The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนอนุบาล รวมเล่ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 31030143, 2024-06-14 23:01:34

SAR ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนอนุบาล รวมเล่ม

SAR ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนอนุบาล รวมเล่ม

ก คำนำ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๖ โรงเรียนอนุบาลปะคำเล่มนี้ จัดทำขึ้นตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๖ ข้อ ๓ ระบุให้สถานศึกษาจัดส่งรายงาน ผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปีเพื่อ รายงานผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นผลสำเร็จ จากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๓ มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหารและการจัดการ และกระบวนการจัดการเรียน การสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อนำเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาต่อหน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้รับทราบ และเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินภายนอก โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ต่อไป ขอขอบคุณคณะครูผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๖ เล่มนี้คณะ ผู้จัดทำหวังเป็นอย ่างยิ ่งว ่าเอกสารรายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต ่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของโรงเรียนอนุบาลปะคำ ในปีการศึกษา ๒๕๖๖ ต่อไป (นางสาวศศิธร ม่านทอง) ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลปะคำ


ข สารบัญ เรื่อง หน้า ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 1.1 ข้อมูลทั่วไป 1 1.2 ข้อมูลครูและบุคลากร 4 1.3 ข้อมูลนักเรียน 9 1.4 สรุปข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา 10 1.5 ผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรียน 14 1.6 สรุปการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา 21 ๑.7 ผลการประเมินภายนอกรอบสาม 22 ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาระดับปฐมวัย 27 ๒.๑ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 27 ๒.๒ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา 30 ๒.๓ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 32 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3๙ ๒.๑ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ๔๑ ๒.๒ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ๕๐ ๒.๓ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 5๗ ส่วนที่ 3 สรุปผล แนวทางการพัฒนาและความต้องการการช่วยเหลือ 6๔ ๓.๑ สรุปผล 6๔ ๓.๒ จุดเด่น 6๔ ๓.๓ จุดควรพัฒนา 6๔ ๓.๔ แนวทางการพัฒนาในอนาคต 6๖ ๓.๕ ความต้องการความช่วยเหลือ 6๖ ส่วนที่ 4 ภาคผนวก 6๗ 4.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 4.2 บันทึกการพิจารณาให้ความเห็นชอบเอกสารรายงานการประเมิน ตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2566 4.3 ประกาศโรงเรียน เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 4.4 ประกาศโรงเรียน เรื่อง กำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 4.5 ภาพประกอบ


ค การจัดทำรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา เป็นการนำเสนอผลการดำเนินงานในการพัฒนา การจัดการศึกษาของสถานศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาซึ่งเป็นผลมาจากการ ดำเนินงานทั้งหมดของสถานศึกษา ที่ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และนำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงาน ต้นสังกัด หน ่วยงานที ่เกี ่ยวข้อง เปิดเผยต ่อสาธารณชน ซึ ่งรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษาจะเป็น ฐานข้อมูลในการพัฒนาสถานศึกษา และรับการประเมินคุณภาพภายนอกต่อไป รายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา อาจมีชื่อเรียกแตกต่างกันไป เช่น รายงานการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาประจำปี รายงานประจำปี รายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา รายงานการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา แต่ทั้งนี้จะมีเนื้อหาสาระ องค์ประกอบของรายงาน และจุดมุ่งหมายไม่แตกต่างกัน คือ เพื่อสะท้อนภาพความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในรอบปีการศึกษาที่ผ่านมาภายใต้บริบทของ สถานศึกษา ทั้งนี้ ประโยชน์ในการจัดทำรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา ดังนี้ 1. ทำให้สถานศึกษามีฐานข้อมูลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาทั้งในด้านจุดเด่น จุดที่ควร พัฒนา แนวทางการพัฒนาในอนาคต ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการ จัดการศึกษาในปีถัดไป 2. ทำให้สถานศึกษามีข้อมูลสารสนเทศเชิงประจักษ์ซึ่งจะช่วยกระตุ้นให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและ บุคลกรทางการศึกษา รวมทั้งผู้เกี่ยวข้องให้ความสำคัญและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติงานเพื่อเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ร่วมกัน 3. ทำให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ่อแม่ ผู้ปกครอง ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้ รับทราบผลการพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาทั้งในส ่วนที ่ดีและส ่วนที ่ควรพัฒนา โดยมีการ ประชาสัมพันธ์ในวงกว้างและ ให้การช่วยเหลือสนับสนุนอย่างเหมาะสม 4. หน่วยงานต้นสังกัด ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา มีฐานข้อมูลในการ กำหนดนโยบายการพัฒนาการจัดการศึกษาทั้งระดับประเทศและระดับเขตพื้นที่ 5. สถานศึกษาใช้รายงานประเมินตนเองเพื ่อรับรองการประเมินคุณภาพภายในโดยหน ่วยงานต้น สังกัด และรับการประเมินคุณภาพภายนอก จาก สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) บทนำ


ง เอกสารรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา แบ่งออกเป็น 4 ส่วน โดยแต่ละส่วน ประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน ❖ ข้อมูลทั่วไป ❖ ข้อมูลครูและบุคลากร ❖ ข้อมูลนักเรียน ❖ สรุปข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ❖ ผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรียน ❖ ผลงานในรอบปีที่ผ่านมา ❖ สรุปการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา ❖ ผลงานในรอบปีที่ผ่านมา ❖ สรุปผลการประเมินจากหน่วยงานภายนอกและข้อเสนอแนะ ❖ ฯลฯ ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ❖ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ❖ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ❖ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ❖ ผลการประเมินภาพรวม ส่วนที่ 3 สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการการช่วยเหลือ ❖ จุดเด่น ❖ จุดควรพัฒนา ❖ แนวทางการพัฒนาในอนาคต ❖ ความต้องการความช่วยเหลือ ส่วนที่ 4 ภาคผนวก ❖ หลักฐานข้อมูลสำคัญ ❖ • เอกสารอ้างอิงต่อ โครงสร้างรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา


๑ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ๑.๑ ข้อมูลทั่วไป ชื่อโรงเรียน โรงเรียนอนุบาลปะคำ ที่อยู่ เลขที่ ๒๔๔ หมู่ที่ ๑ ตำบลปะคำ อำเภอปะคำ จังหวัด บุรีรัมย์ รหัสไปรษณีย์ ๓๑๒๒๐ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต ๓ หมายเลขโทรศัพท์ ๐-๔๔๖๔-๖๐๙๑ Website : http://data.bopp-bec.info/web/?School_ID=๑๐๓๑๒๖๐๖๒๒, เปิดสอน ตั้งแต่ระดับอนุบาล ๑ ถึงระดับ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ประวัติโรงเรียนโดยย่อ โรงเรียนอนุบาลปะคำ เดิมชื ่อโรงเรียนประชาบาลตำบลปะคำ (วัดโพธิ์ย้อย) ตั้งขึ้นเมื ่อวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๔๖๓ โดยหลวงณรงค์ รักษาเขต นายอำเภอนางรอง ได้อาศัยศาลาการเปรียญวัดโพธิ์ย้อย เป็นสถานที่เรียน ซึ่งมีนายน้อย สมอยู่ เป็นครูใหญ่ มีครูทั้งสิ้น ๓ คน มีนักเรียนทั้งหมด ๘๑ คน นักเรียนชาย ๖๐ คน นักเรียนหญิง ๒๑ คน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๓ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ประชาชนชาวปะคำได้ก่อสร้างอาคารเรียนหลังใหม่ในที ่ดิน ซึ่ง นาย จุล คงสืบชาติ ศึกษาธิการอำเภอนางรอง ได้จับจองไว้ (ที่ดินแปลงปัจจุบัน) อาคารเรียนที่สร้างขึ้น เป็นแบบ ป.๑ ใต้ถุนสูง มีห้องเรียน ๕ ห้อง พื้นไม้ หลังคามุงกระเบื้องไม้ ไม่มีฝากั้นห้อง เริ่มสร้างเมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๔๘๕ แล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๔๘๗ ได้ย้ายนักเรียนจากศาลาการเปรียญวัดโพธิ์ ย้อยมาเรียนที่โรงเรียนใหม่ เมื่อวันที่ ๔ กันยายน ๒๔๘๗ หลังจากได้ย้ายนักเรียนมาเรียนที่อาคารเรียนหลัง ใหม่แล้วนานแค่ไหนไม่ทราบ (ไม่ทราบหลักฐาน) โรงเรียนประชาบาลตำบลปะคำ ได้เปลี ่ยนชื ่อเป็น “โรงเรียนบ้านปะคำ” ต ่อมาในเดือน มีนาคม ๒๕๔๒ โรงเรียนบ้านปะคำ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนอนุบาลปะคำ” ปรัชญาของโรงเรียน คำขวัญของโรงเรียน สีประจำโรงเรียน “ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต : ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก “สามัคคี มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ คู่คุณธรรม” “ดำ – เหลือง” สีดำ หมายถึง ความเข้มแข็ง อดทน ความเป็นปึกแผ่น สีเหลือง หมายถึง คุณธรรม - จริยธรรม หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา


๒ ข้อมูลสภาพชุมชน มีเนื้อที่ทั้งหมด ๒๒ ไร่ ๓ งาน ๖ ตารางวา (จำนวน ๒ แปลง) มีเขตพื้นที่บริการ ๑๐ หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ ๑ บ้านปะคำ หมู่ที่ ๖ บ้านหนองบอน หมู่ที่ ๒ บ้านปะคำ หมู่ที่ ๗ บ้านหนองกราด หมู่ที่ ๓ บ้านโคกงิ้ว หมู่ที่ ๘ บ้านป่ายาง หมู่ที่ ๔ บ้านกองพระทราย หมู่ที่ ๙ บ้านประชาสามัคคี หมู่ที่ ๕ บ้านทุ่งไผ่ หมู่ที่ ๑๐ บ้านหนองสนวน แผนที่ภายในโรงเรียน (อาคารภายใน) ๑. หอประชุม ๙. อาคารประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ ๑๗. สนามวอลเลย์บอล ๒. อาคารอำนวยการ ๑๐. อาคารวิทยาศาสตร์ ๑๘. สนามฟุตบอลเล็ก ๓. จุดทานอาหารชั้นอนุบาล ๑๑. อาคารมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ ๑๙. เสาธง ๔. อาคารอนุบาล ๑๒. เวทีกิจกรรมชั้นมัธยม ๒๐. ห้องน้ำ(จำนวน ๕ หลัง) ๕. สหกรณ์ ๑๓. แปลงสวนผัก ๒๑. ห้องเก็บของ ๖. โรงอาหาร ๑๔. โรงจอดรถจักรยาน ๗. ห้องคหกรรม ๑๕. อาคาร ๕ ๘. ห้องสมุด ๑๖. สนามบาสเกตบอล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑๑ ๑๐ ๙ ๘ ๗ ๖ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐/๑ ๒๐/๒ ๒๐/๓ ๒๐/๔ ๒๐/๕ ๒๑


๓ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๗/๑ ๗/๒ ๘ ๙/๑ ๙/๒ ๙/๓ ๑๐ ๑๑ ๖ แผนที่ภายในโรงเรียน (อาคารภายนอก) ๑. สนามกีฬา ๗. ห้องน้ำ (จำนวน ๒ หลัง) ๒. อาคารประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ ๘. สนามตะกร้อ ๓. โรงจอดรถจักรยาน ๙. บ้านพักครู (จำนวน ๓ หลัง) ๔. สระน้ำ ๑๐. โรงเพาะเห็ด ๕. อาคารอเนกประสงค์ ๑๑. โรงเลี้ยงเป็ด ๖. แปลงผัก


๔ 1.2 ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา 1) จำนวนบุคลากร บุคลากร ผู้บริหาร ครูผู้สอน ครูอัตราจ้าง ครูพี่เลี้ยงเด็ก พิเศษ เจ้าหน้าที่ อื่นๆ รวม ทั้งหมด ปีการศึกษา 2566 2 ๒๑ ๐ ๒ 3 2๘ 2) วุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร


๕ 3) สาขาวิชาที่จบการศึกษาและภาระงานสอน สาขาวิชา จำนวน (คน) ภาระงานสอนเฉลี่ยของ ครู1 คน ในแต่ละ สาขาวิชา (ชม./สัปดาห์) 1. บริหารการศึกษา ๘ 25 2. คณิตศาสตร์ 2 25 3. วิทยาศาสตร์ ๔ 25 4. ภาษาไทย 2 25 5. ภาษาอังกฤษ 2 25 6. สังคมศึกษา ๒ 25 ๗. ปฐมวัย ๑ ๒๕ ๘. ไทยคดีศึกษา 1 25 ๙. การประถมศึกษา 2 25 1๐. เทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ 1 25 1๑. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรมทางการศึกษา 1 25 1๒. อุตสาหกรรมศิลป์ 1 25 รวม 2๗ ๒๕


๖ ๑) ข้อมูลครูและบุคลากร ข้อมูลผู้บริหาร (ณ วันที่ 3๐ เมษายน 256๖) ๑) ผู้บริหารสถานศึกษา นางสาวศศิธร ม่านทอง วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาดุษฎีบัณฑิต(ปร.ด.) วิชาเอก บริหารการศึกษา ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ จนถึงปัจจุบัน (30 เมษายน 256๖) เป็นเวลา ๕ เดือน โทรศัพท์ ๐๘๖-๘๗๖-๑๒๗๓ ๒) รองผู้บริหารสถานศึกษา นางศิริพร วันจันทร์ วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท ศษ.บ วิชาเอก บริหารการศึกษา ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๖ จนถึงปัจจุบัน (30 เมษายน 256๖) เป็นเวลา ๕ เดือน โทรศัพท์ 093-1069060 ครูประจำการ (ณ วันที่ 3๐ เมษายน 2565) ที่ ชื่อ – สกุล อายุ อายุราชการ ตำแหน่ง/ วิทยฐานะ วุฒิการศึกษา ๑ นายสุพจน์ รัตนจริยา 5๘ ปี ๔ เดือน (23 ธ.ค. 2507) 3๖ ปี ๔ เดือน (1 ธ.ค. 2529) ครู/ ชำนาญการ พิเศษ วุฒิการศึกษา ปริญญาโท วิชาเอก ศษ.ม. การบริหาร การศึกษา ๒ นางบุษบา รัตนจริยา 57 ปี ๒ เดือน (13 ก.พ. 2508) 34 ปี 1๑ เดือน (18 พ.ค. 2530) ครู/ ชำนาญการ พิเศษ วุฒิการศึกษา ปริญญาโท วิชาเอก ศษ.ม. การบริหาร การศึกษา ๓ นายคึกฤทธ์ ซื่อตรง 57 ปี ๒ เดือน (17 ก.พ. 2508) 34 ปี ๒ เดือน (1 ก.พ. 2531) ครู/ ชำนาญการ พิเศษ วุฒิการศึกษา ปริญญาโท วิชาเอก ศษ.ม. การบริหาร การศึกษา ๔ นางพรพิมล นิรัยรัมย์ 5๙ ปี 5 เดือน (10 ต.ค. 2506) 3๓ ปี 1๑ เดือน (16 พ.ค. 2532) ครู/ ชำนาญการ พิเศษ วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี วิชาเอก ค.บ.การประถมศึกษา ๕ นางสาวสุพัตรา สมานประธาน ๕๐ ปี ๖ เดือน (13 ต.ค. 2515) 2๖ ปี ๙ เดือน (1 ก.ค. 2539) ครู/ ชำนาญการ พิเศษ วุฒิการศึกษา ปริญญาโท วิชาเอก ค.ม.การประถมศึกษา ๖ นางอัจฉรา เทียนวรรณ ๕๐ ปี 1๑ เดือน (11 พ.ค. 2515) 2๕ ปี ๙ เดือน (25 ก.ค. 2540) ครู/ ชำนาญการ พิเศษ วุฒิการศึกษา ปริญญาโท วิชาเอก ศษ.ม. การบริหาร การศึกษา


๗ ที่ ชื่อ – สกุล อายุ อายุราชการ ตำแหน่ง/ วิทยฐานะ วุฒิการศึกษา ๗ นางลำพูน กลิ่นสาคร 44 ปี๑๑ เดือน (30 พ.ค. 2521) ๑๔ ปี 8 เดือน (29 ส.ค. 2551) ครู/ ชำนาญการ พิเศษ วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี วิชาเอก ค.บ.ภาษาไทย ๘ นางสมถวิล ซอไชยชนะ 4๒ ปี 1๑ เดือน (4 พ.ค. 2523) 1๗ ปี ๔ เดือน (6 ธ.ค. 2548) ครู/ ชำนาญการ พิเศษ วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี วิชาเอก ค.บ.ภาษาอังกฤษ ๙ นางสุพรรณี แสนมณี 4๑ ปี ๑๐ เดือน (26 มิ.ย. 2524) 1๖ ปี ๖ เดือน (2 ต.ค. 2549) ครู/ ชำนาญการ พิเศษ วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี วิชาเอก ค.บ.คณิตศาสตร์ ๑๐ น.ส.เสาวลักษณ์ แก้วรักษา 4๙ ปี (6 เม.ย. 2516) 1๘ ปี ๕ เดือน (23 พ.ย. 2547) ครู/ชำนาญ การ วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี วิชาเอก ค.บ.คณิตศาสตร์ ๑๑ นางปริศริญญา ศรีสังข์บุญ 3๙ ปี ๕ เดือน (28 พ.ย. 2526) 1๕ ปี ๕ เดือน (15 พ.ย. 2550) ครู/ชำนาญ การ วุฒิการศึกษา ปริญญาโท วิชาเอก ศศ.ม.ไทยคดีศึกษา 1๒ นายอำนวย แสนมณี 47 ปี๑ เดือน (26 มี.ค. 2518) 1๔ ปี ๒ เดือน (16 ก.พ. 2552) ครู/ชำนาญ การพิเศษ วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี วิชาเอก คบ.อุตสาหกรรม ศิลป์ 1๓ นางอมรรัตน์ วัฒนานุกูลกิจ 34ปี 3 เดือน (5 ม.ค. 2518) 18 ปี 1 เดือน (16 พ.ค. 2549) ครู/ ชำนาญการ พิเศษ วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี วิชาเอก ค.บ. ภาษาอังกฤษ 1๔ นางวรรณิกา คงบุญ ๕๐ ปี (18 เม.ย. 2516) ๑๖ ปี ๘ เดือน (11 ส.ค. 2549) ครู/ ชำนาญการ พิเศษ วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี วิชาเอก ค.บ.วิทยาศาสตร์ ๑๕ นางประภา รอบครบุรี ๔๔ ปี ๘ เดือน (31 ส.ค.2521) ๑๙ ปี ๑๐ เดือน (16 มิ.ย.46) ครู/ ชำนาญการ พิเศษ วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี วิชาเอก ศษ.บ.วิทยาศาสตร์ 1๖ นางกันยา วาปีเก่า ๕๐ ปี (18 เม.ย. 2516) ๑๑ ปี ๑๐ เดือน (4ก.ค.2554) ครู/ ชำนาญการ พิเศษ วุฒิการศึกษา ปริญญาโท วิชาเอก ศศ.ม.บริหารการศึกษา ๑๗ นางปาริฉัตร บำเพ็ญพงษ์ ๔๖ ปี ๑๑ เดือน ๑๑ พ.ค. ๒๕๑๙ ๑๖ ปี ๑๑ เดือน ๓๐ มิ.ย. ๒๕๔๙ ครู/ ชำนาญการ พิเศษ วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี วิชาเอก ค.บ.วิทยาศาสตร์ ๑๘ นางสาวสุกฤตา เสนาราช ๔๕ ปี 8 เดือน (๑๒ ส.ค. 25๒๐) ๑๔ ปี ๔ เดือน (16 ธ.ค.2551) ครู/ ชำนาญการ พิเศษ วุฒิการศึกษา ปริญญาโท วิชาเอก ค.ม.บริหารการศึกษา ๑๙ นางสาวนภาพร ชัยบัวรินทร์ 28 ปี 8 เดือน (29 พ.ค. 2536) 2 ปี (4 มี.ค. 2563) ครูผู้ช่วย วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี ค.บ.วิทยาศาสตร์


๘ ที่ ชื่อ – สกุล อายุ อายุราชการ ตำแหน่ง/ วิทยฐานะ วุฒิการศึกษา ๒๐ นางสาวเพ็ญนภา จันเดช 27 ปี (9 มี.ค. 2537) 1 เดือน (30 มี.ค. 2565) ครูผู้ช่วย วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี สสบ. ภาษาไทย 2๑ นางสาวเมธาพร สาระจันทร์ 24 ปี (14 ม.ค. 2541) 1 เดือน (30 มี.ค. 2565) ครูผู้ช่วย วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี สังคมศึกษา ครูพี่เลี้ยงเด็กพิเศษ (ณ วันที่ 3๐ เมษายน 256๖) ที่ ชื่อ – ชื่อสกุล อายุ ประสบการณ์ (ปี) วุฒิการศึกษา ตำแหน่ง 1 นางสาวณ ภัคทิญาพร ชัยเสนา 35 ปี 8 เดือน (21 ก.ค. 2528) ๒ ปี ๖ เดือน (1 ก.ย. 2563) ค.บ.สังคมศึกษา ครูพี่เลี้ยงเด็ก พิเศษ ครูอัตราจ้างงบโรงเรียน (ณ วันที่ 3๐ เมษายน 2565) ที่ ชื่อ – ชื่อสกุล อายุ ประสบการณ์ (ปี) วุฒิการศึกษา ตำแหน่ง 1 นายกิติศักดิ์ แป้นเชื้อ 2๕ ปี ๑ เดือน (๙ มี.ค. ๒๕๔๐) ๒ ปี ๖ เดือน (1 ก.ย. 2563) ศษ.บ. เทคโนโลยีการศึกษา และคอมพิวเตอร์ ครูอัตราจ้าง ๒ นางสาวพาราม ชุ่มชาลี ๔๐ ปี ๑ เดือน (๒๙ มี.ค. ๒๕๒๕) ๑๒ ปี ๕ เดือน (1 พ.ย. 25๕๓) ค.บ.ปฐมวัย ครูอัตราจ้าง เจ้าหน้าที่ธุรการ (ณ วันที่ 3๐ เมษายน 256๖) ที่ ชื่อ – ชื่อ สกุล อายุ ประสบการณ์ (ปี) วิชา เอก ตำแหน่ง จ้างด้วยเงิน 1 นายสุรชัย จวงศร 4๓ ปี ๕ เดือน (16 พ.ย. 22) ๔ ปี ๕ เดือน (1พ.ย.2561) วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี วิชาเอก เทคโนโลยีและ นวัตกรรมทางการศึกษา เจ้าหน้าที่ ธุรการ สพป.บุรีรัมย์ เขต 3 นักการภารโรง (ณ วันที่ 3๐ เมษายน 2565) ที่ ชื่อ – ชื่อสกุล อายุ ประสบการณ์ (ปี) วิชา เอก ลักษณะงานที่ ปฏิบัติ จ้างด้วยเงิน 1 นายศักรินทร์ โตคีรี ๔๑ ปี 1๑ เดือน (22 พ.ค. 24) ๙ ปี ๑๐ เดือน (18 มิ.ย. 56) ม. 6 ดูแลทั่วไป สพป.บุรีรัมย์ เขต 3


๙ 1.3 ข้อมูลนักเรียน (ข้อมูล ณ 10 มิถุนายน 2566) จำนวนนักเรียนปีการศึกษา 2566 รวมทั้งสิ้น 357 คน ชาย หญิง รวม ป.1 2 19 21 40 20 ป.2 2 13 23 36 18 ป.3 2 23 21 44 22 ป.4 2 18 20 38 19 ป.5 2 22 24 46 23 ป.6 2 31 15 46 23 รวม 12 126 124 250 ม.1 2 21 18 39 20 ม.2 2 23 14 37 19 ม.3 2 12 17 29 15 รวม 6 56 49 105 รวมทั้งหมด 18 182 173 355 เฉลี่ยต่อห้อง จ านวนนักเรียน ระดับชนั้เรียน จ านวนห้องเรียน


๑๐ 1.4 ผลการประเมินระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ข้อมูล ณ 31 มีนาคม 2565)


๑๑ 2) ผลประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์


๑๒ 3) ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน


๑๓ 4) ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5 ด้าน ปีการศึกษา 2566 5) ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปีการศึกษา 2566


๑๔ 1.5 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) 1) ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566


๑๕ 2) ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ปีการศึกษา 256๕-2566 2.1) เปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และร้อยละของผลต่างระหว่างปีการศึกษา 256๕-2566 สมรรถนะ ปีการศึกษา ปีการศึกษา ร้อยละของผลต่าง ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ระว่างปีการศึกษา การอ่านออกเสียง ๙๔.๙๖ ๗๙.๗๔ -๑๕.๒๒ การอ่านรู้เรื่อง ๘๐.๑๒ ๗๘.๒๕ -๑.๘๗ รวม 2 สมรรถนะ ๘๗.๕๔ ๗๙.๐๐ -๘.๕๔ 2.2) เปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และร้อยละของผลต่างระหว่างปีการศึกษา 256๕-2566 จำแนกตามร้อยละของระดับคุณภาพ


๑๖


๑๗ ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ(National Test : NT) 2) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ ปีการศึกษา 2563-2566 2.๑) เปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และร้อยละของผลต่างระหว่างปีการศึกษา 256๕-2566 2.๒) เปรียบเทียบผลจำแนกตามระดับคุณภาพ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และร้อยละของ ผลต่างระหว่างปีการศึกษา 256๕-2566 ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ผลต่าง ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ผลต่าง ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ผลต่าง ๑ ระดับโรงเรียน ๖๙.๘๓ ๖๑.๗๒ -๘ ๖๓.๘๑ ๕๕.๘๐ -๘ ๖๗ ๕๙ -๘ ๒ ระดับเขตพื้นที่๖๒.๕๘ ๖๒.๕๘ ๐ ๕๖.๑๗ ๕๑.๙๑ -๔ ๕๙ ๕๗ -๒ ๓ ระดับประเทศ ๕๕.๘๖ ๕๒.๙๗ -๓ ๔๙.๑๒ ๕๒.๙๗ ๔ ๕๒ ๕๓ ๐ ที่ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ระดับ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ เฉลี่ยทั้ง 2 ด้าน ดีมาก ดีพอใช้ ปรับปรุง ดีมาก ดีพอใช้ ปรับปรุง ๑ ภาษาไทย ๒๗ ๓๕ ๒๗ ๑๑ ๔๒ ๓๖ ๑๖ ๖ ๒ คณติศาสตร์ ๒๒ ๒๙ ๓๒ ๑๖ ๒๘ ๓๖ ๓๐ ๖ รวมทั้ง 2 ด้าน ๒๒ ๓๔ ๓๓ ๑๑ ๓๕ ๓๖ ๒๓ ๖ ร้อยละของจ านวนนกัเรียน ปี2565 ร้อยละของจ านวนนกัเรียน ปี2566 ที่ความสามารถ


๑๘ 2.2) เปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) และร้อยละของผลต่างระหว่างปีการศึกษา 256๕-2566 จำแนกตามร้อยละของระดับคุณภาพ


๑๙ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2566 2)เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ปีการศึกษา 2563- 2566 ๑.๖ ข้อมูลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๖


๒๐ 2)เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ปีการศึกษา 2565-2565


๒๑ จำนวนนักเรียนใช้แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๖ แหล่งเรียนรู้ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ห้องสมุด 4๐ 3๖ 4๔ ๓๘ 4๖ ๔๖ ๓๙ ๓๗ ๒๙ ห้องคอมพิวเตอร์ - - - ๓๘ 4๖ ๔๖ ๓๙ ๓๗ ๒๙ จำนวนนักเรียนใช้แหล่งเรียนรู้นอกโรงเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๖ แหล่งเรียนรู้ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ สวนสัตว์ 4๐ 3๖ 4๔ ๓๘ 4๖ ๔๖ - - - วัด 4๐ 3๖ 4๔ ๓๘ 4๖ ๔๖ ๓๙ ๓๗ ๒๙ พิพิธภัณฑ์ฯ - - - - - - ๓๙ ๓๗ ๒๙ โรงไฟฟ้าฯ - - - ๓๘ 4๖ ๔๖ ๓๙ ๓๗ ๒๙


๒๒ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับการศึกษาปฐมวัย การศึกษาขั้นพื้นฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวัย น้ำหนัก คะแนน คะแนน ที่ได้ ระดับ คุณภาพ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมสมวัย ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย ๑๐.๐๐ ๙.๐๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๕ เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขั้นต่อไป ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๖ ประสิทธิผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ๓๕.๐๐ ๓๕.๐๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา ๑๕.๐๐ ๑๔.๐๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๘ ประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน ๕.๐๐ ๔.๘๒ ดีมาก กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน เป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดีมาก กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้อง กับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดีมาก คะแนนรวม ๑๐๐.๐๐ ๙๗.๘๒ ดีมาก การรับรองมาตรฐานสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย ผลคะแนนรวมทุกตัวบัญชี ตั้งแต่ ๘๐ คะแนนขึ้นไป ใช่ ไม่ใช่ มีตัวบ่งชี้ที่ได้รับดีขึ้นไปอย่างน้อย ๑๐ ตัวบ่งชี้ จาก ๑๒ ตัวบ่งชี้ ใช่ ไม่ใช่ ไม่มีตัวบ่งชี้ใดที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุงหรือต้องปรับปรุงเร่งด่วน ใช่ ไม่ใช่ ในการรวมสถานศึกษาจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวัย สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา


๒๓ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา การศึกษาขั้นพื้นฐาน (ประถมศึกษา และ มัธยมศึกษา) น้ำหนัก (คะแนน) คะแนน ที่ได้ ระดับ คุณภาพ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี่ที่ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ๑๐.๐๐ ๙.๒๖ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ๑๐.๐๐ ๙.๔๒ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๑๐.๐๐ ๘.๔๕ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๔ ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น ๑๐.๐๐ ๘.๑๖ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชองผู้เรียน ๒๐.๐๐ ๗.๙๗ ปรับปรุง ตัวบ่งชี้ที่ ๖ ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑๐.๐๐ ๙.๐๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๘ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและ ต้นสังกัด ๕.๐๐ ๔.๘๒ ดีมาก กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็น เอกลักษณ์ของสถานศึกษา ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรฐานการส่งเสริม ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของ สถานศึกษา ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐานรักษา มาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูป การศึกษา ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก คะแนนรวม ๑๐๐.๐๐ ๘๒.๐๘ ดี การรับรองมาตรฐานสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัยและมัธยมศึกษา ผลคะแนนรวมทุกตัวบัญชี ตั้งแต่ ๘๐ คะแนนขึ้นไป ใช่ ไม่ใช่ มีตัวบ่งชี้ที่ได้รับดีขึ้นไปอย่างน้อย ๑๐ ตัวบ่งชี้ จาก ๑๒ ตัวบ่งชี้ ใช่ ไม่ใช่ ไม่มีตัวบ่งชี้ใดที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุงหรือต้องปรับปรุงเร่งด่วน ใช่ ไม่ใช่ ในการรวมสถานศึกษาจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวัย สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา


๒๔ ผลการประเมินพัฒนาการ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 ที่เข้ารับการประเมิน จำนวน ๑๓ คน พัฒนาการ ผลการประเมินของเด็กตามระดับคุณภาพ ดี พอใช้ ปรับปรุง จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ ด้านร่างกาย ๑๓ 100.00 0 0.00 0 0.00 ด้านอารมณ์และจิตใจ ๑๓ 100.00 0 0.00 0 0.00 ด้านสติปัญญา ๑๓ 77.78 ๐ 22.22 0 0.00 ด้านสังคม ๑๓ 100.00 0 0.00 0 0.00


๒๕ ข้อมูลนักเรียน (ข้อมูล ณ 10 มิถุนายน 2566) ระดับชั้นเรียน จำนวน ห้องเรียน จำนวนนักเรียน เฉลี่ยต่อห้อง ชาย หญิง รวม อนุบาลปีที่ 1 1 ๘ ๗ ๑๕ ๘ อนุบาลปีที่ 2 1 ๕ ๔ ๙ ๕ อนุบาลปีที่ 3 1 ๗ ๗ ๑๔ ๗ 2 19 20 39 ๒๐


๒๖ ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับปฐมวัย ปีการศึกษา 2566 มาตรฐาน ระดับ คุณภาพ แปลผล มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 5 ยอดเยี่ยม 1.1 มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดีและดูแลความปลอดภัยของ ตนเองได้ 5 ยอดเยี่ยม 1.2 มีพัฒนาการด้านอารมร์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 5 ยอดเยี่ยม 1.3 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม 5 ยอดเยี่ยม 1.4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐานและแสวงหา ความรู้ได้ 4 ดีเลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 5 ยอดเยี่ยม 2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น 5 ยอดเยี่ยม 2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน 5 ยอดเยี่ยม 2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ 5 ยอดเยี่ยม 2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัยและพียงพอ 5 ยอดเยี่ยม 2.5 ให้บริการสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัด ประสบการณ์ 4 ดีเลิศ 2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม 5 ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ 5 ยอดเยี่ยม 3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็ม ศักยภาพ 5 ยอดเยี่ยม 3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัติอย่างมีความสุข 5 ยอดเยี่ยม 3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย ๔ ดีเลิศ 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการประเมินพัฒนาการเด็ก ไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก 5 ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา 5 ยอดเยี่ยม


๒๗ ส่วนที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐาน ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก ๑. ระดับคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ๒. วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการ ประเมินตนเอง ๒.๑ วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา โรงเรียนอนุบาลปะคำ มีกระบวนการพัฒนาเด็กที่หลากหลาย ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ โรงเรียนจัดให้เด็กได้รับประทานอาหารที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ ปริมาณเหมาะสมตามวัย มีการควบคุมดูแลให้เด็กดื่มนมเป็นประจำทุกวันอย่างสม่ำเสมอ มีการ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ภาคเรียนละ ๒ ครั้ง มีกิจกรรมออกกำลังกายหน้าเสาธงก่อนเข้าเรียนทุกวัน จัดหา อุปกรณ์ ซ่อมแซมสนามเด็กเล่นให้มีความปลอดภัย สะดวก พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา ไม่มีจุดที่เป็นอันตราย มีกฎ กติกา ข้อตกลงในการดูแลตนเองให้ปลอดภัย หลีกเลี่ยงจากอันตราย มีการจัดบอร์ดให้ความรู้แก่เด็ก เกี่ยวกับโรคติดต่อในชุมชน โรคติดต่อจากการอยู่ร่วมกัน อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นได้ในชีวิตประจำวัน มีการรณรงค์ ต่อต้านยาเสพติด มีการจัดกิจกรรมสุขภาพดีมีสุขเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายให้กับเด็ก และได้รับความ ร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริม ให้เด็กได้เล่นกีฬาตามความสามารถ สนับสนุนให้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาในระดับตำบล อำเภอ มีการจัด กิจกรรมเรียนรู้สู่โลกกว้าง เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม มีวินัยในตนเอง มีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ มีมารยาทที่ดี ยิ้ม ไหว้ ทักทาย ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตร ประจำวัน สามารถรับประทานอาหารด้วยตนเองและมีมารยาทในการรับประทานอาหาร รู้จักดูแลรักษาความ สะอาด ทั้งภายในและนอกห้องเรียน โดยการจัดกิจกรรมแบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบ รู้จักช่วยเหลือ แบ่งปันเพื่อน ในห้องเรียน ทำงานร่วมกับเพื่อนๆ ได้ โดยการใช้กิจกรรมกลุ่มในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ รู้จักเก็บของ เล่น สิ่งของเครื่องใช้ ของตน และของส่วนรวม ปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักประเพณีวัฒนธรรม ด้วยกิจกรรมอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทย รู้จักทดแทนบุญคุณพ่อ แม่ ครู โดยจัดกิจกรรมวันสำคัญmทางชาติ กิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่นวันพ่อ วันแม่ วันไหว้ครู วันเข้าพรรษา ส่งเสริมพัฒนาการ ด้านอารมณ์ จิตใจ ปลูกฝังให้เด็กมีความซื่อสัตย์สุจริต ไม่เอาสิ่งของของผู้อื่นมาเป็นของตน มีความอดทน


๒๘ มีความมั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก ยิ้มแย้มแจ่มใส มีการจัดกิจกรรมทางด้านศิลปะ ดนตรี ให้นักเรียนได้วาด ภาพ ระบายสี เพื ่อสร้างจินตนาการและมีอารมณ์ผ ่องใส ให้เด็กได้ทำกิจกรรมด้วยความสนุกสนาน มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน ทั้งในและนอกห้องเรียน โดยครูได้ดำเนินการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนตาม แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และมีการจัดกิจกรรมร้อง เล่น เต้น อ่าน ให้เด็กได้แสดงออกตามศักยภาพ ของตน โรงเรียนได้ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหา ความรู้ได้ โดยการเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ ทำ ให้เด็กได้ฝึกปฏิบัติการทดลอง การสังเกต ความคิดสร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหา มีการจัดกิจกรรมโครงงานเพื่อ การเรียนรู้ โดยส่งเสริมให้เด็กมีความสนใจเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัว กล้าซักถามเพื่อค้นหาคำตอบ มีการจัด กิจกรรมหนูรักภาษาไทย เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะทางภาษา มีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมให้เด็กอ่านนิทานและ เล่านิทานที่ตนเองอ่านให้ครูและเพื่อนฟัง มีการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันทักษะทาง วิชาการในระดับต่าง ๆ มีการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปะโดยการวาดภาพระบายสี การตัด ฉีก ตัด ปะ การ ปั้นดินน้ำมัน ส่งเสริมให้เด็กได้เสนอผลงานด้วยภาษาที่เหมาะสมตามวัย จัดกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน เพื่อให้เด็กได้ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลภายนอก เรียนรู้นอกสถานที่ แก้ปัญหาในสถานการณ์จริง ๒.๒ ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง - รายงาน สรุป โครงการ/กิจกรรม - เด็กมีพัฒนาการด้านร ่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที ่ ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ ร้อยละ ๑๐๐ - เกียรติบัตร/เหรียญรางวัลจากการแข่งขันศิลปะหัตกรรม ระดับกลุ่ม ระดับเขตพื้นที่การศึกษา - เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ร้อยละ ๑๐๐ สังเกตได้จากการกล้าพูด กล้าแสดงออก รู้จักเข้าแถว รอคิว ในการรับประทานอาหาร รู้จักหน้าที่รับผิดชอบ ตามที่ได้รับมอบหมายทั้งในและนอกห้องเรียน ตามเขตพื้นที่รับผิดชอบ ร่าเริง แจ่มใส - เด็กมีพัฒนาด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ได้ร้อยละ ๑๐๐ สังเกตได้จาก การช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน รู้จักเก็บสิ่งของเครื่องใช้ ทั้งของส่วนตัวและส่วนรวม รู้จัก ยิ้ม ทักทาย อยู่เป็นนิจ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข - เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ คิดเป็นร้อย ละ ๑๐๐ ๓. จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา เด็กมีร่างกายเติบโตตามวัย มีน้ำหนักส่วนสูง ตามเกณฑ์ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย สามารถ ดูแลสุขภาพและหลีกเลี ่ยงต ่อสภาวะที ่เสี ่ยงต่อ อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และ พัฒนาสิ ่งแวดล้อม ทำงานร่วมกับผู้อื ่นได้อย ่างมี ความสุข มีอารมณ์แจ ่มใส ร ่าเริง สนุกสนาน ร ่วม -ด้านการมีความคิดรวบยอด การแก้ปัญหาที ่เกิด จากการอ่าน - การทำกิจกรรมเสริมสติปัญญาให้เหมาะสมตามวัย - การพัฒนา ปลูกฝังในเรื่องสุขนิสัยที ่ดี เช ่น การ ล้างมือก่อนรับประทานอาหารล้างมือก่อนออกจาก ห้องน้ำ ห้องส้วม และการเลือกรับประทานอาหารที่ มีประโยชน์ ให้เป็นนิสัย - การยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ


๒๙ จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา กิจกรรมอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีสติปัญญา เรียนรู้ได้ตามกิจกรรมประจำวันอย่างดี - การใช้คำพูดขอบคุณ ขอโทษ - การใช้วาจาสุภาพเหมาะสมกับวัย แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น (ระบุแผนงานโครงการ/กิจกรรม) 1) กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนระดับปฐมวัย ๒) กิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพและสุนทรียภาพผู้เรียน ๓) กิจกรรมสนับสนุนให้เด็กมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ ๔) กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีมีสุข ๕) กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก โดยให้ผู้ปกครอง ชุมชน และทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม


๓๐ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๑. ระดับคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ๒. วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการ ประเมินตนเอง ๒.๑ วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา การจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนอนุบาลปะคำ ได้มีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และ พันธกิจ ของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน มีองค์ประกอบที่สำคัญเพื่อที่จะขับเคลื่อนการศึกษาระดับปฐมวัย ได้แก ่ การพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ได้มีการพัฒนา หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยให้สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น พิจารณาจากวัยของเด็ก ประสบการณ์ของเด็ก โดยเป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา เพื่อให้ผู้เรียนมี ความสุขในการเรียนรู้ มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีศักยภาพ สำหรับด้านระบบกลไก การเสริมสร้าง ความตระหนักรับรู้ และความเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย โดยให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายได้มีบทบาทในการมี ส่วนร่วมการจัดการศึกษา โดยให้มีการประสานความร่วมมือเพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ โรงเรียนอนุบาลปะคำ ได้จัดสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นซึ่งเอื้อประโยชน์ และอำนวยความ สะดวกต่อการพัฒนาเด็ก ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และสติปัญญา คือ จัดสภาพแวดล้อม ทางกายภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร จัดการเพื่อการจัดการเรียนรู้ เช่น จัดให้มีห้องคอมพิวเตอร์เพื่อให้เด็กได้ศึกษาหาข้อมูลทางโลกออนไลน์ จัด ให้มีอุปกรณ์ ของเล่น ของใช้ เครื่องนอน เครื่องอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้พอเพียงกับเด็ก โดยจัดให้ เหมาะสม สะอาด ปลอดภัย ให้มีมุมหนังสือที่จำเป็นต่อพัฒนาการของเด็ก ให้เพียงพอและเหมาะสมกับวัย จัดให้มีเครื ่องเล ่นสนาม เครื ่องเล ่นน้ำ เล ่นทราย ที ่เหมาะสมปลอดภัย จัดให้มีพื้นที ่สำหรับแปรงฟัน ล้างมือ ทำความสะอาดร่างกาย ห้องน้าห้องส้วม พร้อมอุปกรณ์ที่จำเป็นและเหมาะสมกับเด็ก มีหลักสูตร ปฐมวัยที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาเป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเตรียม ความพร้อม เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่นจัดครูที่เหมาะสมกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ คือมีครูประจำการที่จบการศึกษา ปฐมวัย ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่องrพัฒนาคุณภาพครูด้านการศึกษา ปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้ครูด้านการศึกษาปฐมวัยทุกคนล้วนมีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์ และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็กเป็น รายบุคคล มีประสบการณ์ในการออกแบบการจัดกิจกรรม ทักษะการสังเกต และการปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และผู้ปกครองมีการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้เรียน ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม มีมุมประสบการณ์และสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลายที่ ได้จากธรรมชาติหรือสื่อในชุมชน มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่นมีความสุขในการเรียนรู้ มีสื่อ เทคโนโลยีใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ มีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื ่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์เพื ่อพัฒนาครูอย ่างเพียงพอและทั ่วถึง มีการกำหนดมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ ที่สถานศึกษากำหนด มี การจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผล ตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง


๓๑ ประจำปี มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมทั้ง รายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัดอย่างต่อเนื่อง ๒.๒ ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง - แผนปฏิบัติการ หลักสูตร - หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย - รายงานผลการเข้าร่วมอบรมพัฒนาของครูและบุคลากร - กิจกรรมการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพให้เอื้อต่อการเรียนรู้ - กิจกรรมเรียนรู้สู่โลกกว้าง - กิจกรรมจัดหา/จัดทำเครื่องเล่นสนาม - แผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย - รายงานผลการประเมินตนเองประจำปี ๓. จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา - ผู้บริหารเข้าใจหลักปรัชญาและหลักการการศึกษา ปฐมวัย มีวิสัยทัศน์ มีภาวะผู้นำและความคิดริเริ่มที่ เน้นการพัฒนาเด็กปฐมวัย ทั้ง ๔ ด้าน - ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มี ประสิทธิภาพ ให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางวิชาการ เอาใจใส่การศึกษาปฐมวัยเต็มศักยภาพและเต็มเวลา ผู้เรียน ผู้ปกครองและชุมชนพึงพอใจการบริหาร จัดการการศึกษาปฐมวัย - มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น - จัดครูให้เพียงพอต่อชั้นเรียน - ครูได้รับการพัฒนาด้านวิชาชีพ - การจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้บริการด้าน สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการ จัดประสบการณ์ - ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัด ประสบการณ์ - จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และพอเพียง - กำหนดแผนการพัฒนาครูอย่างชัดเจน แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น (ระบุแผนงานโครงการ/กิจกรรม) ๑) กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนระดับปฐมวัย ๒) กิจกรรมจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี ๓) กิจกรรมส่งเสริมสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ ๔) กิจกรรมส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์


๓๒ มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ๑. ระดับคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ๒. วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการ ประเมินตนเอง ๒.๑ วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา การจัดการศึกษาปฐมวัยมุ่งเน้นความสำคัญของการพัฒนาการในทุก ๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ซึ่งเป็น การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเป็นสุข ภายใต้คำ ว่า เก่ง ดี มีสุข ประสบการณ์ในรูปแบบบูรณาการการเรียนรู้ แบบเรียนผ่านเล่น เพื่อให้เด็กได้ประสบการณ์ ตรง เกิดการเรียนรู้และมีการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซึ่งสามารถ ยืดหยุ่นได้ความเหมาะสมและสอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีการใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ครอบคลุมพัฒนาการในทุก ๆ ด้านให้เหมาะสม กับวัย ดังนี้ ด้านร่างกาย พัฒนาการเคลื่อนไหวทางร่างกาย เด็กเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสมตามจินตนาการ เพื่อให้ร่างกายทุกส่วนทั้งกล้ามเนื้อมัดใหญ่มัดเล็กให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพด้านอารมณ์ จิตใจ เด็กมี พัฒนาการด้านอารมณ์ความรู้สึกได้อย่างเหมาะสม รู้จักยับยั้งชั่งใจ รู้จักการรอคอย กล้าแสดงออก ช่วยเหลือ แบ่งปันมีความรับผิดชอบด้านสังคม เด็กช่วยเหลือตัวเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ มีวินัยในตนเอง เล่นร่วมกับผู้อื่นได้ มีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่ด้านสติปัญญา มีความคิดร่วมยอด รู้จักการแก้ปัญหา สื่อสารและ มีทักษะความคิดพื้นฐานแสวงหาความรู้ได้อย่างเหมาะสมตามวัย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ เด็กได้ประสบการณ์โดยตรง จากการเรียนผ่านการเล่น โดยลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเองและการเรียนรู้รายกลุ่ม เพื่อก่อให้เกิดความมีน้ำใจ ความสามัคคี การแบ่งปัน และการรอคอย เพื่อส่งผลให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้ อย่างมีความสุข จัดบรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งเสริมความสนใจให้แก่ผู้เรียน ชั้นเรียนมีบรรยากาศเต็มไปด้วย ความอบอุ่น ความเห็นอกเห็นใจ มีความเอื้อเผื่อเผื่อแต่ต่อกันและกัน ซึ่งเป็นแรงจูงใจภายนอกที่กระตุ้นให้ ผู้เรียนรักการอยู่ร่วมกันในชั้นเรียน และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้แก่เด็กนักเรียน ห้องเรียนมีบรรยากาศ แจ่มใส กว้างขวางพอเหมาะ มีมุมส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ มีการ ตกแต่งห้องเรียนให้สดใส และมีสื่อการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการจัดประสบการณ์การเรียนการสอน การประเมิน พัฒนาการของเด็กปฐมวัย จากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการจัดกิจวัตรประจำวัน ด้วยเครื่องมือ และวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสอบถาม การสำรวจ และการวิเคราะห์ผลพัฒนาการของเด็ก โดยให้ผู้ปกครองมีส ่วนร ่วม เพื ่อได้นำผลการประเมินไปพัฒนาศักยภาพของเด็กและพัฒนาการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาครูอย่างเพียงพอและทั่วถึง มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาที ่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที ่สถานศึกษากำหนด มีการจัดทำ แผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบ คุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี มีการ นำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมทั้งรายงานผลการ ประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัดอย่างต่อเนื่อง


๓๓ ๒.๒ ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง - จัดทำแผนการจัดประสบการณ์ - แบบบันทึกการพัฒนาการของเด็ก - รายงานผลการประเมินตนเอง - บรรยากาศห้องเรียนให้สะอาด มีมุมส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้และแสดงผลงานเด็ก - การจัดกิจวัตรประจำวัน - แบบประเมินพัฒนาการเด็ก ๓. จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา - ครูจัดสิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และผู้ปกครอง - เด็กมีพัฒนาการการอย่างสมดุล - เด็กเรียนรู้ จากการเล่นและปฏิบัติกิจกรรม - มีบรรยากาศ สภาพห้องเรียนเอื้อต่อการเรียนรู้ - ประเมินผลเด็กด้วยวิธีการหลากหลาย - การผลิตสื่อและอุปกรณ์สื่อการเรียนการ สอนที่หลากหลาย - พัฒนาเครื่องเล่นสนามและระบบ สาธารณูปโภค -จัดกิจกรรมส่งเสริมเด็กเรียนรู้การอยู่ ร่วมกัน แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น ๑) กิจกรรมปรับปรุงหลักสูตรปฐมวัย ๒) กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ๓) กิจกรรมพัฒนาเครื่องเล่นสนาม ๔) กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนระดับปฐมวัย ๕) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและสุนทรียภาพผู้เรียน ๖) กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ๗) กิจกรรมสืบสานวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นและวันสำคัญ


๓๔ สรุปมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย ๑. . ระดับคุณภาพ : ยอดเยี่ยม ๒. วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการ ประเมินตนเอง ๒.๑ วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา - ด้านคุณภาพของเด็ก ได้มีการพัฒนาการเด็กทั้ง ๔ ด้านทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และสติปัญญา - ด้านกระบวนการบริหารและจัดการ จัดให้ครูมีเพียงพอกับชั้นเรียน จัดสภาพแวดล้อมและสื่อการ เรียนรู้และจัดให้มีสื่อเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้สนับสนุนการจัดประสบการณ์ - การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้าน อย่างสมดุล สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงเล่นอย่างมีความสุข มีการจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ ๒.๒ ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง - โครงการต่าง ๆ - กิจกรรมการจัดประสบการณ์ - รูปภาพ - ผลงานเด็ก ๓. จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา - เด็กมีพัฒนาการสมดุล - มีโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด่นชัด - มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยที่นำสู่การ ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ - การช่วยเหลือตนเองทั้งที่บ้านและโรงเรียน - --- - ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองให้มีส่วนร่วม ในการจัดประสบการณ์เด็ก แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น ๑) กิจกรรมการประเมินผลการใช้หลักสูตร ๒) กิจกรรมพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนอย่างเข้มแข็ง และทั่วถึง ๓) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพเด็กปฐมวัย


๓๕ บัญชีงบหน้าสรุปผลการดำเนินงานมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย โรงเรียนอนุบาลปะคำ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพเด็ก ประเด็นพิจารณา โครงการ/กิจกรรม หลักฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดดเด่น ๑. มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแล ความปลอดภัยของตนเองได้ - โครงการส่งเสริมศักยภาพทักษะ พื้นฐานผู้เรียนระดับปฐมวัย - กิจกรรมการประเมินพัฒนาการ ด้านร่างกาย - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - บันทึกการดื่มนม/แปรงฟัน - บันทึกน้ำหนักส่วนสูง/ภาวะ โภชนาการ - บันทึกการรับประทานอาหาร - แบบบันทึกการประเมินพัฒนาการ ด้านร่างกาย ๒. มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ ได้ - โครงการส่งเสริมศักยภาพทักษะ พื้นฐานผู้เรียนระดับปฐมวัย - กิจกรรมการประเมินพัฒนาการ ด้านอารมณ์จิตใจ - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียน - แบบบันทึกการประเมินพัฒนาการ ด้านอารมณ์จิตใจ - แผนการจัดประสบการณ์ - สมุดรายงานประจำตัวเด็ก - รายงานประจำปีการศึกษา (SAR) - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๓. มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิก ที่ดีของสังคม - โครงการส่งเสริมศักยภาพทักษะ พื้นฐานผู้เรียนระดับปฐมวัย -กิจกรรมการประเมินพัฒนาการ ด้านสังคม - กิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ เด็กปฐมวัย - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - แบบบันทึกการประเมินพัฒนาการ ด้านสังคม - แบบสังเกตพฤติกรรมเด็กเป็น รายบุคคล - แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล - แบบบันทึกการออมทรัพย์ - แบบบันทึกเวลาเรียน - สมุดรายงานประจำตัวเด็ก - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๔. มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ - โครงการส่งเสริมศักยภาพ ทักษะพื้นฐานผู้เรียนระดับปฐมวัย - กิจกรรมการประเมินพัฒนาการ ด้านสติปัญญา - กิจกรรมการแข่งขันการส่งเสริม ความเป็นเลิศทางวิชาการ - กิจกรรมการทดลอง วิทยาศาสตร์ - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - แบบบันทึกการประเมินพัฒนาการ ด้านสติปัญญา- รายงานกิจกรรมการ แข่งขั้นการส่งเสริมความเป็นเลิศทาง วิชาการ - โครงการ “บ้านนักวิทยาศาสตร์ น้อย” ประเทศไทย


๓๖ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ประเด็นพิจารณา โครงการ/กิจกรรม หลักฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดดเด่น ๑. มีหลักสูตรครอบคลุม พัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของ ท้องถิ่น - โครงการบริหารและจัดการ การศึกษาระดับปฐมวัย - กิจกรรมปรับปรุงหลักสูตร สถานศึกษาปฐมวัย ปี๒๕๖๐ - กิจกรรมบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงสู่การเรียนการสอน - กิจกรรมการพัฒนาแผนการจัดการ เรียนรู้และแผนการจัดประสบการณ์ - กิจกรรมส่งเสริมการทำวิจัยในชั้น เรียน - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ - แผนการจัดประสบการณ์ ๒. จัดครูให้เพียงพอกับชั้น เรียน - โครงการบริหารและจัดการ การศึกษาระดับปฐมวัย - กิจกรรมโรงเรียนจัดหาครูปฐมวัย และครูที่ผ่านการอบรมด้านการศึกษา ปฐมวัย - กิจกรรมส่งเสริม พัฒนาจรรยาบรรณ วิชาชีพครู - รายงานกิจกรรมตามโครงการ ๓. ส่งเสริมให้ครูมีความ เชี่ยวชาญ ด้านการ จัดประสบการณ์ - โครงการบริหารและจัดการ การศึกษาระดับปฐมวัย - กิจกรรมพัฒนาบุคลากร - กิจกรรม PLC - กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ - กิจกรรมการประชุม อบรม สัมมนา และแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ของคณะครู - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รายงานการอบรม - รูปภาพการจัดกิจกรรม - เกียรติบัตร - การขยายผลสู่เพื่อนครู ๔. จัดสภาพแวดล้อมและสื่อ เพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ - โครงการบริหารและจัดการ การศึกษาระดับปฐมวัย -กิจกรรมปรับปรุงสภาพแวดล้อมพัฒนา แหล่งเรียนรู้ - กิจกรรมผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้ คู่มือการสอน สื่อการสอน สิ่งประดิษฐ์ แบบจำลอง งานสร้างสรรค์ นวัตกรรม การเรียนการสอน - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - แบบบันทึกการผลิตสื่อการสอน - แบบบันทึกการใช้สื่อการสอน


๓๗ ๕. ให้บริการสื่อเทคโนโลยี สารสนเทศและสื่อการเรียนรู้ เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ - โครงการบริหารและจัดการ การศึกษาระดับปฐมวัย - กิจกรรมจัดหาสื่อการเรียนการสอน - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - สื่อในห้องเรียน - วัสดุอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ ๖. มีระบบบริหารคุณภาพที่ เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุก ฝ่ายมีส่วนร่วม - กิจกรรมการส่งเสริมระบบประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา - กิจกรรมการประเมินคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย - กิจกรรมกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย - รายงานผลการประเมินตนเอง - การนิเทศติดตาม มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ประเด็นพิจารณา โครงการ/กิจกรรม หลักฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดดเด่น ๑. จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็ก มีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล เต็มศักยภาพ โครงการ การจัดประสบการณ์ ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ - กิจกรรมพัฒนาหลักสูตร - กิจกรรมการพัฒนาแผนการ จัดประสบการณ์ - กิจกรรมการประเมิน พัฒนาการตามมาตรฐาน การศึกษา ระดับปฐมวัย - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - แบบบันทึกการประเมิน พัฒนาการตามมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๒. สร้างโอกาสให้เด็กได้รับ ประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัติ อย่างมีความสุข โครงการ การจัดประสบการณ์ ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ - กิจกรรมเรียนรู้สู่โลกกว้าง - กิจกรรมทัศนศึกษา - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๓. จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ เหมาะสมกับวัย โครงการ การจัดประสบการณ์ ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ - กิจกรรมเปิดบ้านอนุบาล - กิจกรรมการจัดหาสื่อการ เรียนรู้และเทคโนโลยีที่ เหมาะสมกับวัย - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๔. ประเมินพัฒนาการเด็กตาม สภาพจริงและนำผลการประเมิน พัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัด ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก โครงการ การจัดประสบการณ์ ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ - กิจกรรมการประเมิน พัฒนาการเด็ก - กิจกรรมแข่งขันทักษะทาง วิชาการ - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม - เกียรติบัตร


๓๘ มาตรฐาน ระดับ คุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ๓ ดี ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ๓ ดี ๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ 3 ดี ๒)มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมี วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ๓ ดี ๓) มีความสามารในการสร้างนวัตกรรม ๒ ปานกลาง ๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ๓ ดี ๕) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 2 ปานกลาง ๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ๕ ยอดเยี่ยม ๑.๒คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ๔ ดีเลิศ ๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 4 ดีเลิศ ๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 5 ยอดเยี่ยม ๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 4 ดีเลิศ ๔) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม 5 ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ 5 ยอดเยี่ยม ๒.๑ การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน 5 ยอดเยี่ยม ๒.๒มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 5 ยอดเยี่ยม ๒.๓ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสุตรส ถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 4 ดีเลิศ ๒.๔พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 4 ดีเลิศ ๒.๕จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่าง มีคุณภาพ 5 ยอดเยี่ยม ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการ จัดการเรียนรู้ 5 ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๔ ดีเลิศ ๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 5 ยอดเยี่ยม ๓.๒ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 4 ดีเลิศ ๓.๓มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 5 ยอดเยี่ยม 3.๔ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 4 ดีเลิศ ๓.๕มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการ เรียนรู้ 4 ดีเลิศ สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา ๔ ดีเลิศ


๓๙ ระดับคุณภาพ : ดี กระบวนการพัฒนา ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน โรงเรียนอนุบาลปะคำมีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้ให้เป็นไป ตามศักยภาพ ของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรมีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ เหมาะสมกับผู้เรียน โดยมีการจัดการเรียนรู้ทั้งรูปแบบการระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกัน เรียนรู้แบบใช้กระบวนการคิดกระบวนการใช้ปัญหาเป็นหลัก และเน้นเรื่องการอ่าน การเขียน การสื่อสารและ การคิดคำนวณของ ผู้เรียนเป็นเรื่องสำคัญที่สุดโดยมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกเขียนได้มีความรู้ทักษะ สามารถใช้เทคโนโลยีใน การสื่อสาร และมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม เช่น โครงงานคุณธรรม เป็นต้น และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ พัฒนาครูทุกคนให้มีความสามารถในการนำ เทคนิควิธีสอนให้ตรงตามศักยภาพ ผู้เรียน ใช้สื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน มีแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและ ภายนอกโรงเรียน และแหล่ง สืบค้นข้อมูล ได้แก่ ห้องสมุด ห้องศูนย์พัฒนาการสอนคณิตศาสตร์ ห้องจริยธรรม สวนวรรณคดี สวน วิทยาศาสตร์ การวัดและประเมินผลแบบบูรณาการด้วยวิธีหลากหลายตามสภาพจริง ครูเน้น การใช้คำถาม เพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน โดยมีกระบวนการดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน


๔๐ ศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานการศึกษา ด้านคุณภาพผู้เรียนและมาตรฐาน ตัวชี้วัดในหลักสูตร กำหนดเกณฑ์การประเมิน/ระดับคุณภาพ และตั้งค่าเป้าหมายความสำเร็จ กำหนดแนวทาง/วิธีการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ดำเนินโครงการ/กิจกรรมการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ รายงานผลการ พัฒนา Flowchart มาตรฐานที่ ๑ ด้านคุณภาพผู้เรียน การตรวจสอบและประเมิน โครงการ/กิจกรรมการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ นำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนา ปรับปรุง/พัฒนา P A C D


๔๑ สำหรับความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื ่อสาร และการคิดคำนวณตามเกณฑ์ของแต ่ละ ระดับชั้น จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะ การอ่าน เขียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง กิจกรรมวันสำคัญ ต ่าง ๆ ที ่กลุ ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยจัดขึ้น เช ่น กิจกรรมวันสุนทรภู ่ กิจกรรมวัน ภาษาไทย การแข ่งขันทักษะ ภาษาไทย ทักษะด้านการอ ่านและการเขียน โดยจัดให้นักเรียนได้เข้าร ่วม การแข ่งขันทักษะภาษาไทยตาม ความสามารถ และตามศักยภาพของนักเรียนและคัดเลือกนักเรียนที ่มี ความสามารถเข้า ร่วมการแข่งขันทักษะ ภาษาไทยกับหน่วยงานภายนอก นำนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน เช่น การแข่งขันท่อง บทอาขยาน ทำนองเสนาะ การแข่งขันอ่านเอาเรื่องตามแนว การแข่งขันเรียงร้อยถ้อยความการแข่งขันการ ตอบคำถามสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน การประกวดการคัด ลายมือ พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในด้าน การสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเหมาะสมตามการ จัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน ทั้งรูปแบบการ ระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ แบบใช้กระบวนการคิดกระบวนการใช้ปัญหา เน้นการ สื่อสารด้วยการใช้ภาษาอังกฤษ เช่น การจัดกิจกรรม ภาษาอังกฤษวันละคำ กิจกรรมค่าย English Camp ผู้เรียนมีความสามารถในด้านการคิดคำนวณเหมาะสมให้นักเรียนทำแบบทดสอบเพิ่มเติมหลังเลิก เรียน ฝึกทักษะในการคิดคำนวณ การท่องสูตรคูณ ฝึกให้นักเรียนคิดในใจ ฝึกคิดเลขเร็วโดยใช้แบบฝึกส่งเสริม ให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันความสามารถทางคณิตศาสตร์ ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ จัดทำโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๘ กลุ่มสาระ เช่น กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนา ศักยภาพ ผู้เรียนทางด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ กิจกรรมแข ่งขันทักษะทางภาษา จัดทำโครงการ ส่งเสริมความ เป็นเลิศ เช่น กิจกรรมค่ายกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ กิจกรรมค่าย วิทยาศาสตร์จัดทำโครงการติวเข้มวิชาการ ป.๓ ป.๖และ ม.๓ เตรียมความพร้อมสู่ NT และO–NET ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม สามารถกำหนด ออกแบบ สร้างนวัตกรรมโดยอาศัยองค์ความรู้ ใน การแก้ปัญหาด้วยทักษะกระบวนการคิด ตามที่ตนเองสนใจ เช่น สื่อ Animation ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ใช้สื่อการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนมี ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารได้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพการอัพเดทข้อมูล เว็บไซต์ของโรงเรียน เช่น กิจกรรมของโรงเรียน ข่าวประชาสัมพันธ์ ข้อมูลเอกสารสำคัญต่าง ๆ สื่อการเรียน การสอน ความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา การจัดกิจกรรมแนะแนว เพื่อช่วยให้นักเรียนมี ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาต่อ สายสามัญและสายอาชีพ การสอบโควต้า การคัดเลือกบุคคลเข้า ศึกษาใน ที่สูงขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ นักเรียนตัดสินใจเลือกศึกษาต่อได้ตามความสนใจความสามารถ และความ ถนัดของตนเอง


๔๒ ๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน โรงเรียนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม หลักสูตรผ่านโครงการพัฒนาการเรียน การสอน ๘ กลุ ่มสาระการเรียนรู้ และโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพ นักเรียน กิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายในและภายนอก กิจกรรม TO BE NUMBER ONE กิจกรรมวันต่อต้านยา เสพติด กิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย กิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา กิจกรรมวันสำคัญ แห ่งชาติกิจกรรมพัฒนางานดนตรีนาฏศิลป์สู ่ชุมชน กิจกรรมส ่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน กิจกรรม นักเรียนแกนนำ กิจกรรมปฐมนิเทศนักเรียน ม.๑ กิจกรรมค ่ายคุณธรรม โครงการพัฒนางานโภชนาการ กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัยโรงเรียน การจัดประชุมผู้ปกครองนักเรียน และคัดเลือกเครือข่ายผู้ปกครอง การจัดพิธีถวายพระพรชัยมงคล วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร กิจกรรมต่อต้านยาเสพ ติด กิจกรรมพิธีไหว้ครูการเยี่ยมบ้านนักเรียน ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย การจัดกิจกรรมวันสุนทร ภู่ การจัดกิจกรรมวันภาษาไทย กิจกรรมลอยกระทงสืบสานประเพณีไทย การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย การจัดโครงการอบรม PLC ให้กับครู เพื่อครูจะได้ร่วมมือกันสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือต่อยอด นวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ การจัด โครงการ พัฒนาผู้เรียน ผ ่านกิจกรรมนักเรียนต่าง ๆ เช่น กิจกรรมกีฬาสี กิจกรรมสัปดาห์วิทยาศาสตร์เพื่อ ส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน มีมนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน ร่วมกันให้ประสบความสำเร็จ การมีสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม การจัดกิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียนประจำปีการ บริจาคโลหิต การจัดโครงการพัฒนาสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน การจัดกิจกรรม สาระน่ารู้ สุขภาพ เพศ เอดส์ งดสูบบุหรี่โลก และต่อต้านยาเสพติด การจัดกิจกรรมวันเอดส์โลก กิจกรรมออก กำลังกายทุกวันพุธ ๒. ผลการดำเนินงาน ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน จากการจัดทำโครงการ/กิจกรรม ที่หลากหลายเพื่อพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน ปรากฏผลการดำเนินงาน ในด้าน ต่าง ๆ ดังนี้ ในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร สามารถ อ ่านออกและอ ่านคล ่องตามมาตรฐานการอ ่านในแต ่ละระดับชั้น สามารถเขียนสื ่อสารได้ดีใช้ เทคโนโลยีและสร้าง นวัตกรรมได้ มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย รู้จักการวางแผนสามารถทำงาน ร่วมกับผู้อื่นได้ดีตามหลัก ประชาธิปไตย กล้าแสดงออก และแสดงความคิดเห็นหรือวิพากษ์ได้อย่างสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูลหรือแสวงหา ความรู้จากสื่อ เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง รวมทั้งสามารถวิเคราะห์จำแนกแยกแยะได้ ว่าสิ่งไหนดีสำคัญ จำเป็น รวมทั้งรู้เท่าทันสื่อและสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รู้และตระหนักถึงโทษและ พิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ เลือกรับประทานอาหารที่สะอาด และมีประโยชน์ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ มี มนุษย์สัมพันธ์มีทัศนคติที่ดีต่อ อาชีพสุจริต รวมถึงมีความเข้าใจเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลและระหว่าง วัย มีการพัฒนาตนเอง ศึกษา ค้นคว้าทดลองจากแหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก รู้จักฝึกคิด ฝึกทำ ฝึกแก้ปัญหา เช่น โครงการพัฒนา ผู้เรียนให้มีทักษะในการค้นคว้าและคิดอย่างเป็นระบบ กิจกรรมเรียนรู้ด้วย


๔๓ โครงงาน กิจกรรมนิทรรศการผลงาน การเรียนรู้ กิจกรรมใช้ห้องสมุด โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนเพื่อ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กิจกรรม แข่งขันทักษะทางวิชาการ กิจกรรมศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ภายนอก เช่น สวนสัตว์นครราชสีมา พิพิธภัณฑ์ไม้กลายเป็นหิน ประวัติ กิจกรรม ติว O-NET กิจกรรมค่ายวิชาการตาม กลุ่มสาระการเรียนเรียนรู้ ส่งเสริมความสามารถด้าน ดนตรีกีฬา นักเรียนทุกคนสามารถเล่นกีฬาได้อย่างน้อย คนละประเภท ยอมรับในกฎกติกาของกลุ่มของสถานศึกษา ของสังคม ทั้งนี้ มีผลการดำเนินงานเชิงประจักษ์ จากการประเมินในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ประเด็น ผลการประเมิน ๑.ความสามารถ ในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิด คำนวณ อยู่ในระดับ คุณภาพดี แผนภูมิแสดงร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ และชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ ๑-๓ ปีการศึกษา ๒๕๖4 จากแผนภูมิ ค่าเฉลี่ยร้อยละของนักเรียนที่ได้ระดับ ดี ขึ้นไป คือ 61.62 อยู่ในระดับ คุณภาพ ดี 76.74 76.47 78.72 78.26 75 78 54.76 51.35 44.44 70.31 ผลการประเมินผู้เรียนที่มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดค านวณ ร้อยละจ านวนนักเรียนที่ได้ระดับ 3 ขึ้นไป


๔๔ ๒. ความสามารถ ในการคิด วิเคราะห์ คิด อย่างมี วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความ คิดเห็นและ แก้ปัญหา อยู่ใน ระดับคุณภาพดี แผนภูมิแสดงร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอย่างมี วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ และชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ ๑-๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ จากแผนภูมิ ค่าเฉลี่ยร้อยละของนักเรียนที่ได้ระดับ ดี ขึ้นไป คือ 72.27 อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ๓. ความสามารถ ในการสร้าง นวัตกรรม อยู่ในระดับ คุณภาพปาน กลาง แผนภูมิแสดงร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม อยู่ในระดับคุณภาพดีเลิศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ และชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ ๑-๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ จากแผนภูมิ ค่าเฉลี่ยร้อยละของนักเรียนที่ได้ระดับ ดี ขึ้นไป คือ 68.35 อยู่ในระดับคุณภาพ ปานกลาง 81.39 91.17 89.36 82.61 80 82 42.86 35.14 44.44 72.27 ผลการประเมินผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา ร้อยละจ านวนนักเรียนที่ได้ระดับ 3 ขึ้นไป 86.04 88.23 89.36 84.78 77.5 80 28.57 21.62 27.78 68.35 ผลการประเมินผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ร้อยละจ านวนนักเรียนที่ได้ระดับ 3 ขึ้นไป


๔๕ ๔. มี ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี และการสื่อสาร อยู่ในระดับ คุณภาพดี แผนภูมิแสดงร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ และชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ ๑-๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ จากแผนภูมิ ค่าเฉลี่ยร้อยละของนักเรียนที่ได้ระดับ ดี ขึ้นไป คือ 78.71 อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ๕. มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ตามหลักสูตร สถานศึกษา อยู่ในระดับ คุณภาพปาน กลาง แผนภูมิแสดงร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ และชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ ๑-๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ จากแผนภูมิ ค่าเฉลี่ยร้อยละของนักเรียนที่ได้ระดับ ดี ขึ้นไป คือ 59.38 อยู่ในระดับคุณภาพ ปานกลาง 95.34 94.11 95.74 84.78 80 86 40.48 59.5 55.56 78.71 ผลการประเมินผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ร้อยละจ านวนนักเรียนที่ได้ระดับ 3 ขึ้นไป 70 97.05 68 65.22 65 72 23.8124.32 33.33 59.38 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2566 ร้อยละจ านวนนักเรียนที่ได้ระดับ 3 ขึ้นไป


Click to View FlipBook Version