุปสรรคเพื่อประวิงเวลาในการขออนุญาตก่อสร้าง โดยให้เหตุผลว่า เอกสารไม่ครบถ้วน หรือไม่ถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับ ท าให้ประชาชนรู้สึกว่า ก า ร ด า เนิ นง าน ติ ด ขั ด ไ ม่ไ ด้ รับ ค ว า ม ส ะ ด ว ก เป็ น เห ตุท าให้ป ร ะช า ชน หรือผู้ประกอบการบางส่วนต้องให้สินบนเจ้าหน้าที่ เพื่อให้การพิจารณาเอกสาร หลักฐานต่าง ๆ ผ่านเรียบร้อย


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 43 ความเสี่ยงช่วงที่ 2 ขั้นตอน การส ารวจพื้นที่ที่ขออนุญาตก่อสร้าง ขั้นตอนการส ารวจพื้นที่ที่ขออนุญาตก่อสร้างเป็นขั้นตอนที่นับว่ามีความเสี่ยง ต่อการติดสินบนมากที่สุด เนื่องจากเป็นการออกไปส ารวจนอกพื้นที่ ซึ่งจะเป็น การนัดหมายระหว่างเจ้าหน้าที่ (นายตรวจ) และประชาชน เพื่อส ารวจพื้นที่ส าหรับ การขออนุญาตก่อสร้าง ให้เจ้าหน้าที่และประชาชนยิ่งมีโอกาสเผชิญหน้ากัน รวมถึงมีโอกาสที่จะเกิดการเรียกรับผลประโยชน์ต่าง ๆ หรือเรียกรับสินบนได้สูงยิ่งขึ้น เนื่องจากเป็นการปฏิบัติงานนอกส านักงานเทศบาล ท าให้มีช่องทางและโอกาส ในการเจรจาต่อรองเรียกรับผลประโยชน์กันได้ง่าย ความเสี่ยงช่วงที่ 3 ขั้นตอน การใช้ดุลพินิจพิจารณาอนุญาตก่อสร้าง ขั้นตอนการใช้ดุลพินิจในการพิจารณาอนุญาตก่อสร้าง จะมีอยู่ 3 ระดับ คือ ตั้งแต่นายช่างหรือวิศวกรด าเนินการพิจารณาแบบแปลน และเอกสารทั้งหมด ไปถึงจนหัวหน้าส่วนงานโยธาหรือผู้อ านวยการกองช่าง ตรวจสอบให้ความเห็น และผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพิจารณาค าขออนุญาต ซึ่งขั้นตอนดังกล่าว นับว่าเป็นจุดที่ให้อ านาจและเปิดช่องให้เจ้าหน้าที่รัฐใช้ดุลพินิจค่อนข้างมาก ถึงแม้จะมี การก าหนดระยะเวลาไว้เป็นแนวปฏิบัติ แต่ในทางปฏิบัติจริงแล้ว เมื่อกฎระเบียบ เปิดช่องให้เจ้าหน้าที่รัฐสามารถใช้ดุลพินิจได้มาก อาจน าไปสู่การประวิงเวลา หรือหาเหตุผลในเรื่องแบบแปลนอาคาร หรือเอกสารต่าง ๆ ที่ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ หรือไม่ถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับ ซึ่งบางกรณีผู้ประกอบการหรือประชาชนอาจจะ ถูกเรียกรับผลประโยชน์ต่าง ๆ เพื่อแลกกับการพิจารณาเห็นชอบในการอนุญาต ก่อสร้างอาคาร


คู่มือแนวทางการจัดการต่อต้านการติดสินบน : กรณีการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลนคร 44 รับเรื่องขออนุญาต (เจ้าหน้าที่รับค าขอ) ตรวจสอบ เอกสารหลักฐาน ความเสี่ยงช่วงที่ 1 ขั้นตอน การรับค าร้อง ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน ตรวจสอบผังเมืองและ ตรวจสอบสภาพสาธารณะ ตรวจพิจารณาแบบ (นายช่าง / วิศวกร) เจ้าพนักงานท้องถิ่นพิจารณา อนุญาตก่อสร้างอาคาร ความเสี่ยงช่วงที่ 2 ขั้นตอน การส ารวจพื้นที่ ขออนุญาตก่อสร้าง ความเสี่ยงช่วงที่ 3 ขั้นตอน การใช้ดุลพินิจ พิจารณาอนุญาตก่อสร้าง ดัดแปลง ออกใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ประเด็นความเสี่ยง เจ้าหน้าที่ผู้รับค าร้องและตรวจสอบเอกสาร มีโอกาสใช้ดุลพินิจในการพิจารณาเอกสาร ตั้งแต่ต้นทาง สร้างอุปสรรคเพื่อประวิงเวลา ในการขออนุญาตก่อสร้าง โดยให้เหตุผลว่าเอกสารไม่ครบถ้วน หรือไม่ถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับ ประเด็นความเสี่ยง เจ้าหน้าที่และประชาชนมีโอกาสเผชิญหน้ากัน ท าให้ ยิ่งมีโอกาสที่จะเกิดการเรียกรับผลประโยชน์ต่างๆได้สูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นการปฏิบัติงานนอกส านักงาน ประเด็นความเสี่ยง กฎระเบียบเปิดช่องให้เจ้าหน้าที่รัฐใช้ดุลพินิจ ในการพิจารณามาก และมีการพิจารณาหลายระดับ (นายช่าง / ผอ.กองช่าง/ ผู้บริหารระดับสูง อปท.) อาจน าไปสู่การประวิงเวลา หรือ หาเหตุผลในเรื่องแบบแปลนอาคาร ว่าเอกสารต่าง ๆ ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ หรือไม่ถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับ แผนภาพ ขั้นตอนและกระบวนการขออนุญาตการก่อสร้าง ที่มีความเสี่ยงต่อการติดสินบน


Click to View FlipBook Version