The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ponsiri, 2019-11-19 04:54:23

E-BOOK ธราธิป

E-BOOK ธราธิป

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 51

(2) ยาออกฤทธ์ิระดบั ปานกลาง เป็ นยาตา้ นจุลชีพท่ีออกฤทธ์ิไดด้ ีต่อเช้ือ
แบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบในระดบั ปานกลาง ไดแ้ ก่ ยาซลั ฟาบางตวั ยากลุ่มเพนนิซิลินก่ึง

สงั เคราะห์ (เช่น แอมพิซิลนิ แอมมอกซิลิน)
(3) ยาออกฤทธ์ิวงกวา้ ง เป็ นยาตา้ นจุลชีพท่ีออกฤทธ์ิต่อเช้ือจุลชีพหลาย

ชนิด คือ ออกฤทธ์ิต่อเช้ือแบคทีเรียท้งั แกรมบวกและแกรมลบ เช้ือริกเกตเซีย เช้ือไวรัสขนาดใหญ่
ตลอดจนถึงโปรโตซวั และพยาธิบางชนิด ไดแ้ ก่ คลอแรมฟิ นิคอลท่ีมคี ุณสมบตั ิเป็นแบคทริริโอซยั ดลั
กลมุ่ ไนโตรฟูแรนที่มีคุณสมบตั ิเป็ นแบคทริริโอซลั ดลั ยาคลอเตตร้าซยั คลิน ยาออกซ่ีเตตร้าซยั คลินที่
มีคุณสมบตั ิเป็นแบคทริริโอสเตรตริกเป็นตน้

5.4.3 การออกฤทธ์ิของยา การรักษาโรคติดเช้ือให้ไดผ้ ลน้ัน จาเป็ นตอ้ งเลือกใชย้ า
ตา้ นจุลชีพให้ถูกตอ้ ง โดยต้องคานึงถึงขอบเขตการออกฤทธ์ิของยาที่ตอ้ งเหมาะสมกบั เช้ือที่เป็ น
สาเหตุของโรค กาการเป็ นพิษของยา ซ่ึงจะต้องกาหนดชนิดและความเขม้ ขน้ ของยาที่เหมาะสม
รวมถงึ วธิ ีการ ขนาดและระยะเวลาในการใชย้ าท่ีถกู ตอ้ ง

หลงั จากที่ยาเขา้ สู่ร่างกายของกุง้ แลว้ แลว้ ก่อนที่ยาจะออกฤทธ์ิน้นั ยาจะตอ้ งมี
การดูดซึมจากตาแหน่งที่ใหย้ าเขา้ สู่กระแสเลือด หลงั จากน้นั แลว้ ยามีการกระจายตวั ไปยงั ส่วนต่างๆ
ของร่างกาย บางส่วนของยามีการเปล่ียนแปลงไปโดยการเกิดเมตาบอลิซึม บางส่วนของยาอาจมีการ
รวมตวั กบั เลือดหรือเน้ือเยื่อ หลงั จากน้ีแลว้ ยาถึงจะมีการขบั ถ่ายออกจากร่างกาย (ดังแสดงตาม
แผนภูมิพฤติกรรมของยาในสัตวน์ ้า) ยามกี ารดูดซึมมากนอ้ ยข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั หลายๆอย่าง เช่น ชนิด
ของยาหรือสารที่ให้ วิธีการใหย้ า ตลอดจนอตั ราการซึมผา่ นของยาเขา้ สู่เยอ่ื ชีวสาร เพื่อไปสู่บริเวณท่ี
ยาออกฤทธ์ิ นอกจากน้ียงั ข้ึนกบั ชนิดของสตั วน์ ้าน้นั ๆ ดว้ ย

ยาท่ีใชร้ ักษากุง้ เม่ือมีการดูดซึม (ข้ึนอยู่กบั ชนิดของยากบั อวยั วะที่เป็ นอวยั วะ
เป้าหมาย) กจ็ ะมกี ารเปลย่ี นแปลงของยาในร่างกาย (คือการเกิดเมตาบอลซิ ึมของยาในร่างกายกงุ้ ) ตบั
กงุ้ เป็ นอวยั วะสาคญั ในกระบวนการเมตาบอลซิ ่ึมของยา ผลจากเมตาบอลิซ่ึมของยาทาให้ได้ ไดส้ าร
เมตาบอไลทซ์ ่ึงอาจมีคุณสมบตั ิในการละลายน้าไดด้ ี ละลายในไขมนั ไดน้ อ้ ยลง มฤี ทธ์ิในการรักษา
ลดลง หรืออาจไมม่ ีฤทธ์ิเหลืออยเู่ ลย หรืออาจเปล่ียนไปเป็นสารประกอบที่มีอนั ตรายสูงมากข้ึนกไ็ ด้

สาหรับยาที่ใชร้ ักษาโรคพยาธิในกุง้ เช่น มาลาไคทก์ รีน (ปัจจุบนั ไดป้ ระกาศ
หา้ มใช้ อยใู่ นบญั ชีรายช่ือวตั ถุอนั ตราย ปี 2538) น้นั เมื่อใชแ้ ลว้ มีการเปลย่ี นแปลงไปอยใู่ นรูปของลิว
โคมาลาไคทก์ รีนในกลา้ มเน้ือ และหลงั จากน้นั ลิวโคมาลาไคทก์ รีนจึงค่อยๆ ออกซิไดซก์ ลบั ไปอยใู่ น
รูปของมาลาไคทก์ รีนในขณะท่ีเน้ือเยอ่ื หรือกลา้ มเน้ือของกงุ้ ที่ถกู แช่แข็ง

5.4.4 ยาท่ีอนุญาตใหใ้ ชร้ ักษาโรคในการเพาะเล้ยี งสตั วน์ ้า เนื่องจากการใชย้ าปฏิชีวนะ
ท่ีไม่ถูกตอ้ งอาจทาใหเ้ กิดอนั ตรายกบั ผบู้ ริโภค และไมเ่ ป็ นไปตามขอ้ กาหนดมาตรฐานสินคา้ ในการ
นาเขา้ ของประเทศท่ีเป็ นผบู้ ริโภครายสาคญั ดงั น้นั จึงมีการกาหนดอนุญาตให้ใชย้ าปฏิชีวนะเฉพาะ
ชนิดท่ีไม่เป็นอนั ตรายและไมต่ กคา้ งในเน้ือกุง้ เมอ่ื มกี ารจดั การที่เหมาะสม ดงั น้ี

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 52

(1) ออกซีเตตราซยั คลิน (Oxytetracycline) ชื่อการคา้ คือ เทอรามยั ซินของ
ไฟเซอร์ (Terramycin®, Pfizer)

(2) ซัลฟ าไดเมท ท็ อกซี น (Sulfdim ethoxine) + ออเมโท รฟ ริ ม
(Ormethoprim) ซื่อการคา้ คือ โรเมท-30, ฮอฟแมน-ลาโมซ (Romet-30®, Hoffman-LaRoche)

(3) ซลั ฟาเมอราซีน (Sulfamerazine) ของ Roche
ส่วนยาสตั วน์ ้าท่ีสามารถใชไ้ ดเ้ มอื่ จาเป็น
(1) เตตร้าซยั คลิน (Tetracycline)
(2) คลอเตตร้าซยั คลนิ (Chlortetracycline)
(3) ออกซ่ีเตตร้าซยั คลิน (Oxytetracycline)
(4) ด็อกซ่ีซยั คลนิ (Doxyxycline)
(5) นาลิดิกซิก แอซิด (Nalidixic acid)
(6) ออกโซลินิก (Oxolinic acid)
จากกลุ่มยาขา้ งตน้ ที่อนุญาตให้ใชอ้ าจแบ่งไดเ้ ป็ น 3 กลุ่ม ไดแ้ ก่ กลุ่มยา
เตตร้าซยั คลนิ กลุ่มยาซลั ฟา และกล่มุ ยาควิโนโลน มคี ุณสมบตั ิพอสงั เขปดงั น้ี

1) กลุ่มยาเตตร้าซยั คลิน เป็นยาปฏิชีวนะท่ีมขี อบเขตในการออก
ฤทธ์ิอย่างกวา้ งขวาง ออกฤทธ์ิโดยตัวยาไปจบั กบั แมกนีเซียมบนส่วนของพลาสม่าเมมเบรนของ
แบคทีเรีย และเขา้ ไปอยใู่ นไซโตพลาสซึมของเซล มกี ารรวมตวั กบั “30S” ของไรโบโซมในเซล ซ่ึงมี
ผลต่อการสงั เคราะหโ์ ปรตีนของเซล

กลุ่มน้ีมีคุณสมบตั ิเป็ น chelating agent ที่ดี ดงั น้ันเม่ือสามารถ
รวมตวั กบั อิออนชนิดต่างๆ เช่น แคลเซี่ยม หรือ แมกนีเซียมในอาหารหรือรวมตวั กบั อิออนในน้าจะมี
ผลทาใหย้ าเสื่อมไป อตั ราที่ใช้ 5-10 กรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม ยากลุ่มน้ีมีผลต่อสิ่งแวดลอ้ ม พบว่า
การใหย้ าน้นั สตั ว์ น้ จะได้ รับเพียง 20-30 % ที่เหลือจะสะสมในตะกอนดินทาใหเ้ ช้ือด้ือยา และถา้ ยิ่ง
ในสถานท่ีอุณหภูมิต่าและในสภาพที่ไม่มีออกซิเจน ยาออกซี่เตตร้าซยั คลินจะสลายตวั ชา้ มาก พบว่า
อุณหภูมิและแสงสว่างมีผลต่อการสลายตัวของยาชนิดน้ีในน้าทะเล ยาที่สลายตวั เม่ือถูกแสงแดด
ไดแ้ ก่ ออกซี่เตตร้าซยั คลนิ ออกโซลนิ ิค แอซิด ฟลูมคิ วนิ และไนโตรฟรู าโซลิโดน

2) กลุ่มยาซลั ฟา ในปี 2528 ไดม้ ีการรับรองยา Romet 30 ซ่ึงเป็ น
ส่วนของยาซัลฟาไดเมททอกซีนและไตรเมธโทรพริ ม เพื่อใช้ควบคุมการระบาดของโรค
furunculosis ในปลาเทร้าและปลาแซลมอน ยาซัลฟามีกลไกการออกฤทธ์ิ คือไปขัดขวางการ
สงั เคราะห์ไดไฮดรอโพลิค แอซิด ซ่ึงเป็ นสารท่ีจาเป็ นต่อการดารงชีวิตของเช้ือแบคทีเรีย พบว่ายา
ซลั ฟาไดเมททอกซีนมีการขบั ถ่ายออกจากตวั กงุ้ ลอบสเตอร์ โดยผา่ นทางปัสสาวะและอจุ จาระในรูป
ของตวั ยาและเมตาบอไลท์ เมตาบอไลทเ์ กิดข้ึนในส่วนของตบั อ่อน โดยท่ีเมตาบอไลท์ท่ีเกิดข้ึนน้ีมี
การขบั ถ่ายออกจากตบั อ่อนนอ้ ยมาก

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 53

3) กล่มุ ยาควิโนโลน เป็นยาตา้ นจุลชีพท่ีไดจ้ ากการสงั เคราะหท์ าง
เคมี ออกฤทธ์ิเป็ นแบคทิริโอซลั ดลั โดยเฉพาะกบั แบคทีเรียแกรมลบ ออกฤทธ์ิทาลายเช้ือแบคทีเรีย

โดยไปมีผลต่อเอน็ ไซมด์ ีเอน็ เอจยั เลส ซ่ึงมีผลต่อการขดตวั ของสายดีเอน็ อ ทาใหเ้ ซลแบคทีเรียตาย

ในทนั ทีปัจจุบนั ยาออกโซลินิค แอซิดและฟลูมิควินเป็นยาท่ีนิยมใชใ้ นสัตวน์ ้าโดยเฉพาะในประเทศ
ยโุ รป สาหรับควบคุมโรค furunculosis และ enteric red mouth ในปลาเทร้า

อตั ราการใช้ ให้ผสมกบั อาหารสาเร็จรูป 1-2 กรัมต่ออาหาร 1

กิโลกรัม ถา้ ผสมอาหารสดใช้ 0.5 กรัม ต่ออาหาร 1 กิโลกรัม ระยะปลอดยาอย่างน้อย 8 วนั ที่

อณุ หภูมิ 28-32 องศาเซลเซียส หากมีการใหย้ า 2.5 กรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม ติดต่อกนั 7 วนั พบการ

ตกค้างในตับอ่อน 22 วนั กลา้ มเน้ือ 18 วนั พบการด้ือยาและตกค้างในตะกอนเช่นกัน และไม่
สลายตวั ที่ความร้อนสูง

5.4.5 สารเคมีที่ใชใ้ นการเพาะเล้ียงสตั วน์ ้า สารเคมีมกั นิยมใชเ้ พ่อื ฆ่าเช้ือโรคในน้า
สาหร่าย และใชใ้ นการกาจดั พาหะหรือศตั รูกงุ้ ไดแ้ ก่

(1) คลอรีน มกั จะใชใ้ นรูปของคลอรีนผงหรือแคลเซ่ียมไฮโปคลอไรท์

(Ca(OCl)2 ) ซ่ึงสะดวกและมีราคาถกู หรืออาจจะใชน้ ้ายาฟอกสีหรือคลอรอกซ์ หรือโซเด่ียมไฮโป
คลอไรท์ (NaOCl) กไ็ ด้ คลอรีนเมื่อละลายน้าจะแตกตวั ใหค้ ลอรีนอสิ ระ ซ่ึงจะทาหนา้ ท่ีในการฆ่า
เช้ือ แต่ถา้ ในน้ามีแอมโมเนียอยู่ คลอรีนอิสระจะรวมตวั กบั แอมโมเนียเป็ นคอมไบน์คลอรีน ซ่ึงมี
ฤทธ์ิในการฆา่ เช้ือต่ากวา่ แต่จะสลายตวั ไดช้ า้ กวา่ นอกจากจะฆ่าเช้ือโรคและปรสิตต่างๆ แลว้ ยงั ช่วย

กาจดั พวกแพลงกต์ อนพืชและสตั ว์ และทาใหเ้ ศษอินทรียส์ ารต่างๆ โลหะและสารพิษต่างๆ ท่ีละลาย

อยใู่ นน้า ตกตะกอน หรือเปลี่ยนรูปไปอยใู่ นรูปแบบที่มีความเป็นพิษนอ้ ยลง
อตั ราการฆ่าเช้ือจะอยู่ระหว่าง 6-10 กรัมต่อน้า 1 ตนั ประมาณ 10-40

กิโลกรัมต่อไร่ต่อน้าลึก 1 เมตร ก่อนนาน้าไปใช้ต้องให้อากาศทิ้งไว้ 3-4 วนั จนกว่าคลอรีนจะ
สลายตวั หมด เนื่องจากคลอรีนเป็ นสารออกซิไดซ์ ซ่ึงจะทาปฏิกิริยากบั สารรีดิวซท์ ุกชนิดที่อยใู่ นน้า
อตั ราการใชค้ ลอรีนเพอ่ื ฆ่าเช้ือโรคในน้า จึงตอ้ งเพ่ิมข้ึนตามปริมาณสารอนิ ทรียแ์ ละสารรีดิวซอ์ นื่ ๆ ท่ี
มีอยใู่ นน้า และคลอรีนท่ีตกคา้ งมีความเป็ นพิษค่อนขา้ งสูงต่อสัตวน์ ้า ก่อนปล่อยลูกกุง้ จึงตอ้ งแน่ใจ
คลอรีนสลายตวั ไปหมดแลว้ ซ่ึงอาจทดสอบดว้ ยชุดทดสอบคลอรีน หรือใชโ้ ปแตสเซียมไอโอไดน์

2-3 เกลด็ ใส่ลงในน้า ซ่ึงถา้ มีคลอรีนเหลืออยจู่ ะมสี ีน้าตาล ไม่ควรใชใ้ นระหว่างการเล้ียงกุง้ ถึงแมว้ ่า
จะใชใ้ นความเขม้ ขน้ ต่า เพราะวา่ ทาใหแ้ พลงกต์ อนพชื ตาย เหษตรกรทาสีน้าไมไ่ ด้

(2) ฟอร์มาลิน (Formalin)ใชใ้ นการควบคุม แบคทีเรียและปรสิต โปรโต

ซวั เช่น ซูโอแทมเน่ียม ทาความสะอาดฆ่าเช้ือ น้า และอุปกรณ์เครื่องมือ ฟอร์มาลินเป็ นสารละลาย
ของฟอร์มลั ดีไฮด์ในน้า โดยมีฟอร์มลั ดีไฮดอ์ ยูป่ ระมาณ 37-40 % เป็ นสารละลายใส มีกล่ินฉุน ซ่ึง
มกั จะมีเมธานอลผสมอยดู่ ว้ ย 10-15 % เพ่ือป้องกนั ไม่ใหฟ้ อร์มาลนิ เปล่ยี นรูปเป็นพาราฟอร์มลั ดีไฮด์
ฟอร์มาลินเป็ นสารรีดิวซ์ท่ีมีฤทธ์ิรุนแรง เมื่อถูกอากาศจะออกซิไดซช์ า้ ๆ เป็ นกรดฟอร์มิก เมื่อเก็บ

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 54

ฟอร์มาลินไวน้ านๆ หรือเก็บที่อุณหภูมิต่ากว่า 4 องศาเซลเซียส ฟอร์มาลินจะเปล่ียนรูปเป็ นพารา
ฟอร์มาลดีไฮด์ ซ่ึงมลี กั ษณะเป็นตะกอนขาว

อตั ราส่วนการใช้งาน มกั ใช้ในความเข้มขน้ 25-100 พีพีเอ็ม ความ
เขม้ ขน้ ท่ีใชใ้ นการรักษาโรคและปรสิต ท่ีระดบั 20-30 พพี ีเอม็ เนื่องจากฟอร์มาลนิ มีความเป็ นพิษต่อ
ลูกกงุ้ ค่อนขา้ งสูงและการสลายตวั ของฟอร์มาลินค่อนขา้ งชา้ จึงตอ้ งมีความระมดั ระวงั ในการใชง้ าน
และคุณภาพน้าบางประการก็มีผลต่อความเป็ นพิษของฟอร์มาลิน โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งอุณหภูมิ เมื่อ
อุณหภูมิสูงข้ึนความเป็ นพิษของฟอร์มาลนิ ก็มากข้ึน ส่วนความเป็นกรด-ด่างและความกระดา้ งของ
น้าไม่มีผลต่อความเป็นพษิ ของฟอร์มาลิน ผลกระทบจากการใชฟ้ อร์มาลินอกี ประการคือ ฟอร์มาลิน
ไปฆา่ แพลงกต์ อนพืช เป็นสาเหตุใหป้ ริมาณออกซิเจนในบ่อจะลดอยา่ งรวดเร็วระหวา่ งการใชจ้ ึงควร
เปิ ดเคร่ืองตีน้า/ใหอ้ ากาศตลอดเวลา และเน่ืองจากเป็นสารเคมที ่ีมฤี ทธ์ิรุนแรงและกลิน่ ฉุน ทาใหเ้ กิด
การระคายเรื่องต่อเยอื่ บุตาและทางเดินหายใจ เกษตรกรจึงควรระวงั ในระหว่างการใชง้ าน

(3) ซาโปนิน มกั นิยมใชก้ าจดั ปลาในบ่อ ในประเทศไทยมีการใชซ้ าโป
นินจากกากเมลด็ ชา มีคุณสมบตั ิที่เป็นพิษต่อสตั วเ์ ลือดเยน็ มากกวา่ สตั ว์เลือดอุ่น ซ่ึงมีฤทธ์ิต่อสตั วท์ ่ีมี
กระดูกสนั หลงั จึงใชก้ าจดั ปลาไดด้ ี ซาโปนินเป็นสารท่ีสลายตวั ง่าย และจะเร่ิมเสื่อมพิษใน 7-15 วนั
อตั ราการใชอ้ ยทู่ ่ีความเขม้ ขน้ 25-100 ส่วนในพนั ส่วน

(4) เบรสแตน-60 มีส่วนประกอบของไตรฟี นิลฟิ น-อะซีเตต เป็ นหลกั
(54%) และมาเน็บ 18% นอกน้ันเป็ นสารเฉ่ือย เป็ นสารเคมีที่ใชเ้ ป็ นยาฆ่าเช้ือรา ยาฆ่าหอยและยาฆ่า
สาหร่าย สามารถกาจดั หอยเจดียอ์ ย่างไดผ้ ลในอตั ราส่วนความเขม้ ขน้ 200-250 กรัมต่อน้าลึก 10
เซนติเมตร ต่อ 1ไร่ การใชง้ านตอ้ งมคี วามระมดั ระวงั อยา่ งมากเนื่องจากมคี วามเป็ นพิษต่อลูกกงุ้ สูง
ถา้ หากเหลอื ตกคา้ งจะทาใหก้ ุง้ ไมโ่ ต เล้ยี งไมไ่ ดผ้ ล

(5) ไอโอดีน เช่น โพรวิโดนไอโอดีน เป็ นสารประกอบอินทรีย์ ลกั ษณะ
เป็นผงสีน้าตาลเขม้ ละลายไดด้ ีในน้าและแอลกอฮอล์ ในทางการคา้ มกั เป็นเตรียมมาเป็ นสารละลาย
ทาใหส้ ะดวกในการใช้ ไอโอดีนท่ีมปี ระสิทธิภาพในการฆ่าเช้ือไวรัส แบคทีเรีย รา และโปรโตซวั มี
พษิ ต่ากบั กงุ้ เป็นสารเคมีฆ่าเช้ือนามาใชใ้ นการเพาะเล้ยี งสตั วน์ ้า โดยเฉพาะการฆ่าเช้ือโรคท่ีเกาะติด
บนผวิ ของไข่ปลา ไข่กุง้ หรือตวั ออ่ น ก่อนที่จะนาเขา้ มาเพาะและอนุบาลโดย แช่ไข่ปลา กุง้ ในน้าที่มี
ไอโอดีนความเข้มข้น 100 ส่วนในลา้ นส่วน นาน 10 นาที สาหรับการฆ่าเช้ือโรคในน้า ไอโอดีน
ความเขม้ ข้น 2-3 ส่วนในลา้ นส่วน สามารฆ่าเช้ือแบคทีเรียวิบริโอไดด้ ี ไอโอดีนที่ผลิตขายน้ันมี
ความเขม้ ขน้ ต่างๆ กนั ดงั น้นั การใชฆ้ า่ เช้ืออยา่ งมีประสิทธิภาพ เกษตรกรตอ้ งคานึงถึงความเขม้ ขน้
ของสารออกฤทธ์ิดว้ ย

(6) บีเคซี หรือเบนซัลโคเนี่ยมคลอไรด์ (Benzalkonium Chloride) เป็ น
สารละลายใส ไม่มีกล่ิน ผลิตภัณฑ์ที่ขายตามท้องตลาด มีหลายความเข้มข้นต้ังแต่ 10 - 80%
รักษาการติดเช้ือภายนอก โดยเฉพาะกลุ่มโปรโตซวั หรือแบคทีเรีย (ซูโอแทมเน่ียม และ วิบริโอ

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 55

ตามลาดบั ) โดยความเขม้ ขน้ 0.6-1.0 ส่วนในลา้ นส่วน ออกฤทธ์ิไดด้ ีในสภาพท่ีเป็ นด่าง (ความเป็ น
กรด-ด่างประมาณ 9) การใชค้ วามเขม้ ขน้ สูงเกินไปอาจเป็ นอนั ตรายกบั ลกู กงุ้ และยงั มีผลต่อแพลงก์

ตอนพืชในบ่อคือทาใหแ้ พลงกต์ อนพืชตาย เกษตรกรบางรายจึงนามาใชใ้ นการควบคุมสีน้า
(7) ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (Hydrogen Peroxide) เป็ นสารละลายใส

ความเขม้ ขน้ จากโรงงานประมาณ 50% มีคุณสมบตั ิเป็ นกรดออ่ น และเป็ นสารออกซิไดซ์ที่รุนแรง
สามารถ ละลายน้าและและลายในตวั ทาละลาย เช่น อลั กอฮอล์ เกษตรกรนิยมใช้ไฮโดรเจนเปอร์
ออกไซดค์ วามเขม้ ขน้ 1-2 ส่วนในลา้ นส่วน ในการป้องกนั และรักษาโรคที่เกิดจากโปรโตซวั และ
แบคทีเรียในนากุง้ บางคร้ังนามาใช้ควบคุมการเจริญเติบโตของสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน ถา้ มี
สารอินทรียใ์ นบ่อมาก ประสิทธิภาพของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซดจ์ ะลดลง นอกจากน้ีไฮโดรเจน
เปอร์ออกไซดเ์ มื่อละลายในน้าจะแตกตวั ใหอ้ อกซิเจน เกษตรกรบางรายจึงนามาใชเ้ พ่ิมออกซิเจนใน
ระหวา่ งการขนส่งลูกสตั วน์ ้า

(8) กลูตารัลดิไฮด์ (Glutaraldehyde) เป็นสารละลายใส ไม่มีสี ไม่มกี ล่ิน
ความเขม้ ขน้ 1-2 ส่วนในลา้ นส่วน ใชร้ ักษาโรคท่ีเกิดจากแบคทีเรีย โปรโตซวั เช่น ซูโอแทมเน่ียม
ไวรัส และเช้ือรา ท้งั ในรูปเซลลป์ กติ และสปอร์ ออกฤทธ์ิตรงตาแหน่ง amine group ของผนงั เซลล์
เกษตรกรนิยมใช้กลูตารัลดิไฮด์ในบ่อปูน มากกว่าบ่อดิน เน่ืองมาจากกลูตารัลดิไฮด์ไม่ค่อยมี

ประสิทธภิ าพในการปรับปรุงคณุ ภาพนา้ เหมือนสารเคมชี นิดอื่น
อย่างไรก็ตาม การใช้ยาและสารเคมีที่ใชใ้ นการเพาะเล้ียงสัตวน์ ้าน้ัน มี

หลายหน่วยงานเขา้ มาเกี่ยวข้อง กรณีท่ีมีสรรพคุณเป็ นยาโดยตรง ก็จะมีสานกั งานคณะกรรมการ
อาหารและยาเป็นผรู้ ับผดิ ชอบในการจดทะเบียน กรณีที่เป็นสารเคมี และวตั ถุอนั ตรายบางชนิด กรม
ประมงเป็ นผรู้ ับพิจารณาในเรื่องการรับจดทะเบียนแนวทางการควบคุมสารเคมีแต่ละชนิดท่ีใชใ้ น

การเล้ียงสัตวน์ ้า นอกจากน้ียงั มีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ในเร่ืองของวตั ถุอนั ตรายซ่ึงกรม
โรงงานอุสาหกรรมเป็ นผูด้ ูแลรับผิดชอบ ดังน้ัน จึงต้องศึกษาประกาศให้ดี เน่ืองจากมีการ
เปล่ยี นแปลงอยเู่ สมอ

6. สุขอนามยั ฟาร์ม

ปัจจุบนั ผลผลิตกุง้ โลกเพิ่มข้ึนเนื่องจากประเทศผผู้ ลิตกุง้ เพื่อส่งออกมีมากข้ึน และจากการ
นากุง้ ขาวเขา้ มาเล้ียงทาให้ผลผลิตกุง้ เพิ่มมากข้ึน ทาให้ตลาดเป็ นของฝ่ ายประเทศผซู้ ้ือ อานาจการ
ต่อรองของฝ่ ายประเทศผูซ้ ้ือเพ่ิมข้ึนต่อเนื่องตามปริมาณผลผลิต ประเทศผูซ้ ้ือ เช่น สหรัฐอเมริกา
กลุ่มประเทศอียู ญี่ป่ ุนและ ประเทศผูซ้ ้ืออ่ืนๆ ได้เพ่ิมการคานึงถึงความปลอดภัยของผูบ้ ริโภค
คุณภาพกงุ้ และสุขอนามยั ของฟาร์มจึงไดถ้ กู นามาเป็นเงื่อนไขประกอบการส่งสินคา้ ออก เช่น สินคา้
ประมงท่ีส่งออกไปยงั อยี ูจะตอ้ งไดร้ ับการรับรองว่าเป็ นไปตามมาตรฐานที่กาหนดไวใ้ นทุกข้นั ตอน
ต้งั แต่แหล่งวตั ถุดิบตลอดห่วงโซ่การผลิตไปจนถึงมือผบู้ ริโภค ดงั น้ัน เกษตรกรไทยจึงควรเขา้ ใจ

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 56

วิธีการผลิตกงุ้ ที่มีสุขอนามยั ดี เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลผลติ ที่มีคุณภาพถกู สุขอนามยั เพื่อใหส้ ามารถสร้างความ
มนั่ ใจและรักษาตลาดในประเทศคู่คา้ ท่ีมีความตอ้ งการบริโภคสินคา้ กงุ้ ในมาตรฐานที่สูงข้ึน

6.1 สุขอนามยั ฟาร์มในระหว่างเล้ียง
6.1.1 คุณภาพน้าเขา้ และบ่อพกั น้า เลือกสูบน้าเขา้ ในช่วงท่ีแหล่งน้ามีคุณภาพดี การ

สูบน้าในช่วงตน้ ฤดูฝนท่ีฝนตกใหมๆ่ ควรระวงั ไม่สูบน้าท่ีมีการชะลา้ งยาฆ่าแมลง ป๋ ุยและสารเคมี
จากการทาการเกษตรอน่ื ๆ เขา้ สู่ฟาร์ม บ่อพกั น้าตอ้ งตอ้ งไมห่ มกั หมม จน เป็นแห่งสะสมสารอนิ ทรีย์
และเช้ือโรคกุง้ ควรมีการทาความสะอาดหรือเติมอากาศ เม่อื พบวา่ น้าที่เก็บไวใ้ นบ่อพกั น้าเน่าเสียง่าย

6.1.2 การใชเ้ ครื่องมอื และอปุ กรณ์ ควรติดต้งั เคร่ืองมือในฟาร์มในลกั ษณะท่ีมีความ
ปลอดภยั ในการใชง้ าน อุปกรณ์ท่ีไม่ใชค้ วรเกบ็ ใหเ้ ป็นระเบียนเรี ยบร้อย ไม่ทิ้งไวใ้ นลกั ษณะที่ไม่มี
การดูแลหรือท้ิงกีดขวางพ้ืนที่ปฏิบตั ิงานประจาวนั เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ชารุดควรมีการซ่อมแซม
โดยเร็ว เพื่อสามารถนากลบั มาใชห้ รือสารองการใชง้ าน บริเวณท่ีเก็บอุปกรณ์ควรมีความสะอาด
เป็นระเบียบ เพอื่ ความสะดวกเวลา คน้ หา หรือ นาอปุ กรณ์กลบั ไปใชใ้ หม่

6.1.3 ความสะอาดของที่พกั และบริเวณฟาร์ม บริเวณฟาร์มควรมีความสะอาดที่
เหมาะสมสาหรับการปฏิบตั ิงานในฟาร์ม และทาใหเ้ กิดสภาพแวดลอ้ มที่ดี ดูแลความสะอาดบริเวณ
ที่ต้งั เคร่ืองเพิ่มอากาศ เพื่อไม่ใหน้ ้ามนั เคร่ืองหรือเช้ือเพลิงหกลงปนเป้ื อนขอบบ่อ และภายในบ่อ
โดยเฉพาะในระหว่างเล้ียง คนั บ่อไม่ควรจะรกจนทาให้ไม่สะดวกและไม่ปลอดภัยต่อการเดิน
ปฏิบตั ิงานประจาวนั

6.1.4 สุขอนามยั ของคนงานในฟาร์ม คนงานที่เล้ยี งกุง้ ควรมีสุขภาพแข็งแรง เพราะทา
ใหก้ ารปฏิบตั ิงานมปี ระสิทธิภาพและความปลอดภยั ในกรณีคนงานป่ วยในระว่างการปฏิบตั ิงานควร
จดั ใหม้ ีการรักษาและพกั ผ่อนจนหายป่ วยแลว้ ค่อยกลบั มาปฏิบัติงานใหม่ คนงานท่ีป่ วยเป็ นโรค
ทางเดินอาหารไม่ควรปฏิบตั ิงาน เล้ียงกุง้ หรือลงไปปฏิบตั ิงานในบ่อเล้ียงกุง้ เพราะทาให้เกิดการ
ปนเป้ื อนเช้ือทางเดินอาหารไดง้ ่าย

6.1.5 การใชป้ ัจจยั การผลิต การใช้ปัจจัยการผลิตที่อาจเป็ นอนั ตราย เช่น ยา และ
สารเคมี ต้องปฏิบัติตามวิธีการที่กาหนดไวใ้ นฉลากอย่างเคร่ งครัด ไม่ว่าจะเป็ นการเก็บ การ
เคลอื่ นยา้ ย การผสม และการเจือจาง ตอ้ งทาไปในลกั ษณะที่ไม่ก่อใหเ้ กิดอนั ตราย มีความระมดั ระวงั
และป้องกนั การสมั ผสั การหายใจ การปนเป้ื อน ภาชนะ หรือถุงบรรจุหลงั จากใชแ้ ลว้ ตอ้ งมีการท้ิง
อยา่ งเหมาะสม ในสถานท่ีท่ีปลอดภยั และไมท่ ้ิงลงสู่แหลง่ น้าสาธารณะ

6.1.6 สัตวท์ ี่อาจเป็ นพาหะของโรค ตอ้ งมีการดูแลความสะอาดของพ้ืนที่ในฟาร์ม
โดยเฉพาะบริเวณเก็บอาหาร ไม่ใหเ้ ป็ นที่อยอู่ าศยั หรือท่ีหากินของสตั วท์ ี่อาจเป็นพาหะของโรค เช่น
หนู แมว ฯลฯ ซ่ึงจะทาใหเ้ กิดความเสียหายกบั อาหารกงุ้ ที่นามาสารองการใชง้ านในฟาร์ม เกษตรกร
ตอ้ งดูและรักษาความสะอาด ป้องกนั หรือแกไ้ ขปัญหาในกรณีที่พบว่ามีซาก มูลหรือ ตวั สตั วพ์ าหะ
ของโรค เพ่ือสุขอนามยั ของการอยอู่ าศยั ของคนงานและสุขอนามยั ในการจดั การเล้ียงกงุ้

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 57

6.1.7 การกาจดั ขยะมลู ฝอย ภาชนะบรรจุปัจจยั การผลิตท่ีใชแ้ ลว้ ตอ้ งมีการเก็บ และท้ิง
ใหเ้ ป็ นท่ีเป็นทาง ไมท่ ้ิงในคูระบายน้า เพราะจะทาให้อดุ ตนั หรืออาจจะปนเป้ื อน ลงสู่แหลง่ น้า และ
มีการสูบกลบั มาใชใ้ นฟาร์มอีกคร้ัง ขยะสดจากการทาอาหารควรมีการทิ้งและกลบฝ่ังใหม้ ดิ ชิด ขยะที่
ทิ้งควรมรี ะยะเวลาในการกาจดั หรือขนยา้ ยออกนอกฟาร์มสมา่ เสมอ

6.1.8 สุขอนามยั ในระบบน้าทิ้ง ควรมีการความสะอาด ควรมีการบาบดั น้าทิ้ง และ
การปนเป้ื อนเช้ือโรค สารเคมี และน้ามนั เช้ือเพลิง ดูแลเพื่อป้องกนั ไมใ่ หม้ ีการแพร่กระจายของสิ่ง
ปนเป้ื อนดงั กล่าวในระบบน้าทิ้ง ซ่ึงเช่ือต่อกบั แหล่งน้าโดยตรง

6.2 สุขอนามยั ในการป้องกนั โรคระบาดในฟาร์ม
เมือ่ เกิดปัญหาการติดเช้ือโรคกุง้ ข้ึนในฟาร์ม และไม่มีการแกไ้ ขปัญหาอยา่ งทนั ท่วงที

เช้ือโรคมกั ระบาดและแพร่ขยายออกไปในวงกวา้ ง เกษตรกรควรเขา้ ใจวิธีการแพร่ระบาดของโรคที่
เกิดในกุง้ ดงั ต่อไปน้ี

6.2.1 วิธีการแพร่ระบาดโรคกงุ้ การแพร่ระบาดของโรคกุง้ น้นั สามารถติดต่อไดห้ ลาย
ทาง

(1) ติดต่อจากตัวกุง้ เอง เช่นกรณีใช้พ่อแม่พนั ธุ์ที่มีเช้ือชนิดต่างๆ อยู่
โดยเฉพาะเช้ือไวรัสที่สมารถถา่ ยทอดมายงั ลูกได้ หลายชนิด เข่น โรคตวั แดงดวงขาว โรคทอร่า โรค
ไอเอชเอชเอน็ วี เป็นตน้

(2) ติดต่อโดยสัตวน์ ้าชนิดต่างๆ เป็ นพาหะของโรค เช่น กุง้ ปู ปลา และ
หอย หรือแพลงตอนสตั วบ์ างชนิด

(3) ติดต่อโดยสตั วบ์ กชนิดต่างๆ เช่น สุนขั นก ท่ีลงมาเล่นน้าหรือกินกงุ้ ท่ี
ป่ วย

(4) ติดต่อโดยอปุ กรณ์ ต่างๆ ที่ใชร้ ่วมกนั ในฟาร์ม เป็นตน้ วา่ สวงิ แห ท่อ
สายยาง เป็นตน้

(5) ติดต่อจากอาหารที่ให้กุ้งกิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารเม็ดที่มีใช้
เปลือกหรือวตั ถุดิบจากกงุ้ ท่ีเป็นโรคไวรัส อาหารสดท่ีเก็บรักษาไมด่ ีมีเช้ือแบคทีเรียหรือพยาธิติดอยู่
ดว้ ย เช่น หอยกะพงที่มพี ยาธิซูโอแทนเนียม เป็นตน้

(6) ติดต่อจากคน เช่นผูเ้ ล้ียง หรือผูท้ ี่เข้ามาติดต่อในฟาร์ม ถา้ หากไม่
ระมดั ระวงั หรือไมม่ ีความรู้เร่ืองสุขอนามยั ฟาร์ม ก็สามารถแพร่เช้ือไปสู่อีแหล่งหน่ึงได้ เช่น คนงาน
ที่ดาน้าลงไปตรวจสภาพกน้ บ่อที่เป็ นโรค แลว้ ลงไปสารวจบ่อติดกนั โดยไม่ไดท้ าความสะอาดตวั
ก่อน หรือคนงานท่ีเดินทางออกไปฟาร์มหรือพ้นื ที่ท่ีมีโรคระบาด แลว้ กลบั มาปฏิบตั ิงานทางานใน
บ่อทนั ที โดยไมท่ นใจในการทาความสะอาดเพอ่ื ป้องกนั ไมใ่ ห้เช้ือเขา้ ไปในฟาร์ม

6.2.2 การลดและป้องกนั การระบาดของโรค กรณีที่กงุ้ ป่ วยเป็ นโรคร้ายแรงและเพ่ือ
การป้องกนั ไมใ่ หโ้ รคมกี ารแพร่ระบาดของโรค อาจทาไดด้ งั น้ี

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 58

(1) กรณี ท่ี โรคไม่ร้ายแรงมากนัก สามารถใช้ระบบ การจัดการ
(biosecurity) ของฟาร์ม ควบคู่กบั การดูแลสุขอนามยั พ้ืนฐานของฟาร์ม เพื่อลดความเป็ นโรค และ
ควบคุมดูแลจนโรคสามารถหายไปได้

(2) กรณีที่กุง้ ป่ วยเป็ นโรคร้ายแรงและเพื่อการป้องกันไม่ให้โรคมีการ
แพร่ระบาดของโรคจากบ่อหน่ึงไปสู่อีกบ่อหน่ึง ไปสู่ฟาร์มอื่นน้นั นอกจากจะใชร้ ะบบขา้ งตน้ แลว้
ยงั ตอ้ งมีข้นั ตอนการกาจดั เช้ือ กาจดั กุง้ ท่ีเป็ นโรค กาจัดพาหนะ ก่อนปล่อยออกสู่ภายนอก โดยมี
ข้นั ตอนมดี งั น้ี

1) การจดั การฟาร์ม บ่อควรแบ่งเป็ นโซน มีทางน้าเขา้ ออกคนละ
ทาง มีบ่อพกั น้าเพียงพอ แยกเป็ นสดั ส่วน มีการก้นั บริเวณเพื่อมิให้สัตวท์ ่ีเป็ นพาหนะเขา้ มาถึงบ่อ
เล้ียงท้งั ภาคพ้ืนดินและทางอากาศ รวมถึงการสร้างส่ิงกีดขวางตามธรรมชาติ เช่น ป่ ารอบฟาร์ม คู
รอบฟาร์ม เพ่ือมิใหผ้ ทู้ ่ีไมเ่ ก่ียวขอ้ งเขา้ มาในบริเวณฟาร์ม หรือป้องกนั ลมที่อาจเป็นสื่อเหน่ียวนาโรค
เป็ นตน้

2) อุปกรณ์เครื่องมือมีความพร้อม ผ่านการทาความสะอาดและ
แตกแหง้ มาแลว้ เป็นอยา่ งดี

3) การเตรียมบ่อเล้ยี ง มีการแตกแหง้ เพอ่ื ฆา่ เช้ือโดยแสงแดด หรือ
การใชว้ สั ดุปูนเพอ่ื ปรับค่าความเป็นกรดด่างของพ้นื และใชฆ้ ่าเช้ือไดบ้ างส่วน

4) ควรมีการกรองน้าเขา้ ดว้ ยอวนตาถ่ีหลายๆ ช้นั ก่อนเขา้ บ่อพกั
น้า เพื่อกรองพาหนะที่สามารถนาเช้ือ มิใหห้ ลุดรอดเขา้ มาในฟาร์ม และ อาจกรองอีกคร้ังก่อนเขา้ บ่อ
หรืออาจใชส้ ารเคมใี นการกาจดั เช้ือโรคและพาหนะ

5) การเตรียมน้าก่อนท่ีจะปล่อยลูกกุง้ ตอ้ งมีคุณสมบตั ิเหมาะสม
สะอาดปราศจากเช้ือโรคร้ายแรง มีการตกแต่งคุณภาพน้าหรือใชส้ ารเคมีท่ีเหมาะสมในการฆ่าเช้ือ
โรค

6) ลูกกุง้ ที่จะนามาปล่อยควรจะผา่ นการตรวจรับรองการปลอด
โรคร้ายแรง และมีสุขภาพแข็งแรง และมีอตั ราการปลอ่ ยท่ีเหมาะสม

7) ในระหว่างการเล้ียง นอกจากจะหมน่ั ตรวจสุขภาพกุ้งและ
คุณภาพน้าประจาวนั แลว้ ตอ้ งระวงั รักษาสุขอนามยั ฟาร์มสมา่ เสมอ

8) หากมกี ารติดเช้ือที่ไม่ร้ายแรง เช่นติดเช้ือแบคทีเรียเรืองแสง ก็
ให้มีการควบคุมการให้อาหารท่ีเหมาะสม ควบคุมคุณภาพน้า ปริมาณแพลงตอน ใชส้ ารเคมี หรือ
จุลินทรียท์ ่ีไม่เป็ นโทษควบคุมปริมาณเช้ือ ควบคุมการให้อากาศท่ีเหมาะสมและไม่แพร่กระจาย
ระหวา่ งบ่อ ควบคุมการเขา้ ออกบ่อของผดู้ ูแล เป็นตน้

9) หากมีการติดเช้ือร้ายแรง เมอื่ วิเคราะห์สาเหตุไดช้ ดั เจนแลว้ ไม่
สามารถจดั การควบคุมการเกิดโรคได้ ก็ตอ้ งมีการกาจดั กุง้ ท่ีติดเช้ือ รวมท้งั การฆ่าเช้ือในบ่อ รวมถึง

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 59

บริเวณโดยรอบ ดว้ ยสารเคมี ไดแ้ ก่ คลอรีน หรือฟอร์มาลิน โดยกกั กนั อยใู่ นบริเวณน้ัน จนกว่าจะ
แน่ใจ จึงจะปล่อยน้าน้ันออกจากโซนและฟาร์ม หลงั จากน้ันต้องทาความสะอาด ฆ่าเช้ือบ่อเล้ียง
เครื่องมอื อุปกรณ์เป็ นอยา่ งดีอีกคร้ัง รวมถงึ การปิ ดก้นั มิใหผ้ ทู้ ่ีดูแลบ่อน้นั ๆ เดินเขา้ ออกโซนอ่ืน โดย
ปราศจากการทาความสะอาดตวั และมกี ารฆ่าเช้ือเป็นอยา่ งดี

6.3 สุขอนามยั ในการใชย้ าและสารเคมี
เน่ืองจากปัญหายาปฏิชีวนะตกคา้ งในสินค้าสัตว์น้ าส่งออก ประเทศน้ าเข้าแต่ละ

ประเทศจึงมกี ฎหมายควบคุมเก่ียวกบั การผลิต การใช้ ตลอดจนการติดตามปัญหาการตกคา้ งของยา
สตั วใ์ นอาหารเพือ่ คุม้ ครองผบู้ ริโภคภายในประเทศ ในบางประเทศมีกฎหมายท่ีเขม้ งวดและเคร่งครัด
ในการข้ึนทะเบียนยาตลอดจนสารเคมีชนิดต่างๆ ที่อนุญาตให้ใชใ้ นสัตวท์ ่ีเล้ียงเพื่อเป็ นอาหาร โดย
จะตอ้ งมีขอ้ มลู การศึกษาเก่ียวกบั ตวั ยาน้นั ๆ ต้งั แต่ขอ้ มูลทางเภสชั จลนศาสตร์ การขบั ถ่ายของยา การ
เกิดเมตาบอลิซึมของยาในร่างกายสัตวแ์ ต่ละชนิด การกาหนดระยะปลอดยาในสัตว์แต่ละชนิด
ตลอดจนขอ้ มูลการศกึ ษาเกี่ยวกบั การเป็นพษิ และฤทธ์ิอนั ไมพ่ งึ ประสงคท์ ี่อาจเกิดข้ึนหลงั จากที่ไดร้ ับ
ยาไปนานๆ

6.3.1 ยาที่ไม่อนุญาตให้ใชร้ ักษาโรคในการเพาะเล้ียงสัตว์น้า กฎหมายของแต่ละ
ประเทศที่ได้กาหนดข้ึนมาเพื่อใช้ควบคุมและป้องกันปัญหาการตกค้างของยาสัตว์น้ัน มีความ
แตกต่างกนั ในแต่ละประเทศ อีกท้งั เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงและกา้ วหนา้ ไปอยา่ งรวดเร็ว วธิ ีท่ี
ใชก้ ารตรวจวิเคราะหก์ ็มกี ารคน้ ควา้ เพ่อื ใหต้ รวจจบั สารไดใ้ นปริมาณต่าๆ มคี วามไวสูงในการตรวจ

พบ จึงมีความเขม้ งวดข้ึนเรื่อยๆ ปัจจุบนั ก็มีขอ้ กาหนดมาตรฐานอาหารระหวา่ งประเทศข้ึนเพื่อให้
เกิดความเป็นธรรมท้งั ผผู้ ลติ และผสู้ ่งออก

ประเทศไทยต้งั แต่ปี 2544 หลงั จากตรวจพบยาคลอแรมตกคา้ งในกุง้ แช่แข็ง
เป็นเหตุใหป้ ระเทศผนู้ าเขา้ มีความเขม้ งวดในสินคา้ ส่งออกของไทยเป็ นตน้ มา และเพิ่มการตรวจเขม้
ยากลุ่มไนโตรฟแู รน ในปี ต่อมา และคาดวา่ จะมีการเพ่ิมการตรวจยาอกี หลายชนิดมากข้ึนในอนาคต
ประเทศไทยเองก็ให้ความสาคญั เรื่องน้ีเช่นกัน ในปี 2545 ไดม้ ีประกาศสานักงานคณะกรรมการ
อาหารและยาเพิ่มเติม เร่ืองของยาที่หา้ มใชใ้ นสตั วท์ ่ีใชเ้ พ่อื การบริโภค รายชื่อเภสชั เคมีภณั ฑต์ อ้ งหา้ ม
ท่ีไม่อนุญาตให้ใช้ในการเพาะเลยี้ งกุง้ มดี งั ต่อไปน้ี

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 60

ตาราง เภสชั เคมีภณั ฑต์ อ้ งหา้ มที่ไม่อนุญาตให้ใช้ในการเพาะเลยี้ งกงุ้

1) อริสโตโลเซีย (Aristolochia spp.) 10) ฟลโู อโรควโิ นโลน (Fluoroquinolones)
2) คลอแรมฟี นิคอล (Chloramphenical) 11) ไกลโคเปปไตด์ (Glycopeptides)
3) คลอโรฟอร์ม (Chloroform) 12) ไดมไี ตรดาโซล (Dimetridazole)
4) คลอโปรมาซีน (Chlorpromazine) 13) เมโทรนิดาโซล (Metronidazole)
5) คอลชิซิน (Colchicin) 14) โรนิดาโซล(Ronidazone)
6) เดปโซน (Dapsone) 15) อิโพรนิดาโซล(Ipronidazone)
7) ไนโตรฟแู รน (Nitrofurans) 16) ไนโตรอมิ ิดาโซล (Nitroimidazones)
8) ไดเอธิลสติลเบสโทรล (Diethylstilbestrol) 17) ซลั บิวทามอล(Salbutamol)
9) ซลั โฟนาไมด์ (Sulfonamides) 18) เคลนบูเทอรอล(Clenbuterol)

ขอ้ มูลจาเพาะของยาปฏิชีวนะที่ไม่อนุญาตให้ใชใ้ นการเพาะเล้ยี งสตั วน์ ้า ชนิด

สาคญั ท่ีเกษตรกรควรรู้คือ

(1) คลอแรมฟี นิคอล

1) เป็ นยาปฏิชีวนะท่ีใชร้ ักษาโรคท้งั ในคนและสัตวม์ านานแลว้

ปัจจุบนั ยงั ใชไ้ ดผ้ ลดี และราคาถกู

2) ยาชนิดน้ีอาจทาให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดร้ายแรง จึงมีการ

จากดั การใช้

3) คาสัง่ กระทรวงสาธารณสุขท่ี 678/2531 ลงวนั ที่ 21 ธ.ค. 2531

เพิกถอนทะเบียนตารับยาคลอแรมฟี นิคอลที่ใชส้ าหรับสัตวท์ ่ีนามาบริโภค คงใชไ้ ดเ้ ฉพาะสตั วท์ ่ีมไิ ด้

นามาบริโภค เช่น สุนขั แมว เป็นตน้

4) กระทรวงสาธารณสุขมีประกาศ ฉบับที่ 250 พ.ศ. 2545 เร่ื อง

มาตรฐานกงุ้ และกงุ้ แปรรูป โดยกาหนดว่ากงุ้ และกงุ้ แปรรูปตอ้ งมีมาตรฐานโดย ตรวจไมพ่ บสารคลอ

แรมฟี นิคอลและเกลือของสารน้ี

(2) ไนโตรฟแู รนส์

1) เป็ นสารก่อมะเร็ง ถูกยอ่ ยสลายเร็วมาก ภายใน 2-3 ชม. แต่จะ

คงรูปโดยจบั กบั เน้ือเยอ่ื อยนู่ านมาก การตรวจจบั จะตรวจโดยวิธี LC/MS/MS

สารกลุ่มน้ีไดแ้ ก่

- ไนโตรฟรู าโซน เป็น เซมิคาร์บาไซด์ (SEM)

- ฟูราโซลิโดน เป็ น 3-อะมิโน-2-ออกซาโซลิโดน

(AOZ)

- ไนโตรฟแู รนโตอนิ เป็นอะมิโนไฮแดนโตอนิ (AHD)

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 61

- ฟูรัลตาโดน เป็ น 5-เมทธิลมอโฟลิโน-3-อะมิโน-2-
ออกซาโซลิโดน (AMOZ)

6.3.2 ขอ้ ควรคานึงในการเลือกใชย้ า สตั วเ์ ล้ียงในกลมุ่ กุง้ น้นั ยงั มีการศึกษาการใชย้ า
ปฏิชีวนะในการรักษาโรคไม่มากนัก และเนื่องจากเป็นกลุ่มสัตวน์ ้าที่มีการเติบโต และเปล่ียนแปลง
อยา่ งรวดเร็ว ดงั น้นั การใชย้ าท่ีไมถ่ ูกตอ้ งเหมาะสม อาจทาใหเ้ กิดผลเสียหายและเกิดอนั ตรายไดจ้ าก
พิษของยาโดยตรง เช่น การด้ือยา เกิดข้ึนในแบคทีเรีย เพราะเป็ นสิ่งมีชีวิตท่ีมีการเจริญเติบโต
ขยายพนั ธุเ์ ร็ว และในกระบวนการขยายพนั ธุข์ องแบคทีเรีย มกั เกิดการกลายพนั ธุ์ เกิดความสามารถ
ในการด้ือยา ในระยะยาวทาใหไ้ ม่สามารถใชย้ าชนิดน้นั ในการรักษาโรคได้ และหา้ มอาหารท่ีผสมยา
ปฏิชีวนะสาเร็จในการเล้ียงกุง้ เพราะทาใหเ้ กษตรกรไม่สามารถควบคุมปัญหายาปฏชิ ีวนะตกคา้ งใน
กงุ้ และอาจทาใหเ้ กิดการด้ือยาของเช้ือแบคทีเรียอีกดว้ ย

การตกคา้ งของยาสตั ว์ (drug residues) หมายถงึ การท่ีตรวจพบไดว้ ่ามียาสะสม
อยูใ่ นส่วนหน่ึงส่วนใดของร่างกายสัตวร์ วมท้งั ผลิตภณั ฑจ์ ากสัตวท์ ุกชนิดที่ใชบ้ ริโภค ซ่ึงเน่ืองจาก
สตั วเ์ ล้ียงไดร้ ับยามากเกินไป ไม่ว่ายาน้ันจะอยใู่ นรูปที่ไม่เปล่ียนแปลงหรืออยใู่ นรูปที่เปลี่ยนแปลง
(เมตาบอไลท)์ ไปแลว้ รวมถงึ สารอ่ืนๆใดก็ตามท่ีมีปะปนอยกู่ บั ยาสตั วน์ ้นั ๆ ดว้ ย ถา้ ยาหรือสารเคมีที่
ตกคา้ งอยูใ่ นอาหารท่ีนามาบริโภคน้ันมีปริมาณท่ีสูงจนถึงระดบั หน่ึงก็อาจก่อให้เกิดอนั ตรายต่อ
ผบู้ ริโภคได้ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ถา้ มกี ารบริโภคอาหารจากเน้ือสตั วแ์ ละผลิตภณั ฑ์ท่ีมียาหรือสารเคมี
ตกคา้ งอยเู่ ป็นประจา

ยาและสารเคมีที่ใชใ้ นการเพาะเล้ียงสัตวน์ ้า บางชนิดสามารถสะสมในเน้ือกุง้
และอาจเป็ นอนั ตรายหรือถูกต้งั เป็นขอ้ รังเกียจของผบู้ ริโภคที่ตอ้ งการสินคา้ ที่ผลิตดว้ ยกระบวนการ
ผลิตที่มีความปลอดภัย นอกจากน้ียาและสารเคมีหลายชนิดตกคา้ งอยู่ในน้าทิ้งในระยะยาวเป็ น
อนั ตรายต่อระบบนิเวศของแหล่งน้าธรรมชาติ การลดการใชย้ าและสารเคมีนอกจากเป็ นการเพ่ิม
คุณภาพที่ดีของส่ิงแวดลอ้ มแลว้ ยงั เป็ นการประหยดั ตน้ ทุนการเล้ียงกุง้ ดว้ ย ดงั น้นั การป้องกนั โรค
ควรเนน้ การจดั การใหก้ ุง้ กินอาหารท่ีครบถว้ นและอยใู่ นสภาพแวดลอ้ มที่ดีเพ่อื ให้กงุ้ แข็งแรงดีกว่า
ปลอ่ ยใหก้ งุ้ เป็นโรคแลว้ จึงมารักษา

ในส่วนของกรมประมง เกษตรกรผเู้ ล้ียงกุง้ ก่อนที่จะผา่ นมาตรฐานการเล้ยี งกุง้
จีเอพี ตอ้ งผา่ นการตรวจวตั ถุดิบกงุ้ จากหน่วยตรวจสอบวตั ถดุ ิบสตั วน์ ้า ซ่ึงจะทาการตรวจยาปฏิชีวนะ
ท้งั หมด 3 ชนิด ไดแ้ ก่ ออกซ่ีเตตร้าซลั คลนิ ออกโซลนิ ิค แอซิด ดว้ ยวธิ ี HPLC ซ่ึงเป็นยาที่อนุญาตให้
ใชไ้ ด้ แต่ตอ้ งมีระยะหยดุ ยาไม่นอ้ ยกวา่ 21 วนั และเม่ือนามาตรวจตอ้ งตรวจไมพ่ บหรือไม่เกิน 0.1
พพี เี อม็ และคลอแรมฟิ นิคอล ซ่ึงเป็นยาท่ีหา้ มใชโ้ ดยเดด็ ขาด เน่ืองจากเป็นยาอาจทาใหเ้ กิดโรคโลหิต

จางชนิดร้ายแรง ดว้ ยวิธี ELISA ซ่ึง ตรวจไดไ้ ม่เกิน 0.3 พีพีบี จึงจะผา่ นและไดร้ ับมาตรฐานฟาร์ม
และจะมกี ุง้ ที่ผา่ นจีเอพี ส่วนหน่ึงท่ีถูกสุ่มเพ่ือตรวจสารเมตาบอไลทข์ องกลุ่มยาไนโตรฟูแรนส์ ดว้ ย

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 62

เหตุท่ีเป็ นสารก่อมะเร็งและอาจก่อใหเ้ กิดมิวเตชน่ั ของยนี ดว้ ยวธิ ี LC-MS-MS พร้อมกบั ตรวจมาลา
ไคทก์ รีนและลิวโคมาลาไคทด์ ว้ ยวิธีเดียวกนั อีกดว้ ย

6.4 สุขอนามยั ดา้ นการปนเป้ื อนเช้ือ
6.4.1 สตั วเ์ ล้ยี งในฟาร์ม เกษตรกรหรือคนงานหลายรายนิยมเล้ยี งสตั ว์ เช่น เป็ดไก่ ววั

หมา ฯลฯ ในบริเวณฟาร์ม คันบ่อ หรือบ้านพกั คนงานท่ีอยู่ในบริเวณฟาร์มเล้ียงกุง้ เพราะว่าส่ิง
ขบั ถา่ ยของสตั วเ์ ล้ยี งอาจมีเช้ือโรคทางเดินอาหารที่อาจติดต่อถึงคน ส่ิงขบั ถ่ายน้ีถกู ถา่ ยในเลา้ หรือบน
คนั บ่อเมือ่ ฝนตกหรือลมพดั เช้ือโรคเหล่าน้ีอาจปนเป้ื อนลงไปสู่บ่อเล้ยี งได้ ทาใหเ้ กิดขอ้ รังเกียจ และ
กระวนการผลิตที่ไมม่ คี ุณภาพ

6.4.2 หอ้ งน้าห้องส้วม การขบั ถา่ ยและชาระลา้ งร่างกายของเกษตรกร ตอ้ งดูแลใหม้ ี
สุขอนามยั ท่ีดี เพือ่ ป้องกนั ไม่ใหม้ กี ารปนเป้ื อนเช้ือโรค โดยเฉพาะจากสิ่งขบั ถ่ายของมนุษยล์ งไปใน
บ่อเล้ียง ไม่สร้างหอ้ งสว้ มบนคนั บ่อ ในกรณีที่มีการสร้างหอ้ งน้าในบริเวณฟาร์มตอ้ งกาหนดพ้ืนที่ท่ี
ห่างไกลบ่อเล้ียงกุง้ และระบบน้าเขา้ บ่อพกั น้า เกษตรกรควรสร้างระบบเก็บส่ิงปฏิกูลท่ีมีความ
แขง็ แรงไม่ร่ัวซึม และมมี ีทางระบายน้าอนั อาจจะไหลลงสู่บ่อเล้ยี งได้

7. การเกบ็ เกย่ี วผลผลติ และการขนส่ง

การเกบ็ เกี่ยวผลผลติ และการขนส่งเป็นข้นั ตอนสุดทา้ ยในการผลิตกงุ้ คุณภาพ นอกเหนือจาก
กระบวนการผลติ ที่มีความปลอดภยั ในระหว่างเล้ยี งแลว้ กระบวนการท่ีปลอดภยั ในระหว่างการจบั
และขนส่งกุ้งไปยงั โรงงานแปรรูปก็มีความสาคัญเช่นกัน เพราะหลังจากน้ีกุ้งที่เล้ียงจะผ่าน
กระบวนการแปรรูปเป็นผลติ ภณั ฑร์ ูปแบบต่างๆ ก่อนการส่งไปขายใหก้ บั ผบู้ ริโภค กระบวนการจบั
และขนส่งที่ดีช่วยทาใหก้ ุง้ อยใู่ นสภาพท่ีสด มีคุณภาพสูง สะอาด ปลอดภยั เหมาะกบั การบริโภค กุง้
ที่มคี ุณสมบตั ิเหลา่ น้ีเป็นที่ตอ้ งการของผบู้ ริโภค และทาใหเ้ กษตรกรไดร้ ับผลตอบแทนจากการเล้ียงท่ี
น่าพึงพอใจ ซ่ึงมขี ้นั ตอนดงั ต่อไปน้ี

7.1 การเตรียมความพร้อมก่อนจบั กงุ้
ปัจจุบนั เกษตรกรจาเป็ นตอ้ งใหค้ วามสาคญั กบั การเตรียมความพร้อมก่อนจบั กุง้ เพราะ

จะทาใหเ้ กษตรกรทราบว่าตอ้ งจดั การฟาร์มเล้ียงอยา่ งไร เพ่ือใหพ้ ร้อมที่จะขายผลผลติ กุง้ ที่มคี ุณภาพ
ส่งไปยงั โรงงานไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว สิ่งที่ตอ้ งเตรียมก่อนการจบั กงุ้ ประกอบดว้ ยกระบวนการตรวจสอบ
คุณภาพของกุง้ ที่เล้ยี ง เพ่ือใหเ้ ป็ นไปตามมาตรฐานที่เกษตรกรต้งั ไว้ มาตรฐานสากลในการส่งกุง้ ไป
ขายยงั ตลาดต่างประเทศ เตรียมเอกสารจาเป็นสาหรับการซ้ือขายกงุ้ และความพร้อมในการตรวจสอบ
ยอ้ นกลบั การเตรียมความพร้อมล่วงหนา้ หากเกษตรกรพบว่ากุง้ ท่ีเล้ียงยงั มีคุณภาพไม่เป็ นไปตาม
มาตรฐานที่กาหนด เกษตรกรยงั มีเวลาเพยี งพอในการแกไ้ ขปัญหาในระหว่างกงุ้ ยงั มชี ีวติ อยู่

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 63

เม่ือกุ้งมีอายุไดป้ ระมาณ 3 ถึง 3.5 เดือน ให้ส่งกุง้ ปริมาณประมาณ 1 กก. เพื่อตรวจ
วิเคราะห์ยาตกคา้ งตามที่มาตรฐาน GAP กาหนด ไดต้ ามสถาบนั ฯ/ศูนย/์ สถานีประมง ในสังกัด
สานกั วิจยั และพฒั นาประมงชายฝั่ง เมื่อพบวา่ ผลการตรวจเป็ นไปตามมาตรฐาน เกษตรกรจะตอ้ งเฝ้า
ระวงั ไม่ใหเ้ กิดปัญหาข้ึนในระหว่างเล้ียง เพื่อลดความเสียในการที่จะตอ้ งใชย้ าและสารเคมีในการ
รักษากุง้ เม่ือกุง้ มีขนาดและราคาท่ีเหมาะสมกบั การจบั และมีปัญหาการตายของกงุ้ ในระหว่างเล้ียง
เกษตรกรควรตดั สินใจท่ีจะจบั กุง้ ดีกว่าตดั สินใจใชย้ าและสารเคมีแกไ้ ขก่อนจบั ขาย เพราะถา้ แกไ้ ข
ปัญหาไม่ได้ เกิดการตายกุง้ ในปริมาณมาก กงุ้ ที่จบั อาจจะมยี าตกคา้ งไดส้ ูง ทาใหผ้ ลผลติ กงุ้ ไม่เป็นท่ี
ยอมรับอาจจะถูกปฏิเสธการซ้ือขายได้

กุง้ ที่สุขภาพไม่ดีท่ีสามารถสังเกตไดด้ ว้ ยสายตา เช่นหางกร่อน หรือลาตวั เป็ นแผลจะ
ไมไ่ ดร้ ับการยอมรับจากผบู้ ริโภคและทาใหร้ าคาตก ดงั น้นั เกษตรกรควรดูแลเอาใจใส่ในระหวา่ งการ
เล้ียงเพ่ือให้กุง้ มีลกั ษณะภายนอกท่ีสวยสะอาด เมื่อมีปัญหาในการเล้ียงเกษตรกรจึงควรตดั สินใจ
แกไ้ ขปัญหาใหล้ ลุ ว่ งไปก่อนจบั กงุ้ หรือจบั กงุ้ ทนั ทีก่อนท่ีสภาพกงุ้ ภายนอกเสียหาย

ปัญหากุง้ ตวั นิ่มจะตอ้ งมีการวิเคราะห์ก่อนจบั เพ่ือแกไ้ ขปัญหา ในวนั ที่จบั กุง้ เปลอื กน่ิม
ควรมีนอ้ ยท่ีสุด กาหนดการจบั ตอ้ งจบั กงุ้ หลงั จากลอกคราบ ไปแลว้ ระยะหน่ึงเพื่อให้กุง้ คราบแข็ง
และเน้ือแน่น ทาใหม้ รี าคาดี ปกติกุง้ ขนาด ประมาณ 25-20 กรัม มีระยะเวลาลอกคราบ ประมาณ
10-12 วัน เมื่อพบว่ากุ้งนิ่ม เกษตรกรควรเล้ียงต่อไปอีกสักระยะ และอาจเพ่ิมแร่ธาตุ แคลเซียม
แมกนีเซียมใหก้ งุ้ เพอ่ื ใหเ้ ปลอื กแขง็ แลว้ จึงจบั กงุ้ ขาย

ก่อนการจับกุ้งถ้ามีการใช้ยาปฏิชีวนะหรื อตรวจพบว่ามีตกค้างในเน้ื อกุ้งเกิด
มาตรฐานสากล เกษตรกร ตอ้ งเล้ียงกุง้ ต่อไปอีกระยะเวลา (ประมาณ 3 สปั ดาห)์ ซ่ึงเพียงเพยี งพอใน
การใหก้ ุง้ ที่มีชีวิตอยูข่ บั ยาออกมาใหม้ ากท่ีสุด และก่อนจบั กุง้ ประมาณไมน่ อ้ ยกว่า 3 วนั ไม่ควรใช้
ปัจจยั การผลิตท่ีเป็นสารเคมี ถึงแมเ้ ป็นสารท่ีอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดก้ ็ตามเพอื่ รักษาคุณภาพของกงุ้ ท่ีเล้ยี งให้
ใกลเ้ คียงธรรมชาติที่สุด ระยะเวลาจบั ข้ึนอยกู่ บั สภาพของกุง้ ในบ่อ และราคากุง้

เกษตรกรต้องควรดูความเรี ยบร้อยของเอกสาร และสมุดบันทึกของฟาร์ม และ
ตรวจสอบราคาซ้ือขายของกุง้ เม่ือกาหนดวนั ไดแ้ ลว้ ก่อนจบั เกษตรกรตอ้ งนาเอกสารประกอบการ
ซ้ือขายลกู พนั ธุก์ งุ้ ทะเล ไปติดต่อขอออกเอกสารประกอบการซ้ือขายกงุ้ ทะเล จากหน่วยงานของกรา
ประมง ชมรมหรือ กลุ่มเกษตรกรท่ีได้รับการอนุญาตให้ออกเอกสารดังกล่าวแทนกรมประมง
เกษตรกรจะตอ้ งแจง้ ปริมาณและขนาดของกุง้ ที่ประเมินไดเ้ พ่ือเจา้ หน้าที่จะไดบ้ นั ทึกให้ถูกต้อง
ใกลเ้ คียงกบั ความเป็นจริงมากที่สุด

7.2 วิธีการจบั กงุ้
การจบั กุง้ ตอ้ งวางแผนจบั ให้เร็วท่ีสุด และวิธีการที่ใชจ้ ะตอ้ งไม่ทาให้กุง้ เสียคุณภาพ

หรือปนเป้ื อน การจบั กุง้ อยา่ งรวดเร็วจะช่วยลดความเสี่ยงที่อาจเกิดข้ึนจากการปนเป้ื อนแบคทีเรีย
และกงุ้ ยงั คงรักษาความสดอยไู่ ดจ้ นถงึ โรงงานแปรรูป

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 64

ทาความสะอาด อุปกรณ์ที่ใชจ้ บั และขนส่งกงุ้ เช่น ภาชนะ ถงั แช่กงุ้ โตะ๊ คดั กุง้ เพ่อื ให้

มนั่ ใจวา่ อปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการจบั กุง้ สะอาดถกู สุขอนามยั ภาชนะและกงุ้ น้นั ตอ้ งไมส่ มั ผสั กบั พ้ืนควรมี
รางเหลก็ ใชว้ าง

การจบั โดยใชก้ ารปลอ่ ยน้าและถุงอวน จะเป็ นวิธีการที่เหมาะสมท่ีสุด และสามารถจบั
กงุ้ ไดเ้ ร็วภายใน 4-6 ชม แต่บ่อเล้ยี งจะตอ้ งมีการออกแบบใหน้ ้าไหลไปสู่ประตูระบายน้าไดง้ ่าย เวลา
จบั กุง้ ท่ีดีท่ีสุด คือเวลาเชา้ และสามารถจบั กงุ้ เสร็จก่อนเที่ยง

การใชอ้ วนลากกงุ้ ในบ่อ เช่น อวนไฟฟ้า หรืออวนธรรมดาขนาดใหญ่ เกษตรกรควรลด

ระดบั น้า ลงมาเหลือ 0.5 -0.8 เมตร และพยายามใหค้ นงานลงจบั กงุ้ ในบ่อใหน้ อ้ ยที่สุด การใหค้ นงาน
ลงจบั ตะกอนพ้นื บ่อจะฟ้งุ ตะกอนจะเขา้ เหงือกกงุ้

การถา่ ยน้าเพอ่ื การจบั กงุ้ อาจจะใชว้ ธิ ีเปิ ดประตูถ่ายน้าออกจนหมดบ่อ และจบั โดยใชถ้ ูก
อวน หรือใชเ้ คร่ืองสูบน้า และจบั กงุ้ จากประตูน้าเทียมซ่ึงสร้างชว่ั คราวไวใ้ นบ่อเล้ยี งกงุ้

ในระหว่างการจบั กุง้ ไม่ควรใชส้ ารเคมี หรือสารปรงแต่งท่ีตอ้ งหา้ มมิใหใ้ ช้ หรือท่ีเป็ น

อนั ตราย ทาใหเ้ กิดการปนเป้ื อนและการตกคา้ งในผลผลติ กงุ้
ในระหวา่ งการจบั กุง้ เกษตรกรตอ้ งระมดั ระวงั ไม่ไหน้ ้าทิ้งไหลเร็วจนทาใหม้ ีการชะลา้ ง

หรือนาตะกอนลงไปสะสมในแหล่งน้ า ดงั น้ันน้าท้ิงจากการจับกุ้งควรผ่านระบบบาบัด ท่ีช่วย
ปรับปรุงคุณภาพน้าให้ดีก่อน พกั หรือบาบดั น้าจนน้าทิ้งมีคุณภาพดีข้ึน แลว้ จึงปล่อยลงสู่แหล่งน้า
ธรรมชาติ

กุง้ ท่ีจบั ตอ้ งรีบทาความสะอาดและแช่ในน้าแข็งท่ีสะอาด และขนยา้ ยไปช่งั และคัด
ขนาดอยา่ งรวดเร็ว เศษกงุ้ ท่ีเหลือจากการคดั กงุ้ ควรมกี ารรักษาความสะอาดและไมห่ มนุ เวยี นกลบั มา

ใชใ้ นการเล้ยี งกุง้ ใหมอ่ ีกคร้ังโดยไม่ผา่ นกระบวนการท่ีทาให้มีความสะอาดปราศจากเช้ือโรคก่อนนา
กลบั มาใชใ้ หม่

7.3 การขนส่งผลผลติ กงุ้
ขนส่งกุง้ สู่โรงงานหรือแพรับซ้ือกุง้ ในสภาพที่เยน็ และขนส่งให้เร็วที่สุดภายในเวลา

ไม่ควรเกิน 10 ชว่ั โมง การขนส่งและการทาให้กงุ้ ตายตอ้ งใชว้ ิธีการที่สะอาดถกู สุขอนามยั และให้
สามารถรักษาคุณภาพและความสด การรักษาอณุ หภูมิใหม้ ีความเยน็ ในระหว่างการจบั หรือการ ชงั่
คดั กงุ้ ทาให้ เพอ่ื ใหก้ งุ้ ยงั คงมคี วามสดมากท่ีสุด

8. เอกสารและการจดบันทึกข้อมลู

การจดบันทึก เป็ นการปฏิบตั ิท่ีมีความสาคญั ต่อการเล้ียงและกระบวนการตรวจประเมิน
คุณภาพ ในอดีตเกษตรกรไม่ค่อยใหค้ วามสาคญั ในเร่ืองดงั กลา่ ว เพราะว่าบนั ทึกฟาร์มน้ันเกษตรกร

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 65

เป็นผใู้ ชแ้ ต่เพียงผเู้ ดียว แต่ในปัจจุบนั กระบวนการผลิต และขอ้ มูลการจดั การแกไ้ ขปัญหาในฟาร์ม
น้นั มคี วามสาคญั มากข้ึน เกษตรกรจึงควรเอาใจใส่ในการบนั ทึกขอ้ มลู ใหส้ มา่ เสมอ

8.1 ประโยชน์ของการจดบนั ทึกขอ้ มลู
การจดบันทึกข้อมูลการปฏิบัติ มีความสาคญั มากต้งั ต่อกระบวนการผลิตและต่อ

ผบู้ ริโภค ดงั น้ี
8.1.1 ประโยชน์ต่อกระบวนการผลิต ในการผลิตกุง้ ท่ีใชร้ ะยะเวลานานน้นั เกษตรกร

ตอ้ งมีกระบวนการผลิต และวิธีการแกไ้ ขปัญหาท่ีทราบแนวทางแลว้ อยา่ งชดั เจน ดังน้ันเกษตรกร
จาเป็ นจะตอ้ งมีเอกสารช้ีแจงวิธีการผลิตที่ชดั เจนและสามารถปฏิบตั ิไดใ้ นทุกกระบวนการท่ีกาหนด
การจดั บันทึกการปฏิบตั ิงานน้ัน ทาให้เกษตรกรสามารถตรวจสอบ ว่า การปฏิบตั ิภายในฟาร์ม
เป็ นไปตามแนวทางท่ีกาหนด หรือแนวทางที่ไดส้ ั่งการไวห้ รือไม่ นอกจากน้ีผูป้ ฏิบตั ิงานยงั ตอ้ ง
บนั ทึก ปัญหา หรือการเปล่ียนแปลงที่เก่ียวขอ้ งกบั กระบวนการผลิตในฟาร์ม และนาเอามาเป็นขอ้ มูล
ในการกาหนดวิธีการป้องกัน แกไ้ ขปัญหาที่เกิดข้ึนได้ การบนั ทึกจะทาให้เกษตรกรสามารถสรุป
และพฒั นาวิธีการจดั การเล้ียงกุง้ บนฐานความรู้ประสบการณ์ของตนเองไดอ้ ยา่ งชดั เจนและรวดเร็ว
แมแ้ ต่ในกรณีท่ีมีผูเ้ ช่ียวชาญเขา้ มาให้คาปรึกษา บนั ทึกประจาฟาร์มสามารถทาให้ผูเ้ ชียวชาญเขา้
ใจความเป็นมาเป็นไปของปัญหา และการจดั การประจาวนั ไดด้ ี

8.1.2 ประโยชน์ต่อการตรวจรับรองคุณภาพกุ้ง เกษตรกรท่ีมีกระบวนการผลิตที่มี
คุณภาพ จาเป็นตอ้ งไดร้ ับการตรวจรับรองมาตรฐานกระบวนการผลติ ในฟาร์ม จากผเู้ ช่ียวชาญท่ีไม่มี

ส่วนได้ ส่วนเสียกบั การผลติ และจาหน่าย ท่ีกาหนดไวใ้ นองคก์ รต่างๆ ของระบบพฒั นามาตรฐาน
การเล้ยี งกงุ้ ของแต่ละประเทศ เพ่ือให้ผบู้ ริโภคในประเทศท่ีนาเขา้ ผลผลติ น้นั เช่ือมนั่ ในมาตรฐานท่ี
มีการกล่าวอา้ ง ในการตรวจรับรองฟาร์ม ผตู้ รวจรับรองฟาร์มไม่ไดเ้ ขา้ ไปตรวจเยย่ี มฟาร์มทุกวนั
หรือเขา้ ไปตรวจประเมินในทุกข้นั ตอนการผลิต ผตู้ รวจมาตรฐานตอ้ งตรวจดูบนั ทึกของเกษตรกร
เพ่ือให้มนั่ ใจว่าเกษตรกรไดป้ ฏิบตั ิในรายการต่างๆ ที่กาหนดไวอ้ ยา่ งครบถว้ น ก่อนท่ีจะเสนอให้มี
การพิจารณารับรองมาตรฐานต่อไป

8.2 การตรวจสอบยอ้ นกลบั (traceability)
เป็นหลกั การที่ใชใ้ นการสอบยอ้ นใหเ้ ขา้ ถึงรายละเอียดของการปฏิบตั ิงานในการผลิตที่

มีการรับรองว่ามีมาตรฐานในการผลิตที่ดี หลกั การน้ีได้ถูกนามาเป็ นข้อกาหนดในการซ้ือขาย
ผลผลิตกุง้ ท้งั ระบบ (ต้งั แต่ ผผู้ ลติ จนถึงผจู้ าหน่ายรายสุดทา้ ยใหก้ บั ผบู้ ริโภค) การสอบยอ้ นจึงเพ่ือให้
มน่ั ใจวา่ ผลผลติ น้นั ๆ มีการผลิตที่ตรงตามข้นั ตอนที่ระบุไวใ้ นมาตรฐานกระบวนการผลติ กงุ้ จริง

การตรวจสอบยอ้ นกลบั น้นั มุ่งประเด็นในเร่ืองความปลอดภยั ในการบริโภคสินคา้ น้นั ๆ
เกษตรกรจึงควรจดั ใหม้ ีเอกสารยนื ยนั แหลง่ กระบวนการผลิต และขอ้ มลู อ่ืนๆ ท่ีจะเป็นต่อการยนื ยนั
มาตรฐานของปัจจยั การผลติ ที่นาเขา้ มาใชใ้ นฟาร์ม ตลอดระยะเวลาการผลติ เกษตรกรตอ้ งบนั ทึก

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 66

วิธีการปฏิบตั ิ และการใชป้ ัจจัยการผลิตในข้ันตอนที่เสี่ยงต่ออนั ตราย ว่าไดม้ ีการปฏิบัติอยา่ งไร
ถกู ตอ้ งตามเกณฑท์ ี่กาหนดไวใ้ นมาตรฐานคุณภาพกงุ้ หรือไม่ และผลผลิตกุง้ ท่ีจบั ได้ มีการจาหน่าย

ไปท่ีไหนในปริมาณเท่าไร
หลกั การตรวจสอบยอ้ นกลับที่นิยม จะมีการกาหนดข้ันตอนท่ีเส่ียงต่อการที่จะไม่

เป็ นไปตามมาตรฐาน โดยการบนั ทึกเกษตรกรตอ้ งบนั ทึกขอ้ มูลหรือจดั เตรียมเอกสารให้สามารถ
สอบยอ้ นกลบั ข้ึนและลงไดท้ ิศทางละ 1 ข้นั ตามสายหรือข้นั ตอนการผลติ

การตรวจสอบยอ้ นกลบั ชนิดที่ตรวจลงไปยงั ผผู้ ลติ เป็นการสอบยอ้ นไปท่ีแหลง่ ผลิต
1 ข้นั เช่น การใชป้ ัจจยั การผลติ แต่ละชนิด ที่สาคญั เช่น อาหาร ยา สารเคมี หรือ ปัจจยั การผลติ อ่ืนๆ
เพอ่ื ใหท้ ราบ แหลง่ ผลติ วิธีการ และมาตรฐานของปัจจยั การผลติ ที่ไดน้ าเขา้ มาใช้

การตรวจสอบยอ้ นกลบั ชนิดที่ตรวจข้ึน เป็นการสอบยอ้ น วา่ เกษตรกรนาปัจจยั การผลติ
เหล่าน้ันไปใชใ้ นการผลิตอยา่ งไร ท่ีไหน เม่ือไร และปริมาณเท่าไร หรืออาจจะเป็ นการตรวจสอบ
ข้ึนไปว่าเกษตรกรไดข้ ายสินคา้ ที่ผลติ ไดไ้ ปใหใ้ คร เมื่อไร และปริมาณเท่าไร เป็นตน้

8.3 การบนั ทึกขอ้ มูล
เกษตรกรตอ้ งมีการบนั ทึกขอ้ มูลการผลิตในแต่ละรุ่น แยกไวใ้ หช้ ดั เจน โดยการบนั ทึก

ขอ้ งมูลของเกษตรกรตอ้ ง พยายามบนั ทึกใหเ้ ร็วที่สุด หลงั จากปฏบิ ตั ิงานเสร็จเรียบร้อย เพือ่ ใหข้ อ้ มูล
มีความทนั สมยั เพราะนอกจากจะทาใหก้ ารบนั ทึกขอ้ มูลไมค่ ง่ั คา้ ง แลว้ จะเป็นการช่วยทาใหข้ อ้ มลู ที่
บนั ทึกถูกตอ้ งตามความเป็ นจริงมากที่สุด การที่เกษตรกรจาขอ้ มูลสะสมไวก้ ่อน และค่อยบนั ทึก

ภายหลงั เมื่อต้องการ จะทาให้ การบันทึกยุ่งยากต้องร้ือฟ้ื นความจา และทาให้ เกษตรกร ไม่เหตุ
ความสาคญั และไม่ใส่ใจในการบนั ทึก

ขอ้ มูลท่ีเกษตรกรตอ้ งบนั ทึก เช่น ขอ้ มูลการเตรียมบ่อ เตรียมน้า คุณภาพของลูกกุง้ ที่
ได้ การจดั การใหอ้ าหาร การเชค็ ยอ สุขภาพกุง้ ทุกวนั บนั ทึกคุณภาพน้าดิน ที่มกี ารวิเคราะห์ ปัญหา
การเล้ียง ปัญหาการจดั การสาธารณสุข ที่พบในฟาร์มพร้อมท้งั บนั ทึกวิธีการแกไ้ ขทุกคร้ัง บนั ทึก
ขอ้ มูลการนาปัจจยั การผลิตและการใชใ้ นฟาร์มทุกล๊อต และวิธีการปฏิบตั ิเวลาในการจดั การฟาร์ม
อ่นื ๆ ที่มี

เกษตรกรตอ้ งมีการสรุปภาพรวมในการผลิตเพ่ือใหส้ ะดวกต่อการตรวจสอบยอ้ นกลบั
หรื อเข้าใจ ซ่ึงข้อมูลในภาพรวม โดยใช้ตัวอย่างรู ปแบบบันทึกดงั ต่อไปน้ี (เกษตรกรสามารถ
ดดั แปลงไดต้ ามความเหมาะสม

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 67

แบบฟอร์มบนั ทกึ สรุป ข้อมลู การเลยี้ งก้งุ ขาว

ข้อมูลทั่วไป
ชื่อเกษตรกร..................................ชื่อฟาร์ม.........................หมายเลขโทรศพั ท.์ ...............................
ที่ต้งั ฟาร์ม เลขท่ี..........หมทู่ ่ี.........ตาบล.........................อาเภอ...........................จงั หวดั ...................
หมายเลขบ่อ.....อตั ราการปลอ่ ย.............ตวั /ไร่ วนั ท่ีปล่อย.......................อายลุ ูกกงุ้ …………….....
แหล่งลกู กงุ้ จากฟาร์ม............ท่ีอย.ู่ ....................................................... หมายเลขโทรศพั ท.์ .............
เลขท่ีหนงั สือกากบั การจาหน่ายลกู พนั ธุส์ ตั วน์ ้า........ออกโดย....... ท่ีอย.ู่ ......หมายเลขโทรศพั ท.์ ....

ข้อมลู การเลยี้ ง
แหล่งน้าที่ใช้ [ ] คลอง [ ] ทะเลสาบ [ ] อ่าว [ ] ทะเล [ ] อนื่ ๆ.............................

ชนิดอาหาร
[ ] อาหารเมด็ ชื่อทางการคา้ … ปริมาณรวม..........กโิ ลกรัม/บ่อ ซ้ือจาก ...............(โทรศพั ท)์
[ ] อาหารสด ชนิด ………… . ปริมาณรวม.............กิโลกรัม/บ่อ ซ้ือจาก ...............(โทรศพั ท)์
[ ] อื่นๆ (ระบุ)......................... .ปริมาณรวม...............กิโลกรัม/บ่อ ซ้ือจาก ...............(โทรศพั ท)์

ข้อมูลสุขภาพก้งุ และการใช้ยาปฏิชีวนะ/สารเคม/ี อ่ืนๆ จานวนคร้ังท่ีใช้
อาการท่ีพบ ชนิดยา/สารเคม/ี อ่ืนๆ แหล่งผลิต ปริมาณที่ใช้ .........................
...................... ............................. .................... .................... .........................
...................... ............................. .................... .................... .........................
...................... ............................. .................... .................... .........................
...................... ............................. .................... ....................

ผลผลติ
ผลผลติ รวม.........กิโลกรัม น้าหนกั ตวั เฉลีย่ .............กรัม น้าหนกั ของแต่ละขนาด................กรัม
อตั ราการรอด..................% อตั ราการแลกเน้ือ............................................................................

ข้อมูลการขาย
ผลผลิตท่ีขายท้งั หมด ........................... กิโลกรัม น้าหนกั ของแต่ละขนาด........................กิโลกรัม
ผซู้ ้ือ ........................ ท่ีอยู่ .......................................... โทรศพั ท.์ ......................................
เลขที่หนงั สือกากบั การจาหน่ายลูกพนั ธุส์ ตั วน์ ้า............................ออกโดย .......................................
ที่อย.ู่ ..................................................................................................................................
หมายเลขโทรศพั ท.์ ............................................................................................................................


Click to View FlipBook Version