The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มที่ 2 เชิดฉาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Beam Chanoknun, 2022-06-14 03:05:17

เล่มที่ 2 เชิดฉาน

เล่มที่ 2 เชิดฉาน

หน้า |1

หน้า |2

แบบทดสอบก่อนเรยี น เรื่อง เพลงหน้าพาทยเ์ ชดิ ฉาน

คำช้แี จง : ใหน้ กั เรียนทำเคร่อื งหมาย X ลงในกระดาษคำตอบ ในขอ้ ท่คี ิดวา่ ถกู ตอ้ งที่สดุ

หน้า |3

หน้า |4

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรือ่ ง เพลงหน้าพาทย์เชิดฉาน

1. ข 6. ค
2. ข 7. ก
3. ง 8. ค
4. ง 9. ค
5. ก 10. ข

หน้า |5

แผนผังการเรียนรู้ เลม่ ที่ 2 เพลงหน้าพาทย์เชดิ ฉาน

01 • ความเปน็ มาเพลงหน้าพาทย์เชดิ ฉาน
02 • ความหมายของเพลงหนา้ พาทยเ์ ชดิ ฉาน
03 • โอกาสทีใ่ ชเ้ พลงหนา้ พาทยเ์ ชดิ ฉาน
04 • เครือ่ งแตง่ กายท่ใี ชป้ ระกอบการแสดง
05 • ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง
06 • นาฏยศพั ทท์ ีใ่ ช้ในเพลงหน้าพาทยเ์ ชิดฉาน
07 • กระบวนท่าราเพลงหนา้ พาทยเ์ ชดิ ฉาน

หน้า |6

ความเปน็ มาเพลงหน้าพาทยเ์ ชิดฉาน

สัจจะ ภู่แพ่งสุทธิ์ และคณะ (2560) กล่าวว่า กระบวนท่ารำเพลงหน้าพาทย์เชิดฉาน
สันนิษฐานได้ว่าอาจจะมีสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 เนื่องจากว่าในพระราชนิพนธ์
เรอ่ื งรามเกียรติ์ ตอนพระรามตามกวาง ปรากฏเพลงหน้าพาทยเ์ ชดิ ฉานลงไปด้วยซงึ่ อาจจะมีการแสดง
ตั้งแต่ในสมยั น้ัน

การสบื ทอดกระบวนท่ารำเพลงหนา้ พาทย์เชิดฉานน้ันปรากฏหลกั ฐานในสมยั ของหลวงวิลาศ
วงงาม ซึ่งท่านได้รับการถ่ายทอดมาจากพระยานฐั กานรุ กั ษ์ (ทองดี สุวรรณภารต) เนื่องจากท่านเป็น
หัวหน้ากองมหรสพและเป็นผู้ดูแลงานด้านนาฏศิลป์ในขณะนั้น การสืบทอดท่ารำเพลงหน้าพาทย์
เชิดฉาน สามารถลำดบั ได้ ดังน้ี

พระยานัฐกานรุ ักษ์

หลวงวิลาศวงงาม

นายอาคม สายาคม

นายทองสขุ ทองหลมิ นายอดุ ม กุลเมธพนธ์ (อังศธุ ร) นายสมบตั ิ แก้วสจุ รติ

นายวีระชัย มบี ่อทรัพย์
แผนผังท่ี 1 ลำดบั การสบื ทอดท่ารำเพลงหน้าพาทย์เชิดฉาน

ทมี่ า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

หน้า |7

การรำเพลงหน้าพาทยเ์ ชิดฉานมปี รากฏอยู่ในวรรณกรรม การแสดงโขน และละครหลายเรื่อง
ดังนี้

1. เรือ่ งรามเกียรต์ิ ตอนพระรามตามกวาง จากบทพระราชนพิ นธ์ในพระบาทสมเด็จ
พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช

2. เรื่องพระลอนรลักษณ์ ตอนพระลอตามไก่ จากบทพระราชนิพนธ์สมเด็จ
พระบวรราชเจ้ามหาศักด์พิ ลเสพ

3. เร่อื งรามเกยี รต์ิ บทร้องและบทพากย์ ชุดลกั สีดา ตอนตามกวาง จากบทพระราช
นพิ นธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยู่หัว

4. ละครรำ เรื่องศกุนตลา ตอนท้าวทุษยันต์ตามกวางดำ จากพระราชนิพนธ์ใน
พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอย่หู วั

5. เรอ่ื งพระนาละ ตอนพระนาละตามหงส์ จากบทพระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเด็จ
พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยูห่ ัว

วรรณกรรมที่กล่าวไปข้างต้นนั้นเปรียบเสมือนต้นแบบในการบรรจุเพลงในการแสดงที่มี
การติดตามระหว่างมนุษย์ติดตามสัตว์ มีการนำเพลงเชิดฉานมาบรรจุในการแสดงตามฉบับเดิม
แต่หากเป็นการไล่ล่าติดตามที่ปรากฏในการแสดงบางเรื่องบางตอนนั้นไม่ได้มีการบรรจุเพลง
หน้าพาทย์เชิดฉาน เช่น บทพระราชนิพนธ์เรื่องอุณรุท ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
มหาราช , บทละครเรื่องพระอภัยมณี ตอนสุดสาครจับม้ามังกร บรรจุเพลงม้าวิ่ง , บทละครใน
เรื่องอิเหนา ตอนย่าหรันตามนกยูง บรรจุเพลงเชิดจีน , ละครชาตรี เรื่องรถเสน ตอนรถเสนจับม้า
บรรจเุ พลงมา้ ว่งิ , เร่ืองรามเกยี รติ์ ตอนปลอ่ ยม้าอปุ การ บทพระราชนิพนธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระพุทธ
ยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช บรรจุเพลงเชดิ , เร่ืองลิลิตพระลอ ตอนพระลอตามไก่ เป็นตน้

หน้า |8

ความหมายเพลงหน้าพาทยเ์ ชิดฉาน

ถาวร หัสดี (2543 : 42) กลา่ วว่า เพลงเชดิ ฉาน เป็นเพลงใชก้ บั ตวั แสดงทีเ่ ปน็ มนุษยไ์ ลต่ ิดตาม
สตั ว์ เช่น พระรามตามกวาง

ชมนาด กิจขันธ์ (2553 : 39) กล่าวว่า เพลงเชิดฉาน ใช้ประกอบกิริยาการไล่ตามของคน
กบั สัตว์ หรอื การจับสัตว์ของผมู้ ีฤทธ์ิ

สัจจะ ภู่แพ่งสุทธิ์ และคณะ (2560) กล่าวว่า เพลงหน้าพาทย์เชิดฉาน เป็นเพลงที่อยู่ใน
ตระกูลเพลงเชดิ ใช้บรรเลงประกอบการแสดงหนงั ใหญม่ าตั้งแต่สมัยกรุงศรอี ยธุ ยา เพลงเชดิ ฉานยังเป็น
เพลงทีบ่ รรเลงประกอบพิธกี รรม ไดแ้ ก่ การบรรเลงโหมโรงกลางวนั ซึง่ แต่ละสำนกั นนั้ มคี วามแตกต่าง
กัน และการบรรเลงในพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ องค์ประกอบของเพลงเชิดฉานนั้นเป็นเพลง
ประเภทหน้าทับสองไม้ ซึ่งเพลงที่อยู่ในตระกูลเพลงเชิดนั้นจะเรียกว่า “ตัว” ซึ่งในเพลงเชิดฉานนี้มี
ท้งั หมด 3 ตวั แต่ละตวั นั้นจะประกอบดว้ ยสว่ นท่ีเรียกวา่ “ตัวและสรอ้ ย” เพลงหน้าพาทย์เชิดฉานนั้น
เปน็ บทเพลงทีม่ ีการกำหนดท่วงทำนอง จงั หวะอย่างเหมาะสมสวยงาม ดงั นั้นเม่ือมีการประดิษฐ์ท่ารำ
ประกอบการแสดงบรมครูทางด้านนาฎศิลป์ไทย จึงไดป้ ระดษิ ฐท์ า่ รำขึ้นเพอื่ ให้กระบวนท่ารำเหมาะสม
พอดีกบั เพลง

สรปุ ได้วา่ เพลงหนา้ พาทยเ์ ชิดฉาน เปน็ เพลงทีอ่ ยู่ในตระกูลเพลงเชิดใชบ้ รรเลงประกอบกิริยา
การไล่ตามของคนกับสัตว์ ซึ่งในเพลงเชิดฉานนี้มีทั้งหมด 3 ตัว แต่ละตัวนั้นจะประกอบด้วยส่วนที่
เรียกว่า “ตัวและสรอ้ ย”

หน้า |9

โอกาสทใี่ ชเ้ พลงหนา้ พาทยเ์ ชดิ ฉาน

คณะมนุษยศาสตร์ (2558 : 20) กล่าวว่า เพลงเชิดฉาน ใช้บรรเลงประกอบกิริยาไล่ตาม
หรือจับสัตว์ของผู้มีฤทธิใช้เฉพาะกับตัวพระ เช่น ในการแสดงโขน ตอนพระรามตามกวาง ปัจจุบัน
เพลงหน้าพาทย์เชดิ ฉานได้ปรากฏในพิธกี รรม คอื พธิ จี รดพระนงั คัลแรกนาขวญั และการบรรเลงเพลง
ที่ปรากฏในโหมโรงกลางวนั

วราภรณ์ จ้ยุ วงษ์ (2559 : 20) กล่าววา่ เพลงเชิดฉาน ใช้บรรเลงประกอบกริ ิยาไล่ตามหรือจับ
สัตว์ของผูม้ ีฤทธใิ ช้เฉพาะกับตัวพระ เช่น ในการแสดงโขนตอนพระรามตามกวาง ปัจจบุ นั ใชบ้ รรเลงใน
พระราชพธิ จี รดพระนงั คัลแรกนาขวัญ

สรุปไดว้ า่ เพลงเชดิ ฉาน ใชบ้ รรเลงประกอบกิริยาไล่ตามหรอื จบั สัตว์ ในการประกอบการแสดง
ใชใ้ นการแสดงโขน ตอนพระรามตามกวาง และในการประกอบพิธี ใช้ในพธิ ีจรดพระนงั คัลแรกนาขวัญ
และการบรรเลงเพลงทีป่ รากฏในโหมโรงกลางวนั

ห น ้ า | 10

เครอ่ื งแตง่ กายที่ใชป้ ระกอบการแสดง

เครื่องแต่งกายที่ใช้ประกอบการแสดงเพลงหนา้ พาทย์เชิดฉาน ประกอบด้วย เครื่องแตง่ กาย
ตัวละครพระราม และตัวละครกวางทอง แต่งกายในลักษณะยืนเครื่องพระแขนยาว ซึ่งสามารถ
จำแนกได้ ดังน้ี

เครอื่ งแตง่ กายตวั ละครพระราม ประกอบด้วย

ดอกไมท้ ดั และ ชฎายอด
อุบะ บวช

กรองคอ ทับทรวง
สงั วาล สไบ
เข็มขดั และหัวเขม็ ตาบทิศ
กำไลแผง
ปะวะหลำ่
แหวน หอ้ ยขา้ ง
ห้อยหนา้

กำไลเทา้ แหวนรอบ

ภาพที่ 1 เครือ่ งแตง่ กายตวั ละครพระราม (ด้านหนา้ )
ท่มี า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 11

ดอกไมเ้ พชร จอนหู
อินทรธนู กระบอกศร
ประจำยาม
เสือ้
ผ้านุง่
รดั สะเอว

คนั ศร

สนบั เพลา

ภาพท่ี 2 เครือ่ งแต่งกายตัวละครพระราม (ดา้ นหลงั )
ท่ีมา : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 12

เครื่องแตง่ กายตัวละครพระราม แบ่งจำแนกออกได้ ดังนี้
1) กำไลเทา้ เรียกอกี อย่างหน่งึ ว่ากำไลหัวบัว

ภาพท่ี 3 กำไลเท้า
ทม่ี า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.
2) แหวนรอบ ผแู้ สดงจะสวมทีข่ อ้ มอื และขอ้ เทา้

ภาพที่ 4 แหวนรอบ
ท่มี า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

3) สนบั เพลา

ภาพท่ี 5 สนบั เพลา
ที่มา : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 13

4) ผ้านุง่ เรียกอกี อยา่ งหน่งึ วา่ ภูษา หรอื พระภูษา

ภาพที่ 6 ผ้านุ่ง
ที่มา : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.
5) ห้อยขา้ ง เรียกอีกอยา่ งวา่ หนึง่ ว่าเจียระบาด หรือชายแครง

ภาพท่ี 7 ห้อยขา้ ง
ที่มา : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.
6) เสื้อ เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ ฉลององค์

ภาพท่ี 8 เส้อื
ทม่ี า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 14
7) รัดสะเอว เรียกอีกอย่างว่ารัดองค์

ภาพท่ี 9 รดั สะเอว
ทมี่ า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.
8) หอ้ ยหนา้ เรยี กอีกอย่างหนึ่งว่าชายไหว และในหอ้ ยหนา้ ประกอบด้วยสุวรรณกระถอบ

ภาพที่ 10 หอ้ ยหน้า
ทีม่ า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.
9) เขม็ ขัด และหวั เข็มขดั เรยี กอีกอย่างหนึ่งว่าปั้นเหนง่

หัวเขม็ ขัด หรอื ป้นั เหนง่

เข็มขดั

ภาพที่ 11 เข็มขดั และหวั เขม็ ขัด
ทม่ี า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 15

10) กรองคอ เรยี กอกี อยา่ งว่ากรองศอ

ภาพท่ี 12 กรองคอ
ที่มา : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

11) ทบั ทรวง

ภาพท่ี 13 ทบั ทรวง
ที่มา : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

12) อินทรธนู

ภาพที่ 14 อินทรธนู
ที่มา : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 16

13) สังวาล ประกอบด้วย ตาบทิศ และประจำยาม

ประจำยาม

ตาบทิศ

ภาพท่ี 15 สังวาล
ที่มา : นรีชล สวนสำราญ. 2564.
14) ชฎายอดบวช ประกอบดว้ ยดอกไมท้ ดั อุบะ ดอกไมเ้ พชร และจอนหู หรอื กรรเจยี กจร

ยอดบวช

ดอกไมท้ ดั ดอกไมเ้ พชร จอนหู
อบุ ะ หรอื กรรเจยี กจร

ภาพท่ี 16 ชฎายอดบวช
ทมี่ า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.
15) แหวน เรียกอีกอย่างหน่ึงว่าธำมะรงค์

ภาพท่ี 17 แหวน
ทม่ี า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 17

16) ปะวะหล่ำ

ภาพท่ี 18 ปะวะหล่ำ
ทม่ี า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.
17) กำไลแผง เรยี กอีกอย่างหนึง่ วา่ ทองกร

ภาพท่ี 19 กำไลแผง
ทมี่ า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

18) สไบ

ภาพท่ี 20 สไบ
ที่มา : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 18
19) กระบอกศร

ภาพที่ 21 กระบอกศร
ท่มี า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

20) คนั ศร

ภาพที่ 22 คนั ศร
ทม่ี า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 19

เครื่องแตง่ กายตัวละครกวางทอง ประกอบด้วย

ชฎายอดกวางทอง

ดอกไม้ทัดและอบุ ะ

กรองคอ ทบั ทรวง
สงั วาล ตาบทศิ
เข็มขดั และหัวเข็ม ปะวะหลำ่
กำไลแผง แหวน

ห้อยขา้ ง แหวนรอบ

หอ้ ยหน้า
กำไลเทา้

ภาพท่ี 23 เครอ่ื งแต่งกายตัวละครกวางทอง (ด้านหนา้ )
ทมี่ า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 20

ดอกไม้เพชร จอนหู
ประจำยาม เสอ้ื

ผ้านุง่ รดั สะเอว

สนับเพลา

ภาพที่ 24 เคร่อื งแตง่ กายตัวละครกวางทอง (ด้านหลัง)
ที่มา : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 21

เครือ่ งแต่งกายตัวละครกวางทอง แบ่งจำแนกออกได้ ดังน้ี
1) กำไลเท้า เรียกอีกอย่างหนงึ่ ว่ากำไลหวั บวั

ภาพท่ี 25 กำไลเทา้
ทีม่ า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.
2) แหวนรอบ ผ้แู สดงจะสวมที่ขอ้ มือ และข้อเทา้

ภาพท่ี 26 แหวนรอบ
ทม่ี า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

3) สนบั เพลา

ภาพท่ี 27 สนบั เพลา
ท่ีมา : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 22
4) ผ้านุ่ง เรยี กอกี อยา่ งหนึง่ วา่ ภูษา หรือพระภูษา

ภาพที่ 28 ผ้านงุ่
ทมี่ า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.
5) ห้อยขา้ ง เรยี กอีกอย่างวา่ หนึ่งว่าเจียระบาด หรือชายแครง

ภาพท่ี 29 ห้อยข้าง
ที่มา : นรีชล สวนสำราญ. 2564.
6) เสื้อ เรียกอีกอย่างหนงึ่ วา่ ฉลององค์

ภาพที่ 30 เสอ้ื
ทม่ี า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 23

7) รัดสะเอว เรยี กอีกอยา่ งวา่ รัดองค์

ภาพที่ 31 รัดสะเอว
ทีม่ า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.
8) หอ้ ยหนา้ เรียกอกี อย่างหนึ่งวา่ ชายไหว และในห้อยหนา้ ประกอบดว้ ยสวุ รรณกระถอบ

ภาพที่ 32 ห้อยหนา้
ทมี่ า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.
9) เขม็ ขัด และหวั เขม็ ขดั เรยี กอกี อย่างหนึง่ ว่าปั้นเหนง่

หวั เขม็ ขดั หรอื ปนั้ เหนง่

เข็มขดั

ภาพที่ 33 เขม็ ขดั และหวั เข็มขัด
ทม่ี า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 24
10) กรองคอ เรียกอกี อย่างวา่ กรองศอ

ภาพท่ี 34 กรองคอ
ทม่ี า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

11) ทับทรวง

ภาพที่ 35 ทับทรวง
ทีม่ า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.
12) สงั วาล ประกอบดว้ ย ตาบทิศ และประจำยาม

ประจำยาม

ตาบทศิ

ภาพที่ 36 สงั วาล
ทมี่ า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 25
13) ชฎายอดกวางทอง ประกอบดว้ ยดอกไมท้ ัด อุบะ ดอกไมเ้ พชร จอนหหู รือกรรเจียกจร

ดอกไมท้ ดั ยอดกวางทอง จอนหู
อบุ ะ ดอกไม้เพชร หรอื กรรเจียกจร

ภาพที่ 37 ชฎายอดกวางทอง
ท่มี า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.
14) แหวน เรียกอกี อย่างหนึง่ วา่ ธำมะรงค์

ภาพท่ี 38 แหวน
ที่มา : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

15) ปะวะหลำ่

ภาพที่ 39 ปะวะหล่ำ
ทมี่ า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 26
16) กำไลแผง เรยี กอกี อยา่ งหน่ึงว่าทองกร

ภาพท่ี 40 กำไลแผง
ที่มา : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 27

ดนตรที ใ่ี ช้ประกอบการแสดง

วงดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดง คือ วงปี่พาทย์ไม้แข็ง เช่น วงปี่พาทย์เครื่องห้า
วงปี่พาทย์เครื่องคู่ หรือวงปี่พาทย์เครือ่ งใหญ่ สามารถเลือกใช้ได้ตามโอกาสและความเหมาะสมของ
การแสดง

เพลงหน้าพาทย์เชิดฉานที่ใช้สำหรับการเรยี นการสอนรายวิชานาฏศิลป์ไทยโขนพระนั้นเปน็
เพลงหน้าพาทยท์ ีป่ รากฎในการแสดงโขน เรอ่ื งรามเกยี รต์ิ ชดุ พระรามตามกวาง ประกอบด้วย

ชว่ งที่ 1 ใชเ้ พลงเชิดฉาน สำหรบั ตวั ละครพระราม กำลังไล่ติดตามกวางทอง
ช่วงท่ี 2 ใชเ้ พลงลา
การแสดงพระรามตามกวางที่ใช้ในการแสดงโขน เรื่องรามเกียรติ์ ตอนลักสีดานั้นมีความ
แตกต่างในการใชเ้ พลงประกอบการแสดง กลา่ วคือ ในการแสดงโขน ประกอบดว้ ย
ชว่ งท่ี 1 ใช้เพลงรวั สำหรับตัวละครกวางทองออก
ช่วงที่ 2 ใช้เพลงแขกไทร มีบทร้องกล่าวถึง มารีศ (พระยายักษ์ ลูกของนาง
กากนาสรู ) แปลงกายเปน็ กวางทอง เพ่อื ไปลอ่ หลอกใหน้ างสีดาเกดิ ความรักใคร่
ชว่ งที่ 3 ใชเ้ พลงเชดิ ฉาน สำหรบั ตัวละครพระราม กำลังไลต่ ิดตามกวางทอง
ช่วงที่ 4 ใช้เพลงทะเลบ้า มีบทร้องกล่าวถึง กวางทองล่อหลอกพระราม ที่กำลังไล่
ติดตามต่อเนอื่ งจากเพลงเชิดฉาน
ชว่ งท่ี 5 ใชเ้ พลงรวั สำหรับตัวละครพระรามยงิ ศรถกู กวางทอง

ห น ้ า | 28

นาฏยศพั ท์ทีใ่ ชใ้ นเพลงหน้าพาทยเ์ ชดิ ฉาน

ท่านาฏยศพั ท์พน้ื ฐานทใ่ี ช้ในเพลงหน้าพาทย์เชิดฉาน ผู้สอนได้จำแนกท่านาฏยศัพท์ออกเป็น
2 ส่วน คือ ท่านาฏยศพั ท์สำหรับผ้แู สดงพระราม และทา่ นาฏศพั ท์สำหรับผแู้ สดงกวางทอง ดังนี้

ท่านาฏยศัพท์สำหรับผแู้ สดงพระราม
1. ท่ายนื

ภาพที่ 41 ทา่ ยนื
ทมี่ า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.
ท่ายืน ปฏิบัติได้ ดังนี้ ผู้แสดงยืนโดยวางเท้าขวาเต็มเท้า เท้าซ้ายวางด้วยจมูกเท้าเฉียง 45
องศา มือขวาถือคันศรตั้งระดับชายพก ยื่นออกมาด้านหน้าเล็กน้อย มือซ้ายวางฝ่ามือที่หน้าขา
งอแขนเล็กน้อย ศีรษะเอยี งขวา

ห น ้ า | 29

2. ทา่ กา้ วหน้า

ภาพที่ 42 ทา่ ก้าวหน้า
ทีม่ า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.
ท่าก้าวหนา้ ปฏบิ ัตไิ ด้ ดงั นี้ ผ้แู สดงก้าวเท้าข้างใดขา้ งหนึง่ ไปข้างหน้าแลว้ วางเต็มเท้า และเท้า
อีกขา้ งอยขู่ า้ งหลงั วางดว้ ยจมูกเทา้ พร้อมกบั เปิดสน้ เท้าหลงั เช่น ผแู้ สดงจะกา้ วเท้าขวา สามารถปฏิบัติ
โดยเท้าขวาก้าวไปขา้ งหนา้ แล้ววางเต็มเท้า พรอ้ มกบั เปิดส้นเท้าซา้ ย
3) ท่ายกเท้า

ภาพที่ 43 ท่ายกเทา้
ที่มา : นรีชล สวนสำราญ. 2564.
ทา่ ยกเท้า ปฏบิ ัตไิ ด้ ดงั น้ี ผ้แู สดงตอ้ งวางเท้าขา้ งใดข้างหนงึ่ เต็มเทา้ และเท้าอกี ข้างยกเท้าขึ้น
พร้อมกับหนีบน่อง และดันปลายเท้าขึ้น เช่น ผู้แสดงจะยกเท้าซ้าย สามารถปฏิบัติโดย วางเท้าขวา
เต็มเท้า เท้าซ้ายยกเท้าขึ้นพร้อมกับหนีบน่อง โดยส่วนมากท่ายกเท้าจะต่อเนื่องจากท่าก้ าวหน้า
แล้วกา้ วข้าง

ห น ้ า | 30
4) กา้ วขา้ ง

ภาพที่ 44 ทา่ กา้ วขา้ ง
ท่ีมา : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.
ท่าก้าวข้าง ปฏิบัติได้ ดังนี้ ผู้แสดงก้าวเท้าข้างใดข้างหนึ่งไปด้านข้าง ให้ปลายนิ้วหันไป
ดา้ นขา้ ง และถา่ ยนำ้ หนักตัวไปทางเท้าทีก่ า้ ว (เรยี กวา่ เท้าหน้า) เท้าอกี ขา้ งวางเฉียง 45 องศาพร้อมกับ
เปิดปลายเท้า (เรียกว่าเท้าหลัง) เช่น ผู้แสดงจะก้าวเท้าซ้าย สามารถปฏิบัติโดย เท้าซ้ายไปด้านข้าง
หันปลายเท้าไปทางซ้าย และแลถ่ายน้ำหนักตัวไปทางซ้าย เท้าขวาวางเฉียง 45 องศา พร้อมกับเปิด
ปลายเท้า
5) การย้อนตวั สามารถปฏิบัตไิ ด้ 3 จงั หวะ คือ
จังหวะที่ 1 ผู้แสดงก้าวขา้ ง พรอ้ มถ่ายน้ำหนกั ไปที่เทา้ หนา้

ภาพที่ 45 การยอ้ นตวั จังหวะที่ 1
ท่ีมา : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 31
จังหวะที่ 2 ลักษณะเทา้ ยังอยู่เหมอื นเดิม จากนัน้ ผูแ้ สดงต้องถ่ายนำ้ หนักไปที่เทา้ หลัง

ภาพที่ 46 การยอ้ นตวั จังหวะที่ 2
ทม่ี า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.
จังหวะท่ี 3 ผู้แสดงถา่ ยน้ำหนักไปท่เี ทา้ หน้าเชน่ เดิม

ภาพท่ี 47 การยอ้ นตัว จงั หวะที่ 3
ที่มา : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.
จะเหน็ ได้ว่า ลักษณะของการยอ้ นตัวน้นั เป็นทา่ ทส่ี บื เนื่องจากการก้าวข้าง โดยผู้แสดงต้องถ่าย
น้ำหนักตัวไปเทา้ หน้า และเทา้ หลังตามจงั หวะ

ห น ้ า | 32
6) การถือคันศร คอื การใชน้ ้วิ มอื ทั้ง 4 กำบรเิ วณช่วงกลางของคันศร และใชน้ ิว้ หวั แม่มอื ต้งั
กดประคองคันศรไว้ดว้ ย ในการรำเพลงหนา้ พาทย์เชิดฉานนั้นผแู้ สดงจะตอ้ งถอื คันศร 3 รปู แบบ คือ

แบบที่ 1 การถือคันศรแบบตั้งข้อมือ มี 2 ลักษณะ คือ ในลักษณะท่ายืน ปฏิบัติได้
ดงั นี้ มือขวาถือคันศรตัง้ ระดบั ชายพก ยน่ื ออกมาดา้ นหน้าเลก็ น้อย และในลกั ษณะท่าสอดสูง ปฏบิ ตั ิได้
ดังนี้ มือขวาถือคนั ศรตั้งมือแขนตงึ

ภาพท่ี 48 การถอื คันศรแบบตงั้ ขอ้ มอื (ในทา่ ยนื )
ที่มา : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

ภาพที่ 49 การถือคนั ศรแบบตง้ั ขอ้ มือ (ในทา่ สอดสงู )
ทม่ี า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 33
แบบที่ 2 การถอื คันศร แบบหงายมือพรอ้ มกบั หกั ข้อมือเข้าหาตนเอง ปฏิบตั ิได้ ดงั น้ี
มอื ขวาถอื คนั ศรหงายมอื แขนตึง พร้อมหักขอ้ มือเขา้ ตนเอง

ภาพท่ี 50 การถอื คันศรแบบหงายมือพรอ้ มกับหกั ขอ้ มอื เขา้ หาตนเอง
ที่มา : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

แบบที่ 3 การถือคันศรในลักษณะตั้งมือ (กดข้อมือลง) ปฏิบัติได้ ดังนี้ มือขวาถือ
คันศรต้งั มอื ให้หัวศรชขี้ ึ้นข้างบน แล้วกดขอ้ มอื ลง และใชน้ วิ้ หวั แม่มอื ตัง้ กดประคองคันศรไว้ดว้ ย

ภาพท่ี 51 การถือคันศรในลักษณะตง้ั มอื (กดขอ้ มือลง)
ทมี่ า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ห น ้ า | 34
ท่านาฏยศพั ท์สำหรับผูแ้ สดงกวางทอง
1) การทำมอื กวาง

ภาพท่ี 52 การทำมือกวาง
ท่ีมา : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.
การทำมือกวาง ปฏิบัติได้ ดังนี้ มือทั้งสองเหยียดนิ้วชี้ และนิ้วกลางให้ตึง นิ้วที่เหลือเก็บ
รวมกันกลางฝ่ามือ และใช้นิ้วหัวแม่มือกดทับนิ้วนางไว้ การเคลื่อนย้ายมือกวางโดยส่วนมากจะ
เคลอ่ื นย้ายไปควบคกู่ ับการก้าวเท้าให้สมั พันธก์ นั

ห น ้ า | 35

กระบวนท่ารำเพลงหน้าพาทยเ์ ชดิ ฉาน

ในการศึกษากระบวนท่ารำเพลงหน้าพาทย์เชิดฉาน ผู้เรียนจะต้องศึกษาทั้งของตัวละคร
พระราม และตัวละครกวางทอง โดยผู้สอนแบ่งท่ารำออกเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงเพลงเชิดฉาน และช่วง
เพลงลา ดังนี้

ภาพที่ 53 เชดิ ฉาน (ท่าที่ 1)
ท่ีมา : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ทำนองเพลง-บทรอ้ ง ท่ารำ
เชิดฉาน ผู้แสดงกวาง
- เท้าซ้ายก้าวข้าง นำ้ หนักอย่ทู เ่ี ท้าซา้ ย มอื ทง้ั สองทำมือกวาง ตง้ั มือคู่
กนั ระดับชายพก ยนื่ ออกมาดา้ นซ้ายเลก็ น้อย ศรี ษะเอียงขวา
ผแู้ สดงพระราม
- อยใู่ นท่ายืน มือขวาถอื คนั ศรตงั้ ระดบั ชายพก ย่ืนออกมาด้านหน้า
เล็กนอ้ ย มือซา้ ยวางฝ่ามอื ท่หี น้าขา งอแขนเล็กน้อย ศีรษะเอียงขวา

ห น ้ า | 36

ภาพที่ 54 เชดิ ฉาน (ท่าที่ 2 จงั หวะที่ 1)
ทีม่ า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ทำนองเพลง-บทร้อง ทา่ รำ
เชิดฉาน ผแู้ สดงกวาง
- เท้าซ้ายก้าวหน้า พรอ้ มกบั หมนุ ตวั ไปทางซ้ายมอื หนั ไปทางด้านหลัง
เวที เท้าขวาวางหลังเปิดสน้ เทา้ มอื ทงั้ สองทำมอื กวาง ต้ังมอื คูก่ ันระดับ
ชายพก ศรี ษะเอยี งขวา
ผู้แสดงพระราม
- เท้าขวากา้ วหน้า เทา้ ซ้ายวางหลังเปดิ ส้นเท้า มือขวาถือคันศรควำ่ มือ
งอแขน มือซา้ ยหงายมอื งอแขน แขนท้งั สองขา้ งอยเู่ ฉียงข้างลำตัว
ระดับเอว ศรี ษะเอยี งซ้าย

ห น ้ า | 37

ภาพที่ 3 เชิดฉาน (ท่าท่ี 2 จังหวะที่ 2)
ท่มี า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ทำนองเพลง-บทร้อง ทา่ รำ
เชดิ ฉาน ผแู้ สดงกวาง
- ยกเทา้ ขวาขึ้น มือทง้ั สองทำมือกวาง ต้งั มือคู่กนั ระดบั ชายพก ศีรษะ
เอยี งซา้ ย
ผ้แู สดงพระราม
- ยกเท้าซ้าย มอื ขวาถือคนั ศรพลกิ มือข้นึ ต้งั มอื งอแขนเฉยี งขา้ งลำตัว
ระดับไหล่ มอื ซ้ายตั้งวงลา่ งระดบั ชายพก ศรี ษะเอยี งซ้าย

ห น ้ า | 38

ภาพท่ี 4 เชดิ ฉาน (ทา่ ที่ 2 จังหวะที่ 3)
ท่มี า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ทำนองเพลง-บทรอ้ ง ทา่ รำ
เชดิ ฉาน ผแู้ สดงกวาง
- เทา้ ขวากา้ วขา้ ง น้ำหนักอยทู่ ี่เทา้ ขวา มือท้งั สองทำมือกวาง ตั้งมอื คู่
กนั ระดบั ชายพก ยน่ื ออกมาดา้ นขวาเลก็ นอ้ ย ศรี ษะเอียงซา้ ย
ผแู้ สดงพระราม
- เทา้ ซา้ ยก้าวขา้ ง นำ้ หนกั อยู่ท่เี ท้าซ้าย มือขวาถอื คันศรพลิกเป็นหงาย
มือแขนตงึ ระดบั ไหล่ มอื ซ้ายตง้ั วงล่างระดับชายพก ศรี ษะเอียงขวา

ห น ้ า | 39

ภาพท่ี 5 เชดิ ฉาน (ท่าที่ 2 จงั หวะท่ี 4)
ทม่ี า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ทำนองเพลง-บทร้อง ท่ารำ
เชิดฉาน ผ้แู สดงกวาง
- ถ่ายน้ำหนักมาที่เทา้ ซ้าย มือทั้งสองทำมือกวาง ตั้งมือคกู่ ันระดบั
ชายพก ยืน่ ออกมาด้านขวาเล็กน้อย ศรี ษะเอียงขวา
ผู้แสดงพระราม
- ถา่ ยน้ำหนักมาท่ีเทา้ ขวา มือขวาถือคนั ศรหงายมอื แขนตงึ ระดับไหล่
มือซ้ายตง้ั วงล่างระดบั ชายพก ศีรษะเอียงซ้าย

ห น ้ า | 40

ภาพท่ี 6 เชดิ ฉาน (ทา่ ที่ 2 จงั หวะที่ 5)
ทม่ี า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ทำนองเพลง-บทรอ้ ง ทา่ รำ
เชิดฉาน ผแู้ สดงกวาง
- ถ่ายนำ้ หนกั มาท่ีเทา้ ขวา มือทง้ั สองทำมอื กวาง ตั้งมอื คกู่ ันระดบั ชาย
พก ย่ืนออกมาดา้ นขวาเล็กน้อย ศรี ษะเอียงซา้ ย
ผแู้ สดงพระราม
- ถา่ ยนำ้ หนักมาท่ีเท้าซา้ ย มอื ขวาถือคนั ศรหงายมือแขนตงึ ระดบั ไหล่
มือซา้ ยตง้ั วงล่างระดับชายพก ศีรษะเอียงขวา

ห น ้ า | 41

ภาพท่ี 7 เชิดฉาน (ทา่ เดนิ จังหวะท่ี 1)
ทม่ี า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ทำนองเพลง-บทร้อง ทา่ รำ
เชดิ ฉาน ผูแ้ สดงกวาง
- เทา้ ซา้ ยก้าวหนา้ เท้าขวาวางหลงั เปดิ ส้นเท้า มอื ทัง้ สองทำมือกวาง ต้งั
มอื คู่กันระดบั ชายพก ยนื่ ออกมาดา้ นขวาเลก็ น้อย ศีรษะเอียงซา้ ย
ผูแ้ สดงพระราม
- เทา้ ขวากา้ วหนา้ เทา้ ซา้ ยวางหลังเปิดส้นเทา้ มือขวาถอื คนั ศรหงายมือ
แขนตึงระดบั ไหล่ มอื ซ้ายตั้งวงลา่ งระดับชายพก ศีรษะเอยี งขวา

ห น ้ า | 42

ภาพท่ี 8 เชิดฉาน (ท่าเดินจังหวะท่ี 2)
ทีม่ า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

ภาพท่ี 9 เชดิ ฉาน (ท่าเดนิ )
ที่มา : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ทำนองเพลง-บทรอ้ ง ทา่ รำ
เชิดฉาน ผแู้ สดงกวาง
- เทา้ ขวาก้าวข้าง น้ำหนักอยทู่ ่เี ท้าขวา มือทง้ั สองทำมือกวาง ต้งั มือคู่
กนั ระดับชายพก ศีรษะเอียงขวา (ลักษณะท่ากวางเดนิ ดง)

ห น ้ า | 43

ทำนองเพลง-บทรอ้ ง ทา่ รำ
เชดิ ฉาน ผู้แสดงพระราม
- เท้าซา้ ยก้าวขา้ ง น้ำหนกั อยู่ที่เท้าซ้าย มอื ขวาถือคันศรหงายมอื แขน
ตึงระดับไหล่ มอื ซา้ ยตัง้ วงลา่ ง ระดบั ชายพก ศีรษะเอียงซา้ ย

- ปฏิบัติจงั หวะที่ 1 – 2 สลบั กันทั้งหมด 25 ครง้ั พรอ้ มกบั เคลื่อนที่ดงั
แผนผัง ในกรณีท่ีถงึ ทีก่ ่อนหมดจงั หวะใหเ้ ปล่ยี นจากการก้าวข้างเป็น
การวางหลัง
- ครงั้ ท่ี 25 หมดจงั หวะท่ผี ้แู สดงกวางกา้ วหนา้ ดว้ ยเทา้ ซา้ ย ผแู้ สดง
พระรามก้าวหนา้ ดว้ ยเทา้ ขวา
- ลักษณะการเดิน : ผแู้ สดงกวางเดินนำหน้าผูแ้ สดงพระราม หนั หน้า
เขา้ หากัน อยเู่ ยือ้ งกนั เลก็ นอ้ ย หากผู้แสดงพระรามหนั หน้า และผแู้ สดง
กวางจะหนั หลงั ของเวที (ดังภาพท่ี 8) จากจุดที่ 1 ไปยังจดุ ท่ี 2 ผแู้ สดง
กวางจะเร่ิมตน้ จากหันด้านหลัง ส้ินสดุ ที่จดุ ท่ี 2 ผู้แสดงกวางจะ
ดา้ นหน้าของเวที (ดงั ภาพท่ี 9)

2

1
หนา้ เวที

หมายถงึ ผแู้ สดงกวาง
หมายถงึ ผู้แสดงพระราม

ห น ้ า | 44

ภาพที่ 10 เชดิ ฉาน (ท่าท่ี 3 จงั หวะที่ 1)
ท่มี า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ทำนองเพลง-บทร้อง ทา่ รำ
เชิดฉาน ผู้แสดงกวาง
- เทา้ ขวาก้าวหนา้ พร้อมกับหมุนตัวไปทางขวามือ หนั ไปทางด้านหลงั
เวที เท้าซา้ ยวางหลังเปดิ สน้ เท้า มอื ทงั้ สองทำมือกวาง ตงั้ มือคู่กนั ระดับ
ชายพก ยื่นออกมาดา้ นซ้ายเล็กน้อย ศีรษะเอียงซ้าย
ผู้แสดงพระราม
- เทา้ ซ้ายก้าวหนา้ เท้าขวาวางหลังเปิดส้นเทา้ มอื ขวาถอื คนั ศรหงายมือ
งอแขน ระดับชายพกยน่ื ออกมาด้านหน้าเลก็ นอ้ ย มอื ซา้ ยจีบสง่ หลงั
ศีรษะเอียงขวา

ห น ้ า | 45

ภาพท่ี 11 เชดิ ฉาน (ท่าท่ี 3 จังหวะที่ 2)
ที่มา : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

ทำนองเพลง-บทร้อง ทา่ รำ
เชิดฉาน ผู้แสดงกวาง
- เท้าขวายนื เต็มเทา้ ยกเท้าซ้ายข้นึ มือท้งั สองทำมอื กวาง ตง้ั มือคู่กัน
ระดับชายพก ยื่นออกมาด้านซ้ายเล็กนอ้ ย ศีรษะเอียงขวา
ผูแ้ สดงพระราม
- เท้าซา้ ยยนื เตม็ เท้า ยกเท้าขวาขน้ึ มอื ขวาถอื คันศรพลกิ ขึน้ ตงั้ มอื งอ
แขนระดบั ชายพก ยนื่ ออกมาดา้ นหน้าเล็กน้อย มือซา้ ยจบี สง่ หลงั
ศรี ษะเอียงขวา

ห น ้ า | 46

ภาพที่ 12 เชิดฉาน (ทา่ ที่ 3 จังหวะท่ี 3)
ทมี่ า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ทำนองเพลง-บทร้อง ทา่ รำ
เชิดฉาน ผู้แสดงกวาง
- เท้าซ้ายก้าวข้าง น้ำหนักอยทู่ ี่เท้าซา้ ย มือท้ังสองทำมือกวาง ตั้งมอื คู่
กนั ระดบั ชายพก ยนื่ ออกมาด้านซา้ ยเล็กน้อย ศรี ษะเอียงขวา
ผู้แสดงพระราม
- เท้าขวากา้ วขา้ ง น้ำหนกั อยทู่ ่ีเทา้ ขวา มือขวาถอื คนั ศรต้งั มือระดับชาย
พก ย่นื ออกมาด้านหน้าเล็กนอ้ ย มือซ้ายจบี สง่ หลัง ศรี ษะเอียงซา้ ย

ห น ้ า | 47

ภาพที่ 13 เชดิ ฉาน (ท่าที่ 3 จังหวะท่ี 4)
ท่มี า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

ทำนองเพลง-บทรอ้ ง ท่ารำ
เชดิ ฉาน ผแู้ สดงกวาง
- ถา่ ยน้ำหนักมาที่เท้าขวา มือทง้ั สองทำมือกวาง ต้ังมอื คกู่ ันระดับชาย
พก ยน่ื ออกมาด้านซา้ ยเล็กนอ้ ย ศรี ษะเอยี งซ้าย
ผแู้ สดงพระราม
- ถา่ ยนำ้ หนกั มาที่เทา้ ซ้าย มอื ขวาถือคันศรตั้งมือระดับชายพก ยืน่
ออกมาด้านหน้าเล็กนอ้ ย มอื ซา้ ยปลอ่ ยจบี แลว้ พลิกมือลงเปน็ หงายมือ
แขนตงึ จากนน้ั เดนิ มือข้นึ ระดับไหล่ ศีรษะเอยี งขวา

ห น ้ า | 48

ภาพที่ 14 เชดิ ฉาน (ท่าท่ี 3 จังหวะท่ี 5)
ทีม่ า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ทำนองเพลง-บทร้อง ทา่ รำ
เชดิ ฉาน ผแู้ สดงกวาง
- ถา่ ยน้ำหนักมาที่เท้าซ้าย มอื ท้ังสองทำมือกวาง ตั้งมอื คกู่ ันระดบั ชาย
พก ยนื่ ออกมาด้านซา้ ยเลก็ น้อย ศีรษะเอียงขวา
ผู้แสดงพระราม
- ถา่ ยน้ำหนักมาที่เท้าขวา มอื ขวาถือคนั ศรต้งั มอื ระดับชายพก ยน่ื
ออกมาดา้ นหนา้ เลก็ น้อย มอื ซา้ ยพลกิ มือข้ึนเปน็ ต้ังมือแขนตงึ ระดับไหล่
ศีรษะเอยี งซา้ ย

ห น ้ า | 49

ภาพท่ี 15 เชิดฉาน (ทา่ เดินจงั หวะที่ 1)
ทมี่ า : นรีชล สวนสำราญ. 2564.

ทำนองเพลง-บทรอ้ ง ทา่ รำ
เชิดฉาน ผ้แู สดงกวาง
- เท้าขวาก้าวหนา้ เทา้ ซา้ ยวางหลงั เปดิ สน้ เท้า มือทัง้ สองทำมอื กวาง ตัง้
มือค่กู นั ระดับชายพก ยนื่ ออกมาด้านซ้ายเล็กนอ้ ย ศีรษะเอียงขวา
ผแู้ สดงพระราม
- เทา้ ซา้ ยก้าวหน้า เท้าขวาวางหลงั เปิดส้นเทา้ มือขวาถือคันศรตง้ั ระดบั
ชายพก ยน่ื ออกมาดา้ นหน้าเลก็ น้อย มือซ้ายกดมือลงระดับเอว แลว้
พลิกมอื ลงเปน็ หงายมอื แขนตึงจากน้ันเดินมอื ขึน้ ระดับไหล่ ศีรษะเอียง
ซา้ ย

ห น ้ า | 50

ภาพท่ี 16 เชิดฉาน (ท่าเดนิ จงั หวะที่ 2)
ท่มี า : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ภาพท่ี 17 เชดิ ฉาน (ท่าเดิน)
ที่มา : นรชี ล สวนสำราญ. 2564.

ทำนองเพลง-บทร้อง ทา่ รำ
เชิดฉาน ผ้แู สดงกวาง
- เท้าซา้ ยก้าวข้าง น้ำหนกั อยู่ท่ีเท้าซ้าย มอื ทัง้ สองทำมอื กวาง ตั้งมอื คู่
กันระดบั ชายพก ยื่นออกมาด้านซา้ ยเล็กนอ้ ย ศรี ษะเอียงซ้าย (ลกั ษณะ
ทา่ กวางเดนิ ดง)


Click to View FlipBook Version