The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ponsiri, 2019-11-19 04:54:23

E-BOOK ธราธิป

E-BOOK ธราธิป

การจดั การความรู้

การเลีย้ งกุ้งขาวแวนนาไม ตามมาตรฐาน จเี อพี

ประเทศไทยเป็ นประเทศท่ีเล้ยี งกุง้ เพ่ือการส่งออกมาเป็ นเวลาไม่นอ้ ยกวา่ 20 ปี โดยเริ่มจาก
การเล้ียงกุง้ กุลาดาแบบพฒั นาเพียงชนิดเดียว จากประสบการณ์เล้ียงกุง้ ของประเทศไทยทาให้มีองค์
ความรู้ในการจดั การเล้ียงกุง้ มากมาย แต่อย่างไรก็ตามการเล้ียงกุง้ กุลาดาในช่วง 2-3 ปี ที่ผา่ นมา กลบั
พบว่ามีปัญหาผลผลิตตกต่า โตชา้ ไมส่ ามารถผลิตในเชิงพาณิชยไ์ ดด้ ีเหมือนที่ผา่ นมา จึงไดม้ กี ารนา
กงุ้ ขาวแวนนาไมเขา้ มาเล้ียงแทนกงุ้ กุลาดา ปัจจุบนั ประเทศไทยมีการเล้ียงกุง้ ขาว ไม่น้อยกว่า 90%
ของพ้ืนที่เล้ียงท้งั หมดที่ยงั คงมกี ารเล้ยี งกุง้ อยู่ การบริหารจดั การองคค์ วามรู้คร้ังน้ี จึงไดก้ าหนด ให้มี
การรวบรวมความรู้ทางวิชาการและวิธีการปฏิบตั ิท่ีดี สาหรับการเล้ยี งกุง้ ขาว เพ่ือให้เจา้ หน้าที่ของ
กรมประมงท่ีรับผดิ ชอบมีความรู้พ้นื ฐานท่ีดีเหมาะสาหรับการเขา้ ไปบริการและช่วยเกษตรกรผเู้ ล้ียง
กงุ้ พฒั นาระบบการจดั การเล้ยี งตามแนวทางการปฏิบตั ิท่ีดีของกรมประมง

กุ้งขาวแวนนาไม เป็ นกุง้ ทะเลสายพันธุ์แปซิฟิ ก มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Litopenaeus
vannamei หรือ Penaeus vannamei เป็ นกุง้ ท่ีเคลื่อนไหวรวดเร็ว สามารถปรับตวั ให้เขา้ ความเค็มใน
ช่วงกวา้ งต้งั แต่ 3-35 ส่วนในพนั กินอาหารไดห้ ลายประเภท จึงเจริญเติบโตและปรับตวั ให้เขา้ กบั
การเล้ียงแบบพฒั นา หนาแน่นในสภาพของบ่อท่ีเส่ือมโทรมไดด้ ีกว่ากุง้ กุลาดา กุง้ ขาวแวนนาไมมี
ความสามารถในการเคล่อื นท่ีไดเ้ ร็วและว่ายน้าอยตู่ ลอดเวลาจึงตอ้ งการออกซิเจนในการดารงชีวิตสูง
กว่ากงุ้ กลุ าดา ระบบการใหอ้ ากาศในการเล้ยี งกงุ้ ขาวจึงตอ้ งเพยี งพอ

องคค์ วามรู้สาหรับการเล้ียงกุง้ ขาวแวนนาไม ไมม่ ีขอบเขตที่ตายตวั ข้ึนอยกู่ บั ปัญหาท่ีเกิดข้ึน
ในฟาร์ม วิธีการเล้ียงกุง้ ขาวแวนนาไมให้ประสบผลสาเร็จ มีรายละเอียดแตกต่างจากการเล้ียงกุง้
กุลาดาพอสมควร อย่างไรก็ตามหลกั เกณฑ์พ้ืนฐานทางวิชาการท่ีเป็ นองค์ความรู้คือหลกั เดียวกนั
ข้ึนอยกู่ บั การนาองค์ความรู้แต่ละอยา่ งเขา้ มาใชใ้ นการจดั การเล้ียง วิธีการเล้ียงกุง้ ขาวแวนนาไมใน
ปัจจุบนั จึงมวี ิธีการบางอยา่ งท่ีเหมือนกบั การเล้ยี งกงุ้ กุลาดา

กรมประมงไดก้ าหนดหลกั การเล้ียงกุง้ ทะเลดว้ ยวิธีการปฏบิ ตั ิที่ดี ที่รู้จกั กนั ในชื่อ การเล้ียง
กุง้ ระบบจีเอพี จานวน 7 ขอ้ เพ่ือยกระดบั การเล้ียงกุ้งให้มีมาตรฐานท่ีผบู้ ริโภคเช่ือมน่ั และใชเ้ ป็ น
กลยทุ ธ์ในการพฒั นาสินคา้ การเกษตรเพ่ือการส่งออกนารายไดเ้ ขา้ สู่ประเทศ ดงั น้ันเจา้ หนา้ ท่ีกรม
ประมงที่ทางานเก่ียวขอ้ งจะตอ้ งรู้และเขา้ ใจถึงองคค์ วามรู้ที่เป็ นปัจจยั สาคญั ในการเล้ียงกุง้ ขาวให้
ประสบความสาเร็จ เพ่ือใหเ้ กษตรกรเกิดความเช่ือมนั่ ในการที่จะไปถ่ายทอดพฒั นาและแกไ้ ขปัญหา
การเล้ียงกงุ้ ตามแนวทางมาตรฐานจีเอพีร่วมกบั เกษตรกร องคค์ วามรู้ดงั กลา่ วมรี ายละเอียดแยกเป็ น
หมวดหมดู่ งั น้ี

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 2

1. เกษตรกรผู้เลยี้ งกุ้งขาว
เกษตรกรผทู้ ี่สนใจในการเล้ียงกุง้ ขาวควรมีการเตรียมความพร้อม และความรู้สาหรับการ

ประกอบการฟาร์มเล้ียงกุง้ ขาว ดงั น้ี

1.1 ความรู้ในการเล้ยี งกงุ้ ขาว
เกษตรกรตอ้ งมีความรู้ในการเล้ียงกุง้ ขาว หรือผ่านการฝึ กอบรมหลกั การเล้ียงกุง้ ขาว

หรื อกุ้งทะเล หรื อมีประสบการณ์ในการเล้ียงกุ้งขาวหรื อกุ้งทะเลมาก่อน การมีความรู้หรื อ
ประสบการณ์น้ันมีความสาคญั ต่อเกษตรกรมาก เพราะทาให้เกษตรกรมีความรู้เพียงพอที่จะเร่ิมตน้
และตดั สินใจในการดาเนินธุรกิจไดด้ ว้ ยดี

1.2 การข้ึนทะเบียนผเู้ พาะเล้ียงสตั วน์ ้า
ปัจจุบนั กรมประมงกาหนดใหเ้ กษตรกรตอ้ งข้ึนทะเบียนผเู้ พาะเล้ียงสัตวน์ ้าเพ่ือจดั ทา

ฐานข้อมูลเกษตรกร ฐานข้อมูลเกษตรกรมีประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมกุ้งในดา้ นการวางแผน

พฒั นาการเล้ียงกุง้ ให้มีมาตรฐานสูงข้ึน มีความยงั่ ยนื และสามารถตรวจสอบได้ นอกจากน้ียงั เป็ น
ฐานขอ้ มูลสาหรับภาครัฐในการสนบั สนุนทางวิชาการ และสนบั สนุนตามมาตรการอื่นๆ ไดอ้ ยา่ ง

ถูกตอ้ งและรวดเร็ว

2. การเลอื กสถานท่ี

การเลือกสถานที่เป็ นปัจจยั สาคญั ที่เกษตรกรตอ้ งพจิ ารณาก่อนเร่ิมตน้ การเล้ียง ต้งั แต่ความ
เหมาะสมทางวิชาการ วิธีการเขา้ มาใชป้ ระโยชน์ในพ้ืนที่ วางแผนผงั การใชพ้ ้ืนท่ีในฟาร์ม และการ
บริหารจดั การฟาร์ม ซ่ึงการตดั สินเลอื กสถานที่เหมาะสมในข้นั ตอนน้ีทาใหเ้ กษตรกรสามารถจดั การ
เล้ียงกงุ้ ขาวไดผ้ ลผลิตคุณภาพดีอยา่ งต่อเนื่อง โดยมีปัญหานอ้ ยที่สุด คาแนะนาท่ีดีมดี งั ต่อไปน้ี

2.1 การเขา้ มาใชป้ ระโยชน์ในพ้นื ที่
เกษตรกรตอ้ งตดั สินใจใช้ประโยชน์ในพ้ืนท่ีเพ่ือเล้ียงกุง้ ขาวเฉพาะในท่ีมีสิทธิตาม

กฎหมาย ไม่ว่าจะเป็ นกรรมสิทธ์ิหรือเป็ นการเช่าอย่างถูกต้อง ไม่เล้ียงกุง้ ในพ้ืนที่ห้ามเล้ียงตาม
กฎหมายหรือประกาศของหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ พ้ืนท่ีเล้ียงตอ้ งไม่อยู่ในเขตอนุรักษ์ป่ าชายเลน
เพอ่ื ใหเ้ ป็นไปตามท่ีทางราชการไดก้ าหนด และเป็นการเล้ยี งกงุ้ ที่ไม่ทาลายสิ่งแวดลอ้ ม

2.2 ความเหมาะสมทางวิชาการ

พ้นื ที่เล้ียงกุง้ ขาวควรมีความเหมาะสมทางวิชาการในหลายๆ ดา้ น เช่น ตาแหน่งที่ต้งั
แหล่งน้า ลกั ษณะของดินในบริเวณพ้นื ท่ีท่ีจะใชท้ าฟาร์มเล้ยี งกงุ้ เพื่อใหส้ ามารถจดั การเล้ยี งไดง้ ่าย มี
ประสิทธิภาพ ไมม่ ีปัญหาที่เป็นอุปสรรคทาให้การล้ยี งกุง้ เกิดความเสียหาย หรือทาให้ตอ้ งลงทุนสูง
เกินไป ความเหมาะสมทางวชิ าการยงั ครอบคลุมถึงสาธารณูปโภคท่ีจาเป็นสาหรับการทาฟาร์ม และ

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 3

ความสะดวกในการคมนาคม ทาให้สามารถขนส่งปัจจยั การผลิตและผลผลิตเข้าสู่ตลาดดว้ ยความ

รวดเร็ว เพื่อให้ผลผลิตมีความสดและคุณภาพดี คาแนะนาในการเลือกสถานที่ตามหลกั วิชาการมี

ดงั ต่อไปน้ี

2.2.1 แหล่งน้า แหล่งน้าควรมีสภาพเหมาะสมเพราะเกษตรกรตอ้ งใชน้ ้าทะเลเล้ียงกุ้ง
ตลอดท้งั ปี คุณภาพของแหล่งน้าที่ตอ้ งพิจารณาในเบ้ืองตน้ คือ ความเป็ นกรด-ด่างของน้า (pH) ใน
บริเวณฟาร์มควรอย่ใู นในช่วง 7.8-8.3 ตลอดท้งั ปี มีปริมาณออกซิเจนละลายน้าโดยเฉพาะของน้าที่
บริเวณผิวหน้าดินบริเวณท่ีจะใชเ้ ป็ นแหล่งน้า ตอ้ งเพียงพอไม่ก่อใหเ้ กิดความเน่าเสียและทาให้สัตว์
น้าตามธรรมชาติตาย แหลง่ น้าไม่ควรมีตะกอนมากจนทาใหม้ กี ารตกตะกอนต้ืนเขิน ความเคม็ ของน้า
อยทู่ ่ีเหมาะสมอยใู่ นช่วงกวา้ ง 2-32 ส่วนในพนั ส่วน ถา้ เป็ นแม่น้าหรือคลองที่เช่ือมต่อกบั ทะเลควรมี
ความลกึ ท่ีเหมาะสมที่ทาใหส้ ามารถสูบน้าไดใ้ นเวลาที่ตอ้ งการ พ้ืนที่ตอ้ งอยูเ่ หนือระดบั น้าข้ึนสูงสุด
เพ่ือป้องกนั ปัญหาน้าท่วม นอกจากน้ีแหล่งน้า ควรไกลจากแหล่งมลพิษ เช่นโรงงานอุตสาหกรรม
แหล่งเกษตรกรรมท่ีใชส้ ารเคมใี นปริมาณมากหรือแหลง่ น้าทิ้งของชุมชนเมือง

นอกจากน้ ีแหล่งน้ าในบ่อที่เล้ ียงกุ้งควรมีคุณภาพน้ าอ่ืนๆท่ีเหมาะสมต่ อการเล้ียงกุง้
เพราะร่างกายและเหงือกของกุง้ สัมผสั กับน้าตลอดเวลา น้ าจึงมีผลโดยตรงต่อสุขภาพและการ
เจริญเติบโตของกงุ้ คุณภาพน้าไมด่ ี นาไปสู่ปัญหาสตั วน์ ้าเครียด ติดเช้ือโรค และตายในที่สุด

2.2.2 ลกั ษณะของดิน ควรเป็ นดินที่มีปริมาณดินเหนียวมากพอท่ีจะทาให้สามารถอุม้

น้าและก่อสร้างบ่อเล้ยี งกุง้ ได้ บ่อลกั ษณะท่ีเป็นดินเหนียวปนทราย จะเหมาะสาหรับสาหรับสร้างบ่อ
มากท่ีสุด ดินตอ้ งไม่มศี กั ยภาพเป็นดินกรด (acid potential soil) หรือเป็นดินท่ีมีไพไรทส์ ูง สงั เกตจาก

ดินที่มีความเป็ นกรด-ด่าง ต่ากว่า 4 หรือมสี ีสนิมเหล็ก เพราะเม่ือขุดสร้างบ่อแลว้ ดินจะทาปฏิกิริยา

กบั ออกซิเจนในอากาศเปลี่ยนไพไรท์ ใหเ้ ป็นสนิมเหล็ก และกรดซลั ฟิ วริก ทาให้ดินและน้าในบ่อมี
ความเป็ นกรด-ด่างต่าไม่เหมาะสาหรับใชเ้ ล้ียงสตั วน์ ้า ดินท่ีมีสภาพกรด จะทาใหป้ ล่อยไอออนของ
โลหะเช่น เหลก็ และอลมู ิเนียมออกมาจบั กบั ฟอสเฟตเป็ นสาเหตุหน่ึงท่ีทาใหไ้ ม่สามารถเตรียมสีน้า
ได้ และทาใหก้ งุ้ โตชา้

2.2.3 พ้ืนที่เล้ียงกุง้ จะตอ้ งอยู่ในบริเวณที่การคมนาคมเข้าถึงโดยสะดวก โดยเฉพาะ

รถยนต์ ท้งั น้ีเพื่อใหส้ ามารถขนอุปกรณ์ ลูกกุง้ อาหารกุง้ และปัจจยั การผลิตท่ีเกษตรกรตอ้ งใชเ้ ป็ น
ประจาทุกวนั ซ่ึงความสะดวกสบายจะทาใหต้ น้ ทุนการผลติ ต่าสุด

3. การจดั การเลยี้ งท่ัวไป

เกษตรกรตอ้ งมีความรู้ทางวชิ าการในการจดั การเล้ยี งกุง้ ขาว เช่น หลกั กาหนดรูปแบบของ
ฟาร์ม การแบ่งใชป้ ระโยชน์ในพ้นื ท่ีใชส้ อย การสร้างโรงเรือน บริการเตรียมบ่อเล้ยี ง วธิ กี ารเลอื กลกู
กุง้ ท่ีมีคุณภาพ การกาหนดความหนาแน่นของการเล้ยี ง การติดต้งั เคร่ืองเพิ่มอากาศ เพื่อใหเ้ กษตรกร
สามารถจดั การเล้ียงกงุ้ โดยมีปัญหานอ้ ยที่สุด

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 4

ตาราง คุณภาพน้าที่เหมาะสมต่อการเล้ียงกงุ้ ขาว ระดบั ท่ีเหมาะสม
คุณภาพน้า 28-32 องศาเซลเซียส
≥ 5 มิลลิกรัม/ลติ ร
อณุ หภูมิ ≤ 20 มลิ ลกิ รัม/ลติ ร
ออกซิเจนละลายน้า 7.0-8.3
คาร์บอนไดออกไซด์ 0.5-35 ส่วนในพนั ส่วน
ความเป็ นกรด-ด่าง ≥ 300 ส่วนในลา้ นส่วน
ความเคม็ ≥ 200 ส่วนในลา้ นส่วน
คลอไรด์ ≥ 150 ส่วนในลา้ นส่วน
โซเดียม ≥ 100 ส่วนในลา้ นส่วน
ความกระดา้ งรวม (ในรูป CaCO3) ≥ 50 ส่วนในลา้ นส่วน
แคลเซียม (Calcium hardness ในรูป CaCO3) ≥ 100 ส่วนในลา้ นส่วน
แมกนีเซียม (Magnesium hardness ในรูป CaCO3) ≤ 0.03 มลิ ลกิ รัม/ลติ ร
ความเป็นด่างรวม (Total Alkalinity ในรูป CaCO3) ≤ 1 มิลลกิ รัม/ลิตร
แอมโมเนียอสิ ระ (NH3) ≤ 60 มลิ ลกิ รัม/ลิตร
ไนไตรท์ (NO2-) ≤ 1.0 มลิ ลกิ รัม/ลติ ร
ไนเตรท (NO3-) ≤ 2 ส่วนในพนั ลา้ นส่วน
เหลก็ ท้งั หมด (Total Iron) ≤ 10 ส่วนในพนั ลา้ นส่วน
ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ (H2S) ≤ 10 ส่วนในพนั ลา้ นส่วน
คลอรีน (Chlorine) ≤ 100 ส่วนในพนั ลา้ นส่วน
แคดเมยี ม (Cadmium) ≤ 25 ส่วนในพนั ลา้ นส่วน
โครเมียม (Cromium) ≤ 100 ส่วนในพนั ลา้ นส่วน
ทองแดง (Copper) ≤ 0.1 ส่วนในพนั ลา้ นส่วน
ตะกวั่ (Lead) ≤ 100 ส่วนในพนั ลา้ นส่วน
ปรอท (Mercury) ≤ 0.003 ส่วนในพนั ลา้ นส่วน
สงั กะสี (Zinc) ≤ 4 ส่วนในพนั ลา้ นส่วน
อลั ดริน/ดีลดริน (Aldrin / Dieldrin) ≤ 0.01 ส่วนในพนั ลา้ นส่วน
บีเอชซี (BHC) ≤ 0.001 ส่วนในพนั ลา้ นส่วน
คลอร์เดน (Chlordane) ≤ 0.004 ส่วนในพนั ลา้ นส่วน
ดีดีที (DDT) ≤ 0.001 ส่วนในพนั ลา้ นส่วน
เอนดริล (Endrin) ≤ 0.005 ส่วนในพนั ลา้ นส่วน
เฮพตาคลอร์ (Heptachlor)
ทอ๊ กซาฟี น (Toxaphene)

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 5

3.1 รูปแบบของฟาร์ม

กงุ้ ขาวเป็ นกุง้ ท่ีปรับตวั เขา้ กบั การเล้ียงแบบพฒั นาท่ีปล่อยกุง้ หนาแน่นสูงไดด้ ีกว่ากุง้

กุลาดา เกษตรกรจึงตอ้ งมีระบบการจดั การฟาร์มที่ดีเพื่อใหไ้ ดผ้ ลผลติ ที่ดีในปริมาณมาก รูปแบบของ

ฟาร์มเล้ียงกงุ้ ที่เหมาะสมข้ึนอยกู่ บั ตาแหน่งท่ีต้งั ของฟาร์มและปัญหาการจดั การและโรคระบาดที่อาจ
เกิดข้ึนไดใ้ นระหว่างการเล้ียง

ในบริเวณที่แหล่งน้ามีคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มดี มีปริมาณน้ามากเพียงพอ เกษตรกรอาจ
จดั รูปแบบของฟาร์มเป็นฟาร์มเล้ยี งแบบพฒั นาระบบก่ึงเปิ ดท่ีมกี ารถา่ ยน้า โดยเฉพาะในช่วงระยะ 2
เดือนสุดทา้ ยของการเล้ยี งที่กงุ้ มกี ารเจริญเติบโตรวดเร็วและตอ้ งใหอ้ าหารในปริมาณมาก การถ่ายน้า
แนะนาใหใ้ ชน้ ้าทะเลสะอาดในบ่อพกั น้าเพื่อเจือจางน้าในบ่อเล้ียงกุง้ ให้มีคุณภาพดีข้ึน และน้าที่ถา่ ย
ออกมาควรตอ้ งผา่ นการบาบดั ใหม้ ีคุณภาพดีข้ึนก่อนท่ีระบายลงสู่แหลง่ น้า

ในพ้ืนที่ที่มฟี าร์มเล้ียงกงุ้ มาก และมปี ริมาณน้าจากดั เกษตรกรสูบและท้ิงน้าลงสู่บริเวณ
เดียวกนั ทาใหบ้ างฤดูกาลสภาพแวดลอ้ มในพ้ืนที่เล้ียงเปลี่ยนแปลงไม่เหมาะสม และมีโรคระบาด

รูปแบบฟาร์มเล้ียงกุง้ ท่ีเหมาะสมควรเป็นแบบพฒั นาระบบก่ึงปิ ด (เติมน้าจากบ่อพกั น้าที่มกี ารบาบดั
พ้ืนฟูคุณภาพน้าหรือถ่ายน้าเพียงเลก็ นอ้ ยเม่ือเวลาจาเป็ นเพื่อปรับคุณภาพน้าในบ่อเล้ียง) รูปแบบ
ฟาร์มประเภทน้ีเป็นที่นิยมใชโ้ ดยทว่ั ไป เน่ืองจากแหล่งน้าสาหรับการเล้ียงกงุ้ ส่วนใหญ่เส่ือมโทรม
จากการเล้ียงกุง้ และมีการระบาดของโรคกุง้ อยา่ งต่อเนื่อง การเติมหรือถ่ายน้าเท่าที่จาเป็ นสามารถ
ป้องกนั โรคไดด้ ี แต่เกษตรกรตอ้ งมีการปล่อยกุง้ ในความหนาแน่นที่เหมาะสม การเตรียมบ่อ การ

จดั การเล้ียงและการควบคุมสภาพแวดลอ้ มในระหว่างเล้ียงท่ีดีอย่างต่อเนื่อง นอกจากน้ีน้าที่ถ่าย
ออกมาควรผา่ นการบาบดั ใหม้ ีคุณภาพดีข้ึนก่อนที่ระบายลงสู่แหลง่ น้าหรือหมุนเวียนนาน้ากลบั มาใช้
ใหม่

ในฟาร์มที่มีพ้ืนที่เพียงพอ แต่อยู่ในแหล่งเล้ียงท่ีสภาพแวดลอ้ มเสื่อมโทรม และขาด

แคลนน้าที่มีคุณภาพเหมาะสมในบางฤดูกาล รูปแบบฟาร์มเล้ียงท่ีสามารถทาไดเ้ ป็ นแบบพฒั นา
ระบบน้าหมุนเวียน ซ่ึงการเล้ียงรูปแบบน้ีเกษตรกรตอ้ งเตรียมพ้ืนที่บ่อพกั น้าให้มากเพยี งพอสาหรับ
การถ่ายน้าตามกาหนดการที่ไดเ้ ตรียมไว้ เกษตรกรตอ้ งเตรียมพ้ืนท่ีบาบดั น้าให้เพียงพอที่รองรับน้า
ท้ิงปริมาณมากโดยใหม้ ีเวลาบาบดั น้านานเพียงพอ จนมีคุณภาพดีข้ึนและนาไปใชห้ รือเกบ็ ในบ่อพกั
น้าจนกวา่ จะถึงเวลานาไปใชเ้ ล้ยี งกุง้ ใหม่อีกคร้ัง

3.2 การแบ่งพ้นื ท่ีใชส้ อยในฟาร์ม
เม่ือกาหนดรู ปแบบของฟาร์มแล้วเกษตรกรสามารถแบ่งพ้ืนที่ใช้สอยได้ง่ายข้ึน

โดยทั่วไปเกษตรกรจะตอ้ งคานึงพ้ืนที่ใชส้ อยที่ช่วยให้เกษตรกรจัดการเล้ียงกุ้งได้ผลดี ซ่ึงควร
ประกอบดว้ ย บ่อเล้ยี ง บ่อพกั น้า โรงเรือนเก็บวสั ดุฟาร์มและปัจจยั การผลติ บา้ นพกั คนงาน บ่อบาบดั
น้าท้ิง และบ่อเก็บเลน ถนนและทางเดินภายในฟาร์ม พ้นื ที่ใชส้ อยอืน่ ๆ โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 6

3.2.1 บ่อเล้ียง เป็นการใชพ้ ้นื ที่ที่มคี วามสาคญั ที่สุด ขนาดของบ่อเล้ียงควรมีขนาดที่ไม่
เล็กหรือใหญ่จนเกินไป บ่อที่เล็กเกินไปความแตกต่างของอุณหภูมิน้าในรอบวนั อย่ใู นช่วงกวา้ ง
เน่ืองจากมีปริมาตรน้านอ้ ยเกินไป บ่อท่ีใหญ่จะจดั การยากเนื่องจากปริมาตรน้าเยอะเกินไป ขนาด
ของบ่อที่เหมาะสม ควรมีขนาด 2-6 ไร่ ข้ึนกบั ความพร้อมและเครื่องมือของเกษตรกร สดั ส่วนของ
บ่อเล้ียงท่ีเหมาะสมควรอยู่ในช่วง 50-80% ของพ้ืนท่ีฟาร์มท้งั หมด โดยที่ฟาร์มท่ีมีพ้ืนที่นอ้ ย พ้ืนท่ี
ของบ่อเล้ียงมนี อ้ ยลงเพราะตอ้ งสงวนไวใ้ ชใ้ นกิจกรรมอน่ื ๆ

3.2.2 บ่อพกั น้า เป็ นพ้ืนที่ที่มีความจาเป็ นมากในการลดความเสียและป้องกนั โรคและ
แกไ้ ขปัญหาในระหวา่ งการเล้ียงกงุ้ ไดด้ ี เพราะว่า น้าในแหล่งเล้ยี งกุง้ ท่ีหนาแน่น น้าทิ้งจากบ่อเล้ยี งจะ
ทาให้เกิดความเสื่อมโทรมกบั แหล่งน้า และบ่อยคร้ังไม่เหมาะสมต่อนาเขา้ สู่บ่อเล้ียงกุง้ โดยตรง
เกษตรกรท่ีมบี ่อพกั น้าจะสามารถพกั น้าหรือปรับปรุงใหม้ ีคุณภาพที่ดีข้ึนก่อนใช้ และสามารถสารอง
น้าทะเลท่ีมีคุณภาพดีไวใ้ ช้แก้ปัญหาฉุกเฉินในระหว่างการเล้ียงกุ้งได้ สัดส่วนของบ่อพกั น้ าที่
เหมาะสมควรอย่ใู นช่วง 15-20 % ของพ้ืนที่ฟาร์มท้งั หมด หรือมีปริมาตรไม่น้อยกว่า 0.5-1 ของบ่อ
เล้ยี งกงุ้ ในฟาร์ม

3.2.3 โรงเรือนเกบ็ วสั ดุฟาร์มและปัจจยั การผลิต ฟาร์มเล้ียงกงุ้ จะตอ้ งมพี ้ืนที่เก็บปัจจยั

การผลิต วสั ดุและเคร่ืองมือที่ใชใ้ นฟาร์ม และน้ามนั เช้ือเพลิง เพื่อความเป็ นระเบียบของสิ่งของ
เคร่ืองใช้ในฟาร์มให้สามารถนาไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตรวจสอบปริมาณไดง้ ่าย จึง

บริหารจดั การควบคุมปริมาณไดง้ ่าย โรงเรือนที่ใชเ้ กบ็ ของเหล่าน้ีตอ้ งมคี วามมน่ั คงแข็งแรง เพ่ือให้
ทนทานต่อลมและฝน ไมใ่ หเ้ กิดปัญหาข้ึนในสภาวะท่ีสภาพอากาศเปล่ียนแปลงรุนแรง ป้องกนั แดด
และฝนไม่ให้ปัจจยั การผลิตเสียคุณภาพไป การมีโรงเรือนทาให้มีการแยกสดั ส่วนพ้ืนท่ีในการเก็บ
ปัจจยั การผลิตท่ีเป็นอนั ตราย ไวใ้ นที่ท่ีปลอดภยั จากเด็กและผทู้ ่ีไม่เกี่ยวขอ้ งได้

3.2.4 บา้ นพกั คนงาน มีความจาเป็ นเนื่องจากคนงานต้องอยอู่ าศยั และปฏิบตั ิงานใน

ฟาร์มท้งั กลางวนั กลางคืน จึงมีความสะดวกท่ีคนงานจะพกั อาศยั ในฟาร์ม ท่ีอย่อู าศยั ตอ้ งทาให้เป็ น
สดั ส่วน มีระบบสาธารณะสุขท่ีดี หากจาเป็นตอ้ งมีท่ีพกั คนงานอยู่บนคนั บ่อเล้ียง จะตอ้ งมน่ั ใจวา่ จะ
สามารถรักษาความสะอาด และสุขอนามยั ท่ีดีในการเล้ียงกุง้ ไดม้ าตรฐานที่ดีตลอดไป ถา้ สุขอนามยั
ในบริเวณบา้ นพกั ไมด่ ี ทาใหเ้ กิดโอกาสในการปนเป้ื อนของส่ิงปฏกิ ลู ลงสู่บ่อเล้ยี งไดง้ ่าย

3.2.5 บ่อบาบัดน้ าทิ้ง และบ่อเก็บเลน การเล้ียงกุ้งแบบพฒั นาเป็ นกิจกรรมท่ีส่งผล
กระทบสิ่งแวดลอ้ มไดง้ ่าย เน่ืองจากน้าทะเลท่ีผ่านการใชเ้ ล้ียงกุง้ มีสารอินทรีย์ และธาตุอาหาร และ
ของเสียในน้าเพ่ิมมากข้ึน พ้ืนบ่อกจ็ ะเป็ นแหลง่ สะสมของเสีย จนทาใหต้ ะกอนดินท่ีสะสมกลางบ่อ
อยู่ในสภาพดินเลนท่ีมีสารอินทรี ยส์ ูงเน่าเสีย น้ าทิ้งโดยเฉพาะจากการจับกุ้งจะเป็ นน้ าท้ิงท่ีมี
สารอนิ ทรีย์ และของเสียในปริมาณมากที่สุด และหลงั จากการจบั กงุ้ เกษตรกรควรจะทาความสะอาด

พ้ืนบ่อโดยลอกเลนกลางบ่อที่มากเกินไปออกมา ดงั น้ันการจดั แบ่งพ้ืนท่ีเล้ียงกุง้ ที่ดีและเป็ นการ
รักษาส่ิงแวดลอ้ ม เกษตรกรจึงควรใหค้ วามสาคญั และสร้างบ่อบาบดั น้าท้ิง และบ่อเก็บเลน ซ่ึงขนาด

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 7

ของบ่อบาบดั น้าทิ้ง รวมท้งั คูน้าท้ิง ที่เหมาะสมควรมีปริมาตรไม่น้อยกวา่ ปริมาตรน้าทิ้งที่เกิดข้ึนจาก
การจบั กุ้ง 1 บ่อ เพ่ือสามารถรองรับน้าท้ิงไดท้ ้ังหมด และพ้ืนท่ีของที่เก็บเลนควรจะมีขนาดเพียง
พอที่จะเก็บเลนเอาไว้ และขุดเป็ นบ่อหรือยกคนั เพ่ือป้องกนั การเลนถูกชะหลุดไปเวลาฝนตกหนัก
ในกรณีท่ีเกษตรกรไมม่ ีพ้ืนที่ เกษตรกรรายยอ่ ยที่มีพ้นื ท่ีเล้ยี งติดกนั อาจทาบ่อบาบดั น้าท้ิงรวมเพอื่ ใช้
ร่วมกนั หรืออาจใชว้ ิธีการที่เหมาะสมนาบ่อพกั น้ามาใชบ้ าบดั น้าท้ิงกไ็ ด้

3.2.6 ถนนและทางเดินภายในฟาร์ม เป็ นระบบสาธารณูปโภคที่เกษตรกรตอ้ งจดั ใหม้ ี
ในฟาร์ม เพ่ือความสะดวกสบายในการจดั การเล้ียง การขนส่งปัจจยั การผลติ และผลผลิตอยา่ งรวดเร็ว
เพ่ือใหไ้ ดผ้ ลผลิตท่ีมคี ุณภาพ ถนนและทางเดินให้มคี วามแข็งแรง ขนาดใหญ่และสะดวกเพียงพอที่
รถยนตบ์ รรทุกขนาดเลก็ มอเตอร์ไซค์ รถเข็น ท่ีจะเขา้ ไปส่งหรือลาเลียงผลผลิตมายงั จุดปฏบิ ตั ิการ
ต่อไปในฟาร์ม หรือคนงานเดินปฏิบตั ิงานรอบบ่อไดด้ ว้ ยความปลอดภยั

3.2.7 พ้ืนที่ใชส้ อยอนื่ ๆ เช่นอาคารสานกั งาน บา้ นท่ีอยอู่ าศยั ของเจา้ ของฟาร์ม ลานคดั
กงุ้ ท่ีจอดรถ โรงอาหาร สนามออกกาลงั กาย ควรมีตามความจาเป็ น จดั ใหอ้ ยใู่ นพ้นื ท่ีเหมาะสมและ
อยใู่ นบริเวณท่ีสามารถจดั การดูแลระบบสาธารณสุขของฟาร์มใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนดไว้

3.3 ประเภทของบ่อเล้ยี งกุง้ ขาว
การทาฟาร์มเล้ยี งกุง้ ขาวแบบพฒั นาในประเทศไทยนิยมใชพ้ ้นื ที่ชายฝั่งทะเลหรือพ้นื ที่ที่

มีน้าทะเลเข้าถึง บ่อท่ีใชเ้ ล้ียงปัจจุบันเป็ นบ่อรูปทรงส่ีเหล่ียมผนื ผา้ ที่ความกวา้ งและความยาวไม่
แตกต่างกนั มากนกั รูปแบบปัจจุบนั ท่ีนิยมมีอยู่ 2 ประเภทคือ

3.3.1 บ่อดิน เป็ นประเภทของบ่อท่ีเกษตรกรนิยมใชก้ นั มากท่ีสุดเนื่องจากการลงทุน
ต่า และไม่ตอ้ งใชว้ สั ดุมาก ดินกน้ บ่อที่สะอาดทาหนา้ ที่ในการดูดซบั สารอินทรีย์ ธาตุอาหารและแร่
ธาตุส่วนเกินจากการเล้ยี งกุง้ และเป็นที่อยอู่ าศยั ของแบคทีเรียที่ทาหนา้ ที่ยอ่ ยสลายของเสีย ช่วยรักษา
คุณภาพน้า การเจริญเติบโตของแพลงกต์ อนพชื และแบคทีเรียในน้าใหอ้ ยใู่ นปริมาณที่เหมาะสม ส่วน
บ่อดินที่พ้ืนสกปรก มีสารอินทรียแ์ ละธาตุอาหารสะสมอยูม่ าก จึงมีการยอ่ ยปล่อยของเสียและธาตุ
อาหารรวมท้งั สารพษิ ออกมา ทาใหค้ ุณภาพน้าเสื่อมโทรม และเกษตรกรไม่สามารถรักษาสมดุลของ
บ่อเล้ียงได้ บ่อดินท่ีใช้เล้ียงกุ้งได้ดี ต้องการออกซิเจนปริมาณเพียงพอเพื่อให้หน้าดินมีสภาพที่
เหมาะสมต่อการอยอู่ าศยั ของกงุ้

3.3.2 บ่อปูผา้ โพลีเอทีลีน เป็ นบ่อที่นาผา้ โปลีเอทีลีน มาปูพ้ืนบ่อรวมท้ังขอบบ่อ
เพื่อใหง้ ่ายต่อการทาความสะอาดพ้ืนบ่อในระหว่างเล้ียง การปูผา้ โพลีเอทีลีน ทาให้ลดบทบาทของ
ดินในการควบคุมระบบนิเวศของบ่อเล้ยี งกงุ้ เช่นลดความตอ้ งการออกซิเจนของหนา้ ดินเนื่องจากพ้ืน
บ่อท่ีสกปรก และช่วยในการควบคุมสัตวน์ ้าท่ีเป็ นพาหะของโรคไวรัสที่จะเขา้ และออกจากบ่อเล้ียง
ทาใหส้ ามารถเพ่ิมความหนาแน่นของลูกกุง้ ท่ีปล่อยลงเล้ียงได้ การปูผา้ โพลีเอทีลีน ตอ้ งลงทุนสูง
ผลเสียจากการปูผา้ โพลีเอทีลีนที่อาจจะเกิดข้ึนคือ ของเสียท่ีเกิดข้ึนระหวา่ งการเล้ียงกุง้ จะหมนุ เวียน
เร็วข้ึน ดงั น้นั สีน้าจะเขม้ ไดง้ ่าย นอกจากน้ีการปูผา้ โพลเี อทีลีนท่ีไม่ดี หรือมีการรั่วซึมจะทาใหเ้ กิด

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 8

ความช้ืนและหมกั หมมของดินใตแ้ ผน่ ผา้ และมีการปล่อยกา๊ ซออกมาแทรกอยใู่ นช่องว่างระหว่างดิน
กบั ผา้ ทาใหผ้ วิ พ้ืนไม่เรียบ และของเสียท่ีสะสมอยู่ในบ่อระหวา่ งเล้ยี งไหลกระจายไปอยบู่ ริเวณอืน่ ท่ี
ไมใ่ ช่กลางบ่อ ยากต่อการรวมเลน ถา้ หากเล้ยี งกงุ้ ในความหนาแน่นสูง เกษตรกรตอ้ งมีอุปกรณ์ที่ดีใน
การจดั การยอ่ ยสลายของเสียและสารอินทรีย์ และตอ้ งหมนั่ ตรวจสอบสภาพของของผา้ โพลีเอทีลีน
ใหอ้ ยใู่ นสภาพดีไมฉ่ ีกขาดหรือรั่ว

3.4 การเตรียมบ่อเล้ยี ง
การเตรียมบ่อเล้ียงเล้ียงกุง้ มีความจาเป็ นต่อผลสาเร็จของการเล้ียงกุง้ ทุกรุ่น บ่อเล้ียงกุง้

ตอ้ งการระบบนิเวศท่ีมีแพลงกต์ อนพืชและแบคทีเรียในปริมาณที่เหมาะสมที่จะจดั การให้อยูใ่ น

สมดุลได้ สมดุลของแพลงก์ตอนพืชและแบคทีเรียจะทาใหบ้ ่อเล้ียงมีคุณภาพน้าและดินเหมาะสม
และสามารถจดั การให้กุ้งมีการกินอาหารและเจริญเติบโตท่ีดี การเตรียมบ่อเล้ียงกุง้ สามารถแบ่ง
ออกเป็น 3 ข้นั ตอนดงั น้ี

3.4.1 การเตรียมพ้ืนบ่อ การเตรียมพ้ืนบ่อให้เหมาะสมกบั การเล้ียงกุง้ มหี ลกั การทีตอ้ ง
ให้มีความสะอาด ไม่มีการหมกั หมมของสารอินทรีย์ มีเคมีของดินที่ไม่ทาให้เกิดสารที่เป็ นพิษ ถา้

เกษตรกรเร่งรอบของการเล้ียงกุง้ โดยไม่มีการบาบดั เลนที่ดีพอ (ใชร้ ะยะเวลามีระยะพกั บ่อน้อย
เกินไป) เมอื่ บ่อยงั คงมีดินที่ขาดออกซิเจนและมสี ารอนิ ทรียใ์ นปริมาณสูงอยู่ ถูกเติมน้ากลบั ลงไป กน้
บ่อก็จะเกิดปัญหาการขาดออกซิเจนและสร้างสารพิษไดเ้ ร็วข้ึนภายในระยะเวลา เพียง 1-2 เดือน

การเตรียมบ่อท่ีดีจะไดด้ ินพ้ืนบ่อท่ีสะอาด มีสารอินทรีย์ และสารพิษน้อย การ

บาบดั ดินในระยะเวลาท่ีนานเพียงพอ จะทาใหเ้ กิดป๋ ุยสะสมอย่ใู นดิน มปี ระโยชน์ต่อการการเตรียม

น้าเพือ่ กระตุน้ ใหเ้ กิดอาหารธรรมชาติในบ่อ
(1) บ่อที่ขุดใหม่ ส่วนใหญ่มกั จะมีปัญหาของดินท่ีมีศกั ยภาพเป็ นกรดดิน

เน้ือดินมีไพไรท์ (สารประกอบของเหล็กและซัลเฟอร์) สูง เมื่อสัมผสั กบั อากาศจะปล่อยกรด
ซลั ฟิ วริค ออกมา ทาใหด้ ินมีความเป็ นกรด-ด่างต่าและเกิดสนิมเหล็กข้ึน และมีสารประกอบของ
เหลก็ ละลายออกมาเมอื่ เติมน้า

FeS2 + 3.75 O2 + 3.5 H2O = Fe(OH)3 + 2SO42- + H+
การใชบ้ ่อท่ีมีปัญหาสนิมเหล็ก อาจจะทาให้น้ ามีความเป็ นกรด-ด่างต่า

ต้งั แต่เร่ิมปล่อยกงุ้ ลูกกงุ้ จึงมีอตั ราการตายสูง โตชา้ และผลผลิตต่า วิธีแกป้ ัญหาดินที่มีความเป็น
กรด-ด่างต่าเนื่องจากมีไพไรทส์ ูง จะตอ้ งไม่เปิ ดหน้าดินใหส้ มั ผสั อากาศ บ่อยๆ และทุกคร้ังท่ีมกี าร
เตรียมบ่อ ควรปรับความเป็ นกรด-ด่างของดินให้ข้ึนมาอย่ปู ระมาณ 5.5 –6.5 โดยใชป้ ูนขาว หรือปูน
ไฮดรอกไซค์ ถา้ ความเป็นกรด-ด่างของดินอยสู่ ูงกว่า 6.5 - 7 การใส่ปูนขาวเพื่อปรับความเป็น

กรด-ด่างจะมีความจาเป็ นนอ้ ยลง ในกรณีที่บ่อเล้ียงกุง้ อยใู่ นบริเวณท่ีมีน้าทะเลท่ีมีค่าความเป็ นด่าง
สูง เกษตรกรสามารถใชน้ ้าทะเลชะลา้ งความเป็นกรดของผวิ หนา้ ดิน โดยนาน้าทะเลเขา้ มาในบ่อเล้ยี ง
ทิ้งไวป้ ระมาณ 1 สปั ดาห์ แลว้ จึงระบายน้าออกไป และชะลา้ งซ้าอีก 2-5 คร้ังก่อนตรวจวดั ความเป็ น

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 9

กรด-ด่างของดินและใชป้ ูนตามท่ีไดแ้ นะนาแลว้ ขา้ งตน้ วิธีการดงั กล่าวจะช่วยทาให้เกษตรกรลด
ตน้ ทุนในการใชป้ ูนปรับความเป็นกรด-ด่างของดินไดม้ าก

ดินที่ไดร้ ับปูนแลว้ จะมีความตอ้ งการปูนนอ้ ยลง จึงทาใหป้ ริมาณปูนที่ตอ้ ง
ใชใ้ นการปรับความเป็ นกรด-ด่างดินลดลงไป จะเห็นไดว้ า่ ถา้ หากเกษตรกรใชว้ ิธีการลอกเลน จะ
เป็นการเปิ ดหนา้ ดินใหส้ มั ผสั กบั อากาศบ่อยๆ และทาใหส้ ูญเสียหนา้ ดินที่อม่ิ ตวั ดว้ ยปูน ดินกน้ บ่อจึง
อยใู่ นสภาพมปี ัญหาความเป็นกรด-ด่างต่าเร้ือรัง

(2) บ่อเก่า บ่อท่ีผา่ นการเล้ยี งกงุ้ มาแลว้ มีปริมาณสารอินทรีย์ สารประกอบ
เป็นพิษสะสมอยู่ ไมเ่ หมาะสมต่อการเล้ยี งกุง้ จึงมคี วามจาเป็นตอ้ งทาความสะอาดก่อนเล้ียงกงุ้ ในรุ่น
ต่อไป วธิ ีในการทาความสะอาดบ่อเล้ียงท่ีผา่ นการเล้ยี งกงุ้ มาแลว้ มที ้งั การบาบดั เลนในบ่อเล้ยี งและ
การนาเลนออกนอกบ่อ

(2.1) การบาบัดเลนภายในบ่อโดยไม่นาเลนออกจากบ่อ เหมาะ
สาหรับบ่อเล้ียงท่ีมีเลนหรือสารอินทรียส์ ะสมอยไู่ ม่มาก เป็ นบ่อเล้ียงท่ีประสบความสาเร็จในการ
เล้ียงรอบท่ีผา่ นมาเลนท่ีไม่ไดน้ าออกมานอกบ่อหมุนเวยี นมีหลกั การปฏบิ ตั ิดงั น้ี

ก) เปลี่ยนสภาพของดินเลนที่ขาดออกซิเจนให้อยู่ใน
สภาพมอี อกซิเจน โดยการตากใหเ้ ลนกน้ บ่อสมั ผสั กบั ออกซิเจนในอากาศ จนเลนเกิดการแตกระแหง
และเปลี่ยนสีจากสีดาที่มีกลิ่นเหมน็ ไปเป็นสีน้าตาลหรือสีดินเดิม และไมม่ กี ลิ่นเหมน็ ก๊าซไฮโดรเจน
ระยะเวลาในการบาบดั อาจจะใช้เวลาประมาณ 2–3 สัปดาห์ หรือดูว่ามีการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึน
ประมาณ 80% ของดินเลน วิธีน้ีอาจจะพูดไดง้ ่ายๆ ว่าเป็ นการฟอกดินเลนที่ขาดออกซิเจน มีการ
สะสมของสารพิษ ให้สารพิษมีการสลายตัวไป และเปลี่ยนสภาพของดินกลบั มาอยู่ในระบบท่ีมี
ออกซิเจน ท่ีเอ้ือต่อการกระตุน้ ใหเ้ กิดการยอ่ ยสลายและเปล่ยี นสารอินทรียใ์ หก้ ลายเป็นป๋ ุย

ข) บาบัดให้สารอินทรี ย์และสิ่งขับถ่ายให้สลายตัว
เปลี่ยนเป็ นป๋ ุยที่เป็ นประโยชน์ ต่อการเตรียมน้าเพ่ือปล่อยกุง้ และการรักษาสมดุลของดินและน้าใน
บ่อเล้ียงกุ้ง ใชห้ ลกั การเร่งการย่อยสลายของจุลินทรียธ์ รรมชาติในบ่อ ดว้ ยวิธีการรดน้าพรวนดิน
ท้ังน้ีเนื่องจากในสภาพท่ีมีความช้ืนและอากาศถ่ายเท จุลินทรียส์ ามารถเติบโตและย่อยสลาย
สารอนิ ทรียไ์ ดด้ ี ความเป็นกรด-ด่างของดินท่ีเหมาะสม ควรอยใู่ นช่วง 7-7.5 ระยะเวลาที่ใชค้ วรจะ
ประมาณ 4 – 6 สปั ดาห์ ตามความจาเป็นหรือแผนการปล่อยกงุ้

(2.2) การบาบดั เลนภายในบ่อโดยใชเ้ รือฟอกเลน เป็ นวธิ ีท่ีเหมาะ
สาหรับบ่อที่ไม่สามารถเตรียมบ่อในสภาพแห้งได้ หรือบ่อท่ีจดั เล้ียงแบบรีไซเคิล เรือฟอกเลน
(Skimmer boat) มที ้งั ป๊ัมน้าผสมอากาศ (รวมท้งั ออกซิเจน-โอโซน) และชุดอปุ กรณ์ขบั เคล่ือนเรือ อยู่
บนหางเดียวกนั ใชใ้ นการช่วยเติมน้าผสมอากาศหรือออกซิเจนหรือโอโซนในอตั ราที่เหมาะสม ฉีด
อดั ลงท้ังในน้าและตะกอนเลน เพ่ือเร่งการย่อยสลายเศษอาหาร ส่ิงขับถ่าย ซากสิ่งมีชีวิตรวมท้ัง
ทาลายเช้ือต่างๆ ที่อาจเป็นสาเหตุก่อโรคในบ่อเล้ียงกุง้ เวลาปฏิบตั ิงานในช่างของการเตรียมบ่อ ให้

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 10

นาเรือลงไปขบั ชา้ ๆ ในบ่อ ประมาณ 3-5 วนั /คร้ังๆละประมาณ 15-20 นาที/ไร่ เป็นเวลาต่อเนื่อง 4–6
สปั ดาห์

(2.3) การนาเลนออกนอกบ่อ เป็ นวิธีการเตรียมบ่อโดยใชร้ ถตกั ข้ี
เลนออก หรือใชน้ ้าฉีดลา้ งบ่อ แลว้ นาเอาข้ีเลนไปเก็บในพ้ืนที่ท่ีเตรียมไว้ เป็ นวิธีท่ีเกษตรกรสามารถ
เลือกใชไ้ ด้ เพราะใชเ้ วลาน้อย แต่วิธีน้ีตอ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายสูง และทาให้สูญเสียหน้าดินที่มธี าตุอาหาร
เหมาะสาหรับบ่อท่ีมีของเสียมาก และไม่สามารถจดั การดว้ ยวิธีอ่ืนๆได้ ขอ้ ควรระวงั ก็คือถึงแมจ้ ะมี

การนาเอาเลนส่วนใหญ่ออกไปแล้ว ดินก้นบ่อ (หน้าดินที่เปิ ดใหม่) เป็ นหน้าดินเก่าท่ียงั คงมี

สารอินทรีย์ที่ขาดออกซิเจนอยู่ ดังน้ัน หลงั จากตัดหรือฉีดเลนไปเก็บไวใ้ นที่ท่ีเตรียมไว้แลว้
เกษตรกรจะตอ้ งปล่อยใหด้ ินมีการตาก และท้ิงเวลาให้ดินไดร้ ับออกซิเจนและมกี ารย่อยสลายอย่าง
เพียงพอ ก่อนที่จะเร่ิมเล้ียงกงุ้ ต่อไป

(3) การพ้ืนฟูสภาพดินกน้ บ่อ ดินกน้ บ่อเมื่อใชเ้ ล้ียงกุง้ ไปนานๆ การทา
ความสะอาดบ่อ และการปล่อยธาตุอาหารจากพ้ืนบ่อออกไปในน้าที่ใชเ้ ล้ียงกุง้ การถ่ายน้าออกจาก
บ่อเวลาจบั กุง้ เป็ นปัจจยั ท่ีทาให้ธาตุอาหารในดินจะหมดไป หรือเสียสมดุล ทาให้การจดั การรักษา

คุณภาพของดินและการเตรียมสีน้าทาไดล้ าบาก เช่นพ้ืนบ่อดินทราย ท่ีสามารถสูญเสียธาตุอาหารได้
ง่าย การเตรียมบ่อท่ีมพี ้ืนเช่นน้ี นอกจากจะใชว้ ิธีไม่นาดินเลนออกจากบ่อแลว้ ยงั ใชว้ ิธีไถพรวนและ
เติมจุลนิ ทรียห์ มกั ป๋ ุยคอกและแกลบที่สะอาดลงไปในดินระหว่างการไถพรวนและตากบ่อ เพ่ือเป็ น

การช่วยยอ่ ยสลายอินทรียส์ ารในดินและปรับเติมธาตุอาหารอ่ืนๆ เขา้ ไปรักษาหรือฟ้ื นฟูสมดุลของ

ดินที่เล้ียงกงุ้ ซ่ึงพบว่าจะทาใหเ้ ตรียมสีน้าง่ายข้ึน
3.4.2 การกาจัดพาหะและศตั รูของลูกกุ้ง การกาจดั พาหนะและศตั รูของกุง้ ในช่วง

ระหว่างการเตรียมบ่อจาเป็ นอยา่ งยงิ่ สาหรับการเล้ียงกุง้ แบบพฒั นา ทาให้ความเสี่ยงในการเล้ียงกุง้
ลม้ เหลวลดนอ้ ยลง ปัญหาของพาหะน้นั เนน้ ท่ีสตั วน์ ้าประเภทกุง้ ปูท่ีเป็นพาหะของโรคไวรัสที่มีการ
ระบาดอย่างรุนแรงและไม่มยี ารักษา รวมถึงศตั รูที่เป็นอนั ตรายต่อลูกกุง้ และสตั วน์ ้าอ่ืนๆ ที่รบกวน
ทาใหเ้ กิดปัญหาในระหว่างการจดั การเล้ียง ดงั น้ี

(1) ปูและกุง้ ทอ้ งถิ่น ในพ้ืนท่ีเล้ียงกุง้ ท่ีเป็ นที่ลุ่มชายฝั่ง ปูเปร้ียว กุง้ กระ
ต่อม กุง้ เคย เป็นสตั วน์ ้าทอ้ งถนิ่ ที่มกั เป็นพาหะโรคไวรัส โดยเฉพาะในพ้นื ที่ท่ีมีการระบาดของโรค
ไวรัสอยา่ งต่อเน่ือง เมื่อสัตวน์ ้าเหล่าน้ีเข้าไปอยู่ในบ่อเล้ียงก็สามารถถ่ายทอดเช้ือโรคให้กบั กุ้งที่
ออ่ นแอทาใหเ้ กิดการติดเช้ือโรคได้ และปูเหลา่ น้ีมกั จะเคลอื่ นยา้ ยไปอาศยั ในบ่อเล้ยี งกุง้ ที่อยใู่ กลเ้ คียง
วิธีการควรจะเตรียมบ่อให้แห้งไม่ให้มีน้าขงั เป็ นแหล่งหลบซ่อนของปูและกุง้ พาหะในบ่อ และ
ป้องกนั ไมใ่ หป้ ูเขา้ มาอยใู่ นบ่อโดนก้นั อวนหรือผา้ พลาสติกรอบบ่อ น้าท่ีนาเขา้ บ่อควรเป็ นน้าที่มกี าร
กรองและพกั ไวใ้ นบ่อพกั น้า และกรองอีกคร้ังหน่ึงก่อนนาเขา้ สู่บ่อเล้ยี งกุง้

(2) หอยเจดีย์ หอยเจดีย์ เป็นปัญหามาก ในบ่อท่ีสารอินทรีย์ และมีการใช้

ปูนในปริมาณมาก สารอินทรียพ์ ้ืนบ่อเป็ นอาหารท่ีดีของกุ้ง และคาร์บอเนตเหลือจากปูนเป็ น

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 11

สารประกอบที่หอยนาไปใชส้ ร้างเปลือก ทาให้เม่ือมีหอยเกิดข้ึนในบ่อ วิธีการกาจดั นิยมกวาดข้ึน
จากบ่อตอนช่วงเตรียมบ่อ ใหม้ ากที่สุดเท่าที่จะมากได้ หลงั จากน้นั ใชก้ ากชาประมาณ 40 กก./ไร่ แช่
ท้ิงไว้ 5-7 วนั แลว้ ทาการถ่ายน้าทิ้งไปก่อนเติมน้าใหม่เขา้ มาในบ่อ

(3) ไข่และลูกปลา ไข่ปลาและลูกปลาท่ีหลุดเขา้ มาในบ่อในช่วงของการ

เติมน้าจะฟักและเจริญเติบโตในช่วงเตรียมบ่อและเป็ นศตั รูหรือแยง่ อาหารของลูกกุง้ ที่เล้ียง วธิ ีการ
ป้องกนั คือกรองดว้ ยอวนตาถี่ 2 ช้นั แลว้ ใชก้ ารลงกากชาประมาณ 20-25 กก./ไร่ เพอื่ ฆา่ ไข่ปลาและ
ลกู ปลาที่หลดุ เขา้ มากบั น้า ปัญหาที่เกิดหลงั จากใชก้ าคือจะเกิดฟองมาก และออกซิเจนลดต่าลง จึง
ควรชอ้ นฟองกากชาออกจากบ่อ และเปิ ดเครื่องเพ่ิมออกซิเจนอยา่ งเต็มที่เป็ นเวลา 7-10 วนั แลว้ ใส่
ปูนขาวเพื่อปรับสภาพและเตรียมน้า

(4) สาหร่ายพ้ืนบ่อ การมสี าหร่ายจานวนมากน้นั เกิดจากเตรียมพ้นื บ่อและ
การเตรียมน้าไมด่ ี ทาใหน้ ้าใสเกินไป มปี ๋ ุยเยอะ และสาหร่ายเกิดข้ึนที่พ้ืนบ่อ ส่วนใหญ่จะพบในบ่อท่ี
มีความเค็มต่า มีการใส่ป๋ ุยเคมีมากเกินไป หรือทาสีน้าไม่ข้ึนแลว้ รีบปลอ่ ยกุง้ สาหร่ายท่ีพ้ืนบ่อ เมื่อ
ใหอ้ าหารไปก็ไมต่ กอยบู่ นสาหร่าย กุง้ กก็ ินไมไ่ ด้ ยง่ิ ทาให้ ค่าความเป็นกรด-ด่าง สูงข้ึนเรี่อยๆ น้าก็ยงิ่
ใส ซ่ึงปัญหามากถา้ เกิดในระหวา่ งการเล้ยี ง เพราะลงกุง้ ไปแลว้ ไม่ควรใชย้ าหรือสารเคมีในการฆ่า

สาหร่าย เพราะยาจะเขา้ ไปสะสมในตัวกุ้งและกุง้ โตชา้ เมื่อลงกุง้ ไปแลว้ วิธีแกไ้ ขควรใชค้ ราดเอา

สาหร่ายข้ึนมาหรือใชค้ นลงไปเก็บ แลว้ ทาสีน้าให้เขม้ เพ่ือไม่ให้แสงแดดส่องถึงพ้ืนกน้ บ่อ หรือว่า
เล้ยี งใหน้ ้าลึกข้ึน เพือ่ ลดปริมาณแสงท่ีส่องถึงพ้ืน

3.4.3 การเตรียมน้า หลงั จากเตรียมดินเลนกน้ บ่อแลว้ จะตอ้ งเตรียมน้าใหเ้ ร็วที่สุดอกี
ดว้ ย เพ่ือป้องกนั ไม่ใหพ้ ้ืนกน้ บ่อเสียไปจนไม่เหมาะสมต่อการปรับตวั ของลกู กุง้

ปัจจยั หน่ึงที่เป็นพ้ืนฐานความสาเร็จของการเล้ียงกุง้ ในปัจจุบนั คือ บ่อพกั น้าเพื่อ
เตรียมน้าสะอาดไวใ้ ชต้ ลอดระยะเวลาท่ีเล้ียงกงุ้ บ่อพกั น้าเปรียบเสมือนแหลง่ น้าขนาดเล็กของฟาร์ม
สามารถเลือกเก็บน้าท่ีมีคุณภาพดีไว้ ในระหวา่ งเกบ็ น้าในบ่อพกั ระบบนิเวศของบ่อจะช่วยปรับปรุง
ใหค้ ุณภาพน้าดียิ่งข้ึน ลดการปนเป้ื อน และพกั ไม่ให้เช้ือโรคท่ีปนเป้ื อนในน้าขยายปริมาณเพ่ิมข้ึน
โดยเฉพาะเช้ือไวรัสที่ไมส่ ามารถอยใู่ นน้าไดอ้ ยา่ งอิสระเกิน 5 วนั เม่ือใชเ้ ตรียมน้าจะทาใหค้ วามเส่ียง
ลดลง

การมีบ่อพกั น้าอาจดูเหมือนทาใหม้ บี ่อเล้ียงกุง้ ลดลงและมรี ายไดน้ อ้ ยลง แต่การ
ไมม่ บี ่อพกั น้า และใชพ้ ้นื ท่ีท้งั หมดเป็นบ่อเล้ยี งกงุ้ เกษตรกรอาจมีความเส่ียงในการนาเช้ือโรคกุง้ เขา้
สู่บ่อเล้ียงกุง้ โดยตรง บ่อพกั น้าทาให้เกษตรกรมีทางเลือกในการแกป้ ัญหาการเล้ียงมากข้ึน ทาให้
โอกาสขาดทุนลดลง

บางรายมีบ่อเล้ยี งกงุ้ บ่อเดียวท่ีมีขนาดใหญ่ เช่น บ่อประมาณ 5-6 ไร่ ถา้ ตอ้ งการมี

บ่อพกั น้า อาจจะทาไดโ้ ดยการปรับปรุงใหเ้ ป็นขนาดเลก็ 2 บ่อ ขนาด ประมาณ 4 ไร่ และ 1.5 ไร่ เพื่อ

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 12

ใชพ้ กั น้า บ่อเล้ยี งขนาดเล็ก (2-4 ไร่) จะเหมาะกบั การเล้ียงกงุ้ ระบบปิ ด เพราะสามารถจดั ควบคุมและ
แกป้ ัญหาคุณภาพน้าไดด้ ีกว่าบ่อขนาดใหญ่

การเตรียมน้าที่ใชเ้ วลานาน อาจจะทาใหพ้ ้ืนกน้ บ่อเล้ยี งเสียไป ดินกน้ บ่อที่ใส่น้า
แลว้ จะเปลี่ยนแปลงเขา้ สู่สภาพการขาดออกซิเจนไดง้ ่าย มีการศึกษาพบวา่ บ่อเล้ียงกุง้ ที่ ผ่านการ

เล้ียงกงุ้ มาแลว้ 30 วนั หลงั จากเติมน้า (เตรียมบ่อประมาณ 10 วนั และปลอ่ ยกงุ้ ลงเล้ยี งแลว้ 20 วนั ) จะ
เริ่มแสดงอาการขาดออกซิเจนท่ีผวิ ดิน ถา้ เตรียมบ่อนานเกิน 1 เดือน ทาใหด้ ินกน้ บ่อขาดออกซิเจน
สตั วห์ นา้ ดิน ก็จะลดปริมาณลง อาหารธรรมชาติอาจจะไม่เพยี งพอท่ีทาใหก้ งุ้ มีอตั รารอดสูงได้

(1) วิธีการเตรียมน้า ตอ้ งเน้นการกรองเอาปลา ไข่ปลาและสตั วน์ ้าอ่ืนๆ
ออกจากน้า โดยใชผ้ า้ ตาละเอยี ด ทาเป็นถงุ กรอง ซอ้ นกนั หลายๆ ช้นั เพ่ือป้องกนั ไม่ใหพ้ าหะโรคกุง้
หรือศตั รูลูกกุง้ เขา้ มาเจริญเติบโต ลูกปลาหรือไขปลาหลดุ เขา้ มาในบ่อ ในช่วงก่อนที่จะปล่อยกงุ้ ซ่ึง

ถา้ หากไม่มกี ารป้องกนั ที่ดีจะทาใหล้ ูกกงุ้ มอี ตั รารอดนอ้ ย

เติมน้าในบ่อเล้ยี งให้ไดร้ ะดบั 100 ซม. ในกรณีที่มีพบว่าในบ่อมีสัตว์
พาหะโรคกงุ้ หรือศตั รูลูกกงุ้ หลุดหลงเหลืออยู่ อาจจะใชอ้ วนตาถ่ี ลากสกั 2-3 เที่ยว เพ่อื กาจดั สตั วน์ ้า
เหล่าน้นั ออกจากบ่อก่อนที่จะปล่อยกงุ้

(2) การใช้ป๋ ุยเคมีในการเตรียมน้า หลงั จากเติมน้ าแลว้ ถา้ สีน้าสามารถ
เพม่ิ ข้ึนไดม้ ากกวา่ 10 ซม. ภายใน 2 - 3 วนั หรือถา้ สีน้ามีความโปร่งใสต่ากวา่ 80 ซม.อยแู่ ลว้ แสดง
วา่ สีน้าสามารถข้ึนไดเ้ องจากป๋ ุยที่ยงั เหลืออยใู่ นแหล่งน้าจึงไมจ่ าเป็นตอ้ งเติมป๋ ุยอีก แต่ในกรณีที่สีน้า
ไมข่ ้ึนใหใ้ ส่ป๋ ุยวทิ ยาศาสตร์เพ่อื เร่งการเจริญเติบโตของแพลงกต์ อนพชื ป๋ ุยที่ใชค้ ือ

ป๋ ุย Urea 40-0-0 2.0 กก./ไร่

ป๋ ุย ฟอสเฟต 16-20-0 1.5 กก./ไร่

หรือ 10-46-0 1.0 กก./ไร่

หลงั จากน้ัน เมื่อสีน้าอยู่ในระดับ 50-80 ซม. ก็พร้อมท่ีจะปล่อยกุง้
ระยะเวลาเตรียมน้าไมค่ วรเกิน 7 -10 วนั

(3) การใช้สารอินทรียเ์ ตรียมบ่อ การเตรียมสีน้าส่วนหน่ึงทาเพ่ือให้เกิด
อาหารธรรมชาติแระเภทสตั วห์ นา้ ดิน เช่น หนอนแดง โดยใชร้ าบรรจุใส่ถงุ ถุงละ 30 กก. จานวน

2 ถุง/บ่อ นามาผกู แช่น้าไวบ้ ริเวณริมบ่อ ทิ้งไวป้ ระมาณ 2-3 วนั จากน้ันนาราท่ีแช่ไว้ เอาไปสาดให้
ทว่ั บ่อ เพยี งเท่าน้ีกท็ าใหส้ ตั วห์ นา้ ดินอยา่ งหนอนแดงเกิดแลว้

(3) การใช้วสั ดุปูนเตรียมสีน้ า วสั ดุปูนมีบทบาทสาคัญในการควบคุม
ระบบนิเวศบ่อเล้ียงกุง้ การใชว้ สั ดุปูนในปริมาณท่ีเหมาะสมมีประโยชน์ ทาให้ความเป็ นกรด-ด่าง

ของน้าและดินเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตกุง้ แพลงก์ตอนพืชและจุลินทรีย์ นอกจากน้ียงั เป็ นตวั
ตา้ นการเปล่ียนแปลงของความเป็ นกรด-ด่าง (พีเอชบฟั เฟอร์) ไม่ให้แกวง่ ตวั เร็วเกินไป การเติมปูน

เหมาะสาหรับบ่อใหมห่ รือบ่อท่ีมคี ่าความเป็นด่างต่า โดยใหเ้ ติมปริมาณปูนโดโลไมท์ 50-120 กก./ไร่

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 13

เปิ ดเครื่องตีน้าตลอด 1-2 วนั แลว้ ตรวจสอบดูมีสีน้าในบ่อหรือไม่ ถา้ ไม่มีปูนซ้าอีกคร้ังในอตั ราส่วน
เท่าเดิม ทาจนกวา่ สีน้าข้ึน (ปกติ 2-4 คร้ัง) ในกรณีที่เป็นบ่อเก่า สีน้าอาจจะข้ึนไดเ้ ร็ว

การเติมปูนนอกจากจะชว่ ยใหค้ ่าความเป็นด่างของน้าเพ่มิ ข้ึนแลว้ ยงั ไดแ้ ร่
ธาตุเช่น แคลเซียม แมกนีเซียม ทาใหก้ งุ้ ขาวสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ เหมาะสาหรับน้าทะเลที่มี
ความเคม็ สูงกวา่ 15 ส่วนในพนั ส่วน

(4) การใชจ้ ุลินทรียเ์ ตรียมน้า จุลินทรียม์ ีบทบาทช่วยรักษาสมดุลน้าและ
พ้ืนบ่อ จุลินทรี ยช์ ่วยย่อยสารอินทรีย์ทาให้เกิดการเปล่ียนสารอินทรี ยเ์ ป็ นป๋ ุย ป๋ ุยท่ีเกิดข้ึนจะ
หมุนเวยี นเขา้ มาสร้างการเจริญเติบโตของแพลงกต์ อนพชื อยา่ งต่อเน่ือง ทาใหส้ ีน้านิ่ง การใช้
จุลินทรียใ์ นช่วงการเตรียมน้า จะทาใหม้ ีปริมาณป๋ ุยจากการยอ่ ยสลายเพิ่มข้ึนทาใหส้ ามารถเตรียมสี
น้าไดด้ ี จุลินทรียท์ ี่นิยมใชใ้ นการปรับปรุงสภาพน้า เช่น

จุลินทรียแ์ บซิลสั ซับทิลิส (Bacillus subtillis) สามารถเจริญเติบโต

ขยายปริมาณและทนน้าทะเลไดด้ ีในช่วงกวา้ ง และสามารถสร้างน้าย่อยสารอินทรียไ์ ดห้ ลายประเภท
แต่เป็ นจุลินทรียท์ ี่ต้องการออกซิเจนสูง ในระหว่างเตรียมน้ าตอ้ งใช้เครื่องเพ่ิมออกซิเจนเพื่อให้
จุลนิ ทรีย์ เพม่ิ ปริมาณและทางานไดด้ ี

จุลินทรียส์ ังเคราะห์แสง (Photosynthetic bacteria) พวกโรโดซูโด

โมแนส ใชแ้ ก๊สไฮโดรเจนซลั ไฟด์ในการเจริญเติบโต เหมาะสาหรับใช้ยอ่ ยสลายสารอินทรีย์ ลด

ปริมาณไฮโดรเจนซลั ไฟด์ จึงสามารถรักษาคุณภาพของเลนกน้ บ่อและลดการเน่าเสียไดด้ ีในสภาพ ที่

ไมม่ ีอากาศ เมือ่ พ้นื บ่อดีข้ึน การเตรียมสีน้าก็ง่ายข้ึน
จุลินทรียอ์ ีเอม็ (Effective Micro-organisms: EM) กลุ่มจุลินทรียท์ ่ีมี

ประสิทธิภาพ ปรับปรุงสภาพความสมดุลของสิ่งมีชีวติ และสิ่งแวดลอ้ มให้ดีข้ึน เช่น แบคทีเรีย ยสี ต์
และรา เป็ นจุลินทรียท์ ่ีไม่ตอ้ งการอากาศ จึงสามารถเขา้ ไปอยู่ในพ้ืนบ่อท่ีมีออกซิเจนน้อยได้ หมกั

ขยายพนั ธุ์ ก่อนใชด้ ว้ ยกากน้าตาล และใชใ้ ส่ในบ่อเล้ียงกุง้ เพอื่ เร่งการยอ่ ยสลายสารอินทรียท์ ี่พ้นื บ่อ
และปลอ่ ยป๋ ุยใหก้ บั แพลงกต์ อนพืชในระหวา่ งการเตรียมน้าก่อนเล้ียงกุง้

(5) การเตรียมน้าในระบบความเค็มต่า กุ้งขาวแวนนาไมทนทาน
ความเค็มในช่วงกวา้ ง การเล้ยี งระบบความเคม็ ต่าในพ้นื ท่ีที่ขาดแคลนน้าเคม็ การเตรียมน้าท่ีมีความ
เค็มเหมาะสมต่อการปรับตวั ของกุง้ เป็ นสิ่งจาเป็ นเพ่ือใหก้ ุง้ มีอตั รารอดท่ีสูง เร่ิมจากการเติมน้าความ
เค็มต่า (ประมาณนอ้ ยกวา่ 2 ส่วนในพนั ส่วน) เขา้ ไปในบ่อ แลว้ กนั คอกพลาสติกขนาดพ้นื ท่ีประมาณ

5% แลว้ นาเอาน้าเค็มมาปรับใหบ้ ่อเล้ียงมีความเคม็ ประมาณ 5-10 ส่วนในพนั ใชเ้ ครื่องเพม่ิ ออกซิเจน
ผสมให้น้าจืด และน้าเค็มเขา้ กนั เตรียมน้าทิ้งไว้ 1 วนั แลว้ จึงสงั่ กุง้ มาปล่อยในบ่อ และเล้ียงประมาณ
5-7 วนั ในระหว่างเล้ียง ค่อยๆ ผสมน้าโดยนาน้าในบ่อ (ภายนอกคอกปล่อยกุง้ ) เขา้ มาในคอกให้
ความเคม็ ลดลงอยา่ งชา้ ๆ จนความเคม็ ของน้าเท่ากนั ในวนั สุดทา้ ย แลว้ จึงเอาคอกออก

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 14

3.5 การเลือกลูกกงุ้ คุณภาพ
คุณภาพลูกกุ้งเป็ นตวั แปรสาคญั ของความสาเร็จในการเล้ียงกุ้ง ปัจจุบนั ปัญหาการ

ระบาดของโรคไวรัสในกุง้ ขาวท่ีใชเ้ ป็ นพ่อแม่พนั ธุ์ เป็ นปัญหาที่มีความสาคญั ไวรัสที่อย่ใู นพ่อแม่
พนั ธุ์ท่ีเป็ นพาหะน้ันสามารถถา่ ยทอดในแนวด่ิงหรือถ่ายทอดจากแม่สู่ลูกได้ ทาใหล้ กู กงุ้ ติดเช้ือโรค
มีการระบาดไปในพ้ืนท่ีที่นาลูกกุ้งไปใช้ และเม่ือกุง้ แสดงอาการของโรคไวรัสในฟาร์มท่ีเล้ียง
เนื่องจากสภาวะเครียดหรือความอ่อนแอของกุง้ เป็ นตวั กระตุ้น ทาให้มีการถ่ายทอดเช้ือไวรัสใน
แนวนอน ไปสู่กุง้ ในบ่ออ่ืนๆ ได้ การคดั เลอื กลกู กงุ้ ที่มคี ุณภาพมาเล้ียงจึงมคี วามจาเป็น

ความแตกต่างที่สาคญั ระหว่างพ่อแม่พนั ธุ์กุง้ ขาวกบั กุง้ กุลาดาคือ พ่อแม่พนั ธุ์กุง้ ขาว
สามารถเพาะเล้ยี งไดใ้ นบ่อจนถึงขนาดที่นามาเพาะฟักไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ในขณะท่ีแมก่ งุ้ กุลาดา
ตอ้ งจับจากทะเล เป็ นการพ่ึงพาธรรมชาติ ปัจจุบันในแหล่งน้ าชายฝ่ังของประเทศไทยรวมท้ัง
ประเทศที่มกี ารเล้ียงกงุ้ เพอื่ การส่งออกพบมีการแพร่กระจายของไวรัสโรคกงุ้ ในสตั วน์ ้าประเภทกงุ้ ปู
หลายชนิด รวมท้ังกุ้งกุลาดาที่จบั ตามแหล่งน้าธรรมชาติชายฝั่งของประเทศไทย แต่กุง้ ขาวมีการ
พฒั นาระบบจดั การเล้ียงท่ีสามารถทาใหป้ ลอดเช้ืออยา่ งครบวงจร จึงทาให้ความเส่ียงในการที่แม่
พนั ธุจ์ ะเป็นพาหะเช้ือไวรัสลดนอ้ ยลง

คุณภาพลกู กงุ้ ขาวที่ไมเ่ กย่ี วกบั โรคไวรัส เช่น ลกู กงุ้ สายพนั ธุ์ท่ีมีการเติบโตดี มกี ารเล้ยี ง
ในโดยไมใ่ ชย้ าปฏชิ ีวนะตอ้ งห้าม เล้ียงสภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมและมกี ารพฒั นาท่ีดีตามระยะการ
เติบโตปกติของลูกกงุ้ และมีความแข็งแรงพร้อมที่จะปล่อยก็ยงั เป็นคุณภาพท่ีเกษตรกรตอ้ งให้ความ

ใส่ใจ เพ่อื ใหไ้ ดค้ ุณภาพลูกกงุ้ ท่ีดีที่สุด รายละเอยี ดคุณภาพลกู กงุ้ ขาวที่สาคญั และประโยชน์ท่ีไดร้ ับมี
ดงั ต่อไปน้ี

3.5.1 ลกู กงุ้ ปลอดเช้ือ SPF (Specific pathogen free) ลูกกงุ้ ปลอดเช้ือเป็นลูกกุง้ ที่ผลิต
จากพ่อแม่พนั ธุ์ ที่เล้ียงในฟาร์ม ท่ีมีระบบป้องกนั การปนเป้ื อนทางชีวภาพ (Bio-security) ต้งั แต่ยงั
เป็นลูกกุง้ จนกระทงั่ เป็ นพ่อแม่พนั ธุ์ ระบบฟาร์มจะป้องกนั เฝ้าระวงั และตรวจสอบเพื่อใหม้ น่ั ใจว่า
ไมม่ ีเช้ือโรค ท่ีไม่พึงประสงคเ์ ขา้ มาอยใู่ นระบบการผลิต ลกู กงุ้ ปลอดเช้ือจะระบุจาเพาะเจาะจงเช้ือ
โรคตวั ใดตวั หรือ หรือเช้ือโรคหลายตวั ตามที่กาหนดไวก้ ็ได้ ลูกกุง้ ปลอดเช้ือส่วนใหญ่ปลอดจาก
เช้ือไวรัสตวั แดงดวงขาว (White spot syndrome virus, WSSV) ไวรัสทอร่า (Taura syndrome virus,
TSV ) ไวรัสหัวเหลือง (Yellow head virus, YHV) ไวรัสโรคแคระแกร็น (Infectious hypodermal
and hematopoietic virus, IHHNV) ซ่ึงลกู กุง้ ดงั กล่าวตอ้ งมีใบรับรองความปลอดเช้ือท้งั ในแม่และลูก
กงุ้ ของโรงเพาะฟักท่ีผลติ หรือผลการตรวจไวรัส จากหอ้ งปฏิบตั ิการที่มมี าตรฐาน การนากุง้ ปลอด
เช้ือมาเล้ียงนิยมในฟาร์มท่ีมีระบบป้องกนั การปนเป้ื อนทางชีวภาพ และฟาร์มที่เกษตรกรตอ้ งการลด
ปัญหาโรคไวรัสระบาดในฟาร์ม เกษตรกรจึงควรตรวจสอบผลการตรวจเช้ือไวรัสดงั กล่าวจาก
ห้องปฏิบัติการว่าลูกกุ้งไม่มีการติดเช้ือไวรัส แต่อย่างไรก็ตามลูกกุ้งปลอดเช้ือจากโรงเพาะฟัก
สามารถติดเช้ือใหม่ได้ ถา้ เปลี่ยนสถานที่เล้ียงไปอยใู่ นเขตพ้ืนท่ีเสี่ยงต่อโรคระบาด

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 15

3.5.2 ลูกกุ้งตา้ นทานเช้ือ SPR (Specific pathogen resistant) ลูกกุง้ ต้านทานเช้ือเป็ น
ลูกกงุ้ ท่ีผลิตจากจากพอ่ แมพ่ นั ธุก์ ุง้ ขาวที่มกี ารพฒั นาสายพนั ธุ์ ใหม้ ีลกั ษณะทางพนั ธุกรรมท่ีสามารถ
ตา้ นทานเช้ือใดเช้ือหน่ึงได้ โดยการนากงุ้ มาเล้ียงในสภาวะท่ีมเี ช้ือก่อโรค แลว้ เลือกกงุ้ ตวั ท่ีรอดชีวิต
มาคดั สายพนั ธุ์ กุง้ เหล่าน้ีผลิตมาจากพ่อแม่พนั ธุ์ที่ไดร้ ับการทดสอบแลว้ ว่าสามารถเล้ียงใหม้ ีอตั รา
การรอดตายสูงกว่าลูกกุง้ ธรรมดาที่ไม่ดีรับการปรับปรุงพนั ธุ์ ผลจากการปรับปรุงพนั ธุ์กงุ้ สามารถ
ตา้ นทานไดเ้ ฉพาะเช้ือใดเช้ือหน่ึงเท่าน้ัน ในทางทฤษฎีลูกกุง้ ตา้ นทานเช้ือเหมาะสาหรับเกษตรกร
นาไปเล้ียงในแหลง่ ท่ีมีหรือเสี่ยงต่อการระบาดของโรคท่ีรุนแรง เช่น ไวรัส ท่ีจาเพาะเจาะจง ถา้ หาก
วา่ ไวรัสชนิดหน่ึงมกี ารพฒั นาปรับเปลย่ี นสายพนั ธุ์ อาจทาใหค้ วามตา้ นทานเช้ือโรคที่จาเพาะเจาะจง
น้นั หมดไป กุง้ จึงไม่สามารถตา้ นทานไวรัสสายพนั ธุใ์ หม่ไดอ้ ีกต่อไป นอกจากน้ี ความสามารถใน
การตา้ นทานเช้ือมกั จะลดลงเมื่อมีการถ่ายทอดจากรุ่นลูกไปสู่รุ่นหลาน เมื่อผา่ นการขยายพนั ธุ์ไป
หลายๆรุ่น ลกั ษณะดงั กลา่ วก็อาจไม่หลงเหลอื อยอู่ กี ต่อไป

พนั ธุก์ ุง้ ตา้ นทานเช้ือโรคไม่จาเป็ นตอ้ งปลอดโรค หรือพนั ธุ์ท่ีปลอดโรคอาจไม่
สามารถตา้ นทานเช้ือไดด้ ีก็ได้ ปกติพนั ธุก์ ุง้ ที่สามารถตา้ นทานเช้ือไวรัสไดห้ าไดย้ าก และเกษตรกร
ไม่สามารถตรวจสอบไดเ้ อง การมใี บรับรองคุณภาพว่าเป็นกงุ้ สายพนั ธุท์ ี่ทนทานต่อเช้ือโรคชนิดใด
ชนิดหน่ึง จึงมีความสาคัญที่เกษตรกรต้องตรวจสอบให้มน่ั ใจก่อนนาลูกกุง้ ลงบ่อเล้ียง และอย่า
เช่ือมนั่ ในความสามารถตา้ นทานโรคมากเกินไปจนละเลยการจดั สภาพแวดลอ้ มของการเล้ียงที่ดี ให้
ออกซิเจนเพียงพอ เพื่อใหก้ ุง้ มีสุขภาพท่ีแขง็ แรง การที่กงุ้ มีสุขภาพท่ีแขง็ แรงเป็ นกลไกธรรมชาติที่มี
ความสาคญั ต่อการตา้ นทานเช้ือโรคของกุง้ ท่ีดีท่ีสุด.

3.5.3 ลูกกงุ้ สายพนั ธุท์ ่ีมกี ารเจริญเติบโตดี การปรับปรุงสายพนั ธุใ์ หม้ ีการเจริญเติบโต
ดี ประสบความสาเร็จในกงุ้ ขาวเนื่องจากสามารถนาลูกกุง้ ที่เพาะจากสายพนั ธุต์ ่างๆ มาเล้ียงจนเป็ น
พ่อแม่พนั ธุ์ และใชใ้ นการปรับปรุงสายพนั ธุ์ โดยคดั เลือกครอบครัวที่เป็นแมก่ งุ้ สายพนั ธุท์ ี่ดี กุง้ สาย
พนั ธุ์ท่ีดี นอกจากจะเล้ียงง่าย โตเร็วแลว้ ยงั มีการเจริญเติบโตท่ีสม่าเสมอ และเล้ียงไดผ้ ลผลิตสูงใน
สภาพแวดลอ้ มของบ่อเล้ียงกุง้ แบบพฒั นา อยา่ งไรก็ตามเกษตรกรตอ้ งจดั การสภาพแวดลอ้ มของบ่อ
เล้ียงใหด้ ีดว้ ย จึงไดก้ ารเจริญเติบโตที่ดี

3.5.4 ลูกกุ้งท่ีไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ การเล้ียงกุ้งแบบพฒั นาที่เน้นการผลิตเชิงปริมาณ
มากกว่าคุณภาพทาให้เกษตรกรมีความจาเป็ นต้องใชย้ าปฏิชีวนะเขามาช่วยในการควบคุมหรือ
ป้องกนั การระบาดของเช้ือแบคทีเรียโรคกุง้ อยา่ งไรก็ตามความถ่แี ละปริมาณของการใชย้ าปฏิชีวนะ
ที่ไม่ถกู ตอ้ ง จะทาใหเ้ กิดปัญหาการด้ือยาของแบคทีเรียโรคกุง้ และเกิดการสะสมของยาปฏชิ ีวนะใน
ลูกกงุ้ ปัจจุบนั การเล้ียงกุง้ ที่ใชย้ าปฏชิ ีวนะตอ้ งห้ามเป็ นสิ่งท่ีผูบ้ ริโภคไม่ยอมรับ และจากการพฒั นา
กระบวนการตรวจสอบยอ้ นกลบั การใชย้ าปฏิชีวนะตอ้ งหา้ มในกระบวนการผลติ กงุ้ ทาใหก้ ุง้ ท่ีเล้ียง
ไม่ไดม้ าตรฐานสากล เกษตรกรจึงควรเลือกใชล้ ูกกุง้ จากฟาร์มท่ีมนั่ ใจว่าไม่มีการใชย้ าปฏิชีวนะ ซ่ึง
ฟาร์มเหลา่ น้ีเนน้ การจดั การท่ีดีเล้ยี งจดั การสุขภาพกงุ้ ที่และสุขอนามยั ฟาร์มที่ดี

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 16

3.5.5 ลูกกงุ้ ท่ีมีความแข็งแรง ความแข็งแรงของลูกกงุ้ ที่สามารถสังเกตไดด้ ว้ ยสายตา
ยงั เป็ นคุณภาพที่เกษตรกรตอ้ งตรวจสอบ เพื่อให้ไดล้ ูกกุง้ คุณภาพดีที่สุด เช่น มีลาตวั ปกติ รยางค์

ครบ กลา้ มเน้ือใส มีอาหารในลาไส้ ลาตวั สะอาด ขนาดสม่าเสมอ และมีการว่ายน้าอย่างแข็งแรง มี
การเล้ียงอนุบาลดว้ ยอาร์ทีเมียในปริมาณท่ีเพียงพอ ใชเ้ วลาในการพฒั นาตามระยะของลูกกุง้ ท่ีได้
มาตรฐาน ตบั มีสภาพและสีปกติ เหงือกกงุ้ มีการพฒั นาสมบูรณ์ สดั ส่วนกลา้ มเน้ือต่อลาไสม้ ากกว่า
3:1 ซ่ึงลูกกุง้ ที่มีคุณลกั ษณะเช่นน้ีจะสามารถปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มการเล้ยี งในบ่อไดด้ ี

การตรวจความทนทานต่อความเครียด (stress test) เป็ นวิธีการทดสอบคุณภาพ
ลูกกุง้ ได้ โดยดูปริมาณการตายในสภาพที่กุง้ มีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอ้ มทนั ที กุง้ ที่มีความ
แข็งแรงสามารถปรับตวั ต่อความเครียดของการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอ้ มทนั ทีโดยมีความเสียหาย
น้อยที่สุด วิธีการท่ีเหมาะสมคือ นาลูกกุ้งระยะ P10 ที่มีความแข็งแรงไม่อยูใ่ นระยะท่ีลอกคราบ
ประมาณ 300 ตวั มาปรับใหอ้ ยใู่ นน้าความเคม็ ให้เท่ากบั 0 ส่วนในพนั ส่วนทนั ที ทิ้งไว้ 30 นาที แลว้
ปรับให้กลบั มาอยทู่ ี่น้าความเค็ม 35 ส่วนในพนั ส่วนทนั ทีอีก 30 นาที กุง้ ท่ีแข็งแรงตอ้ งมีอตั ราการ
รอดตาย ไม่นอ้ ยกวา่ 75% ซ่ึงนอกจากจะใชค้ วามเคม็ แลว้ การปรับใหล้ ูกกงุ้ แช่อยใู่ นฟอร์มารีนความ
เขม้ ขน้ 100 ส่วนในลา้ นส่วนทนั ที เป็นเวลา 30 นาที ก็เป็นวิธีการท่ีเหมาะสม และใหผ้ ลใกลเ้ คียงกนั
เกษตรกรอาจทดสอบไดเ้ องในขณะท่ีเขา้ ไปเลอื กซ้ือลูกกุง้

3.5.6 ลูกกุง้ ที่มีเอกสารกากบั การซ้ือขาย (fry movement document) กรมประมงได้
กาหนดระเบียบในการซ้ือขายลูกกุ้งให้มีเอกสารกากับการซ้ือขายลูกกุง้ เพื่อประโยชน์ในการ
ตรวจสอบยอ้ นกลบั ได้ และติดตามและแกไ้ ขปัญหาการเล้ียงกุง้ ท้งั ระบบ และสามารถระบุแห่งผลิต
ไดใ้ นเวลารวดเร็ว เกษตรกรจาเป็ นตอ้ งขอเอกสารกากบั การซ้ือขายจากเจา้ ของโรงเพาะฟักหรือตวั
แทนที่ส่งมอบลกู กุง้ เม่ือมีการรับกุง้ เขา้ มาเล้ียง เอกสารน้ีมีความจาเป็ นสาหรับเกษตรกรอีกคร้ังใน
การนาไปประกอบการขอเอกสารกากบั การขายกงุ้ (movement document) ถา้ ไม่มีเอกสารกากบั การ
ซ้ือขายลกู กงุ้ กรมประมงหรือหน่วยงานท่ีมหี นา้ ที่จะไมอ่ อกเอกสารกากบั การขายกุง้ ให้ ซ่ึงจะทาให้
เกษตรกรไม่สามารถขายกงุ้ ได้

3.6 การกาหนดความหนาแน่นของลูกกงุ้ ที่ปล่อยลงเล้ียง
ความหนาแน่นของลูกกงุ้ ท่ีปล่อยลงเล้ียงเป็นปัจจยั ที่มีความสาคญั และส่งผลกระทบไป

ถึงการจดั การและการแกไ้ ขปัญหาในระหว่างเล้ยี ง โดยทว่ั ไปสภาพบ่อเล้ยี งกงุ้ เครื่องมือท่ีใชใ้ นฟาร์ม
เกษตรกรและคนงานของแต่ละฟาร์ม มีความพร้อมและความสามารถไม่เท่ากนั การกาหนดความ
หนาแน่นของลกู กงุ้ มากเกินศกั ยภาพของเกษตรกรและฟาร์มในการจดั การ กงุ้ มกั จะเครียดและป่ วย
เป็ นโรคได้ง่าย มีปัญหาบ่อยคร้ังและโตช้า ดงั น้ัน เกษตรกรควรปล่อยกุ้งในความหนาแน่นท่ี
สามารถจดั การไดง้ ่าย

การปล่อยกุ้งแน่นเกินไป เกษตรกรจะไม่เห็นผลเสียทนั ที เน่ืองจากบ่อและเคร่ืองมือ
ฟาร์มยงั คงเพียงพอสาหรับการจัดการเล้ียงกุง้ กุ้งเล็กไดอ้ ย่างปกติ และเมื่อกุ้งมีการเจริญเติบโต

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 17

เกษตรกรใหอ้ าหารเพม่ิ มากข้ึน ของเสียที่เกิดข้ึนจะถูกบาบดั และสะสมในบ่อเล้ียงจนบ่อเล้ียงกงุ้ (น้า
และดิน) และเครื่องมือท่ีมีในฟาร์มจะไม่สามารถใชแ้ ก้ไขปัญหาไดอ้ ย่างเหมาะสม กุง้ ก็จะเครียด

เนื่องจากคุณภาพน้าและดิน ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต กงุ้ โตชา้ และเป็นโรคไดง้ ่าย ความเสี่ยง
ในการสูญเสียผลผลิตจึงมใี นระดบั สูง

ศกั ยภาพของฟาร์มท่ีเหมาะสมในการเล้ียงกุง้ ให้ไดผ้ ลสาเร็จ ข้ึนอยกู่ บั การแบ่งพ้ืนที่ใช้
สอยและการจดั เตรียมอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการเล้ียงอยา่ งเพียงพอ และเตรียมซกั ซอ้ มความเขา้ ใจในการ
แกไ้ ขปัญหาที่ถกู ตอ้ ง โดยเฉพาะบ่อพกั น้าและเครื่องเพิม่ ออกซิเจนและวธิ ีการแกไ้ ขปัญหาฉุกเฉินท่ี
ตอ้ งมีใหเ้ พยี งพอและมีสารองไวใ้ ชใ้ นกรณีที่มคี วามจาเป็ นเร่งด่วน อยา่ งทนั เวลา ในสภาวะฉุก การ

เพ่ิมออกซิเจน และการถ่ายน้าช่วยยอ่ ยสลายของเสียและช่วยเจือจางให้บ่อเล้ียงกุง้ มีของเสียนอ้ ยลง
รบ่อเล้ียงกส็ ามารถสมดุลอยูไ่ ด้ หากเกษตรกรมีขอ้ จากดั ในการจดั เตรียมน้าและเคร่ืองเพมิ่ ออกซิเจน
การกาหนดความหนาแน่นของกงุ้ ที่เหมาะสมจะทาใหส้ ามารถจดั การเล้ยี งไดโ้ ดยมปี ัญหานอ้ ยท่ีสุด

ขนาดของลูกกุง้ ขาวแวนนาไมที่เหมาะสมคือขนาดมากกวา่ P12 เนื่องจากเป็ นระยะที่

ลกู กุง้ มีการพฒั นาเพียงพอที่จะทนและปรับตวั ให้เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มในบ่อเล้ียงไดด้ ี โดยเฉพาะ
การปรับตวั เขา้ กบั ความเคม็ ซ่ึงลูกกงุ้ เกิดและเจริญเติบโตในน้าเค็มประมาณ 28 ส่วนในพนั ส่วน แต่
เขา้ มาหากินในเขตน้ากร่อยไดเ้ พราะเหงือกกุง้ มีการพฒั นาจนสามารถทาหน้าท่ีควบคุมสมดุลของ
เกลอื แร่ ไดเ้ มื่ออยู่ในระยะ P12 ความหนาแน่นของการปล่อยกุง้ ลงเล้ยี งอยทู่ ี่100,000-150,000 ตวั /ไร่
ซ่ึงเป็ นความหนาแน่นที่เหมาะสม ในการเล้ียงใหค้ รบ 4 เดือนและไดข้ นาดกุง้ ประมาณ 50-60 ตวั /

กก. ส่วนเกษตรกรท่ีตอ้ งการเล้ยี งกงุ้ ขาวแวนนาไมใหม้ ขี นาดประมาณ 40-50 ตวั /กก. น้นั ตอ้ งเนน้ ลด
ความหนาแน่นของการปลอ่ ยกงุ้ เพ่ิมอตั ราการถ่ายน้าและการใชเ้ คร่ืองเพ่ิมออกซิเจนใหม้ ากข้ึน

เกษตรกรอาจสงสัยว่าจาเป็ นหรือไมท่ ี่จะตอ้ งปล่อยลูกกุง้ เผอ่ื ตาย ในกรณีน้ีถา้ ผเู้ ล้ยี งมี
ประสบการณ์การเล้ียงท่ีดี เนน้ เตรียมบ่อ และเลือกลูกกงุ้ ท่ีมีคุณภาพ ก็ไมจ่ าเป็นที่ตอ้ งปล่อยเผอื่ ตาย
เพราะเมือ่ ปรับวิธีการจดั การเล้ียงไดด้ ีและปล่อยกงุ้ ความหนาแน่นสูง กงุ้ จะรอดตายและอยกู่ นั อยา่ ง
หนาแน่นในบ่อ แต่ในแง่หน่ึง เกษตรกรท่ีมีความคิดปล่อยกุง้ เผ่อื ตาย มกั ลดความเอาใจใส่ในการ

เตรียมบ่อและเลอื กลูกกงุ้ คุณภาพ เพราะคิดวา่ ตายเลก็ นอ้ ยกไ็ มเ่ ป็นไรเพราะปล่อยกงุ้ เผอื่ แลว้ ในที่สุด

กงุ้ ที่ปลอ่ ยแน่นจึงตอ้ งตายไปโดยไม่จาเป็น ทาใหเ้ ป็นการใชล้ กู กงุ้ อยา่ งไมม่ ีประสิทธิภาพ

วิธีง่ายๆ ในการกาหนดความหนาแน่นของการเล้ียงใหเ้ หมาะสม คือดูจากผลการเล้ียง
ในรุ่นที่แลว้ ว่าปล่อยลูกกุ้งเท่าไร เล้ียงไดผ้ ลดีหรือไม่ ถา้ ได้ผลเป็ นที่น่าพอใจ ให้คงระดบั ความ
หนาแน่นเดิมเอาไว้ แต่ถา้ ผลการเล้ียงไม่ค่อยดี ควรลดอตั ราการปล่อยลูกกุง้ ลงอกี 20% แต่เนน้ การ
เตรียมบ่อ เตรียมน้ าและคัดเลือกลูกกุ้งท่ีมีคุณภาพมาเล้ียง และปรับปรุงวิธีการจดั การเล้ียง เพ่ิม
ออกซิเจนและอตั ราการถ่ายน้า ทาใหป้ ระสบผลสาเร็จในการเล้ยี งมากข้ึนได้

การปลอ่ ยกุง้ เกษตรกรตอ้ งแจง้ ใหโ้ รงเพาะฟักทราบ ความเค็มของน้าในบ่อที่จะปล่อย
กงุ้ เป็ นเวลาประมาณไม่น้อยกว่า 5 วนั ความเค็มต่าสุดที่แนะนาในการปล่อยลุกุง้ คือ 5-10 ส่วนใน

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 18

พนั ส่วน โดยระยะเวลาในการปรับประมาณ คร้ังละไม่เกิน 3-5 ส่วนในพนั /วนั เวลาที่เหมาะสมใน
การปล่อย คือช่วงเช้า ซ่ึงอุณหภูมิในระหว่างขนส่งและปล่อยกุง้ ไม่ร้อนจนเกินไป สะดวกในการ

ทางานและลูกกุง้ ไม่เครียด ก่อนปล่อยกุง้ ควรแช่ถุงกุง้ ไวใ้ นน้าจนอุณหภูมิน้าในถุง กบั น้าในบ่อ
เท่ากนั เปิ ดถงุ กงุ้ ออกผสมน้าในบ่อเขา้ กบั น้าในถุงใหไ้ ดม้ ากที่สุด แลว้ เทปลอ่ ยลูกกงุ้ ลงในบ่อ

3.7 การติดต้งั เครื่องเพ่มิ ออกซิเจน
ออกซิเจนมีความจาเป็ นสาหรับการหายใจของกุง้ เพื่อเผาพลาญอาหารให้พลงั งานแล

ะสร้างการเจริญเติบโต ระดบั ออกซิเจนละลายน้าที่เหมาะสมต่อการเล้ียงกุง้ ขาวแวนนาไมตอ้ งไม่
น้อยกวา่ 5 มก./ล. การขาดออกซิเจนกระทบต่อ การเจริญเติบโตและอตั ราแลกเน้ือในการเล้ียงกุ้ง

เพราะทากงุ้ ใหก้ ินอาหารนอ้ ยและโตชา้ บ่อที่มปี ริมาณออกซิเจนละลายในบ่อเล้ียงต่ากวา่ 3 มก./ล. มี

ความเส่ียงที่กุง้ จะโตชา้ การสะสมของของเสียในบ่อเล้ียงกุง้ และพ้นื บ่อเน่าเสียง่าย ทาใหก้ ารเล้ยี งกุง้

มีปัญหา เกษตรกรจึงตอ้ งรีบแกไ้ ขปัญหาโดยเร็วมิฉะน้ันจะเกิดปัญหาต่อเน่ืองตามมาจนแกไ้ ขยาก
ระดบั ออกซิเจนละลายในน้าท่ีจนทาใหก้ งุ้ ตายคือ นอ้ ยกว่า 1.5 มก./ล.

การละลายของออกซิเจนในน้าข้ึนกบั อณุ หภูมิ ความเค็มและระดบั ความสูงจากน้าทะเล
การละลายของออกซิเจนในน้าจะลดลงเม่ือปัจจยั เหล่าน้ีมีค่าเพ่ิมข้ึน ออกซิเจนจากอากาศสามารถ
แพร่เขา้ ไปละลายน้าไดด้ ีในน้ามีปริมาณออกซิเจนนอ้ ย เม่ือออกซิเจนละลายในน้าเพ่ิมมากข้ึนจนถึง
จุดอ่ิมตวั (ออกซิเจนละลายในน้า 100%) การแพร่ของออกซิเจนจากน้ าสู่อากาศและอากาศสู่น้ า
เท่ากนั และเม่ือเราใชเ้ ครื่องเพ่ิมออกซิเจนมากข้ึน ออกซิเจนกจ็ ะแพร่จากน้าออกสู่อากาศ

การหายใจของกุง้ แบคทีเรีย และแพลงกต์ อนพืชในบ่อเล้ียงกุง้ ทาใหอ้ อกซิเจนในน้า
นอ้ ยลงต่ากว่าจุดอิ่มตวั (Oxygen depletion) แต่การสังเคราะห์แสงของแพลงก์ตอนพืชทาให้เกิด
สภาวะออกซิเจนละลายเกินจุดอิ่มตวั (super-saturation) ระดบั กิจกรรมการหายใจและการสงั เคราะห์
แสงในบ่อเล้ียงกุ้งข้ึนกับความเข้มของสีน้ า น้ าที่มีแพลงก์ตอนพืชในปริ มาณมากมีอตั ราการ
สงั เคราะห์แสงสูงทาใหน้ ้าในบ่อมีออกซิเจนสูงมากในเวลากลางวนั จนถงึ ตอนเยน็ และการหายใจใน
เวลากลางคืนทาให้มีการใช้ออกซิเจนให้หมดไปอย่างรวดเร็ว ออกซิเจนจึงมีเข้มขน้ ต่าสุดในเวลา

เชา้ ตรู่ ทาใหก้ ารเปล่ียนแปลงออกซิเจนในรอบวนั มีในช่วงกวา้ ง น้าที่มีสีน้าใส หรือแพลงกต์ อนพืช
ปริมาณนอ้ ย อตั ราการสงั เคราะหแ์ สงและการหายใจในน้าจะนอ้ ยกว่า การแกวง่ ตวั ของออกซิเจนใน
รอบวนั กจ็ ะแคบลง

ปริมาณออกซิเจนในบ่อเล้ียงกงุ้ ควรมีการวดั อยา่ งสมา่ เสมอ อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 2 คร้ัง เพื่อ
ตรวจสอบว่าออกซิเจนในน้ามีความเขม้ ขน้ ที่เหมาะสมหรือไม่ ถา้ หากออกซิเจนในน้ามีสูงกวา่
4 มก./ล. ปัญหาเก่ียวกบั ออกซิเจนจะหมดไป ถา้ เกษตรกรมีเคร่ืองเพ่ิมออกซิเจนที่มีประสิทธิภาพ
อยา่ งเพียงพอ ความเขา้ ใจเบ้ืองตน้ สาหรับเกษตรกรคือ เม่อื เพิ่มปริมาณอาหารในบ่อ ก็ตอ้ งเพ่ิมการให้
ออกซิเจนในน้าใหม้ ากข้ึน

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 19

การเพ่ิมออกซิเจนในบ่อเล้ียงกุ้งขาวแวนนาไมขนาด 4 ไร่ ควรติดต้ังเคร่ื องเพ่ิม
ออกซิเจนท้งั หมด 4 ชุด ดา้ นละชุด แต่ละชุดมีกงั หันพดั น้าชุดละ 16 ใบ ต้งั ความเร็วรอบ 85-90 รอบ
ต่อนาที เพียงพอสาหรับรวมเลนให้อยู่กลางบ่อ เคลา้ ผสมน้ าได้ท่ัวถึงท้ังแนวต้ังและแนวดิ่ง
ระยะเวลาในการใชเ้ คร่ืองเพ่ิมออกซิเจนควรต่อเนื่องตลอด 24 ชว่ั โมง แต่ค่อยๆ เพ่ิมจานวนเคร่ือง
เพิ่มออกซิเจนที่ใชใ้ หม้ ากข้ึน ในช่วง 2 เดือนแรก เปิ ดเคร่ืองเพิม่ ออกซิเจน กลางวนั 2 ตวั กลางคืน
4 ตวั พอเขา้ เดือนที่ 3 ก็จะเปิ ด 4 ตวั ท้งั กลางวนั และกลางคืน

การใชเ้ ครื่องเพ่ิมออกซิเจนยงั มปี ระโยชน์ในการระบายก๊าซหรือสารประกอบท่ีอยู่ใน
รูปของกา๊ ซ เช่น ก๊าซคาร์บอนไดอ้ อกไซด์ (ในสภาพน้าท่ีความเป็นกรด-ด่างต่า) หรือกา๊ ซแอมโมเนีย
(ในสภาพน้าท่ีความเป็ นกรด-ด่างสูง) ทีมีปริมาณมากในบ่อเล้ียงให้แพร่หลุดออกมาจากบ่อเล้ียง
เน่ืองจากการใชเ้ ครื่องเพิ่มออกซิเจนในความเร็วที่เหมาะสมจนทาใหน้ ้าท่ีถูกวิดข้ึนมาแตกเป็ นฝอย
เลก็ ๆ เป็นการเพมิ่ พ้นื ที่ผวิ ของน้าใหม้ ากข้ึนอตั ราการแพร่ของกา๊ ซดีข้ึน

3.8 การจดั การบาบดั น้าท้ิงและเลน
การเล้ียงกงุ้ แบบพฒั นาตอ้ งใชอ้ าหารปริมาณมากเพือ่ ผลิตกุง้ ใหไ้ ดผ้ ลผลิตต่อเน้ือที่มาก

ที่สุด ส่ิงหลงเหลอื จากการเล้ยี งคือสารอินทรียจ์ ากการเล้ียงกุง้ ที่ยอ่ ยสลายไมห่ มดในระหว่างการเล้ยี ง
สารอินทรียท์ ่ีเกิดข้ึนใหม่ (แพลงกต์ อนพืชและแบคทีเรีย) ในบ่อเล้ียงกุง้ และสารอาหารท่ีเกิดข้ึนและ
สะสมอยทู่ ้งั ในน้าและดิน เมื่อมีการถ่ายน้า สารอินทรียแ์ ละธาตุอาหารเหล่าน้ีจะถูกระบายลงสูง
แหล่งน้า ถา้ ไม่มีการจดั การที่ดี สารอินทรียแ์ ละธาตุอาหารในน้าทิ้งและเลนจะลงไปสะสมสร้าง
ปัญหาในแหลง่ น้าในระยะยาว

การยอ่ ยสลายสารอินทรียจ์ าเป็นตอ้ งใชอ้ อกซิเจน จุลินทรีย์ และระยะเวลาในการยอ่ ย

สลาย ในแหล่งรองรับน้าจากการเล้ียงกุ้งมีจุลินทรียธ์ รรมชาติอยู่อยา่ งหลากหลาย แต่มีออกซิเจน
จากดั การปล่อยน้าท้ิงที่มสี ารอินทรียแ์ ละธาตุอาหารปริมาณมากโดยตรงลงไปทาให้เกิดการสะสม
ของสารอินทรียแ์ ละเพมิ่ อตั ราการบริโภคออกซิเจนโดยเฉพาะท่ีบริเวณพ้ืนทอ้ งน้าจนออกซิเจนหมด
ไป เกิดการเน่าเสีย ส่วนสารอาหารที่เป็ นป๋ ุยจะเขา้ ไปเร่งการเจริญเติบโตของแพลงก์ตอนพืช ทาให้

เกิดการสร้างสารอินทรีย์ ใหม่ ทาใหแ้ หล่งน้าเสื่อมโทรมไม่เหมาะในการนากลบั มาใชเ้ ล้ียงกุง้ ใหม่
ทนั ที

บาบดั น้าทิ้งจากการเล้ียงกุง้ โดยใชห้ ลกั การท่ีเหมาะสาหรับเกษตรกรคือ ตกตะกอน
ประมาณ 1 วนั เพื่อให้สารอินทรี ย์ ซากแพลงก์ตอนพืช และตะกอนดิน ตกตะกอนอยู่ในบ่อ

ตกตะกอน แลว้ สูบน้าทิ้งที่ผ่านการตกตะกอนแลว้ ไปยงั บ่อเติมอากาศ เพิ่มออกซิเจนเพ่ือช่วยเร่ง
กระบวนการบาบัดบดั น้า จนน้ามีคุณภาพดีข้ึนใชเ้ วลาประมาณ ประมาณ 1- 2 สปั ดาห์ ข้ึนอยู่กบั
คุณภาพของน้าท้ิง แลว้ จึงถ่ายน้าน้ันออกไปยงั แหล่งน้าภายนอก หรือหมุนเวียนกลบั มาใชใ้ นการ
เล้ยี งกงุ้ ใหม่ ในกรณีที่มพี ้นื ที่จากดั อาจจะใชบ้ ่อตกตะกอนและบ่อบาบดั น้าในบ่อเดียวกนั

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 20

เม่ือทิ้งน้าไปแลว้ เลนพ้ืนบ่อหลงั การจบั กุง้ จะส่วนใหญ่จะเป็ นเลนที่เน่าเสียและขาด
ออกซิเจน เน่ืองจากของเสียและเศษอาหารท่ีตกคา้ งสะสมในบ่อเล้ียง สารอินทรียใ์ นของเสียเหล่าน้ี

จะมปี ริมาณคาร์บอนและไนโตรเจนอินทรียส์ ูง หากไมม่ ีการเก็บรักษาท่ีดี ปลอ่ ยใหด้ ินเหลา่ น้ีไหลลง
ไปแหล่งน้า จะทาใหแ้ หล่งน้าเส่ือมโทรมเร็วข้ึน

4. อาหาร การให้อาหาร และการจดั การในระหว่างเลยี้ ง

4.1 อาหารกงุ้
อาหารเป็นปัจจยั สาคญั ในการจดั การเล้ียงกงุ้ ใหป้ ระสบผลสาเร็จ การเล้ยี งกุง้ แบบพฒั นา

นิยมใชอ้ าหารเมด็ สาเร็จรูป ความเส่ือมโทรมของบ่อเล้ยี งกงุ้ เกิดจากการจดั การใหอ้ าหารไมด่ ีจนเกิด
การสะสมของของเสียจากเศษอาหารเหลือตกคา้ งและสิ่งขบั ถ่าย เกิดปัญหาต่อเน่ืองถึงการจดั การ
เล้ียงและการเตรียมบ่อให้มีสภาพแวดลอ้ มเหมาะสม นอกจากน้ีตน้ ทุนการผลิตกุ้งมาจากอาหาร
ประมาณ 50-60% การจดั การอาหารผดิ พลาดที่ทาใหไ้ ดอ้ ตั ราแลกเน้ือสูงเกินไปทาใหต้ น้ ทุนอาหาร
สูงข้ึน ดงั การจดั การใหอ้ าหารกงุ้ ที่ดีจึงมคี วามจาเป็น เพ่อื ใหก้ ารผลิตกุง้ ไดป้ ระสิทธิภาพมากที่สุด

โภชนาศาสตร์ของกุง้ ขาว กุง้ ขาวแวนนาไมเป็ นกุง้ ที่กินอาหารไดห้ ลายชนิด ต้ังแต่
แพลงก์ตอนพชื /สตั ว์ ซากแพลงกต์ อน ตะกอน สารอนิ ทรีย์ เป็นตน้ การเล้ยี งกุง้ ในความหนาแน่นต่า
สามารถใชอ้ าหารธรรมชาติที่เกิดข้ึนในบ่อไดโ้ ดยไมต่ อ้ งใหอ้ าหารเพิ่มเติม ในการเล้ยี งกงุ้ เชิงพาณิชย์
นิยมใชอ้ าหารสาเร็จที่ผสมจากวตั ถดุ ิบมีคุณภาพ มโี ภชนาการครบถว้ น มีกล่ินในการดึงดูดให้กุง้ เขา้
มากินไดเ้ ร็ว มขี นาดเหมาะสม ยอ่ ยและดูดซึมง่าย

4.1.1 โปรตีน อาหารกุง้ ที่ใชใ้ นการเล้ียงกุ้งแบบพฒั นามีโปรตีนระหว่าง 35-50% ถา้
อาหารมีโปรตีนน้อยไป การเจริญเติบโตจะชา้ และกุง้ จะผอมเนื่องจากโปรตีนในกลา้ มเน้ือมาใช้
ทดแทน อาหารท่ีมีโปรตีนสูงเกินไปก็ไม่เหมาะสมเช่นกนั เนื่องจากโปรตีนส่วนเกินถูกใชเ้ ป็ น
พลงั งาน และไนโตรเจนขจดั ออกมาในรูปของแอมโมเนีย ลูกกงุ้ กงุ้ วยั รุ่นมคี วามตอ้ งการอาหารท่ีมี
เปอร์เซนต์โปรตีนสูง และกุง้ ขนาดที่ใหญ่ข้ึนมีความตอ้ งการอาหารที่มีเปอร์เซนต์โปรตีนนอ้ ยลง
คาแนะนาสาหรับโปรตีนท่ีเหมาะสมกบั กุง้ ขาวในแต่ละขนาดดงั น้ี

ขนาดของกงุ้ (กรัม) ระดบั โปรตีนที่แนะนา
0.002 – 0.25 50 %
0.25 – 1.0 45%
1.0 – 3.0 40%
>3.0 35%

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 21

4.1.2 ไขมนั เป็นกลุ่มของสารอินทรียห์ ลายชนิด เช่นกรดไขมนั ฟอสโฟไลปิ ด ไทรกลี

เซอไรด์ น้ามนั ไข และเสตียรอยด์ ที่เป็นแหลง่ พลงั งานท่ีสาคญั ของกุง้ เป็นองคป์ ระกอบสาคญั ของ
ผนังเซลล์ ช่วยเสริมกระบวนการเผาผลาญไขมนั เป็นสารต้งั ตน้ ในกระบวนการลอกคราบและการ
สืบพนั ธุ์ ระดบั ไขมนั ท่ีกงุ้ ขาวตอ้ งการแตกต่างตามขนาดดงั น้ี

ขนาดของกงุ้ (กรัม) ระดบั ไขที่แนะนา
0.002 – 0.2 15 %
0.2 – 1.0 9%
1.0 – 3.0 7.5 %
>3.0 6.5 %

4.1.3 คาร์โบไฮเดรต เป็ นแหล่งพลงั งานท่ีมีราคาถูกในอาหารกุ้ง เช่น แป้ง น้าตาล
และเยอ่ื ใย แต่สตั วน์ ้าแต่ละกลมุ่ มีความสามารถในการใชค้ าร์โบไฮเดรตเป็ นแหล่งพลงั งานไดต้ ่างกนั
สตั วก์ ินเน้ือมีแนวโน้มในการใชโ้ ปรตีนเป็ นแหล่งพลงั งาน และไม่สามารถเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต
ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ สตั วน์ ้าที่กินซากและกินพืช สามารถใชค้ าร์โบไฮเดรตเป็นแหลง่ พลงั งานได้
ดีข้ึน ในกุง้ ท่ีสามารถย่อยคาร์โบไฮเดรตไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ถา้ ปรับระดับคาร์โบไฮเดรตท่ี
เหมาะสมจะสามารถช่วยละระดบั ความตอ้ งการโปรตีนของกงุ้ ได้

4.1.4 ไวตามิน เป็ นสารประกอบอินทรียท์ ี่มีความจาเป็ นแต่ตอ้ งการในปริมาณนอ้ ย

เพื่อให้มีการเจริญเติบโตดี เป็ นสารช่วยในกระบวนการเผาผลาญอาหารหลายชนิด ความตอ้ งการ
ไวตามินในกงุ้ ข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั อ่ืนๆ เช่น ขนาด อายุ อตั ราการเจริญเติบโต และปัจจยั ทางส่ิงแวดลอ้ ม
กุง้ ขนาดเล็กตอ้ งการระดบั ไวตามินสูงกวา่ กุง้ ขนาดใหญ่ การเล้ียงกุง้ หนาแน่นสูงตอ้ งการระดบั ไว
ตามนิ ที่สูงกวา่ การเล้ียงความหนาแน่นต่า อาการขาดไวตามนิ ในกงุ้ เช่น การเปลย่ี นแปลงรูปร่างของ
อวยั วะ การว่ายน้าที่ผดิ ปกติ โตชา้ หรือตาย การทาอาหารสาเร็จผผู้ ลิตจะผสมไวตามนิ ลงไปในระดบั
เกินความตอ้ งการของกุง้ เพ่ือชดเชยการสูญเสียไวตามินในระหว่างกระบวนการผลิต หรือระหว่าง
การเก็บก่อนท่ีนาอาหารไปใชไ้ วตามนิ ที่ละลายน้าเช่น ไวตามนิ ซี มกั สูญเสียไปในหลงั การหว่านและ
ระหว่างการกินอาหารของกงุ้ เนื่องกงุ้ เป็นสตั วท์ ่ีกินอาหารชา้

4.1.5 เกลือแร่ เป็ นสารอนินทรียท์ ี่มีความจาเป็ น ในกระบวนการเผาผลาญอาหาร
หลากหลาย เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม โซเดียม โปแตสเซียม คลอไรด์ และซลั เฟอร์
แคลเซียม มีความจาเป็ นสาหรับการสร้างเปลือก การยดื หยนุ่ ของกลา้ มเน้ือ และการควบคุมสมดุล
เกลือแร่ แต่กุง้ สามารถดูดซึมแคลเซียมไดโ้ ดยตรงจากน้าทะเล กงุ้ ท่ีเล้ียงในน้าทะเลจึงไม่จาเป็นตอ้ ง
ผสมแคลเซียมลงไปในสูตรอาหาร การเล้ียงในน้าความเค็มต่า อาหารกุ้งควรเติม แคลเซียม 2.5%
ปริมาณแคลเซียมที่มากเกินไป จะทาให้ฟอสฟอรัสอยู่ในรูปท่ีไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
ฟอสฟอรัสนอกจากจะใชใ้ นการสร้างเปลือก ยงั เป็ นองคป์ ระกอบของสารชีวเคมีสาคญั หลายชนิด

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 22

สารตัวกลางในกระบวนการเผาผลาญอาหารและตัวเร่งปฏิกิริยาเอนไซม์ กุ้งไม่สามารถดูดซึม
ฟอสฟอรัสในน้ามาใชป้ ระโยชน์ได้ ปริมาณฟอสฟอรัสในอาหารท่ีทาให้กุง้ มีการเจริญเติบโตดี
แนะนาคือ 0.34% นอกจากน้ียงั มีเกลือแร่ปริมาณน้อย เช่น เหล็ก ไอโอดีน แมงกานีส ทองแดง
โคบอลต์ สงั กะสี เซลเี นียม โมลปิ ดินม่ั ฟลอู ไรน์ อลมู เิ นียม นิเกิล แวนนาเดียม ซิลิกอนและโครเมยี่ ม
ซ่ึงจะมีการผสมลงไป ในรูปของเกลือแร่งผสมล่วงหนา้

การผลิตอาหารกุง้ ท่ีดี วตั ถุดิบตอ้ งบดอย่างละเอียด ผสมท้งั ใหเ้ ขา้ กนั ดี เพ่ือให้
องค์ประกอบของอาหารทุกเม็ดมีคุณค่าใกลเ้ คียงกัน ขนาดเม็ดที่เหมาะสมสาหรับกุง้ แต่ละช่วง
น้าหนกั และตอ้ งจมน้าเร็ว เพือ่ ใหก้ ุง้ สามารถเขา้ ถงึ อาหารไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว และตอ้ งคงสภาพในน้า ได้
นานเพียงพอจนกงุ้ ไดห้ มด

4.2 การใหอ้ าหาร

หลกั เกณฑท์ ่ีใช้ ตอ้ งทาใหก้ งุ้ ไดก้ ินอาหารในปริมาณที่พอดี ในเวลาที่เหมาะสม ทุกม้ือ
ตลอดระยะเวลาเล้ียง อตั ราการใหอ้ าหารข้ึนอยกู่ บั ความปริมาณการกิน อตั ราการเจริญเติบโต และ
อตั ราการตายของกงุ้ การใหอ้ าหารปริมาณนอ้ ยเกินไป ทาให้กงุ้ โตชา้ และทาให้เกิดการกินกนั เองใน

โดยเฉพาะการเล้ียงกุง้ ความหนาแน่นสูง การให้อาหารมากเกินไป ทาให้คุณภาพน้ าและดินใน
ระหว่างเล้ียงเส่ือมโทรมลง สารอินทรียจ์ ากอาหารจะกระตุ้นให้เกิดจุลินทรี ย์ย่อยและปล่อย
แอมโมเนียออกมา ทาใหก้ งุ้ เครียดออ่ นแอ โอกาสติดเช้ือโรคกุง้ สูงข้ึน และแบคทีเรียที่เจริญเติบโตใช้
ออกซิเจนในน้าจนไม่เพียงพอสาหรับการเจริญเติบโตของกุง้

4.2.1 ปัจจยั กาหนดปริมาณการกินอาหารของกงุ้ การกินอาหารของมปี ัจจยั ต่างๆเขา้ มา

เป็ นตวั แปรกาหนดปริมาณความตอ้ งการกินอาการในแต่ละม้ือ ปัจจยั เหล่าน้นั ไดแ้ ก่ ประเภทของ
อาหาร ขนาดกงุ้ อณุ หภูมิ ความหนาแน่น ภูมิอากาศ คุณภาพน้า และสุขภาพของกงุ้

ตวั อยา่ งเช่น อุณหภูมิของน้าเป็นปัจจยั ที่สาคญั และเปลีย่ นแปลงไดง้ ่ายเกษตรกร
ไม่สามารถควบคุมได้ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการกินอาหารอยู่ในช่วง 27-31 องศาเซลเซียส ถา้

อุณหภูมิน้าลดต่าลงถงึ 24 องศาเซลเซียส การกินอาหารของกงุ้ จะลดลง50% และจะไม่กินอาหารเลย
เมื่ออุณหภูมิน้าลดลงถงึ 20 องศาเซลเซียส

4.2.2 การกาหนดปริมาณอาหารที่ให้ มีหลายวิธี เช่นการกาหนดปริมาณอาหารตาม

ตารางการใหอ้ าหาร หรือ การใหก้ ินตามปริมาณความตอ้ งการในแต่ละม้ือ
(1) การใหอ้ าหารตามตาราง ตารางที่กาหนดปริมาณความตอ้ งการอาหาร

คิดเป็นเปอร์เซนต์ของน้าหนกั ตวั ต่อวนั กงุ้ ขนาดเลก็ ตอ้ งใหอ้ าหารเทียบเป็นเปอร์เซนตน์ ้าหนกั ตวั ที่
สูงกว่ากงุ้ ขนาดใหญ่ เพราะกงุ้ ขนาดเลก็ มีอตั ราการเผาผลาญอาหารที่สูงกว่ากงุ้ ขนาดใหญ่

ปริมาณอาหารท่ีใหต้ ่อวนั คานวณจากปริมาณกงุ้ และอตั ราการกินอาหาร คือ
ปริมาณอาหารท่ีให้ (กก./วนั ) = ปริมาณกุง้ ท้งั หมด x เปอร์เซนตก์ ารใหอ้ าหาร / 100

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 23

ปริมาณกงุ้ ท้งั หมด (กก) = ปริมาณกุง้ ท้งั หมดในบ่อ x น้าหนกั เฉลีย่
ปริมาณกุง้ ท้งั หมดในบ่อ = ปริมาณกงุ้ ท่ีปล่อย x เปอร์เซนตร์ อด /100

ตาราง อตั ราการใหอ้ าหารที่กาหนดตามน้าหนกั กงุ้

น้าหนกั กุง้ เฉลยี่ อตั ราการใหอ้ าหาร น้าหนกั กุง้ เฉลี่ย อตั ราการใหอ้ าหาร น้าหนกั กุง้ เฉลี่ย อตั ราการใหอ้ าหาร
(ก.) (%ของน้าหนกั /วนั ) (ก.) (%ของน้าหนกั /วนั ) (ก.) (%ของน้าหนกั /วนั )
<1 5.0-5.9
35-25 6.0-6.9 5.5-5.0 13.0-13.9 3.0-2.75
0.1-0.24 25-20 7.0-7.9 5.0-4.5 14.0-14.9 2.75-2.5
0.25-0.49 20-15 8.0-8.9 4.5-4.25 15.0-15.9 2.5-2.3
0.5-0.9 15-11 9.0-9.9 4.25-4.0 16.0-16.9 2.3-2.1
1.0-1.9 11-8 4.0-3.75 17.0-17.9 2.1-2.0
2.0-2.9 8-7 10.0-10.9 3.75-3.5 18.0-18.9 20.-1.9
3.0-3.9 7-6 11.0-11.9 3.5-3.25 19.0-19.9 1.9-1.8
4.0-4.9 6-5.5 12.0-12.9 3.25-3.0 20.0-20.9 1.8-1.7

(2) การให้อาหารตามปริมาณความต้องการของกุ้งในแต่ละม้ือ การ
คานวณอาหารจากตาราง เป็ นการให้อาหารในสภาพที่กุง้ มีความตอ้ งการกินอาหารปกติ ไม่มีการ
รบกวนจากปัจจยั อื่นๆ เป็ นแนวทางเบ้ืองต้นในการกาหนดปริมาณอาหารท่ีให้กุง้ ในสภาวะ
แวดลอ้ มปกติที่กงุ้ แขง็ แรง แต่ในความเป็นจริง ถา้ สภาวะแวดลอ้ มเปล่ียนแปลงไปปริมาณอาหารที่
คานวณน้ีอาจมากเกินไป เช่น สภาวะท่ีน้ามีออกซิเจนต่า กุง้ กินอาหารลดลง การให้ตามตารางที่
กาหนดไวจ้ ะทาใหม้ ีอาหารเหลอื ในบ่อ ในการเล้ียงกุง้ เกษตรกรจึงนิยมใหอ้ าหารตามปริมาณความ
ตอ้ งการของกงุ้ ในบ่อ กล่าวคือ ถา้ กงุ้ ตอ้ งการกินอาหารมาก เรากเ็ พม่ิ ปริมาณอาหารท่ีใหใ้ นม้ือต่อไป
ถา้ กงุ้ กินอาหารลดลง เกษตรกรตอ้ งลดปริมาณอาหารที่ใหท้ นั ท่ีเพ่อื ป้องกนั ไมใ่ หม้ อี าหารเหลือในบ่อ
และทาใหผ้ ลการเล้ยี งมอี ตั ราแลกเน้ือที่ดี

วิธีท่ีเกษตรกรใชไ้ ดผ้ ลคือ การตรวจสอบโดยใชย้ อตรวจสอบการกิน
อาหารของกุง้ และปรับปริมาณการกินอาหารของกุง้ ตามปริมาณอาหารที่เหลือในยอ โดยอาศยั
หลกั การว่า เมื่อใหอ้ าหารกบั กงุ้ ในปริมาณท่ีไมเ่ พยี งพอ กงุ้ ที่ไม่ไดร้ ับอาหารจะข้ึนมากินอาหารในยอ
อาหารในยอจะหมด แสดงว่าสามารถเพมิ่ ปริมาณการใหอ้ าหารได้ ส่วนเม่อื ใหอ้ าหารมากเกินไป กุง้
ไม่ข้ึนมากินอาหารในยอ ทาใหอ้ าหารในยอเหลอื อาหารในยอเหลือมาก ยงิ่ แสดงให้เห็นว่าการให้
อาหารในม้ือน้นั มากเกินความตอ้ งการกินอาหารของกุง้ วิธีการน้ีจึงเป็ นวิธีการที่มีประสิทธิภาพใน
การใหอ้ าหารตามความตอ้ งการกินอาหารของกงุ้

4.2.3 วธิ ีการปฏิบตั ิในการใหอ้ าหาร ในทางปฏิบตั ิเม่ือปล่อยกุง้ แลว้ เกษตรกรควรให้
อาหารในอตั รา 1-2 กก./กุง้ 1 แสนตวั /วนั ข้ึนกบั ความหนาแน่นและปริมาณอาหารธรรมชาติในบ่อ

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 24

ปรับปริมาณอาหารเพิ่มข้ึนในอตั ราคงที่ 0.5-1 กก./กุง้ 1 แสนตัว/วนั จนกุ้งมีอายุ 15-20 วนั เริ่ม
ตรวจสอบปริมาณการกินอาหารโดยใชย้ อ เมอื่ สามารถตรวจสอบปริมาณอาหารในยอไดจ้ ึงหยดุ การ

เพิ่มอาหารในปริมาณคงที่ และใชว้ ิธีการปรับอาหารตามความตอ้ งการกินอาหารของกุง้ ในแต่ละม้ือ
แทน จานวนม้ือในการให้อาหารน้นั ในช่วงเร่ิมเล้ียง ให้อาหารสองม้อื เชา้ และเยน็ เมื่อกุง้ มอี ายุ 20
วนั ไปแลว้ จะเพ่มิ อาหารเป็น 3 ม้ือ และเมอ่ื กุง้ มีอายุ 40 วนั จะปรับการเล้ียงเป็น 4-5 ม้อื แลว้ แต่ความ
เหมาะสมของแต่ละฟาร์ม จนกระทง่ั จบั กุง้ มีรายงานผลการวิจยั พบว่า กุง้ ขาวสามารถกินอาหารใน
เวลากลางวนั ไดด้ ีกว่าเวลากลางคืน ดงั น้นั ถา้ หากจาเป็นที่จะใหอ้ าหารม้ือสุดทา้ ยตอนดึก ควรจดั การ
ใหอ้ าหารมปี ริมาณนอ้ ยท่ีสุดในรอบวนั

การเลือกเบอร์อาหารเป็ นการเลือกขนาดของเม็ดอาหารท่ีเหมาะสมกบั ขนาด
ของกุง้ ตามที่ผผู้ ลิตอาหารไดก้ าหนดไว้ ซ่ึงสามารถใชไ้ ด้ โดยในช่วงท่ีมีการเปล่ียนเบอร์อาหารน้ัน
เกษตรกรอาจผสมอาหาร สองเบอร์ ใหพ้ ร้อมกนั เป็นการค่อยๆ ปรับลดอาหารเบอร์ท่ีใชอ้ ยแู่ ละปรับ
เพมิ่ อาหารเบอร์ใหม่ ซ่ึงสดั ส่วนของการปรับ น้นั ข้ึนอยกู่ บั ความแตกต่างในดา้ นขนาดของกุง้ ซ่ึงถา้ มี
มากจะทาใหก้ ารปรับเปล่ียนอาหารยงุ่ ยากมากข้ึน การปรับเปลยี่ นเบอร์อาหารที่ผดิ พลาด ทาใหก้ งุ้ โต
ชา้ และอาหารเหลือในบ่อ เกิดการเน่าเสียในระหวา่ งเล้ยี ง

อาหารกงุ้ ขาวเป็นอาหารโปรตีนต่ากว่า การผสมอาหารกุง้ กุลาดาปนกบั อาหาร
กงุ้ ขาว กงุ้ จะไดร้ ับโปรตีนมากข้ึน ทาใหก้ งุ้ เน้ือแน่นและไดน้ ้าหนกั กุง้ มากข้ึน เป็นการเร่งอตั ราการ
เจริญเติบโต ซ่ึงเกษตรกรหลายรายนิยมใชว้ ธิ ีน้ีในช่วงประมาณ 2-3 สปั ดาห์ก่อนจบั เพอ่ื ผลผลขิ องกงุ้
ในบ่อ

4.2.4 การตรวจสอบการกินอาหารโดยใชย้ อ เทคนิคที่ในการวางยอเพ่ือตรวจสอบ
ปริมาณการกินอาหาร นิยมวางบ่อละ 4 ยอ ระยะแรกจะใส่อาหารที่ 1 กรัม/ยอ เช็ค 3 ชม./คร้ัง จนถึง
วนั ที่ 30 ก็เพ่ิมข้ึนเป็ น 2 กรัม/ยอ เช็คทุก 3 ชม. เมื่อกุง้ อายุ 50 วนั เพิ่มเป็ น 3 กรัม/ยอ เชค็ ทุก 2 ชม.
คร่ึง จนถึงกุง้ ขนาด 60 ตวั /กก. เพ่ิมเป็ น 4 กรัม/ยอ เช็ค 2 ชม.คร่ึง เมื่อกงุ้ โตไดข้ นาด 50 ตวั /กก. ให้
ปรับเพิ่มเป็น 5 กรัม/ยอ เช็คทุก 2 ชวั่ โมง และใชอ้ ตั ราการใส่อาหารในยอปริมาณน้ีจนถงึ จบั กงุ้

4.2.5 ค่าอตั ราแลกเน้ือ (Food conversion ratio FCR) หมายถึงค่าปริมาณอาหารท่ีใช้
ในการผลติ กงุ้ 1 กก. คานวณไดจ้ ากสูตร

อตั ราแลกเน้ือ = ปริมาณอาหารท่ีใชท้ ้งั หมด / ปริมาณกงุ้ ทจ่ี บั ไดท้ ้งั หมด
อตั ราแลกเน้ือที่ต่า แสดงใหเ้ ห็นว่า เกษตรกรมีการใหอ้ าหารอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

ปกติแลว้ ค่าอตั ราการแลกเน้ือที่ต่ากว่า 1.8 จดั เป็ นการใหอ้ าหารท่ีมีประสิทธิภาพ ค่าอตั ราแลกเน้ือที่
สูงอาจเน่ืองมาจากสูตรอาหารไม่เหมาะสม การให้อาหารมากเกินไป คุณภาพน้าและดินในบ่อเสื่อม
โทรม เกษตรกรจึงตอ้ งคานวณค่าอตั ราแลกเน้ือและนามาปรับวิธีการใหอ้ าหารและการจดั การเล้ียง
ในรอบต่อไป

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 25

4.2.6 คุณภาพและการเก็บรักษาอาหาร อาหารที่ส่ังเขา้ มาใชใ้ นฟาร์ม จะตอ้ งเป็ น
อาหารท่ีผลิตจากผผู้ ลติ ที่มีมาตรฐาน ผา่ นการควบคุมสูตรอาหารจากหน่วยงานที่รับผดิ ชอบเช่นกรม

ประมง ซ่ึงสามารถเห็น หมายเลขทะเบียนควบคุมที่ชดั เจน ถงุ อาหารจะตอ้ งมเี อกสารแสดง ประเภท
เบอร์ของอาหาร รายละเอียดคุณภาพ ปริมาณบรรจุ วิธีใช้ วนั ท่ีผลิต วนั ท่ีหมดอายุ ที่อยขู่ องแหล่ง
ผลิต รหสั การผลิต และขอ้ แนะนาในการใชเ้ ล้ียงกุง้ การใชอ้ าหารที่ผา่ นการควบคุมทาใหเ้ กษตรกร

การเก็บรักษาอาหารเป็ นข้นั ตอนท่ีสาคญั ให้เกษตรกรมีอาหารคุณภาพดี
สาหรับกุ้ง การเก็บอาหารไวใ้ นสภาพไม่ดี เช่น ร้อนหรือช้ืน หรือนานเกินไป ทาให้อาหารเส่ือม
คุณภาพ ข้ึนรา ไวตามินซีในอาหาร เส่ือมคุณภาพไดเ้ ร็วข้ึน ถา้ หากเกบ็ ไวใ้ นท่ีที่มอี ุณหภูมิ ถา้ อาหาร
ช้ืน ราท่ีข้ึนอาจผลติ สารพษิ เช่น อลั ฟาทอกซิน ซ่ึงจะมีผลทาลายตบั กุง้

อาหารท่ีเกษตรกรนาเขา้ มาในฟาร์ม ถุงตอ้ งแหง้ ไม่ฉีกขาด ไมม่ ีคราบน้ามนั
ไม่ช้ืน เมด็ อาหารภายในตอ้ งอยใู่ นสภาพดีไม่ร่วน ไมช่ ้ืน ไม่ข้ึนรา การวางถุงอาหารจะตอ้ งไมส่ มั ผสั
โดยตรงกบั พ้นื ซีเมนต์ เพราะทาใหช้ ้ืนง่าย หอ้ งที่เก็บอาหารตอ้ งเยน็ สบาย เป็นพ้ืนที่กาบงั ท่ีสามารถ
ป้อมกนั ฝนและแสงแดดที่จะทาใหอ้ าหารเสียคุณภาพ การใชอ้ าหารตอ้ งส่งั ในปริมาณที่เหมาะสม
นาอาหารไปใชต้ ามลาดบั ของอาหารที่สง่ั เขา้ มาเพ่ือใหไ้ ดอ้ าหารใหมอ่ ยเู่ สมอ และสามารถใชใ้ หห้ มด
ก่อนวนั หมดอายุ อาหารที่สงั่ มาใชไ้ ม่ควรเก็บนานเกิน 1 เดือน

4.3 การจดั การในระหว่างเล้ียง
การเล้ียงกุง้ ใหเ้ จริญเติบโตดี การจดั การในระหวา่ งเล้ียงใหม้ คี ุณภาพน้าและตะกอนเลน

พ้นื บ่อท่ีดี เป็นส่ิงท่ีเกษตรกรตอ้ งทาใหเ้ กิดข้ึนอย่างต่อเนื่องจนถงึ วนั ที่จบั กุง้ น้าและตะกอนเลนพ้ืน
บ่อมีคุณภาพเช่ือมโยงกนั น้าเป็นที่อยอู่ าศยั ของกุง้ แพลงกต์ อนพืช แพลงกต์ อนสตั ว์ จุลนิ ทรีย์ ส่วน
พ้ืนบ่อเป็ นท่ีอยูอ่ าศยั ของจุลนิ ทรียช์ นิดต่างๆ ทาหน้าท่ีเป็ นแหล่งสะสมหรือปล่อยสารอินทรียแ์ ละ
ของเสียที่เกิดจากการเล้ียงกงุ้

คุณภาพดินพ้ืนบ่อเป็ นปัจจยั สาคัญท่ีกาหนดระยะเวลาจบั กุ้ง เกษตรกรตอ้ งจดั การ
ควบคุมการสะสมของเสียและเพ่ิมออกซิเจนท่ีให้ลงไปยงั พ้ืนบ่อให้เหมาะสม เพื่อทาให้เกิดการ
เปลี่ยนของเสียกลบั มาเป็ นสารประกอบท่ีไม่เป็ นพิษและมีออกซิเจนเหลืออยู่พอเพียงสาหรับการ
เจริญเติบโตของกงุ้

พ้ืนบ่อที่เตรียมอยา่ งไม่เหมาะสม มีของเสียและปริมาณออกซิเจนไม่สมดุล ทาให้ของ
เสียท่ีพ้ืนบ่อเปล่ียนเป็นสารประกอบท่ีเป็นพษิ กบั กงุ้ เช่นก๊าซไข่เน่า ทาใหห้ นา้ ดินขาดออกซิเจนและ
มีสารพิษอยู่ในระดบั ที่มีผลต่อการกินอาหาร การเจริญเติบโต และการตายของกุ้ง ส่วนพ้ืนบ่อท่ี
เตรียมอยา่ งเหมาะสมและมอี อกซิเจนเพียงพอ ทาให้มสี ัตวห์ นา้ ดินและจุลินทรียจ์ านวนมากอาศยั อยู่
ลกู กุง้ ที่ปล่อยลงเล้ียงจึงมอี าหารธรรมชาติอยา่ งเพียงพอ ออกซิเจนท่ีเพียงพอ ทาใหแ้ อมโมเนียซ่ึงเป็ น
ของเสียจากการเล้ียงกุง้ ท่ีเป็ นพิษกบั กุง้ ให้เปลีย่ นมาอยู่ในรูปของไนเตรทท่ีไม่เป็นพิษและสะสมอยู่
ในพ้นื บ่อ

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 26

ความลึกของน้าเป็ นปัจจัยที่สาคญั ความลึกท่ีเหมาะสมสาหรับการเล้ียงกุ้งขาวอยู่ที่
ระดบั 1.2 -1.8 เมตร ข้ึนอย่กู บั อุปกรณ์ที่ใชใ้ นการใหอ้ อกซิเจน และความพร้อมในการสูบหรือถ่าย
น้า บ่อท่ีมีความลึกมากสามารถรักษาอุณหภูมิของน้าใหม้ ีการเปลี่ยนแปลงในรอบวนั นอ้ ย และสา
มากรถเล้ยี งกุง้ ในปริมาณมาก แต่ก็มีขอ้ เสียสาหรับฟาร์มที่ไม่มีเครื่องเพ่ิมออกซิเจนที่เหมาะสม ทา
ให้หน้าดินขาดออกซิเจนไดง้ ่าย บ่อที่ต้ืน ปริมาณน้าไม่เพียงพอในการควบคุมการเปลย่ี นแปลงของ
อุณหภูมิน้ า ทาให้สภาพแวดลอ้ มของบ่อไม่คงที่ เกิดความยุ่งยากต่อการจัดการเล้ียง แต่การเพ่ิม
ออกซิเจนเขา้ ไปถึงหนา้ ดินสามารถทาไดง้ ่ายกวา่

4.3.1 กระบวนการทางชีวเคมีในน้าและตะกอนดินพ้ืนบ่อเล้ยี งกุง้ พ้ืนบ่อที่อยลู่ ึกลง
ไปจะเกิดการขาดออกซิเจนก่อน และจะลามข้ึนมาที่ผวิ ดินถา้ หากเกษตรกรไมส่ ามารถเติมออกซิเจน
ให้เพียงพอถึงพ้ืนบ่อ การขาดออกซิเจนจะทาให้เคมแี ละส่ิงมีชีวิตในดินเปลี่ยนไป ไนเตรท (NO3-)
เป็ นสารประกอบไนโตรเจนท่ีสิ่งมีชีวิตในกลุ่มดีไนตริไฟอิ้งแบคทีเรีย (Denitrifying bacteria) นา
ออกซิเจนมาใชใ้ นการดารงชีพ และจะปลอ่ ยก๊าซไนโตรเจนออกมาจากพ้นื บ่อ และเมือ่ แบคทีเรียใน
ดินใช้ ไนเตรทหมดไป ชนิดแบคทีเรียก็จะเปลย่ี นไปจนกลายเป็ นแบคทีเรียในกลุ่ม ซลั เฟตรีดิวซิ่ง
แบคทีเรีย (Sulfate reducing bacteria) ที่จะใช้ออกซิเจนจากซลั เฟตในการดารงชีพ และปล่อยก๊าซ

ไข่เน่า หรือก๊าซไฮโดรเจนซลั ไฟด์ ออกมาสะสมอย่ใู นดินจนทาให้คุณภาพดินเปล่ียนแปลงไป กาซ

ไขเน่าเป็นสารท่ีมีพษิ รุนแรงกบั กุง้ และส่ิงมชี ีวติ ท่ีใชอ้ อกซิเจนในการดารงชีวติ
การย่อยสลายของเสียให้เป็ นธาตุอาหารและป๋ ุย ทาให้แพลงก์ตอนพืชและ

แบคทีเรียในน้ามีการเปล่ียนแปลงเพิ่มจานวน ส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้าท่ีเกี่ยวขอ้ งเช่น ออกซิเจน
ความเป็ นกรด-ด่าง และการนาเอาป๋ ุยและธาตุอาหารในน้าไปใช้ พ้ืนบ่อท่ีเสียไปเน่ืองจากการขาด
ออกซิเจน ทาให้เคมีของดินเปล่ียนไป ชนิดและปริมาณป๋ ุยที่ดินปล่อยออกมาจึงไมส่ มดุล ทาใหส้ ีน้า
ลม้ และกงุ้ เกิดความเครียด จนทาใหเ้ ป็นสาเหตุของการจบั กงุ้ ฉุกเฉิน

เม่ือบ่อมีออกซิเจนอยา่ งพอเพียง เกิดการย่อยสลายสารอินทรียต์ ่อเน่ืองไป

จนถึงการเปล่ยี นแอมโมเนียให้อยูใ่ นรูปของไนเตรทท่ีไม่เป็ นพิษโดย แบคทีเรียในกลุ่มเฮเทอโรโท

รพ (Heterotroph) และไนตริ ไฟอ้ิงแบคทีเรี ย (Nitrifying bacteria) แบคทีเรี ยในกลุ่มน้ีจะใช้
สารอินทรีย์ ไบคาร์บอเนตและออกซิเจน ในการทาใหก้ ารเปล่ียนแปลงเกิดข้ึนอยา่ งสมบูรณ์ การขาด
ออกซิเจนและไบคาร์บอเนต กเ็ ป็นสาเหตุหน่ึงที่ทาใหแ้ อมโมเนียเปลี่ยนไปเป็นไนเตรทไมส่ มบูรณ์

แอมโมเนียและไนเตรทในน้าเป็ นป๋ ุยที่มีบทบาทสาคญั ในการควบคุมการ
เจริญเติบโตของแพลงก์ตอนพืช นอกเหนือจากน้ีแพลงก์ตอนพืชยงั ตอ้ งการป๋ ุยฟอสเฟต ซิลิเกต
แสงแดด และคาร์บอนไดออกไซด์ สาหรับการเจริญเติบโตดว้ ย กระบวนการน้ีตอ้ งใชพ้ ลงั งานจาก
แสงแดดสาหรับสร้างสารอินทรียจ์ ากสารอนินทรีย์ จึงเรียกว่าการสังเคราะห์แสง (Photosynthesis)

ผลจากการสังเคราะห์แสงจะมีออกซิเจนเกิดข้ึน และแพลงก์ตอนพืชก็จะปล่อยออกซิเจนเหล่าน้ี
ออกมาใหล้ ะลายอยใู่ นน้า

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 27

4.3.2 คุณภาพน้าท่ีเหมาะสาหรับการเล้ียงกงุ้ ขาว

(1) อุณหภูมิ กุ้งขาวเป็ นสัตวเ์ ลือดเยน็ ที่ร่างกายจะมีอุณหภูมิเดียวกนั กับ
ส่ิงแวดลอ้ ม อุณหภูมิเป็ นตัวกาหนดกระบวนการทางชีวเคมีในตวั กุ้ง อุณหภูมิท่ีเพิ่มข้ึน 10 องศา
เซลเซียส ระดบั กิจกรรมของสิ่งมชี ีวติ จะเพ่ิมข้ึน 2 เท่า ในทางตรงกนั ขา้ มระดบั กิจกรรมของสิ่งมชี ีวติ
จะลดลง 2 เท่า ถา้ อุณหภูมิลดลง 10 องศาเซลเซียส ระดับอุณหภูมิท่ีเหมาะสมกบั กุง้ ขาวคือ 28-32
องศาเซลเซียส เมื่ออุณหภูมสิ ูงเกินระดบั ท่ีเหมาะสม ระดบั กิจกรรมของกงุ้ จะลดลง มีกิจกรรมของ
กงุ้ ท่ีเปลี่ยนแปลงเก่ียวขอ้ งกบั อณุ หภูมิ เช่น อตั ราการกินอาหาร อตั ราการใชอ้ อกซิเจน อตั ราการขบั
แอมโมเนียออกจากร่างกาย อณุ หภูมติ ่าประมาณ 15 องศาเซลเซียส และอณุ หภูมิที่สูงประมาณ 35-40
องศาเซลเซียส มีผลทาให้กุง้ ตาย ประเทศไทยจะมีระดบั อุณหภูมิของน้าที่เหมาะสมสาหรับการ
เจริญเติบโตท่ีดีตลอดท้งั ปี การเปลีย่ นแปลงของอณุ หภูมิในรอบวนั ไม่ควรเกิน 4 องศาเซลเซียส การ
เปล่ียนแปลงของอณุ หภูมิจะทาใหก้ งุ้ เครียด และกิจกรรมของแบคทีเรียในการยอ่ ยสลายของเสีย

(2) ออกซิเจนละลายน้า ออกซิเจนมีความจาเป็ นสาหรับการหายใจของกุง้
การเผาพลาญอาหารเพื่อให้ไดพ้ ลงั งานและการเจริญเติบโตตอ้ งใชอ้ อกซิเจน ระดับออกซิเจนท่ี
เหมาะสมต่อการเล้ียงกุง้ ขาวโดยเฉพาะการเล้ียงแบบพฒั นาคือ 5 มก./ล. ออกซิเจนไม่พอเพียงจะ
กระทบต่อ การเจริญเติบโตและอตั ราแลกเน้ือ ออกซิเจนในบ่อเล้ียงท่ีต่ากวา่ 3 มก./ล. เกษตรกรตอ้ ง
รีบแกไ้ ขปัญหา โดยเร็วมิฉะน้นั จะเกิดปัญหาต่อเน่ืองตามมา ระดบั ออกซิเจนที่ทาใหก้ งุ้ ตายคือ นอ้ ย
กว่า 1.5 มก./ล. การละลายของออกซิเจนในน้า ข้ึนอบั อุณหภูมิ ความเค็มและระดบั ความสูงจากน้า
ทะเล ซ่ึงเม่ือเพิ่มข้ึนการละลายของออกซิเจนในน้าจะลดลง เมื่อออกซิเจนละลายในน้าจนอ่ิมตัว
100% การแพร่ของออกซิเจนจากน้าสู่อากาศและอากาศสู่น้า จะเท่ากนั การใชอ้ อกซิเจนของกุ้ง
แบคทีเรีย และแพลงกต์ อนพืช จะทาให้ออกซิเจนในน้านอ้ ยลงต่ากว่าจุดอิ่มตวั (Oxygen depletion)
แต่การสังเคราะห์แสงของแพลงก์ตอนพืช ก็จะทาให้เกิดสภาวะออกซิเจนละลายเกินจุดอ่ิมตัว
(super-saturation) ในบ่อเล้ยี งกุง้ กิจกรรมส่ิงมีชีวิตท่ีทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาณออกซิเจนใน
รอบวนั คือ การหายใจและการสงั เคราะห์แสง ซ่ึงข้ึนกบั ความเขม้ ของสีน้า น้าที่มแี พลงก์ตอนพืชใน
ปริมาณมาก จะมีการสงั เคราะห์แสงทาใหน้ ้าในบ่อมีออกซิเจนสูงมาก และและการหายใจในเวลา
กลางคืนทาให้มีการใชอ้ อกซิเจนใหห้ มดไปอย่างรวดเร็ว ออกซิเจนจึงมเี ขม้ ขน้ ต่าสุดในเวลาเชา้ ตรู่
ทาให้การเปล่ียนแปลงออกซิเจนในรอบวนั มีในช่วงกวา้ ง น้าท่ีมีแพลงก์ตอนพืชไม่มาก อตั ราการ
สงั เคราะห์แสง และการหายใจในน้าจะนอ้ ยกวา่ การแกวง่ ตวั ของออกซิเจนในรอบวนั กจ็ ะแคบลง

ปริมาณออกซิเจนในบ่อเล้ยี งกุง้ ตอ้ งมีการวดั อยา่ งสม่าเสมอ อยา่ งนอ้ ย
วนั ละ 2 คร้ัง เพือ่ ตรวจสอบว่าออกซิเจนในน้ามีความเขม้ ขน้ ท่ีเหมาะสมหรือไม่ ถา้ หากออกซิเจนใน
น้ามีต่ากว่า 4 มก./ล. ปัญหาเกี่ยวกบั ออกซิเจนจะหมดไป ถา้ เกษตรกรมีเครื่องเพ่ิมออกซิเจนท่ีมี
ประสิทธิภาพอยา่ งเพยี งพอ ความเขา้ ใจเบ้ืองตน้ สาหรับเกษตรกรคือ เมอื่ เพ่มิ ปริมาณอาหารในบ่อ ก็
ตอ้ งเพ่ิมการใหอ้ อกซิเจนในน้าใหม้ ากข้ึน

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 28

(3) ความเป็ นกรดเป็ นด่าง เป็ นคุณภาพที่บ่างบอกปริมาณกรดในน้า กุ้ง
สามารถทนทานพเี อชในช่วง 7-9 สภาพที่เป็นกรดมากเกินไป (นอ้ ยกวา่ 6.5) หรือเป็นด่างมากเกินไป

(มากกว่า 10) จะเป็ นอนั ตรายต่อเหงือกกุ้ง และทาให้อตั ราการเติบโตต่าลง ความเป็ นกรด-ด่างท่ี

เหมาะสมสาหรับกุง้ ขาว จะอยู่ในช่วง 7.4-7.8 เพราะเป็ นช่วงความเป็ นกรด-ด่างที่แอมโมเนียมีพิษ

น้อย (ปริมาณแอมโมเนียอิสระในน้า น้อยกว่า 5%) และแบคทีเรียในกลุ่มไนตริไฟลอ์ ิ้งแบคทีเรีย
เจริญเติบโตและทางานไดด้ ี ความเป็นกรด-ด่างมกี ารเปล่ยี นแปลงในรอบวนั ข้ึนอยูก่ บั การสงั เคราะห์
แสงและการหายใจเช่นกนั ในการหายใจส่ิงมีชีวิต จะมีปล่อยคาร์บอนไดออกไซดอ์ อกมาละลายน้า
เกิดกรดคาร์บอกนิค (H2CO3)ทาใหค้ วามเป็นกรด-ด่างต่าลง ส่วนการสงั เคราะหแ์ สงแพลงก์ตอนพืช
จะนาเอา คาร์บอนไดออกไซดจ์ ากน้าไปใช้ทาให้ มีกรดคาร์บอนิคลดลง ทาให้ความเป็ นกรด-ด่าง
แกว่งตวั สูงข้ึน ในกรณีที่น้ามีค่าความเป็ นด่างรวม (Total alkalinity) ต่า ความเป็ นกรด-ด่างในช่วง
เวลากลางวนั ที่มีการสังเคราะห์แสงสูงอาจจะข้ึนไปไดถ้ ึง 9 ค่าความเป็ นกรด-ด่างที่แกว่งเกิน 0.5 จะ
ทาใหก้ ุง้ เครียด และการยอ่ ยสลายของเสียของแบคทีเรียในกลุม่ ไนตริไฟอ้งิ แบคทีเรียจะลดลง

(4) คาร์บอนไดออกไซด์ การหายใจของสิ่งมีชีวติ ต่างๆ ในบ่อเล้ียงกงุ้ เป็ น
แหล่งสาคญั ในการผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ การที่บ่อมีการคาร์บอนไดออกไซดม์ ากจะทาใหก้ ุง้

แลก เป ล่ี ยน ออก ซิ เจน กับ น้ าลด ลงลด ค ว าม ท น ท าน ข องกุ้งใน ส ภ าวะออก ซิ เจน ต่ า
คาร์บอนไดออกไซด์ในตัวกุ้งจะแลกเปลี่ยนกับน้ าผ่านทางเหงือกกุ้ง ถ้าหากว่าในน้ ามี
คาร์บอนไดออกไซดน์ ้อย ออกซิเจนสูง จะทาใหก้ ารแลกเปล่ียนก๊าซไดด้ ี ถา้ หากกุง้ ไม่สามารถขบั

คาร์บอนไดออกไซดอ์ อกจากร่างกายได้ ความเป็นกรด-ด่างในเลอื กกงุ้ ก็จะต่าลง ทาให้ความสามารถ

ในการแลกเปลีย่ นออกซิเจนของกงุ้ ลดลง

กงุ้ สามารถทน คาร์บอนไดออกไซดไ์ ด้ สูงถึง 20 มก./ล. แต่จะโตไดด้ ี

ที่ระดบั ต่ากว่า 5 มก./ล. ในกรณีท่ีมีคาร์บอนไดออกไซดส์ ูงในบ่อ การดีก๊าซ (Degas) โดยการใช้

เครื่องเพิ่มออกซิเจน เพ่ิมพ้ืนที่ผิวของน้าจะทาใหค้ าร์บอนไดออกไซดแ์ พร่จากน้าออกสู่อากาศไดด้ ี
ข้ึน ในกรณี ฉุกเฉิ น การใช้ปูนร้อน (CaO) เข้าไปจับตัวกับคาร์บอนไดออกไซด์ ทาให้เกิด
สารประกอบโซเดียมไบคาร์บอเนต แต่ตอ้ งค่อยๆ ใส่เพื่อไม่ให้ความเป็นกรด-ด่างเพิ่มเร็วเกินไป

(5) ความเค็ม ระดับความเค็มของน้ าสาหรับกุ้งขาวแวนนาไม กุ้งขาว
สามารถเจริญเติบโตไดใ้ นความเค็มต้งั แต่ 2- 35 ส่วนในพนั ส่วน กรณีท่ีเล้ียงในพ้ืนท่ีการเล้ียงความ
เค็มต่า ถึงแมว้ ่ากุง้ ขาวแวนนาไมจะเจริญไดใ้ นน้าจืดต่า แต่การเล้ียงกุง้ ขาวเพ่ือให้ไดผ้ ลดีในพ้ืนท่ี
ความเคม็ ต่าน้นั ควรไมต่ ่าหวา่ 10-30 ส่วนในพนั ถา้ เล้ยี งกุง้ ในน้าที่มีความเคม็ ต่า จาเป็นตอ้ งเติมเกล่ือ
แร่เพื่อรักษาระดบั แร่ธาตุใหเ้ หมาะสมกบั กงุ้

(6) ความกระด้างของน้า (hardness) เป็ นการวดั ค่ารวมของธาตุโลหะท่ี
ละลายน้าไดท้ ้งั หมด เช่น แมกนีเซียม แคลเซียม โซเดียม โปตสั เซียม เป็ นตน้ ธาตุโลหะละลายน้า
เหล่าน้ีสามารถแลกเปลี่ยนกบั กุง้ ไดท้ างเหงือก มีประโยชน์ต่อท้งั การรักษษคุณภาพน้า และเป็ นแร่

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 29

ธาตุจาเป็นสาหรับกงุ้ ค่าเหมาะสมในบ่อเล้ยี งกงุ้ คือ ไมน่ อ้ ยกว่า 150 มก./ล.ในรูป CaCO3 การเล้ยี งกุง้
ในน้าความเคม็ ต่า กุง้ ขาวอาจจะขาดเกลือแร่ทาให้วิธีเสริมเกลอื แร่ให้กบั กุง้ นอกจากจะเติมลงไปใน
อาหารแลว้ ยงั สามาระเติมลงไปในน้า แลว้ ใหก้ ุง้ ดูดซึมเขา้ ทางเหงือก

(7) ค่าความเป็นด่าง ในน้าท่ีเล้ียงกุง้ ตอ้ งมีค่าความเป็ นด่างท่ีเหมาะสมเพื่อ
เป็ นระบบบัฟเฟอร์ (ระบบต้านทาน) การเปลี่ยนแปลงของความเป็ นกรด-ด่าง ค่าความเป็ นด่างที่

เหมาะสมต่อการตา้ นทานการเปล่ยี นแปลงความเป็นกรด-ด่าง ตอ้ งมากกวา่ 100 มก./ล. ในรูป CaCO3
(8) ความโปร่งแสงของน้า ในบ่อเล้ียงกุง้ ขาวควรมีความโปร่งแสงอยู่

ระหว่าง 20 - 40 เซนติเมตร นอกจากความโปร่งแสงของน้าที่เหมาะสมแลว้ สีน้าและความน่ิงของสี
น้าในระดบั ความโปร่งใสที่เหมาะสมก็มีความสาคญั มากเช่นกนั เพราะแสดงใหเ้ ห็นถึงสมดุลของ
แพลงกต์ อนพืชในบ่อเล้ียงกงุ้ ที่จะสามารถทาใหค้ ุณภาพน้าเปล่ยี นแปลงชา้ ความโปร่งแสงของน้าที่
เปล่ียนเพ่ิมข้ึนระหว่างการเล้ียงแสดงใหเ้ ห็นถึงการขาดป๋ ุยที่เป็ นอาหารของแพลงกต์ อนพืช หรือมี
แพลงกต์ อนสตั ว์ และสิ่งมีชีวิตท่ีกินแพลงก์ตอนพืชมากเกินไป ความโปร่งใสท่ีเปล่ียนแปลงลดลง
แสดงใหเ้ ห็นวา่ ในบ่อน้นั มสี ารอินทรียใ์ นปริมาณมาก มีการใชอ้ อกซิเจนในการยอ่ ยสลายมาก ทาให้
มปี ๋ ุยมาก แต่สภาพวะเช่นน้ีเสียงต่อการขาดแคลนออกซิเจนและทาใหบ้ ่อมีความเป็ นกรด-ด่างแก่วง
ในช่วงกวา้ ง

(9) แอมโมเนีย เป็ นสารประกอบไนโตรเจนท่ีเป็ นพษิ กบั กุง้ เกิดจากการ

ขบั ถ่ายของกุง้ และการย่อยสลายสารอินทรีย์ ของแบคทีเรียและจุลินทรีย์ ยง่ิ ให้อาหารมากโอกาสที่
แอมโมเนียจะสะสมในบ่อเล้ียงก็มีได้มากเช่นกนั แอมโมเนียเมื่อละลายในน้า จะมีความเป็ นพิษ
ลดลง แต่ถา้ ความเป็ นกรด-ด่างและอุณหภูมิสูงข้ึน ความเป็ นพิษของแอมโมเนียมีมากข้ึน เช่น ที่
อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ปริมาณแอมโมเนียอิสระท่ีความเป็ นกรด-ด่าง 7 เท่ากบั 0.8% ของ

ปริมาณแอมโมเนียรวม และท่ีความเป็นกรด-ด่าง 9.0 ปริมาณแอมโมเนียอิสระเท่ากบั 44.9%

แอมโมเนียอสิ ระที่เป็นพิษทาใหล้ กู กงุ้ ขาวตายภายใน 96 ชม ลกู กงุ้ ขาว

อยู่ที่ระดบั 0.2 มก./ล. และเท่ากบั 0.95 มก./ล. สาหรับลูกกุง้ น้าหนัก 4.87 ก. ระดบั ของแอมโมเนีย
อิสระท่ีไม่มีผลต่อการเจริญเติบโต อยทู่ ่ี 0.03 มก./ล. ระดบั ที่เริ่มมีผลกระทบต่อกุง้ อยู่ที่ 0.1 มก./ล.
พิษระยะยาวของแอมโมเนียคือทาให้อัตราการเจริ ญเติบโตลดลง และอัตราแลกเน้ือเพิ่มข้ึน
แอมโมเนียในปริมาณสูงทาทาลายเหงือก ทาให้เหงือกบวมน้า และแลกเปล่ียนออกซิเจนไดล้ ดลง
แอมโมเนียในน้าสูงจะทาใหแ้ อมโมเนียในเลือดสูงตาม และลดความสามารถของเมด็ เลือดในการนา
ออกซิเจนเขา้ สู่เซลล์ ทาไหก้ ุง้ ขาดออกซิเจนไดง้ ่าย และทาให้ความตา้ นทานโรคลดลง ระดบั ความ

เป็นพษิ ของแอมโมเนีย

(10) ไนไตรท์ กุง้ สามารถทนไนไตรทไ์ ดส้ ูงถึง 200 มก./ล. ไดส้ ูงกว่าปลา

ไนไตรท์จงั ไมม่ ปี ัญหาในการเล้ยี งกุง้ ขาว ในเอกสารแนะนาการจดั การคุณภาพน้าในการเล้ียงกงุ้ ขาว
แบบหนาแน่นในระบบเรซเวย์ แนะนาใหค้ ่าไนไตรทใ์ นบ่อเล้ียงกงุ้ ใหต้ ่ากวา่ 60 มก./ล.

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 30

(11) ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ เป็นกาซ ไมม่ ีสี มีกล่นิ เหมน็ เหมอื นไข่เน่า เกิดจาก
การ ยอ่ ยสลายสารอินทรีย์ ในสภาวะที่ไร้อากาศ หรือจากปฏกิ ิริยาซลั เฟตรีดกั ชนั่ ไฮโดรเจนซลั ไฟด์
อสิ ระจะมีพษิ มากกว่าไอโดรเจนซลั ไฟดท์ ี่ละลายน้า สภาวะท่ีทาใหไ้ ฮโดรเจนซลั ไฟดม์ ีพิษมากข้ึน
คือความเป็นกรด-ด่างต่า และอุณหภูมิสูง ที่ความเป็ นกรด-ด่าง 7.5น้ามีไฮโดรเจนซลั ไฟดร์ ูปท่ีมีพิษ
14% และถา้ ความเป็นกรด-ด่าง 7.2 น้ามีไฮโดรเจนซลั ไฟดร์ ูปท่ีมีพิษ 24% ระดบั ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ที่
ไมเ่ ป็ นอนั ตรายต่อการเล้ยี งกุง้ คือ 0.002 มก./ล. ในกรณีนาน้าใตด้ ินข้ึนมาใชต้ อ้ งมีการเพมิ่ ออกซิเจน
เพอื่ สลายไฮโดรเจนซลั ไฟดก์ ่อนเติมลงไปในบ่อเล้ยี งกงุ้

4.3.3 หลกั การจดั การควบคุมสภาพแวดลอ้ มในบ่อเล้ียงกุง้
(1) หลกั การการจดั การออกซิเจนในบ่อ ออกซิเจนส่วนใหญ่ในการย่อย

สลายของสารอินทรียท์ ่ีเหลือจากการให้อาหารและสะสมอยู่ในน้าและดิน รวมท้งั ส่ิงมีชีวิตเช่น
จุลินทรีย์ แพลงกต์ อนพืช และสตั วอ์ ่ืนๆ ที่เกิดข้ึนในระหว่างการเล้ียง จะเห็นไดว้ ่า ในบ่อมีความ
ตอ้ งการใชอ้ อกซิเจนมากมาย ถา้ เราใหอ้ อกซิเจนกบั น้าและดินไม่เพียงพอ กุง้ ที่เล้ียงก็ขาดออกซิเจน
ได้ ทาใหเ้ ครียด สุขภาพไมแ่ ขง็ แรงหรือตาย

กุง้ มกี ารตอบสนองต่อส่ิงแวดลอ้ มท่ีมอี อกซิเจนต่างกนั ออกไป กงุ้ ท่ีอยู่
ในน้าที่มีออกซิเจนเพียงพอจะมคี วามแข็งแรง เจริญเติบโตดี ถา้ กุง้ อยสู่ ภาพแวดลอ้ มท่ีมีออกซิเจนต่า
กุง้ จะเครียด และการขาดออกซิเจนเป็ นปัจจัยร่วมอยา่ งหน่ึงของการเกิดโรค ทาให้ไดผ้ ลผลิตต่า

ดงั น้นั ผูเ้ ล้ยี งกุง้ จะตอ้ งพยายามรักษาออกซิเจนในน้าใหม้ ีมากที่สุด ซ่ึงในวิธีการจดั การจะตอ้ งรักษา
ใหร้ ะดบั ออกซิเจนในตอนเชา้ ตรู่สูงกว่าระดบั 5 มก./ล.

ตาราง แสดงการตอบสนองของกุง้ และส่ิงแวดลอ้ มในบ่อต่อปริมาณออกซิเจนในน้าต่างๆกนั

ออกซิเจนในน้า การตอบสนองของกงุ้ และสิ่งแวดลอ้ มในบ่อ

มากกว่า 5 มก./ล. กงุ้ เจริญเติบโตดี, สารอินทรีย์ และ ของเสีย สลายตวั ไดเ้ ร็ว

3 – 4 มก./ล. กงุ้ เจริญเติบโตชา้ , อตั ราการสะสมของเสียในบ่อเพม่ิ ข้ึน

2 – 3 มก./ล. กินอาหารลดลง, กงุ้ เจริญเติบโตชา้ , กงุ้ เครียด, อาหารเหลอื ในบ่อ

1 – 2 มก./ล. ระบบภูมิคุม้ กนั โรคลดลง, เกิดการยอ่ ยสลายของเสียแบบไมใ่ ช้
ออกซิเจน, กงุ้ ลอยหวั

นอ้ ยกว่า 1 มก./ล. กงุ้ ตาย

ในฤดูร้อน อากาศที่ร้อนแหง้ แลง้ ทาให้การละลายของออกซิเจน

ในน้าต่าลง แต่ในสภาวะเช่นน้ีแพลงก์ตอนพืชจะสามารถผลติ ออกซิเจนไดเ้ พยี งพอท่ีจะรักษาระดบั
ของออกซิเจนในน้ า เฉพาะในเวลากลางวัน สาหรับในวนั ท่ีมีเมฆมาก หรื อฝนตกหนัก การ
สงั เคราะห์แสงลดน้อยลง ทาให้ปริมาณออกซิเจนท่ีเคยมีเพียงพอในวนั ท่ีแดดจดั เปลี่ยนแปลงไป

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 31

ลกั ษณะเช่นน้ีถา้ ในบ่อเล้ยี งที่มีกงุ้ อยู่มากก็จะพบกบั ปัญหาการขาดออกซิเจนได้ กงุ้ ตวั เลก็ หรือตวั ท่ี
ออ่ นแอ เช่น อยใู่ นระหวา่ งลอกคราบ จะไดร้ ับผลของการขาดออกซิเจนมากกว่า

เมอ่ื เกิดการขาดออกซิเจน ของเสียในบ่อเล้ียงกุง้ ถกู ยอ่ ยสลายชา้ ลง
และของเสียท่ีเกิดข้ึนอาจเป็นพิษต่อสตั วน์ ้าอีกดว้ ย และเนื่องจากความตอ้ งการออกซิเจนส่วนใหญ่มา
จากพ้ืนกน้ บ่อ การขาดออกซิเจนจะเกิดข้ึนท่ีพ้ืนกน้ บ่อก่อน และการเปลี่ยนแปลงของออกซิเจนของ
น้าในระดบั ล่างๆ มีความสมั พนั ธก์ บั ขบวนการทางชีวะหรือเคมีของดินกน้ บ่อ มากกวา่ ที่จะเกิดจาก
การแพร่กระจายออกซิเจนโดยการผสมผสานของน้า

ความตอ้ งการออกซิเจนมีการเปล่ียนแปลงไดข้ ้ึนกบั อุณหภูมิ ซ่ึง
เป็นปัจจยั กาหนดกิจกรรมของสิ่งมชี ีวติ ในบ่อ เมื่อน้ามีอุณหภูมิต่า ความตอ้ งการออกซิเจนกจ็ ะลดลง
ในทางตรงกนั ขา้ มน้าที่อุณหภูมิสูงความตอ้ งการออกซิเจนก็มากข้ึน ดงั น้ันการเล้ยี งกุง้ ในหน้าร้อน
เคร่ืองเพิม่ ออกซิเจนในบ่อเล้ียงกุง้ จึงตอ้ งมีและตอ้ งใชใ้ ห้เพียงพอ ถา้ การให้ออกซิเจนถึงพ้นื กน้ บ่อ
อย่างเพียงพอ จะทาให้ผิวหน้าดินเป็ นดินท่ีไม่ขาดออกซิเจน ส่วนก๊าซพิษและสารเคมีเช่นพว ก

ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ ก็จะไมส่ ามารถแพร่ผา่ นดินข้ึนมาในน้าได้
การขาดออกซิเจนในบ่อเล้ียงกุง้ เกิดข้ึนเน่ืองจากความตอ้ งการ

ออกซิเจนมมี ากกว่าออกซิเจนท่ีบ่อเล้ียงกุง้ ไดร้ ับจากเคร่ืองเพิ่มอากาศ การตรวจสอบวา่ เกษตรกรได้
ติดต้งั เคร่ืองเพ่ิมออกซิเจนอยา่ งมีประสิทธิภาพหรือไมน่ ้นั มีหลายวิธี แต่วิธีที่ดีท่ีสุดคือ การวดั ความ
เขม้ ขน้ ของออกซิเจนในน้า (ไมว่ ่าจะดว้ ยการใชเ้ ครื่องวดั ออกซิเจนหรือการใชว้ ธิ ีวิเคราะห์ทางเคมี)
ซ่ึงควรจะเก็บตวั อย่างหรือวดั หลายๆ จุด และหลายเวลา ท้ังกลางวนั และกลางคืน โดยเฉพาะ
ช่วงเวลาเชา้ ตรู่

ถา้ หากเกษตรกรมีขอ้ จากัดในการวดั ออกซิเจน วิธีการสังเกตที่

ผิวหนา้ ดินกน้ บ่อก็ เป็ นวิธีการที่น่าจะนาไปใช้ กล่าวคือ ถา้ สังเกตพบผิวหนา้ ดินก้นบ่อมีสีน้าตาล
หรือสีดินเดิม แสดงวา่ ออกซิเจนเพียงพอ ส่วนดินท่ีขาดออกซิเจนจะมีสีดา และจะมีกลิ่นเหมน็ ของ
ก๊าซไข่เน่าหรือไฮโดรเจนซลั ไฟด์

การเติมออกซิเจนที่ประหยดั พลังงานและใช้ต้นทุนการเติม

ออกซิเจนต่าที่สุด คือ การเติมออกซิเจนในช่วงท่ีน้ามีออกซิเจนละลายต่ากว่าจุดอิ่มตวั เน่ืองจาก
ออกซิเจนสามารถแพร่ลงไปในน้ าได้เร็ว โดยที่ไม่ทาให้ออกซิเจนในน้ าหลุดข้ึนมาสู่อากาศ
เหมอื นกบั การเติมน้าในช่วงที่น้าอ่ิมตวั ดงั น้นั การเพม่ิ ออกซิเจนอย่างเตม็ ท่ี ในช่วงเวลากลางวนั ท่ีน้า
มีออกซิเจนในระดบั สูงกว่าจุดอมิ่ ตวั นอกจากจะไม่สามารถเติมออกซิเจน ลงไปไดแ้ ลว้ ยงั เป็นการทา
ใหบ้ ่อสูญเสียออกซิเจน และส้ินเปลอื งพลงั งาน

ในบ่อที่มีสีน้ าดี (สีเขียว ความโปร่ งใส่ประมาณ 35-40 ซม.)
ออกซิเจนในบ่อเล้ียงกงุ้ จะเพิม่ ข้ึนไดเ้ อง จากการสงั เคราะห์แสง หลงั จากมีแสงแดดเต็มท่ีประมาณ

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 32

1 ชม. ระดับออกซิเจนจะเพ่ิมสูงข้ึนจนถึงจุดอ่ิมตัวไดใ้ น เวลาประมาณ10 นาฬิกา ถึง เที่ยงวนั
ปริมาณออกซิเจนของน้าในช่วงบ่ายของวนั ที่มแี สงแดดจดั มาต้งั แต่ช่วงเชา้ ส่วนมากจะอยสู่ ูงกว่าจุด
อม่ิ ตวั ไปจนถงึ พลบค่า

การลดลงของออกซิเจนเกิดข้ึนอยา่ งรวดเร็วในช่วงหวั คา่ ประมาณ
3-4 ชวั่ โมงหลงั พลบค่า เนื่องจากออกซิเจนสูงกว่าระดบั อิ่มตวั หลงั จากน้ีการลดลงจะเป็ นไปอยา่ ง
ชา้ ๆ จนกระทง่ั ถึงเชา้ ของวนั ใหม่ ในวนั ที่อากาศแจ่มใส ในช่วงหลงั 3 ทุ่ม เป็ นเวลาที่ออกซิเจน
มกั จะลดต่ากวา่ จุดอมิ่ ตวั

วิธีการใช้ออกซิเจนจากการสังเคราะห์แสงอยา่ งมีประสิทธิภาพ

คือใชก้ ารสังเคราะห์แสงทาใหน้ ้ามีออกซิเจนเกินจุดอม่ิ ตวั แลว้ รักษาออกซิเจนส่วนน้ีเพื่อนาไปใช้
ในช่วงกลางคืนให้ไดม้ ากที่สุด ในวนั ที่แดดจดั เนน้ การผสมผสานและหมนุ เวียนของน้า โดยใชท้ ่อ
ลมใตน้ ้าช่วย ซ่ึงถา้ ออกซิเจนเกินจุดอม่ิ ตวั แลว้ ลดการใชเ้ ครื่องเพิ่มออกซิเจนไดใ้ นเวลากลางวนั
20-80% ตามสภาพของบ่อ สุขภาพและการกินอาหารของกุง้ เก็บน้ามนั หรือพลงั งานไฟฟ้าไปใชเ้ พิ่ม
ออกซิเจนในช่วงหลงั 2-3 ทุ่ม ในวนั ฝนตกหรือมีเมฆมาก การสังเคราะห์แสงของแพลงกต์ อนพืช

ลดลง น้าอาจมอี อกซิเจนลดลงได้ จึงควรใชเ้ ครื่องเพิม่ ออกซิเจนในช่วงท่ีฝนตกหรือไม่มีแดดเกิน
3 ชม. และเนน้ การเพ่มิ ออกซิเจนตลอดท้งั คืน

สาหรับบ่อที่เล้ียงกุง้ อย่างหนาแน่น ถึงแมว้ ่าในเวลากลางวนั มี
ปริมาณออกซิเจนเพียงพอสาหรับการเจริญเติบโตและการย่อยสลาย สารอินทรีย์ ก็ตาม แต่ก็จะมี

ปริมาณคาร์บอนไดออกไซดส์ ูง ซ่ึงเกษตรกรทราบดีแลว้ ่าคาร์บอนไดออกไซดส์ ูงจะทาใหก้ งุ้ เลือดกุง้

มีคาร์บอนไดออกไซด์เยอะทาให้แลกเปลี่ยนออกซิเจนกบั น้าน้อยลง และความเป็ นกรด-ด่างของ
เลือดต่าลงดว้ ยจะทาใหก้ ุง้ โตชา้ ดงั น้นั ถา้ เกษตรกรสงั เกต กุง้ กินอาหารมากและน้ามีความเป็น
กรด-ด่าง ค่อนขา้ งต่า คาร์บอนไดออกไซดใ์ นน้าจะสูง การใชเ้ ครื่องเพิม่ ออกซิเจนในช่วงเชา้ ในระดบั
ปานกลาง (50-70%) ของปริมาณท่ีใชใ้ นเวลากลางคืน จะช่วยระบายคาร์บอนไดออกไซดอ์ อกจากน้า
ไดด้ ี อยา่ งต่อเน่ืองจะทาใหบ้ ่อเล้ียงกงุ้ มีความเป็ นกรด-ด่างไม่ต่าจนเกินไป และแพลงกต์ อนพืชโตชา้
ลง เน่ืองจากคาร์บอนไดออกไซดใ์ นน้าลดนอ้ ยลง

(2) หลกั การการจดั การใหอ้ าหารในสภาวะไม่ปกติ สภาวะที่ไม่ปกติ เช่น

การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรือกุง้ เครียด กุง้ จะตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงเหลา่ น้ี โดยลดความ
ตอ้ งการกินอาหารลง การจดั การใหอ้ าหารจึงควรคานึงถึงตวั แปรเหล่าน้ีดว้ ย

ออกซิเจนประมาณ 40% ของระดับอิ่มตัว (ระดับ 2.5-3 มก./ล.)
จดั เป็ นระดับท่ีเร่ิมขาดออกซิเจน ซ่ึงจะทาให้กุง้ ท่ีอาศยั ในบ่อท่ีขาดออกซิเจนและกินอาหารได้
นอ้ ยลง ดงั น้ันการใหอ้ าหารในระดบั ปกติกบั กุง้ ที่อย่ใู นสภาพขาดออกซิเจนหรือออกซิเจนมีอยใู่ น
ปริมาณต่าจะทาใหม้ อี าหารเหลอื อยใู่ นบ่อเล้ียงได้ การพิจารณาถึงอุณหภูมิ และระดบั ความอมิ่ ตวั ของ

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 33

ออกซิเจนในน้าจะช่วยให้การใหอ้ าหารถูกตอ้ งมากข้ึน การท่ีกุง้ อาศยั ในบริเวณที่ขาดออกซิเจนเป็ น
เวลานานๆ จะทาใหก้ งุ้ เครียด กินอาหารนอ้ ยลง โตชา้ และมภี ูมิตา้ นทานต่าลง

ปริ มาณออกซิเจนท่ีต่าจะมีผลทาให้กุ้งอยู่ในภาวะเครียด และกิน
อาหารนอ้ ยลง การให้อาหารในช่วงเวลาท่ีไม่เหมาะสม กงุ้ จะกินอาหารนอ้ ยกว่าปกติ อาหารอาจจะ
เหลือตกคา้ งในบ่อมากข้ึน จะทาใหไ้ ม่สามารถทาค่าอตั ราการแลกเน้ือใหต้ ่าที่สุดได้ นอกจากจะทา
ใหไ้ ดผ้ ลผลติ กงุ้ ต่าแลว้ ยงั ทาใหต้ น้ ทุนอาหารแพงข้ึน

ในกรณี น้ ี จึงควรมีการปรับเวลาการให้อาหารในม้ือที่มีออกซิเจนต่ า
โดยเฉพาะการให้อาหารม้ือแรกที่นิยมให้ในเวลาประมาณ 06.00 น. ตัวอย่างเช่น เม่ือทราบว่า
ออกซิเจนต่าท่ีสุดในตอนเชา้ ต่ากว่า 3 มก./ล. ควรปรับเวลาการใหอ้ าหารในม้อื เชา้ โดยเลื่อนออกไป
ใหใ้ นช่วงท่ีออกซิเจนเพิ่มปริมาณสูงข้ึนแลว้ (หลงั จากพระอาทิตยข์ ้ึนประมาณ 30 – 60 นาที)

ในกรณีที่ม้ือหลงั สุดซ่ึงบางราย อาจจะให้อาหารเวลา เที่ยงคืน หรือ
02.00 น. ซ่ึงถา้ ออกซิเจนในน้าต่ากว่า 3 มก./ล. กอ็ าจจะพจิ ารณาลดการใหอ้ าหารลง 20-50% หรือ งด
อาหารในม้ือน้นั ต่อเม่อื แกป้ ัญหาการขาดออกซิเจนไดแ้ ลว้ จึงค่อยปรับการใหอ้ าหารมาใหอ้ ยใู่ นช่วง
ปกติได้

ถา้ อุณหภูมิน้าลดต่าลงถึง 24 องศาเซลเซียส การกินอาหารของกุง้ จะ
ลดลง50% และจะไม่กินอาหารเลยเม่ืออุณหภูมิน้ าลดลงถึง 20 องศาเซลเซียส การอาหารควร
ตดั สินใจทันที โดยสามารถลดปริมาณอาหารในม้ือน้ันได้ ถึง 50% และใช้ยอตรวจสอบความ
ตอ้ งการอาหารแลว้ จึงปรับลดให้ถูกตอ้ งในม้ือต่อไป และเม่ือผลการตรวจสอบการกินอาหารจากยอ
พบวา่ กงุ้ มคี วามตอ้ งการอาหารจึงเพ่ิมปริมาณอาหารไดช้ า้ ๆ จนสภาวะท่ีผดิ ปกติจะผา่ นพน้ ไป

ในสภาพท่ีกุง้ ไม่กินอาหารเน่ืองจากความเครียดจากส่ิงแวดลอ้ ม หรือ
สภาวะติดโรค การฝืนใหอ้ าหารในปริมาณเท่าเดิมจะเป็ นการเสี่ยงท่ีจะทาให้อาหารเหลือในบ่อเล้ียง
และควบคุมสภาพแวดลอ้ มของบ่อเล้ียงไดย้ ากข้ึน ดงั น้นั เกษตรกรจึงควรจะตอ้ งแกไ้ ขปัญหา เพิ่ม
ออกซิเจน ร่วมกบั การปรับลดอาหารต้งั แต่ในช่วงแรกๆ ที่เริ่มพบปัญหา (พบกงุ้ ที่ไมม่ อี าหารในลาไส้
ในช่วงของการเชค็ ยอ) กุง้ ขาว เป็นกงุ้ ท่ีสามารถกินกอ้ นสารอนิ ทรียท์ ่ีเกิดข้ึนในบ่อ การงดใหอ้ าหาร
จึงไม่สงผลหระทบต่อกุง้ มากเหมือนกุง้ กุลาดา แต่กลบั เป็ นวิธีการบังคับให้กุง้ กินสารอินทรียท์ ี่
ตกคา้ งอยใู่ นบ่อเป็นอาหาร เป็นการลดปริมาณสารอนิ ทรียใ์ นบ่อไดพ้ ร้อมๆ กนั

ในการเล้ียงกุ้งระบบปิ ด ถ้าหากมีปั ญหาพ้ืนก้นบ่อเน่ าเสี ยอัน
เน่ืองมาจากของเสียที่สะสม จะทาใหก้ ุง้ ไม่สามารถอาศยั อยทู่ ี่พ้ืนกน้ บ่อไดอ้ ยา่ งเต็มที่ เม่ือเวลากุง้ หา
อาหารในแต่ละม้ือ อาจจะมีกุง้ ส่วนหน่ึงข้ึนมากินอาหารในยอตรวจสอบอาหารเร็วเกินไป ผลการ
ตรวจสอบยอจึงอาจจะไม่สอดคลอ้ งกบั ขอ้ เท็จจริงที่เกิดข้ึนในบ่อ เกษตรกร ควรมีการตรวจสอบพ้ืน
กน้ บ่อ และปริมาณอาหารในลาไสข้ องกุง้ ประกอบกบั การตรวจสอบอาหารในยอ ถา้ พบว่า พ้ืนกน้
บ่อสกปรก และพบกงุ้ มีอาหารไมเ่ ต็มลาไสอ้ ยบู่ างส่วน แต่ผลการตรวจสอบยอพบกงุ้ กินอาหารในยอ

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 34

หมด ลกั ษณะน้ีเป็ นขอ้ มูลท่ีขดั แยง้ กนั ผลจากการตรวจสอบยอจึงไม่ถูกตอ้ ง วิธีแกป้ ัญหาอาจจะ
ตอ้ งปรับลดระยะเวลาการตรวจสอบอาหารในยอให้เร็วข้ึนประมาณ 30 – 45 นาที และควรจะมีการ
จดั การแกไ้ ขปัญหาที่พ้นื กน้ บ่อร่วมดว้ ย

นอกจากน้ีการเปล่ียนแปลงคุณภาพน้ าบางตวั โดยเฉพาะปริ มาณ
อินทรี ยไ์ นโตรเจนในน้ าที่เพิ่มมากข้ึน เน่ืองจากเศษอาหารเหลือตกค้างในบ่อ และการปล่อย
แอมโมเนียจากก้นบ่อท่ีเน่าเสีย ก็จะทาให้การกินอาหารของกุ้งลดลง ซ่ึงการเปล่ียนแปลงของ
คุณภาพน้าเหล่าน้ีจะเกิดข้ึนจากการจดั การเล้ียงกุง้ ท่ีผดิ พลาด โดยเฉพาะการใหอ้ าหารมากเกินไป
การตายของแพลงกต์ อนพืชและจากการเพ่ิมข้ึนของอณุ หภูมนิ ้าอยา่ งรวดเร็ว

(3) หลกั การควบคุมปริมาณสารอินทรีย์ สารอินทรียต์ อ้ งการออกซิเจน
ในการย่อยสลายใหก้ ลายเป็ นป๋ ุย สารอินทรียเ์ กือบท้งั หมดในบ่อไดจ้ ากการให้อาหารกุง้ และมีการ
สะสมที่บริ เวณพ้ืนบ่อ เมื่อสารอินทรี ย์ถูกย่อยสลายกลายเป็ นป๋ ุยและคาร์บอนไดออกไซด์
สารประกอบเหล่าน้ีจะสามารถหมุนเวียนกลบั มาสร้างสารอินทรียใ์ หม่ในรูปของแพลงกต์ อนพืช
ดงั น้นั วิธีการควบคุมปริมาณสารอินทรียใ์ นเบ้ืองตน้ ที่เหมาะสมคือ การกาหนดอตั ราปล่อยและการ
จดั การใหอ้ าหาร

การเล้ยี งกงุ้ ในความหนาแน่นสูงเกษตรกรตอ้ งคานึงถึงศกั ยภาพในการ
จดั การเล้ียงกุง้ โดยเฉพาะคามสามารถในการเพิ่มออกซิเจนใหพ้ อเพียง ปริมาณน้าทะเลสะอาดท่ีมี
การสารองไว้ใช้ในฟาร์ม โดยทั่วไปแต่ละบ่อ แต่ละฟาร์มจะมีศกั ยภาพในการเล้ียงไม่เท่ากัน
เกษตรกรจะตอ้ งจดั การเล้ียงกงุ้ ตามศกั ยภาพของตนเอง

การเล้ียงกุ้งขาวให้มีการเจริญเติบโตท่ีดีในบ่อดิน ความหนาแน่นที่
แนะนาอยทู่ ่ีประมาณ 120,000-150,000 ตวั /ไร่ และตอ้ งมีการเตรียมเครื่องเพ่ิมออกซิเจนและอื่นๆ ให้
เพียงพอ ในกรณีท่ีเล้ยี งในบ่อที่ปูผา้ พลาสติก เกษตรกรท่ีมีความพร้อมในการจดั การถ่ายน้า และเพ่ิม
ออกซิเจนจะสามารถปล่อยกงุ้ ในความหนาแน่น 150,000-180,000 ตวั /ไร่

การใหอ้ าหารมีความจาเป็ นต่อการเจริญเติบโต การให้อาหารท่ีดีตอ้ ง
คานึงถึงปริมาณออกซิเจนในน้า ออกซิเจนที่ไม่เหมาะสม (ต่ากว่า 3.5 มก./ล.) จะมีผลทาให้กุง้ กิน
อาหารนอ้ ยลง ทาใหก้ งุ้ โตชา้ ในกรณีท่ีมีการเชค็ ยอผดิ พลาด จะทาใหม้ ีเศษอาหารเหลือเน่าเสียที่กน้
บ่อ

(4) หลักการควบคุมแบคทีเรียและแพลงก์ตอนพืช เป็ นหลกั การจดั การ
ควบคุมการเจริญเติบโตของแพลงก์ตอนพืชและแบคทีเรียให้มีในปริมาณท่ีเหมาะสมหรือเป็ น

ประโยชน์ต่อการเล้ียงกุง้ แบคทีเรียยอ่ ยสารอินทรียแ์ ละใชอ้ อกซิเจน โดยปล่อยธาตุอาหาร และ
คาร์บอนไดออกไซดอ์ อกมา ทาความเป็นกรด-ด่างของน้าลดต่าลง ส่วนแพลงกต์ อนพืชทาหน้าท่ีดูด
ซบั เอาคาร์บอนไดออกไซด์ สารอาหารที่เกิดจากการย่อยสลายของอาหารและข้ีกุ้ง สร้างเป็ น
สารอินทรียใ์ หม่ และผลติ ออกซิเจนใหก้ บั ในน้า

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 35

แพลงก์ตอนพืชที่มีมากจะทาให้มีการสังเคราะห์แสงในเวลากลางวนั

ทาให้น้าในบ่อเล้ียงกุ้งมีค่าความเป็ นกรด-ด่างสูงข้ึน ทาให้แอมโมเนียอิสระท่ีเป็ นพิษกบั กุ้งเพิ่ม
ปริมาณมากข้ึน นอกจากน้ีปริมาณแพลงกต์ อนพืชและแบคทีเรียท่ีมีมากเกินไป ทาใหค้ วามตอ้ งการ
ออกซิเจนของบ่อเล้ียงกุง้ สูงข้ึน อาจจะทาให้เกิดการขาดออกซิเจนในเวลากลางคืนโดยเฉพาะ
ช่วงเวลาหลงั เท่ียงคืน จนกระทงั่ ถงึ เชา้ ตรู่

น้าท่ีมีความเป็ นกรด-ด่างต่ากว่า 6 ไม่เหมาะสาหรับการเจริญเติบโต
ของอาหารธรรมชาติเช่น แพลงก์ตอนพืช และสัตวห์ นา้ ดิน ความเป็นกรด-ด่างของน้าท่ีต่ามากจะมี
ผลต่ออตั รารอดตาย การเจริญเติบโตและการเจริญพนั ธุบ์ ่อเล้ยี งกงุ้ ท่ีมีปริมาณแพลงกต์ อนพืชอยอู่ ยา่ ง
หนาแน่น จะทาใหก้ ารเปลย่ี นแปลงของความเป็นกรด-ด่างเกิดข้ึนในช่วงกวา้ ง เนื่องจากการผลิตและ
การใชค้ าร์บอนไดออกไซดใ์ นการหายใจและสงั เคราะหแ์ สง

การท่ีดินหรือน้ าเป็ นกรดจะไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของ
แพลงกต์ อนพืช ทาใหเ้ ตรียมสีน้าไดย้ าก ท้งั น้ีเน่ืองจาก สภาพท่ีเป็นกรดทาใหน้ ้ามีค่าความเป็ นด่าง
นอ้ ยลง ทาให้น้าไม่มีคาร์บอนเพียงพอสาหรับการสงั เคราะห์แสง แพลงกต์ อนพืชจึงขาดป๋ ุย เม่ือ
แพลงก์ตอนพืชเติบโตมากในบ่อเล้ียงกุ้ง คาร์บอนไดอ้ อกไซด์ในน้าจะลดลง ค่าความเป็ นด่างที่
เหมาะสมจะเป็ นแหล่งเสริ มของคาร์บอนได้ออกไซด์ในน้ า ทาให้แพลงก์ตอนพืชสามารถ
เจริญเติบโตไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง

การใชป้ ูนในช่วงท่ี แพลงก์ตอนพืชมีการเจริญเติบโตมาก แคลเซียม

และแมกนี เซียมจะช่วยทาให้ฟอสฟอรัสตกตะกอนและจะช่วยลดการเจริ ญเติบโตของแพลงก์ตอน

พืช หรือสีน้าได้ เพราะฉะน้นั การใชป้ ูนมากหรือนอ้ ยเกินไปในบ่อเล้ยี งกุง้ ก็จะไม่เป็นผลดี
สีน้าท่ีเขม้ อยเู่ ป็ นเวลานาน จะเส่ียงต่อการทาให้เกิดการเปล่ียนแปลง

สมดุลอยา่ งรวดเร็ว โดยเฉพาะกรณีของเหตุการณ์ที่เรียกว่า ”สีน้าดรอป (แพลงกต์ อนพืชจานวนมาก
ตายพร้อมๆ กนั ในบ่อเล้ียงกุง้ )” จะทาให้เกิดการสังเคราะห์ แสงลดลง การดูดซึมแอมโมเนียไปใช้
ลดลง และการผลติ ออกซิเจนก็จะลดลงดว้ ย ทาให้ กงุ้ เครียด และบางคร้ังอาจจะรุนแรงถึงกระทงั่ ทา
ใหเ้ กิดการอ่อนแอ และติดเช้ือในตวั กุง้ ได้ อน่ึงการตายของแพลงกต์ อนพืชจะทาใหเ้ กิดซากอินทรีย์
จานวนมากเป็ นสาเหตุร่วมของปัญหาแอมโมเนียของน้ าสูงหลงั จากแพลงก์ตอนพืชดรอป ซ่ึง
เกษตรกรจาเป็นจะตอ้ งมีความระมดั ระวงั ในเร่ืองเหล่าน้ีดว้ ย

ปริมาณแพลงกต์ อนพืชและแบคทีเรียมีการเปลี่ยนแปลงสมั พนั ธ์กัน

กล่าวคือ เม่ือน้ามีสารอินทรียม์ าก ปริมาณแบคทีเรียจะมีมากกวา่ แพลงกต์ อนพืช และเมือ่ น้ามีปริมาณ
ป๋ ุยหรือธาตุอาหารมากในบ่อเล้ียงกงุ้ ก็จะมีปริมาณแพลงกต์ อนพืชมากกวา่ แบคทีเรีย

การจัดการควบคุมแบคทีเรี ยและแพลงก์ตอนพืชที่ง่ายสาหรับ

เกษตรกรใหส้ งั เกตความเป็นกรด-ด่างของน้าเป็นเกณฑ์ ใหอ้ ยูใ่ นช่วง 7.7-8.3 เมอื่ ความเป็ นกรด-ด่าง
ของน้าสูงกวา่ 8.3 แพลงกต์ อนพืชมกี ารเจริญเติบโตและสงั เคราะหแ์ สงอย่างรวดเร็ว ความเป็นกรด-

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 36

ด่างของน้ าจึงสูงข้ึน ให้เน้นการกระตุ้นใช้จุลินทรี ย์ สภาวะที่แบคทีเรี ยเพิ่มข้ึนจะทาให้มี
คาร์บอนไดออกไซด์และกรดอินทรีย์ จึงทาให้ความเป็นกรด-ด่างต่าลง สีน้า ในทางตรงกนั ขา้ มบ่อ
เล้ียงกุง้ ที่มีแบคทีเรียมากจะทาให้น้ามีความเป็นกรด-ด่างต่าและมีความตอ้ งการออกซิเจนเยอะ และ
เมื่อความเป็ นกรด-ด่างต่าลงถึง 7.7 สภาวะเช่นน้ี เกษตรกรต้องหยุดใชจ้ ุลินทรีย์ และเพ่ิมการให้
ออกซิเจนเพื่อใหส้ ารอินทรียม์ กี ารยอ่ ยสลาย กลายเป็นสารประกอบไนโตรเจนท่ีเป็นป๋ ุยทาใหแ้ พลงก์

ตอนพืชโตมากข้ึนและความเป็นกรด-ด่างและออกซิเจนในบ่อเล้ียงกุง้ สูงข้ึน
ในกรณีท่ี ความเป็ นกรด-ด่างสูงมากจนจาเป็ นตอ้ งใชส้ ารเคมีใน

การแกป้ ัญหา เกษตรกรอาจใช้ ฟอร์มาลีนคร้ังละ 5-6 ลิตรต่อไร่ ในช่วง 18-20 น. เพื่อควบคุมการ
เพิม่ ปริมาณของแพลงกต์ อนพืช และนอกจากน้ี ฟอร์มาลีนที่มีฤทธ์ิ เป็ นกรดอ่อนจะช่วยทาปฏิกิริยา
ลดความเป็ นกรด-ด่างลง หลงั จากเติมฟอร์มาลีนแลว้ เปิ ดเครื่องเพ่ิมอากาศให้เต็มท่ี เพื่อสลายฤทธ์ิ
ของฟอร์มาลีน และแลว้ วดั พีเฮชตอนเชา้ ในวนั รุ่งข้ึน ทาเช่นน้ีต่อไปเร่ือย ๆ จนกว่าค่าพเี ฮชจะต่ากว่า
8.0 แลว้ จึงหยดุ

(5) หลักการจัดการใช้ แร่ ธาตุ กุ้งขาวหรื อกุ้งกุลาดาเป็ นสัตว์ทะเลที่

สามารถดารงชีวิตไดใ้ นน้ากร่อย อยา่ งไรก็ตามแร่ธาตุก็เป็ นสิ่งจาเป็น กุง้ มีกระบวนการควบคุมเกลือ
แร่ในสภาวะที่น้ามคี วามเค็มเปลี่ยนแปลงไม่เหมาะสม เพื่อใหม้ ีการเจริญเติบโตท่ีดี สาหรับกุง้ กลุ าดา
ความเค็มที่เหมาะสมไม่ตอ้ งเสียพลงั งานปรับสมดุลของเกลอื แร่ดงั กล่าวอยทู่ ี่ประมาณ 23 ส่วนในพนั

ส่วน ส่วนกงุ้ ขาวอยทู่ ่ี ประมาณ 26 ส่วนในพนั ส่วน

กงุ้ ขาวสามารถเล้ยี งใหเ้ จริญเติบโตไดด้ ีในน้าที่มีความเค็มในช่วงกวา้ ง
ความเคม็ ต่าสุดท่ีเหมาะสมสาหรับการเล้ียงกุง้ ขาวคือ 2 ส่วนในพนั ส่วน แต่เกษตรกรจาเป็ นตอ้ งเติม
แร่ธาตุใหเ้ หมาะสม ซ่ึงแร่ธาตุท่ีจาเป็นสาหรับการเล้ียงกุง้ ขาวในน้าท่ีมีความเคม็ ต่า คือแร่ธาตุหลกั ท่ี
มีอยใู่ นน้าทะเล เช่น โซเดียม (Na+) โปแตสเซียม (K+) แคลเซียม (Ca2+) และแมกนีเซียม(Mg2+) โดยท่ี
เกษตรกรจะตอ้ งเตรียมใหน้ ้าทะเลมี แร่ธาตุต่างๆ ใหใ้ กลเ้ คียงกบั น้าทะเลธรรมชาติ

การใชแ้ ร่ธาตุในการเล้ียงกงุ้ มผี ลต่อกุง้ คุณภาพน้าและตะกอนดินดิน
ธาตุ แคลเซียมจะมผี ลต่อการสร้างเปลือก การหดตวั ของกลา้ มเน้ือ ธาตุแมกนีเซียมและแคลเซียมมผี ล
ต่อการทางานของเอ็นไซม์ ธาตุโปแตสเซียม จะมีผลต่ออตั ราการรอดตาย ปริมาณแร่ธาตุท่ีไม่

เหมาะสมทาใหก้ งุ้ เสียพลงั งานในการปรับสมดุลของเกลอื แร่ กุง้ จึงมกี ารเจริญเติบโตชา้ ลง แร่ธาตุใน

ปริมาณความเข้มขน้ สูงจะทาให้มีการทาปฏิกิริยากบั ฟอสฟอรัสในน้า ทาให้แพลงก์ตอนพืชไม่
สามารถนาเอาฟอสฟอรัสไปใชป้ ระโยชน์ได้ นอกจากน้ีแร่ธาตุที่ใส่เขา้ ไปในบ่อเล้ียงกุง้ ทาให้สาร

แขวนลอยตกตะกอนและสีน้าโปร่งข้ึน
แร่ธาตุมีความจาเป็ นในการเล้ียงกุง้ ท่ีความเค็มต่ามากกว่าท่ีความเค็ม

สูง วิธีการคานวณเพื่อทราบความเขม้ ขน้ ของแร่ธาตุในน้าความเคม็ ต่างๆ กนั จากความเค็ม (หน่วย
ส่วนในพนั ส่วน) ดงั น้ี

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 37

แคลเซียม = 11.6*ความเคม็
แมกนีเซียม = 39.1*ความเค็ม
โปแตสเซียม = 10.7 *ความเค็ม

สดั ส่วนที่เหมาะสมของ แคลเซียมต่อแมกนีเซียม อยู่ท่ีประมาณ 1:4
และสดั ส่วนแคลเซียมแมกนีเซียม อยู่ท่ีประมาณ 1:1 โดยเกษตรกรตอ้ งรักษาให้ในน้าที่เล้ียงกุง้ มี
เกลอื แร่หลกั 3 ตวั คือแคลเซียมไมน่ อ้ ยกวา่ 100 มก./ล. แมกนีเซียมไม่นอ้ ยกว่า 400 มก./ล. และโปแต
สเซียมไม่นอ้ ยกวา่ 100 มก./ล.

แหล่งของแร่ธาตุที่นิยมใช้มีหลายแหล่ง เช่น แคลเซียมซลั เฟต (ยิป
ซั่ม) มีแคลเซียม 22%ของน้ าหนัก โปแตสเซียมคลอไรด์ มีโปแตสเซียม 50% โปแตสเซียม
แมกนีเซียมซลั เฟต มีโปแตสเซียม 17.8% แมกนีเซียม 10.5% โปแตสเซียมซลั เฟต มีโปแตสเซียม
41.5% แมกนีเซียมซลั เฟต (ยปิ ซมั่ ) มีแมกนีเซียม 10% โซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง) มีโซเดียม 39%
ของน้าหนกั แร่ธาตุเหลา่ น้ี เกษตรกรตอ้ งจดั การเลอื กใชอ้ ยา่ งเหมาะสม

(5) หลักการจดั การรักษาหน้าดินไม่ให้เน่าเสีย ดินท่ีมีปริมาณสารอินทรีย์

สะสมอยใู่ นปริมาณมาก มีความตอ้ งการออกซิเจนสูงเพ่ือการยอ่ ยสลายและปล่อยแอมโมเนียออกมา
ในน้า บ่อระบบปิ ดที่มปี ริมาณสารอินทรียส์ ะสมจนกระทง่ั ผวิ หนา้ ดินขาดออกซิเจนมกั จะเกิดปัญหา
กงุ้ กินอาหารลดลง ความสกปรกเน่าเสียของตะกอนดินพ้นื กน้ บ่อเล้ียงและการเจริญเติบโตของกุง้ ได้

การท่ีกุง้ กินอาหารอยา่ งต่อเน่ืองในสภาวะท่ีมีออกซิเจนพอเพียง ของ
เสียที่เป็นสารประกอบไนโตรเจนจะถูกออกซิไดซ์ ไปเป็นไนเตรท และไนเตรทจะถกู ใชโ้ ดยแพลงก์
ตอนพชื และแบคทีเรียกลมุ่ ดีไนตริฟิ เคชนั่ ในในตะกอนดินช้นั ลกึ ลงไป กระบวนการดีไนตริฟิ เคชน่ั ที่
เกิดอยา่ งสมา่ เสมอ และจะช่วยป้องกนั หรือลดการเกิดไฮโดรเจนซลั ไฟดใ์ นดินท่ีขาดออกซิเจนในช้นั
ลึกลงไป ดงั น้ัน เกษตรกรตอ้ งจดั การใหบ้ ่อเล้ยี งมีปริมาณไนเตรทท่ีเพียงพอกบั ความตอ้ งการของ
แบคทีเรียในตะกอนดิน

ในช่วงเร่ิมตน้ การเล้ยี งกุง้ ดินพ้นื บ่อจะมีกระบวนการใชไ้ นเตรท
(ดีไนตริฟิ เคชน่ั ) มากกว่ากระบวนการแอมโมนิฟิ เคชน่ั เลก็ นอ้ ย ต่อมากระบวนการไนตริฟิ เคชน่ั ใน
บ่อเล้ียงเกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว โดยเฉพาะหลงั จากเล้ียงกงุ้ ไปแลว้ ประมาณ 1-2 เดือน สงั เกตจากการ
ที่แอมโมเนียลดปริมาณลงอยา่ งรวดเร็ว และปริมาณไนเตรทในตะกอนดินเพ่ิมมากข้ึน

หลงั จากเล้ียงกุง้ ไปประมาณ 3 เดือน ตะกอนดินพ้ืนบ่อเล้ียงอยู่ใน
สภาพท่ีขาดออกซิเจนอยา่ งมากจนทาใหเ้ กิดกระบวนการดีไนตริฟิ เคชนั่ ในบ่อและดูดซบั ไมใ่ หป้ ลอ่ ย
ไนเตรทออกไปจากตะกอนดิน ซ่ึงลกั ษณะเช่นน้ีจะส่งผลให้เกิดการขาดแคลนไนเตรท และ
แอมโมเนีย ในน้ า ทาให้เกิดการตายของแพลงก์ตอนพืชและน้ าในบ่อใสข้ึนมาทันที ซ่ึงเป็ น
ปรากฏการณ์ที่พบไดใ้ นบ่อเล้ยี งกงุ้ ที่มีปัญหาการจดั การสีน้า จนอาจจะเกิดผลเสียต่อบ่อเล้ียงกงุ้ และ
การจดั การเล้ยี งกุง้ ในระยะสุดทา้ ยก่อนเกบ็ เก่ียวผลผลิตได้

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 38

ตะกอนดินท่ีมีค่า C/N (สัดส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน) ต่า ซ่ึง

หมายถงึ มปี ริมาณไนโตรเจนสูง กระบวนการไนตริฟิ เคชนั่ ที่ผวิ ตะกอนดินเกิดข้ึนไดง้ ่าย ถา้ สามารถ
จดั การใหอ้ อกซิเจนท่ีพ้นื บ่อพอเพยี ง การป้อนไนเตรทจากกระบวนการไนตริฟิ เคชน่ั เขา้ ไปยงั ดินช้นั
ล่างท่ีมีไนโตรเจนนอ้ ย จะเกิดข้ึนไดง้ ่าย หน้าดินบ่อเล้ียงกุง้ จึงมีความเหมาะสมสาหรับกุง้ ในการ
ดารงชีวิตและเติบโตไปจนกระทงั่ จบั กงุ้ ขาย

ในกรณีที่กงุ้ ไมก่ ินอาหาร อยา่ งต่อเนื่องเป็นเวลานาน และเกษตรกรลด

ปริมาณอาหารท่ีให้กุ้งในบ่อ ทาให้บ่อกุ้งขาดไนโตรเจน (สังเกตจาก สีน้าค่อนขา้ งใส ไม่นิ่งและ
แกว่งข้ึนลงบ่อย) การเพิ่มออกซิเจนมากในสภาวะท่ีของเสียท่ีเป็ นสารประกอบไนโตรเจนมีปริมาณ
น้อย ไนเตรทท่ีเกิดข้ึนในบ่อเล้ียงกุ้งถูกใช้หมดไปอย่างรวดเร็วระบบดินพ้ืนบ่อก็จะเปลี่ยน
กระบวนการจากดีไนตริฟิ เคชนั่ ไปเป็ นซลั เฟตรีดกั ชนั่ และทาใหม้ ีปริมาณก๊าซไข่เน่าในตะกอนดิน
เพิ่มข้ึน พ้ืนบ่อเล้ียงกุ้งก็จะเสียไป ในสภาวะเช่นน้ี เกษตรกรอาจจะช่วยรักษาพ้ืนบ่อไม่ให้ขาด
ไนโตรเจนโดยการเติมป๋ ุยไนเตรทหรือป๋ ุยยูเรีย ในอตั ราประมาณ 0.5 ต่อไร่/สปั ดาห์ จนเม่ือสีน้าน่ิง
และกงุ้ กินอาหารดีแลว้ ใหห้ ยดุ เติมไนเตรท

5. การจดั การสุขภาพ และการแก้ไขปัญหาโรคกุ้ง

ในการเล้ียงกุง้ ทะเลน้ันโรคนับเป็ นอุปสรรคที่สาคญั อย่างย่งิ เน่ืองจากสามารถก่อให้เกิด
ความเสียหายไดท้ ุกขณะ โดยมผี ลกระทบโดยตรงต่ออตั รารอด และปริมาณผลผลิตกงุ้ โดยทาใหก้ งุ้ มี
อตั ราการเจริญเติบโตต่า กินอาหารนอ้ ยลง พกิ าร ป่ วยและตายในที่สุด

ก่อนที่จะจดั การสุขภาพกุง้ ขาวและแกป้ ัญหาโรคกุง้ ไดน้ ้ัน ตอ้ งรู้จกั ตน้ สายปลายเหตุ รู้จกั
ชนิดโรค เหลา่ น้นั ก่อน ซ่ึงโรคกุง้ ขาวที่เป็นสาเหตุการตายไดค้ ่อนขา้ งรุนแรง มกั เกิดจากโรคติดเช้ือ
ไดแ้ ก่ โรคไวรัสเป็นหลกั เช่น โรคตวั แดงดวงขาว โรคทอร่า เป็นตน้ ส่วนโรคบางชนิดอาจไม่ทาให้
กงุ้ ตายปริมาณมาก แต่ก็เป็นสาเหตุใหไ้ ดผ้ ลผลติ ต่า เช่น โรคไวรัสแคระแกรน โรคท่ีมีสาเหตุมาจาก
แบคทีเรีย เป็นตน้

5.1 สาเหตกุ ารเกดิ โรค
กุง้ จะเป็นโรคไดน้ ้นั เกิดจากองคป์ ระกอบร่วม 3 ประการพร้อมกนั คือ
5.1.1 กงุ้ (host) คือตวั กงุ้ เอง ซ่ึงอยใู่ นสภาพที่ออ่ นแอ ซ่ึงอาจเกิดไดจ้ ากพนั ธุท์ ี่ไม่ดี

ได้รับเช้ือโรคถ่ายทอดมาจากพ่อแม่ หรือเกิดจากตวั กุง้ เองท่ีอยู่ในสภาพความเครียด ร่างกายจึง
ออ่ นแอ มภี าวะภูมิคุม้ กนั ต่า

5.1.2 เช้ือโรค (pathogen) คือ มีชนิดเช้ือโรคท่ีก่อใหเ้ กิดโรคน้ันๆ รวมถึงเช้ือโรค
น้นั มีปริมาณมากพอท่ีสามารถก่อใหเ้ กิดโรคได้

5.1.3 สภาพแวดลอ้ ม (environment) คือ สภาพแวดลอ้ มที่กุง้ อาศยั อย่ไู ม่เหมาะสม
ก่อให้เกิดความเครียด มกั เป็นสาเหตุหลกั ท่ีทาใหก้ งุ้ เป็นโรคไดง้ ่าย ไดแ้ ก่ การเตรียมบ่อไม่ดี มีความ

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 39

เป็ นกรดสูง คุณภาพดินและน้าไม่เหมาะสม มีของเสียสะสมในบ่อมากเกินไป ไดร้ ับอาหารท่ีมี
คุณภาพต่า ขาดแร่ธาตุ มีสารพิษปะปน มีปริมาณแพลงกต์ อนพืชสูงเกินไป รวมถึงการจดั การฟาร์ม
ดา้ นอื่นๆ เช่น สุขอนามยั ของฟาร์มไม่ดี เป็นตน้

ซ่ึงความสัมพนั ธ์ของท้ัง 3 องค์ประกอบ สามารถแสดงให้เป็ นเป็ นแผนภาพได้ดงั น้ี

กงุ้

เช้ือโรค สภาพ
แวดลอ้ ม

แผนภาพแสดงความสาพนั ธข์ องปัจจยั ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคในกงุ้

5.2 การแบ่งชนิดของโรค
สามารถแบ่งชนิดของโรคออกไดเ้ ป็น 2 ชนิด ไดแ้ ก่โรคติดเช้ือและโรคไมต่ ิดเช้ือ
5.2.1 โรคติดเช้ือ เกิดจากเช้ือโรคชนิดท่ีรุนแรงและสามารถแพร่ระบาดต่อไปยงั บ่อ

และฟาร์มอ่นื ๆ ไดอ้ ีกดว้ ย ไดแ้ ก่ เช้ือไวรัส เช้ือแบคทีเรีย เช้ือรา เช้ือโปรโตซวั เป็นตน้
(1) โรคไวรัส เป็ นส่ิงมีชีวติ ที่มีขนาดเลก็ มากๆ ไม่สามารถมองเห็นดว้ ยตา

เปล่า เช้ือไวรัสประกอบดว้ ยสารพนั ธุกรรม (กรดนิวคลีอิค) ท่ีเป็ น DNA หรือ RNA อยา่ งใดอย่าง
หน่ึงอยภู่ ายใน และมปี ลอกโปรตีน (capsid) หุม้ อยู่ ซ่ึงทาใหม้ ีอนุภาคใหญ่ข้ึน และบางคร้ังอาจมีเย่ือ
หุม้ (envelope) บางๆ มาหุม้ ปลอกโปรตีนอีกช้นั ไวรัสมกั มีขนาด 10- 300 นาโนเมตร

โครงสร้างของไวรัสมีดงั น้ี
- Capsid เป็ นหน่วยย่อยของโครงสร้างโปรตีนที่เรียกว่า capsomere มี
บทบาทสาคญั ในการช่วยป้องกนั กรดนิวคลีอิคจากการถูกทาลายดว้ ยสภาพทางกายภาพ สารเคมแี ละ
เอน็ ไซม์ nuclease จากเซลผใู้ หอ้ าศยั
- กรดนิวคลีอิค จะพบเฉพาะ DNA หรือ RNA อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงเท่าน้นั มี
4 แบบคือ RNA แบบสายเด่ียวและสายคู่ DNA แบบสายเด่ียวและสายคู่
- Envelope เป็ นเมมเบรนบางๆ ห่ อหุ้มปลอกโปรตีนอีกช้ันหน่ึ ง
ประกอบดว้ ยสารพวกลิปิ ด โปรตีนและคาร์โบไฮเดรต บทบาทสาคญั คือเป็ นที่อย่อู าศยั ของ spike
หรือ peplomers หลายชนิดท่ีมผี ลต่อการทาลายเซลของผใู้ หอ้ าศยั
ไวรัสมีการสืบพนั ธุโ์ ดยเพิม่ จานวนในเซลส่ิงมีชีวิตเท่าน้นั ไมส่ ามารถที่จะ
ดารงชีวิตอยู่นอกเซลส่ิงมีชีวิต โดยเร่ิมแรกไวรัสจะเขา้ ไปจบั กับพ้ืนผิวเซลท่ีเฉพาะเรียก receptor

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 40

แลว้ แทรกตวั เขา้ ไปในผนังเซล (endocytosis) และปล่อยสารพนั ธุกรรมของมนั เขา้ ไปขดั ขวางการ
ทางานของสารพนั ธุกรรมของเซล ทาใหเ้ ซลทางานผิดปกติ และสารพนั ธุกรรมของเช้ือไวรัสจะ
บงั คบั ใหส้ ารพนั ธุกรรมของเซลสตั วส์ ร้างสารพนั ธุกรรมท่ีเหมือนของไวรัสเพ่อื เพิม่ จานวนไวรัสตวั
ใหม่ เม่ือมีจนวนมากข้ึน ก็จะย่อยเซลน้ันออกมา เมื่อทาให้เซลตายแลว้ ก็จะขยายเข้าทาลายเซล
ขา้ งเคียง เม่อื เซลตายเป็นจานวนมากข้ึน การทางานของเน้ือเยอื่ และอวยั วะต่างๆ ก็จะเสียไป และสตั ว์
ก็จะตายในที่สุด

โรคไวรัสกุง้ ขาวท่ีสาคญั มดี งั น้ี
1) โรคไวรัสตวั แดงดวงขาว (White spot syndrome virus ;WSSV)
- สาเหตุ : เกิดจากไวรัสชนิดดีเอ็นเอ (DNA) รู ปร่างเป็ นแท่ง

ขนาดความยาว 250-280 นาโนเมตร มีผนงั หุม้ มกั พบในกงุ้ สกุล Penaeid ทุกชนิดไดแ้ ก่ กงุ้ กลุ าดา
(P. monodon) กงุ้ ขาว (P.vannamei) กงุ้ ญี่ป่ ุน (P. japonicus) และอ่ืนๆ

- ลกั ษณะอาการที่พบ : ลาตวั กุง้ มีสีแดง มีดวงขาวบริเวณผวิ ใต้
เปลอื กขนาด 1-2 มม. บริเวณส่วนหวั และลาตวั กงุ้ มอี ตั ราการตายสูงมาก 40-100% ภายใน 5-10 วนั

- การติดต่อ : ถ่ายทอดทางพ่อแม่พนั ธุ์มายงั ลูกกุง้ ได้ กุ้ง ปู ทุก
ชนิดเป็นพาหนะ ติดต่อทางน้าไดเ้ ป็นอยา่ งดี

2) โรคไวรัสทอร่า ( Taura Syndrome Virus; TSV)
- สาเหตุ: เกิดจากเช้ือไวรัสชนิดอาร์เอ็นเอ( RNA) มีขนาด

เส้นผ่าศูนยก์ ลาง 31-32 นาโนเมตร อยู่ในกลุ่มPicornaviridae มกั พบในกุง้ ขาวโดยเฉพาะ P.
vannamei

- ลกั ษณะอาการ : พบในกุง้ ขาววยั ออ่ นและกงุ้ วยั รุ่นในกุง้ ท่ีมอี ายุ
14-40 วนั หลงั จากปล่อยเล้ียง กุง้ ป่ วยบริเวณหางมสี ีแดงชดั เจน ถา้ เป็ นมากลาตวั มีสีแดง เปลือกน่ิม
เซื่องซึม กงุ้ จะตายมากในช่วงลอกคราบโดยมอี ตั ราการตาย 40-90% ถา้ กงุ้ รอดตายจากการติดเช้ือ
จะปรากฏรอยแผลสีดาที่เปลอื ก

- การติดต่อ : ถ่ายทอดทางพ่อแม่พนั ธุ์มายงั ลูกกุง้ ได้ กุง้ ปู ทุก
ชนิดเป็นพาหนะ ติดต่อทางน้าไดเ้ ป็นอยา่ งดี

3) โรคหวั เหลอื ง (Yellow Head Virus; YHV)
- สาเหตุของโรค: เกิดจากเช้ือไวรัสชนิดอาร์เอ็นเอ( SS RNA)

รูปร่างเป็ นแท่งมีผนังหุ้ม เพมิ่ จานวนอนุภาคใน cytoplasm ขนาด 44±6x173±13 นาโนเมตร, จีโนม
ประมาณ 22 kb พบในกงุ้ สกุล Penaeid หลายชนิด เช่น กงุ้ กลุ าดา (P. monodon) กงุ้ ขาว
(P. Vannamei), P. japonicus, ,P. setiferus, P. aztecus, P. duorarum, P. stylirostris

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 41

- ลกั ษณะอาการ: กงุ้ ลาตวั ซีด เหงือกและบริเวณตบั และตบั อ่อนมี
สีเหลืองเห็นชัดเจน กุง้ กินอาหารเพิ่มมากผิดปกติ จากน้ันจะเริ่มกินลดลง กุง้ เริ่มแสดงอาการหัว
เหลือง ตายเร็วมากภายใน 3-5 วนั

- การติดต่อ : ติดต่อ ผา่ นทางน้า อาหาร สัมผสั โดยตรงกบั เช้ือ
ไวรัส และพาหะนาเช้ือ เช่น กงุ้ ปู นก เป็นตน้

4) โรคไวรัสไอเอชเอน็ วี ( Infectious Hepatopancratic Hemopoietic
Necrosis; IHHNV)

- สาเหตุ: เกิดจากเช้ือไวรัสชนิดอารื เอ็นเอ( RNA) มีขนาด
เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 22 นาโนเมตร อยใู่ นกลมุ่ Parvoviridae พบในกงุ้ กลุ่ม Penaeid หลายชนิด เช่น กุง้
ขาว (P. Vannamei), P. stylirorostris, P. monodon, P. japonicus เป็นตน้ .

- ลกั ษณะอาการ ในกุง้ ขาวเป็ นแบบเร้ือรัง (chronic infection)
เรียกวา่ “runt deformity syndrome” (RDS), กุง้ แคระแกรนหรือกุง้ พิการ จะโตชา้ มีกรีคดงอ ส่วน
หวั กุง้ จะส้นั กว่าปกติ มกั พบกงุ้ ท่ีมปี ัญหาดงั กลา่ วในบ่อประมาณ 30-90% ของกุง้ ท่ีเล้ยี ง

5) โรคกลา้ มเน้ือข่นุ ขาว ( Infectious Myonecrosis Virus; IMNV )
- สาเหตุ : เป็ นไวรัสจดั ในกลุ่ม Totiviridae ชนิด unenveloped

dsRNA มีขนาด 40 nm.พบในกงุ้ ขาว P. vannamei
- ลกั ษณะอาการ : พบกลา้ มเน้ืออกั เสบเป็ นสีขาวขุ่นบริเวณปลาย

หาง แพนหาง และลาตวั ตอนทา้ ย กุง้ จะอ่อนแอมกี ารดีดตวั ดอ้ ยลง วา่ ยลอ่ งที่ผวิ น้าหรือเกาะท่ีขอบบ่อ
แต่มีการกินอาหารปกติ จนเมื่ออาการมากข้ึนจะพบกุง้ ล่องที่ผวิ น้าหรือเกาะที่ขอบบ่อมากข้ึน เร่ิมมี
กลา้ มเน้ือบริเวณลาตวั ข่นุ ขาวร่วมดว้ ย แต่ไม่มีลกั ษณะขุ่นขาวแบบต่อเน่ืองจากส่วนหาง ก่อให้เกิด
การตายไดใ้ นช่วงกุง้ ระยะวยั รุ่นถึงระยะก่อนโตเตม็ วยั ไดถ้ งึ ประมาณ 60 - 85 % และพบวา่ เป็นการ
ตายชา้ ๆ เป็นแบบสะสมมากกว่า

- การติดต่อ : ติดต่อผา่ นทางน้า และพาหนะนาเช้ือไดแ้ ก่ กุง้ สกุล
กลุ่ม Penaeid

ในประเทศไทยระยะตน้ ปี 2549 ที่ผา่ นมา พบว่ามีการตายของกงุ้ ขาวที่เล้ียง
ในบ่อดินเป็ นจานวนมาก ในเขตจงั หวดั สตูล กระบ่ี ฉะเชิงเทรา ระยอง จนั ทบุรี โดยลกั ษณะอาการ
ของกุง้ ที่ป่ วย มกั จะพบว่ามี จุดขาวคลา้ ยตวั แดงดวงขาวเกิดข้ึนบา้ ง ตวั แดงเรื่อๆ บา้ ง ท่ีสาคญั คือพบ
กลา้ มเน้ืออกั เสบเป็ นสีขาวข่นุ บริเวณปลายหาง แพนหาง และลาตวั ตอนทา้ ย โรคน้ีจะระบาดไปยงั
บ่อขา้ งเคียงได้ และโรคน้ีมีความเก่ียวพนั กับการเปล่ียนแปลงสภาพแวดลอ้ ม ความเครียดทาง
กายภาพ ไดแ้ ก่ ความเคม็ และอุณหภูมิ เป็นตน้ และอาจเกิดร่วมกบั โรคไวรัสชนิดอื่นๆ ไดด้ ว้ ยและทา
ใหโ้ รคทวคี วามรุนแรงและตายไดม้ ากข้ึน

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 42

จากคุณสมบัติต่างๆ ของไวรัสท่ีได้กล่าวมาแลว้ อาจกล่าวไดว้ ่าไวรัสมี
ความทนทานต่อสภาวะแวดลอ้ มท้งั ทางดา้ นกายภาพและเคมีแตกต่างจากเช้ือโรคชนิดอน่ื ๆ เน่ืองจาก
เมื่อไวรัสเขา้ ไปในร่างกายกุง้ แลว้ จะทาการรักษาไดย้ าก ไม่มีวิธีการรักษาใดๆ ที่ให้ผลดี นอกจาก
ควบคุมและป้องกนั ไม่ใหก้ ุง้ ติดเช้ือจะเป็ นการดีที่สุด สาหรับสภาพแวดลอ้ มท่ีมีผลต่อการควบคุม
การเจริญของไวรัสดงั น้ี

- อณุ หภูมสิ ูง ไวรัสจะถกู ทาลายไดง้ ่ายดว้ ยความร้อน ส่วนใหญ่
ถูกทาลายท่ีอุณหภูมิ 55-70 องศาเซลเซียส นาน 1 ชม. และไวรัสท่ีมีเปลือกหุม้ จะถกู ทาลายไดง้ ่ายกวา่
ไวรัสที่ไมม่ ีเปลอื กหุม้ เป็นตน้ อยา่ งไรกต็ ามไวรัสทกุ ชนิดถกู ทาลายท่ีอุณหภูมขิ องการฆา่ เช้ือในหมอ้
น่ึงความดนั หรือตูอ้ บฆ่าเช้ือ

- อณุ หภูมติ ่า ไวรัสทนอณุ หภูมติ ่าไดด้ ีกวา่ อุณหภูมิสูง เช่น ท่ี
4-7 องศาเซลเซียส จะมีชีวิตและคงประสิทธิภาพในการทาใหเ้ กิดโรคไดน้ านหลายชวั่ โมงจนถึง
หลายวนั แต่ถา้ เกบ็ รักษาท่ีอณุ หภมู ิ -70 องศาเซลเซียส หรือไนโตรเจนเหลว (-196 องศาเซลเซียส) ก็
จะมชี ีวติ และคงประสิทธิภาพในการทาใหเ้ กิดโรคไดน้ านหลายเดือนจนถึงหลายปี

- รังสีอุลตร้าไวโอเลต รังสีแกมมา และรังสีเอก็ ซ์ สามารถ
ทาลายไวรัสไดด้ ี เพราะทาลายกรดนิวคลีอกิ ใหแ้ ตกหกั

- สารเคมี ไดแ้ ก่ lipid solvent เช่น อเี ทอร์และคลอโรฟอร์ม จะ
ทาลาย lipid ที่ envelope ส่วน phenol จะทาลาย protein ท่ี capsid ไดด้ ี และยงั ทาลาย lipoprotein ท่ี
envelope ไดด้ ีอีกดว้ ย นอกจากน้ี formaldehyde จะไปทาปฏิกิริยากบั หมู่อะมโิ น ในโครงสร้างของ
กรดนิวคลีอกิ และโปรตีนไดด้ ี ในไวรัสที่มีกรดนิวคลีอิกแบบสายเด่ียวจะถูกทาลายไดง้ ่ายกวา่ ไวรัสท่ี
มกี รดนิวคลอี ิกแบบสายคู่ ดงั น้นั formaldehyde จึงยบั ยง้ั การทางานของกรดนิวคลอี ิกและทาลาย
โปรตีนที่มีโครงสร้างในอนุภาคไวรัสได้ เพราะเหตุที่ formaldehyde ใหผ้ ลทาลายความสามารถใน
การทาใหเ้ กิดโรคไวรัสแต่ไม่ทาลายสมบตั ิในการเป็น immunogen จึงนามาใชล้ ดความเป็นพิษของ
ไวรัสเพอ่ื ผลิตวคั ซีนได้ ส่วนกลุ่ม oxidizing agent เชน่ peroxide ,ไอโอดีน,คลอรีน และ halogen
และอืน่ ๆ แต่ปริมาณการใชค้ วามเขม้ ขน้ แตกต่างกนั ไป เชน่ iodorphors และ sodium hypochlorite ที่
ความเขม้ ขน้ 500-5,000 ส่วนในลา้ นส่วน จะทาลายไวรัสท้งั ชนิดท่ีสร้างและไมส่ ร้าง envelope ได้
เป็ นตน้

- กรดและเบส กรดแก่และเบสแก่จะทาลายไวรัสไดด้ ี เน่ืองจาก
ทาใหก้ รดนิวคลีอิกและโปรตนี ของอนุภาคไวรัสเสียสภาพ

- แอลกอฮอล์ ประเภท isopopyl และ ethyl alcohol ท่ีความ
เขม้ ขน้ 70-90 % จะทาใหโ้ ปรตนี ท่ี capsid เสียสภาพ จึงทาลายไวรัสได้

(2) โรคแบคทีเรีย เช้ือแบคทีเรียเป็นส่ิงมชี ีวติ ขนาดเลก็ ที่มโี ครงสร้างแบบ
ง่ายๆ เป็ นเซลลท์ ี่มีลกั ษณะแบบ procaryotic cell มีลกั ษณะโครงสร้างและสมบตั ิต่างๆ คลา้ ยกบั พืช

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 43

ไดแ้ ก่ ความสามารถในการสงั เคราะห์ทาใหส้ ามารถดารงชีพแบบอิสระไดห้ ลายชนิด การนาอาหาร
(food penetration) อยู่ ในรูปของสารละลายเช่นเดียวกบั พืช มีการแบ่งเซลลแ์ บบ binary fission แยก

จากกนั ในแนวขวาง (transverse fission) และมกั จะมผี นงั เซลล์ ทาใหเ้ ซลลค์ งรูปร่างอยไู่ ด้
แบคทีเรียมรี ูปร่างไดห้ ลายแบบ ปกติจาแนกแบคทีเรียตามรูปร่างได้

3 แบบ ไดแ้ ก่ 1.ทรงกลม (coccus) เป็นแบคทีเรียท่ีมีรูปกลมหรือรูปไข่ อาจอยู่เป็ นเซลลเ์ ด่ียวๆ หรือ
ต่อกนั เป็นสายโซ่ 2.ทรงกระบอก (bacillus) เป็ นรูปท่อน บางชนิดเป็นท่อนส้นั ๆ บางชนิดเป็นท่อน
ยาว และ 3.แบบเกลยี ว (spirillusm) เป็นท่อนยาวหรือท่อนส้นั แต่จะโคง้ งอ

เช้ือแบคทีเรียท่ีมีบทบาทมากในโรคกุง้ จะเป็ นเช้ือวิบริโอ (vibrio sp.) ซ่ึง
มกั จะเป็ นแบคทีเรียเคลื่อนไหวได้ รูปร่างทรงกระบอกหรือท่อนโคง้ มกั ยอ้ มติดแกรมลบ เช้ือ
แบคทีเรียเหล่าน้ีจะมีบทบาทเขา้ ทาลายเม็ดเลือด และการกระจายตวั ไปตามระบบทางเดินโลหิต
เคล่อื นตวั เขา้ สู่ระบบของต่อมสร้างน้ายอ่ ย หรือตบั อ่อน เมื่อเน้ือเยือ่ เหล่าน้ีถูกทาลาย การทางานของ
ต่อมสร้างน้ายอ่ ยก็จะเสียไป ทาใหก้ งุ้ ไม่กินอาหาร และตายในท่ีสุด

โรคที่เกิดจากแบคทีเรียในกงุ้ ขาวท่ีมกั จะพบและรุนแรง ไดแ้ ก่
1) โรควบิ ริโอซีส (Vibriosis)
- สาเหตุ : เกิดจากแบคทีเรียกล่มุ วบิ ริโอ (Vibrio sp.) ไดแ้ ก่

V. parahemolyticus, V. vulnificus เป็นตน้
- ลกั ษณะอาการ : กงุ้ กินอาหารลดลง ตวั กรอบแกรบ เปลือกน่ิม

ข้ึนขา้ งหรือว่ายวนขอบบ่อ อาจมีดวงขาวที่เปลอื กท้งั ส่วนหวั และลาตวั ตวั กงุ้ อาจมีสีแดง กลา้ มเน้ือ
ตายมกั มีสีขาวข่นุ กงุ้ มีอตั ราการตายสูงโดยเฉพาะในกงุ้ อายุ 1-2 เดือน

- การติดต่อ : ติดต่อ ผา่ นทางน้าเป็นหลกั
2) โรคแบคทีเรียเรืองแสง

- สาเหตุ : เกิดจากเช้ือแบคทีเรียเรืองแสง (Vibrio harveyi )
- ลกั ษณะอาการ : พบอตั ราการตายสูงในกุง้ ระยะวยั ออ่ นถงึ วยั รุ่น
ลอยหวั มีแสงเรืองในเวลากลางคืน หรือในท่ีมืด ในกุง้ วยั รุ่นจะว่ายข้ึนผวิ น้า ขอบบ่อ กุง้ กินอาหาร
ลดหรือไมก่ ินอาหาร มกั พบเช้ือแบคทีเรียในกระแสเลือด และกลา้ มเน้ือ
- การติดต่อ : ติดต่อ ผา่ นทางน้าเป็นหลกั
โดยส่วนใหญ่การเขา้ ทาลายกุง้ ของเช้ือแบคทีเรีย มกั มีสาเหตุหลกั มาก่อน
เมื่อกุง้ อ่อนแอ ในบ่อเล้ียงมีเช้ือแบคทีเรียชนิดน้ันๆ อยู่ ก็จะสามารถติดเช้ือแบคทีเรียต่อไปได้
(secondary infection) สาเหตุหลักมักเกิดจากที่ไม่สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมในบ่อได้
สภาพแวดลอ้ มท่ีมผี ลต่อการเจริญของจุลินทรีย์ ไดแ้ ก่
- อุณหภูมิ ข้ึนอยกู่ บั ชนิดแบคทีเรีย โดยส่วนมากในประเทศไทย
จะเป็นแบคทีเรียท่ีเจริญอยใู่ นอุณหภูมปิ านกลางประมาณ 21-40 องศาเซลเซียส

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 44

- สารอาหาร มกั ประกอบดว้ ยสารที่เป็นตวั ใหแ้ ละรับไฮโดรเจน
แหล่งคาร์บอน แหล่งไนโตรเจน แร่ธาตุ และ growth factor ได้แก่ กรดอะมิโน purine และ
pyrimidine

- ก๊ า ซ ที่ ส า คั ญ คื อ ไ น โ ต ร เจ น อ อ ก ซิ เจ น แ ล ะ
คาร์บอนไดออกไซด์

- รังสี มีผลต่อการทาลายแบคทีเรียเป็ นสาคัญ มี 2 ชนิด ตาม
สารละลายทาลาย คือ ionization radiation เป็ นรังสีที่ทาให้เกิดปฏิกิริยา ionization เป็ นรังสีเอกซ์
รังสีแกมมา และรังสีคาโธค เป็ นตน้ และ รังสีอุลตร้าไวโอเลต เป็ นแสงสีม่วงน้าเงิน (blue violet) ท่ี
พบในแสงแดดและอ่ืนๆ

การทาลายเช้ือแบคทีเรี ยสามารถทาได้ท้ังกายภาพและเคมี
oxidizing agent เป็ นสารเคมีท่ีมปี ระสิทธิภาพในการทาลายจุลินทรียต์ ่างๆ ไดด้ ี ที่นิยมใชม้ ากไดแ้ ก่
คลอรีน ไอโอดีนฟลูออไรด์ และไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) นอกจากน้ีกุง้ ท่ีติดเช้ือแบคทีเรียยงั
สามารถรักษาไดด้ ว้ ยยาปฏิชีวนะท่ีเหมาะสมไดอ้ กี ดว้ ย

(3) เช้ือโปรโตซวั เป็ นสิ่งมีชีวิตท่ีมีเซลเดียวขนาดเล็ก ที่ตอ้ งมองด้วย
กลอ้ งจุลทรรศน์ มที ้งั พวกท่ีเขา้ ทาลายเน้ือเยอ่ื กุง้ หรือเขา้ ทาลายภายใน กบั พวกท่ีเกาะอยตู่ ามระยางค์
หรือทาลายภายนอกตวั กงุ้ พวกที่เกาะอยภู่ ายนอกตวั กงุ้ ที่รู้จกั กนั ดีคือซูโอแทนเนียม อพี ิสไตลสิ มกั
พบในบ่อกุง้ ท่ีอุดมไปดว้ ยสารอินทรีย์ จะไปเกาะตามระยางคแ์ ละเหงือกไปขดั ขวางการทางานของ
ระบบหายใจ ทาใหก้ งุ้ อ่อนแอ และไม่ค่อยเคล่อื นท่ี และอาจขาดออกซิเจนไดง้ ่าย

สตั วเ์ ซลเดียวอีกกลุม่ หน่ึงท่ีพบว่าเขา้ ทาลายเน้ือเยอ่ื ของกุง้ ไดค้ ือ พวกเช้ือ
ไมโครสปอริเดียน (โรคหลงั ขาว) ซ่ึงเป็นการทาลายเฉพาะท่ี โดยจะทาลายกลา้ มเน้ือจนมีสีขาวคลา้ ย
น้านม พบมากในกุง้ ท่ีเล้ียงอย่างหนาแน่น และบางคร้ังอาจพบเขา้ ทาลายเน้ือเย่ืออวยั วะภายในได้
โรคน้ีแมอ้ ตั ราการตายไมส่ ูง แต่ทาใหก้ งุ้ ไมส่ ามารถขายได้

5.2.2 โรคไม่ติดเชื้อ เป็ นโรคท่ีไม่ไดม้ ีสาเหตุมาจากเช้ือโรค ไม่มีการแพร่ระบาด
มกั เกิดข้ึนจากการขาดสารอาหาร ไดร้ ับสารพิษ และเกิดจากสิ่งแวดลอ้ มน้ันๆ เอง ไดแ้ ก่ โรคขาด
วติ ามนิ ซี โรคขาดสารอาหาร เกลอื แร่ ซ่ึงจะเป็นเหตุใหก้ งุ้ เติบโตผดิ ปกติ โตชา้ อ่อนแอ หรือเป็นโรค
ที่ปนเป้ื อนมากบั อาหาร เช่น เช้ือรา ก่อให้เกิดอาหารเป็ นพิษกบั กุง้ หรือไดร้ ับสารพิษจากสาหร่ายท่ี
ผลิตสารพิษได้ เช่น สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน โรคเหงือกดาเป็ นโรคที่เกิดจากสีน้าในบ่อเขม้ จดั มี
ปริมาณหนาแน่นเกินไป หรือไดร้ ับสารพิษจากยาฆ่าหญา้ ยาฆา่ แมลง โลหะหนกั กาซพษิ ต่างๆ เช่น
กาซแอมโมเนีย กาซไข่เน่าเป็นตน้ โรคที่เกิดจากสาเหตุเหล่าน้ี หากไดร้ ับในปริมาณมาก กุง้ อาจตาย
ไดอ้ ยา่ งเฉียบพลนั หากไดร้ ับในปริมาณน้อยๆ ก็จะมีผลทาให้อวยั วะต่างๆ โดยเฉพาะตบั และตับ
ออ่ น จะค่อยๆ เส่ือมลง จนทาใหต้ บั วาย ตบั ฝ่ อ และตายไดใ้ นท่ีสุด

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 45

โรคไมต่ ิดเช้ือสามารถแกไ้ ขไดโ้ ดยการจดั การท่ีดี เช่นปล่อยกงุ้ ในอตั ราความ
หนาแน่นพอดี ใหอ้ าหารในปริมาณพอดี ปรับคุณภาพน้าใหเ้ หมาะสม

จากลกั ษณะอาการของแต่ละโรคที่ได้กล่าวมาแลว้ น้ัน บางคร้ังดูจาก
ลกั ษณะภายนอกเหล่าน้นั อาจจะไม่เพยี งพอ เนื่องจากบางโรคกจ็ ะมลี กั ษณะอาการคลา้ ยคลงึ กนั อาจ
เป็ นสาเหตุให้เขา้ ใจและจดั การผิดได้ ดงั น้ันเม่ือพบสิ่งผดิ ปกติหรือกุง้ เป็ นโรคเกิดข้ึน นอกจากการ
สงั เกตอาการที่ปรากฏดว้ ยตาเปลา่ แลว้ ก็อาจทาการตรวจสอบใหช้ ดั เจนไดโ้ ดยส่งตวั อยา่ งกงุ้ ที่กาลงั

ปรากฏอาการเหล่าน้ันไปยงั ห้องปฏิบัติการ ซ่ึงสามารถตรวจวิเคราะห์เพิ่มเติม ท้ังผ่านกล้อง
จุลทรรศน์ การตรวจเช้ือแบคทีเรียทางชีวเคมี การตรวจพยาธิสภาพ การตรวจวิเคราะหไ์ วรัสดว้ ยวิธี
พีซีอาร์ เป็นลาดบั ต่อไป

5.3 การจดั การสุขภาพกุ้ง
จากสาเหตุการที่กุง้ จะเป็ นโรคได้ ตอ้ งประกอบดว้ ย 3 สาเหตุ หลกั พร้อมกนั คือ 1) มี

เช้ือโรคที่รุนแรงในบ่อเล้ียง ซ่ึงก็อาจมากบั การนาน้าท่ีมีเช้ือโรคน้ันเขา้ มาโดยตรง ถ่ายทอดมาจาก
พอ่ แม่ หรือเกิดจากมีพาหนะนาโรคเขา้ มาในบ่อ เช่น ปู นก หรือกระทง่ั คนก็เป็ นพาหนะไดเ้ ช่นกนั
2) ตวั กุง้ เอง หมายถงึ สุขภาพกุง้ ที่สามารถรับเช้ือและต่อตา้ นเช้ือไดม้ ากนอ้ ยเพียงไร กุง้ จะแข็งแรง
หรือไม่ และมกั จะเก่ียวขอ้ งกบั ปัจจยั สุดทา้ ย คือ 3) ส่ิงแวดลอ้ มท่ีไมเ่ หมาะสม ทาใหก้ งุ้ เครียด ซ่ึงเป็ น
สาเหตุหลกั ท่ีทาใหก้ ุง้ เป็ นโรคไดง้ ่าย เม่ือกุง้ เครียด กุง้ ก็จะอ่อนแอ ปราศจากภูมิคุม้ กนั สามารถรับ
เช้ือไดง้ ่าย และเป็นโรคตายในที่สุด

5.3.1 ระบบป้องกนั เช้ือโรคของกุง้ กงุ้ มรี ะบบการป้องกนั ร่างกายจากเช้ือโรคแบบ
ไมเ่ จาะจง สามารถแบ่งออกได้ ดงั น้ี

(1) ระบบป้องกนั เช้ือโรคภายนอก เป็ นการใชอ้ วยั วะ และกระบวนการ
ทางสรีระของกงุ้ ในการป้องกนั หรือกาจดั โรค สามารถแบ่งออกไดด้ งั น้ี

1) เปลือก และการปล่อยมิวคสั (cuticle and mucous secretion)
นบั เป็นปราการด่านแรกในการป้องกนั ตวั กุง้ ประกอบดว้ ยช้นั ที่มีแคลเซียมเป็นส่วนประกอบถงึ
4 ช้นั ดว้ ยกนั ถูกสร้างจากเน้ือเยอื่ ช้นั epidermal

2) การลอกคราบ (molting) แมว้ า่ จะเป็นกลไกปกติของร่างกายใน
การเจริญเติบโตที่มีช่วงลอกคราบต่างกนั ไปตามช่วงอายกุ ต็ าม แต่กลไกดงั กลา่ วก็มีบทบาทสาคญั ใน
การสลดั สิ่งแปลกปลอมไดแ้ ก่ ซูโอแทนเนียม แบคทีเรียที่เกาะอยทู่ ่ีเปลือกใหห้ ลดุ ออกไปได้

3) การทาความสะอาดตัวเองของกุ้ง โดยใช้ระยางค์พ วก
maxillipeds หรือการทาความสะอาดเหงือกดว้ ย epipodite เป็ นการกาจดั ส่ิงแปลกปลอมไดแ้ ก่ ซูโอ
แทนเนียม แบคทีเรียที่เกาะอยทู่ ี่ลาตวั หรือเหงือกใหห้ ลดุ ออกไปได้

(2) ระบบภูมิคุม้ กนั ภายใน ไดแ้ ก่ ระบบเมด็ เลือด (haemolymph) เป็นการ
ตอบสนองต่อเช้ือ โรคแปลกปลอมที่สามารถเลด็ ลอดเขา้ สู่ร่างกายได้ โดยมสี ่วนประกอบ 2 ส่วนคือ

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 46

1) เมด็ เลือด เป็นส่วนสาคญั ในการขจดั ส่ิงแปลกปลอมออกจาก
ร่างกายกงุ้ ซ่ึงอาจทาไดโ้ ดยวิธีการกลนื ทาลาย (phagocytosis) หรือการห่อหุม้ ส่ิงแปลกปลอม
(encapsulation)

2) สารน้า ไดแ้ ก่ โปรตีนในน้าเลือด เช่น agglutinin coaglogen
fibrinogen bactericidin และระบบ prophenoloxidase activity เป็นตน้

3) สารอาหารและแร่ธาตุที่จาเป็ น กุง้ ไม่ควรขาดธาตุอาหารท่ี
จาเป็ น แร่ธาตุท่ีจาเป็ นในกระบวนการลอกคราบ โดย เฉพาะอย่างยง่ิ แคลเซี่ยม แมกนีเซ่ียม หรือไว
ตามินบางชนิดที่มกั จะขาดไดแ้ ก่ วิตามินซี เป็ นต้น เพราะเหตุว่าการทางานของระบบภูมิคุ้มกัน
ภายในตวั ของกุง้ น้นั เป็นแบบไม่เฉพาะเจาะจง ไม่สามารถกระตุน้ ใหม้ ีการตอบสนองแบบเฉพาะข้ึน
ได้ ดงั น้ัน การกระตุ้นภูมิคุ้มกันในตวั กุ้งน้ัน จะเป็ นการกระตุน้ ระบบภายใน เช่น การกระตุ้น
ประสิทธิภาพการจบั กินของเม็ดเลือด เช่น วิตามินซี วิตามินอี สมุนไพรบางชนิด หรือจะเป็ นการ
กระตุน้ การทางานของสารน้า เช่นสามารถกระตุน้ ใหป้ ระสิทธิภาพในการตอบสนองเพ่ิมข้ึนไดจ้ าก
โปรตีนบางชนิด ซ่ึงมกั พบอยบู่ นผนงั เซลของเช้ือโรคไดแ้ ก่ เบตา้ กลูแคน LPS เป็นตน้

5.3.2 การเฝ้าระวงั สุขภาพกุง้ ประจาวนั ลูกกุง้ ขาวหลงั จากท่ีนามาปลอ่ ยลงบ่อน้นั
นอกจากตอ้ งมีอายุท่ีเหมาะสมคือ อยา่ งนอ้ ย P12 ข้ึนไป แลว้ ยงั ตอ้ งเป็นลกู กุง้ ท่ีมีสุขภาพโดยทวั่ ไป
แขง็ แรงและปลอดโรคไวรัส แบคทีเรีย หรือโปรโตซวั ที่ไมพ่ งึ ประสงค์ อยา่ งไรกต็ าม ถงึ แมจ้ ะมีการ
คัดลูกกุ้งที่ดี ก็มิใช่ว่าจะไม่มีโรคปรากฏตลอดการเล้ียง ท้ังน้ีในระหว่างการเล้ียงก็มีสาเหตุ
ความสาคญั ที่ทาใหเ้ กิดโรคไดเ้ ช่นกนั

ดงั น้ันการที่กุง้ ท่ีเล้ียงจะไม่เป็ นโรคไดง้ ่ายน้ัน ควรจดั การให้กุ้งมีความ
แข็งแรงอย่เู สมอ และท่ีสาคญั ที่สุดคือใหก้ ุง้ อยใู่ นสภาพแวดลอ้ มที่กงุ้ ชอบและเหมาะสม โดยเฉพาะ
อย่างย่ิงคุณภาพน้า ดินและส่ิงมชี ีวิตเล็กๆ ท่ีปะปนอยู่ในน้าและดิน นอกจากน้ี การตดั วงจรของเช้ือ
โรคที่อาจถ่ายทอดมากบั พ่อแม่พนั ธุ์ การติดเช้ือท่ีมากับพาหะ ท่ีมากบั น้ าที่ใช้เพาะเล้ียง รวมถึง
ความเครียดของกงุ้ ที่ถกู กระตุน้ จากการเปลี่ยนแปลงอยา่ งฉบั พลนั ของสภาพแวดลอ้ มในบ่อ อยา่ งไร
กต็ าม การสงั เกตอาการของกงุ้ ที่ผิดปกติอาจทาท่ีทาไดย้ าก และอาจเกิดข้ึนอยา่ งรวดเร็วจน การรอให้
ปัญหาเกิดข้ึนแลว้ เข้าไปแก้ปัญหาไม่ทันการ ดังน้ันเกษตรกรจึงควรมีการเฝ้าระวงั สุขภาพกุ้ง
ประจาวนั เพ่อื ท่ีจะสามารถจดั การและแกไ้ ขไดท้ นั ท่วงที โดยส่ิงที่เกษตรกรตอ้ งเฝ้าสงั เกตและตอ้ งพึง
ปฏิบตั ิเป็นประจากค็ ือ การดูความแขง็ แรงของกงุ้ จากยอ หรือจากการทอดแหเป็นระยะๆ ดงั น้ี

(1) กงุ้ ที่มสี ุขภาพแขง็ แรง มลี กั ษณะภายนอกพฤติกรรมต่างๆ ดงั น้ี
1) กงุ้ โตตามปกติ กินอาหารดี มอี าหารเตม็ ลาไส้ ข้ียาว
2) ลาตวั ใส สะอาด เหงือกสะอาด ระยางคค์ รบถว้ น
3) เม่อื ส่องไฟตอนกลางคืน ตาจะแดง และกระโดดหลบวอ่ งไว

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 47

กงุ้ ที่ปกติกจ็ ะกินอาหารดี เติบโตดี เนื่องจากกงุ้ เป็ นสตั วท์ ่ีลาไส้
ส้นั จึงตอ้ งมีการกินอาหารถี่ๆ มกั จะทุกๆ 3-4 ชม. ต่อคร้ัง เมื่อเช็คยอก็ควรดูที่ทุกๆ 2-3 ชม. หลงั การ
ใหอ้ าหาร ส่วนการลอกคราบไดเ้ ป็ นปกติตามระยะเวลา ปกติจะลอกคราบ 1-2 สปั ดาห์ต่อคร้ังตาม
อายุของกุง้ มีความสามารถในการขจัดส่ิงแปลกปลอม เช่น ตะกอนหรือโปรโตซวั บางชนิด จาก
ร่างกายหรือเหงือกตวั เองได้ และโดยธรรมชาติจะหนีแสง จึงกระโดดหลบไดอ้ ยา่ งวอ่ งไวเมอ่ื ส่องไฟ
ในยามกลางคืน เป็นตน้

(2) กงุ้ ป่ วย มลี กั ษณะภายนอกพฤติกรรมต่างๆ ดงั น้ี
1) กุง้ โตชา้ สีคล้า
2) กงุ้ กินอาหารลด ข้ีกงุ้ มีสีผดิ ปกติ
3) กงุ้ มกั เกาะขอบบ่อ หรือล่องบนผวิ น้าไปมา
4) ลาตวั ข่นุ ขาวไมส่ ะอาด เหงือกมีสีต่างๆ หนวดกุด ขากุดดา
5) ตวั ซีด ตบั ซีด ตบั บวมโตหรือหดผดิ ปกติ
6) ลอกคราบแลว้ ไม่แขง็ ตวั ตวั น่ิม อ่อนเพลีย
7) ตวั ลาตวั มีสีแดง มดี วงขาว
8) ลกั ษณะอื่นๆ ตามอาการของโรค ฯลฯ
ในทางตรงกนั ขา้ ม กงุ้ ท่ีผดิ ปกติ หรือป่ วยมกั แสดงออกถึงการ

ท่ีไม่ชอบกินอาหาร ทาใหก้ ินอาหารลด หากกุง้ ติดเช้ือที่ลาไส้ก็มกั จะทาให้ข้ีกุง้ มีสีผดิ ปกติ เมื่อร่าง
การออ่ นแอก็ไม่สามารถท่ีจะดูแลตวั เองโดยการขจดั ส่ิงแปลกปลอมท่ีเข่ามาเกาะท่ีร่างกายหรือเงือก
ได้ ทาให้สีผิว เหงือกมีสีผดิ ปกติ เมื่อเป็ นสะสมมากเขา้ ก็จะทาให้แบคทีเรียเขา้ ติดเช้ือไดง้ ่าย ทาให้
หนวดกุด หางกร่อน ร่างกายเป็ นแผล ติดเช้ือในกลา้ มเน้ือ สุดทา้ ยเมื่อร่างกายไม่สามารถขจดั ส่ิง
แปลกปลอมไดก้ ็จะติดเช้ือภายใน ทาใหต้ บั ผิดปกติ ระบบการทางานของเน้ือเยอ่ื เสียไป ทาใหล้ อก
คราบไม่แข็งตวั อ่อนเพลีย มีผลต่อการแสดงออกท่ีลกั ษณะพิเศษของแต่ละโรคน้นั ๆ เมื่อกุง้ ป่ วยก็
มกั จะตอ้ งการพลงั งานและออกซิเจนมากผดิ ปกติ จึงเป็ นเหตุให้กงุ้ ป่ วยจะมาเกาะที่ขา้ งบ่อ หรือล่อง
อยตู่ ามผวิ น้า เป็นตน้

5.3.4 การตรวจคุณภาพน้าในบ่อเล้ียงเป็ นประจา เน่ืองจากสิ่งแวดลอ้ มในบ่อท้งั น้า
และดิน มีผลต่อความเครียด ซ่ึงมีผลต่อสุขภาพกุ้งโดยตรง เช่น ความเค็มของน้ามีผลต่อแรงดัน
ออสโมติกในร่างกาย อุณหภูมิมีส่วนเก่ียวขอ้ งกับกิจกรรมเอ็นไซม์และสารต่างๆ ในร่ างกา ย
เก่ียวข้องกบั ปริมาณออกซิเจนท่ีเป็ นแหล่งของพลงั งานโดยตรง เกี่ยวขอ้ งกบั ระดบั ความเป็ นพิษ
แอมโมเนียและถา้ ประกอบกบั ความเป็นกรด-ด่างสูง แอมโมเนียกย็ ง่ิ เป็นพิษมากข้ึน ในบ่อเล้ยี งกงุ้ ที่
ปริมาณเช้ือโรคมากอยแู่ ลว้ ความเครียดเปิ ดโอกาสใหเ้ ช้ือโรคเขา้ ร่างกายและติดเช้ือไดง้ ่าย เป็ นตน้
เกษตรกรควรเตรียมความพร้อมและเฝ้าระวงั คุณภาพน้าในบ่อเล้ยี งและบ่อพกั น้า ตามขอ้ แนะนาดงั น้ี

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 48

(1) ฟาร์มเล้ียงกุ้งควรมีบ่อพักน้ าอย่างน้อย 25-30% ของพ้ืนที่เล้ียงกุ้ง
เพือ่ ท่ีจะสามารถพกั น้าไดน้ านอยา่ งนอ้ ย 15-30 วนั อย่างน้อยกจ็ ะไดน้ ้าใสที่ผา่ นการตกตะกอนและ
สะอาดพอสมควร

(2) บ่อพกั น้าควรมีการตรวจค่า ความเค็ม ความเป็ นกรด-ด่าง ความเป็ น
ด่าง แอมโมเนีย ปริมาณแบคทีเรียของน้าอยา่ งนอ้ ย 1-2 คร้ัง

(3) ในบ่อเล้ียงกุง้ ต้งั แต่ระยะเตรียมบ่อ ให้ทาการตรวจคุณภาพน้าเป็ น
ประจาดงั น้ี

1) ความเป็นกรด-ด่าง วดั ทกุ วนั เชา้ – บ่าย เวลา 06.00 น และ

14.00 น.

2) อุณหภูมิน้า วดั ทุกวนั เชา้ – บ่าย เวลา 06.00น. และ 14.00 น.
3) ออกซิเจนในน้า วดั ทุกวนั ช่วงเชา้ ตรู่
4) แอมโมเนีย ไนไตรท์ วดั ทกุ ๆ 2-3 วนั /คร้ัง
5) ความเค็ม ความเป็นด่าง ปริมาณแบคทีเรีย วดั สปั ดาหล์ ะ 1 คร้ัง
5.3.5 ข้อปฏบิ ัตกิ รณกี ้งุ ป่ วย เมือ่ พบวา่ กงุ้ เริ่มแสดงอาการผดิ ปกติ ควรใหเ้ กษตรกรดูผล

การบนั ทึกคุณภาพน้า สุขภาพประจาวนั ยอ้ นหลงั สกั ประมาณ 1 สปั ดาห์ เพ่อื คน้ หาสาเหตุเบ้ืองตน้
พร้อมๆ กบั นากงุ้ ที่ป่ วย โดยเฉพาะกงุ้ ที่กาลงั แสดงอาการ แต่ยงั ไมต่ ายจานวนอยา่ งนอ้ ย 10 ตวั ข้นึ ไป
ส่งตรวจที่หอ้ งปฏบิ ตั ิการที่อยใู่ กลเ้ คียง เพอื่ หาสาเหตุที่แทจ้ ริง

เม่อื ตวั อยา่ งกงุ้ ป่ วยมาถึงหอ้ งปฏบิ ตั ิการ ใหส้ งั เกตและปฏิบตั ิดงั น้ี
(1) บนั ทึกอาการภายนอกท่ีสงั เกตเห็นได้ เช่น ลกั ษณะสีผวิ ความสะอาด

ของลาตวั ความนิ่มของเปลือก ลกั ษณะสีและขนาดของตบั ลกั ษณะสี และขนาดของจุดท่ีปรากฏ
ความผดิ ปกติของกลา้ มเน้ือ เป็นตน้

(2) ตรวจสภาพภายนอกผา่ นกลอ้ งจุลทรรศน์แสง เพือ่ ตรวจพยาธิภายนอก

และส่ิงปลอมปนอนื่ ๆท่ีอยภู่ ายในตวั กงุ้
(3) กงุ้ ท่ีป่ วยและแสดงอาการการติดเช้ือแบคทีเรีย ใหท้ าการเขี่ยเช้ือจากน้า

ในบ่อเล้ียงและจากตวั กุง้ มกั เป็ นตบั อ่อนหรืออวยั วะท่ีสงสัย เพ่ือวิเคราะห์หาสาเหตุของโรคที่เกิด
จากเช้ือแบคทีเรีย

(4) กุง้ ที่ป่ วยบางส่วนที่ยงั คงมีชีวิตอยู่ และวิการไม่ชดั เจน อาจทาการฉีด

น้ายาเดวดิ สนั ทวั่ ตวั กงุ้ น้นั และดองในน้ายาดงั กลา่ ว เพ่อื ทาการตรวจพยาธิสภาพต่อไป
(5) กุ้งท่ีป่ วยและมีอาการคลา้ ยติดเช้ือไวรัส หรือไม่ทราบสาเหตุ ให้ส่ง

ตรวจหาเช้ือไวรัสที่รุนแรงดว้ ยวธิ ีพีซีอาร์ เพ่ือตรวจหาการติดเช้ือไวรัสและยนื ยนั โรค
เม่ือกุง้ ท่ีป่ วยสามารถวิเคราะห์หาสาเหตุของโรคไดแ้ ลว้ อาจสามารถ

ปฏบิ ตั ิไดด้ งั น้ี

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 49

1) กงุ้ ท่ีตรวจพบเช้ือพยาธิภายนอกเป็นจานวนมาก เนื่องจากพยาธิ
ภายนอกที่มกั พบไดแ้ ก่ ซูโอแทนเนียม อีพิสไตรีส เกิดจากสภาพการเล้ยี งมีตะกอนและสารอินทรีย์
ในบ่อสูง โดยธรรมชาติกงุ้ ขาวเป็นกงุ้ ที่ลอ่ งอยกู่ ลางน้า และค่อนขา้ งอ่อนไหวกบั สารเคมี ดงั น้นั การ
กาจดั พยาธิภายนอกอาจหลีกเลี่ยงการใชส้ ารเคมใี นการกาจดั เช้ือ ควรเนน้ การจดั การอื่นๆ เช่น จากดั
ปริมาณการให้อาหาร การใช้จุลินทรียช์ ่วยย่อยสารอินทรียใ์ ห้เร็วข้ึน การเปลี่ยนถ่ายน้ าเพ่ือลด
สารอินทรียท์ ่ีมากเกินไป เป็นตน้

2) กุง้ ป่ วยที่พบว่าติดเช้ือแบคทีเรีย โดยส่วนมากมกั เกิดจากเช้ือ
วบิ ริโอเป็ นหลกั ในการรักษาอาจใชย้ าท่ีผา่ นการตรวจสอบความไว (sensitivity test) และเป็ นกลุ่ม
ยาที่อนุญาตใหใ้ ช้ คลุกผสมอาหารเม็ดของกุง้ ในปริมาณที่แนะนา เช่น ยา oxytetracycline oxolinic
acid เป็นตน้ และควรแนะนาใหใ้ ชใ้ นระหว่างการเล้ียงที่อายไุ ม่เกิน 2 เดือนคร่ึง เพอื่ ใหม้ รี ะยะหยดุ ยา
ก่อนจับ ถา้ หากพบการติดเช้ือที่กุง้ อายุประมาณ 3 เดือนควรใชก้ ารจัดการเป็ นหลกั เช่นควบคุม
ปริมาณอาหาร ควบคุมปริมาณตะกอนในน้า ลดปริมาณเช้ือแบคทีเรียในน้าโดยใช้สารเคมี เช่น
ไอโอดีน เป็ นตน้ หรือใชจ้ ุลินทรียบ์ างชนิดเพ่ือควบคุมแบคทีเรี ยที่เป็ นโรคไม่ใหเ้ พ่ิมปริมาณมาก
เกินไป

3) กุง้ ท่ีตรวจพบวา่ เป็ นโรคไวรัสท่ีไม่ค่อยรุนแรง เช่น โรคไวรัส
IHHNV IMNV นอกจากป้องกนั มิใหม้ ีโรคนาเขา้ มาในบ่อเล้ยี งต้งั แต่เร่ิมตน้ แลว้ ยงั ไม่มีวธิ ีการรักษา
ที่แท้จริง แต่เน่ืองจากเป็ นโรคท่ีก่อให้เกิดความเสียหายทางดา้ นรู ปลกั ษณ์ เช่น กุ้งพิการ กุง้ มี

กลา้ มเน้ือขุ่นขาว ไม่เป็นลกั ษณะที่ตลาดตอ้ งการ และท่ีสาคญั คือทาใหก้ ารเจริญเติบโตชา้ อยา่ งไรก็
ตามโรคเหล่าน้ีสามารถเป็นโรคอื่นๆ ร่วมกนั ได้ เช่น โรคตวั แดงดาวขาว โรคทอร่า โรควบิ ริโอซีส
เป็นตน้ แลว้ ทาใหอ้ ตั ราการตายสูงข้ึนไดร้ ุนแรงมาก

4) กงุ้ ท่ีพบว่าป่ วยเป็นโรคไวรัสที่รุนแรงและสามารถแพร่ระบาด
อยา่ งรวดเร็ว ไดแ้ ก่ โรคตวั แดงดวงขาว โรคหัวเหลือง โรคทอร่า เน่ืองจากไม่มีวิธีรักษาสาหรับโรค
เหล่าน้ี ดงั น้นั ตอ้ งรีบตดั สินใจและปฏิบตั ิการอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงทนั ที เพ่ือมิใหเ้ กิดความเสียหายไป
มากกว่าท่ีเป็นอยู่ และไม่ใหเ้ กิดการแพร่ระบาด

ในกรณีที่ตอ้ งตดั สินใจว่าสถานการณ์ท่ีกงุ้ ขาวป่ วยน้นั ควรจะ
ทาการรักษาหรือจบั น้นั ควรพิจารณาจากองคป์ ระกอบต่อไปน้ี

- ดูปริมาณอาหารในยอ ถา้ ไม่ตอบสนองต่อการกิน
อาหารกินอาหารในยอไดไ้ ม่ถึง 10% และมปี ริมาณการตายขอบบ่อ/ลอยตายมาก สถานการณ์น้ีตอ้ ง
จบั

- ถา้ พบการตายในยอบา้ ง แต่อาหารในยอกงุ้ ยงั กินหมด
ใหร้ ีบหาสาเหตุความผดิ ปกติ ยงั ไมต่ อ้ งจบั

การจดั การความรู้ : การเล้ยี งกงุ้ ขาว 50

- หากมีการตายจานวนมากของกุง้ ขาวเกิดข้ึนในช่วงอายุ
ประมาณ 20 วนั มกั จะรักษาไม่ได้ ใหก้ าจดั กงุ้ แลว้ เตรียมบ่อใหม่

- ถา้ หากมีการทยอยตาย และตัวน่ิ ม ให้ตรวจสอบ
ปริมาณธาตุอาหาร โดยเฉพาะปริมาณแคลเซี่ยม และแมกนีเซียมในน้า ตอ้ งมากกวา่ 100 มก./ล.

ท้งั น้ีในการประกอบการตดั สินใจ ควรจะมีผลการตรวจจาก
ห้องปฏิบตั ิการด้วยทุกคร้ัง และการตดั สินใจกระทาอยา่ งใดอยา่ งหนี่งน้ัน ต้องอาศยั ความรู้และ
ประสบการณ์เป็นสาคญั เพ่อื ใหก้ ารตดั สินใจน้นั มคี วามแม่นยามากข้ึน

5.4 การรักษาโรคกุ้ง
เมอื่ กุง้ ป่ วยจากการติดเช้ือท่ีสามารถรักษาได้เกษตรกรควรปรึกษานกั วิชาการที่เกี่ยวขอ้ ง

เพ่ือวิเคราะห์สาเหตุและกาหนดวิธีการรักษา การใชย้ าและสารเคมีเกษตรกรควรเขา้ ใจถึงวิธีการที่
ถกู ตอ้ งตามหลกั วิชาการ ไม่ใชย้ าพร่าเพรื่อและใชผ้ ดิ คาแนะนาทางวิชาการ ในอนั ท่ีจะทาใหเ้ กิดการ
ด้ือยา การตกคา้ งของยาหรือสารเคมี และการใชย้ าปฏชิ ีวนะที่ไม่อนุญาตใหใ้ ชใ้ นการเพาะเล้ียงสตั ว์
น้า การใชย้ าและสารเคมี เกษตรกรควรมเี ขา้ ใจในประเด็นตางๆ ต่อไปน้ี

5.4.1 วิธีการรักษาโรค ข้ึนกบั วธิ ีการและระยะเวลาในการรักษา
(1) การแช่ระยะส้นั ใชส้ ารเคมีความเขม้ ขน้ สูง แช่ระยะส้นั ๆ เพียง 10-30

นาที เหมาะกบั การยา้ ยกงุ้ หรือก่อนปล่อยกงุ้ ลงบ่อ
(2) การแช่ระยะยาว จะใช้สารเคมีความเข้มข้นต่า แช่นาน 12 ช่ัวโมง

เหมาะกบั กงุ้ ที่เล้ยี งมกี ารถา่ ยน้าเลก็ นอ้ ย หรือไมถ่ ่ายน้าเลย
(3) การกิน โดยผสมยาปฏชิ ีวนะลงในอาหาร ผสมยาเสร็จแลว้ จะใชน้ ้ามนั

ปลา หรือสารเคลอื บเพอ่ื ช่วยใหย้ าติดอาหารแน่นหรือถูกดูดซึมในอาหารเมด็ ดีข้ึน
5.4.2 ยาท่ีใชร้ ักษาโรคสตั วน์ ้า ยาท่ีสามารถใชใ้ นการรกั ษาโรคได้ ส่วนใหญ่เป็นยา

ท่ีใชร้ ักษาโรคที่เกดิ จากการติดเช้ือแบคทีเรีย สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 กลุม่ ตามลกั ษณะการทาลาย
หรือยบั ยง้ั เช้ือแบคทีเรีย ดงั น้ีคือ

(1) กลมุ่ ยาท่ีมผี ลไปยบั ยง้ั การเจริญเติบโตของแบคทีเรีย ไดแ้ ก่ยาซลั ฟา ยา
เตตร้าซยั คลนิ ยาอริ ิทโธมยั ซิน(ท่ีมคี วามเขม้ ขน้ ต่า) ยาลนิ โคมยั ซิน ยาคลนิ ดามยั ซิน ยาเตียมูลนิ และ
ยาไนโตรฟูแรน (ที่มคี วามเขม้ ขน้ ในสารละลายด่าง)

(2) กลุ่มยาท่ีมผี ลไปทาลายหรือฆ่าเช้ือแบคทีเรีย ไดแ้ ก่ กลุม่ ยาเพนนิซิลนิ
ยากลุ่มอะมโิ นกลยั โคไซด์ ยาไนโตรฟแู รน(ที่มคี วามเขม้ ขน้ สูงในสารละลายกรด ยากลุม่ น้ีมกั นิยม
ใชก้ บั สตั วท์ ่ีมีอายมุ าก อายนุ อ้ ยเกินไป ขาดอาหารหรือในรายท่ีระบบภูมคิ ุม้ กนั ไม่ทางาน

นอกจากน้ียงั สามารถแบ่งตามขอบเขตการออกฤทธ์ิต่อเช้ือได้ 3 กลุ่มดงั น้ี
(1) ยาออกฤทธ์ิวงแคบ เป็นยาตา้ นจุลชีพท่ีออกฤทธ์ิตา้ นเช้ือแบคทีเรียเพยี ง
ไมก่ ี่ชนิด ออกฤทธ์ิไดด้ ีเฉพาะแกรมบวกหรือแกรมลบอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง เช่น เพนนิซิลินจี เป็นตน้


Click to View FlipBook Version