The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประชุม THIP (2 ต.ค.66)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Beautyful Thai, 2023-10-04 00:05:36

ประชุTHIP 1/67

ประชุม THIP (2 ต.ค.66)

การต่ออายุสมาชิก ระบบสารสนเทศเปรียบเทียบ วัดระดับคุณภาพโรงพยาบาล (THIP) ปี งป.67


ศูนย์คุณภาพ จะด าเนินการต่ออายุสมาชิก ระบบสารสนเทศเปรียบเทียบวัดระดับคุณภาพ โรงพยาบาล (THIP) ในปีงป. 67 ผ่านช่องทางออนไลน์https://thip.ha.or.th ระหว่างวันที่1-31ตุลาคม 2566


อัตราค่าบ ารุงสมาชิก ตามโครงการ THIP กลุ่มโรงพยาบาล อัตราค่าบ ารุงสมาชิก/ ปีงบประมาณ โรงพยาบาลซึ่งเป็นโรงเรียนแพทย์ โรงพยาบาลศูนย์ และโรงพยาบาลเอกชน 20,000 บาท โรงพยาบาลภาครัฐ ระดับโรงพยาบาลทั่วไปและ/ หรือเทียบเท่า 10,000 บาท โรงพยาบาลภาครัฐ ระดับโรงพาบาลชุมชน และ/ หรือเทียบเท่า 5,000 บาท


2015 2018 2021 2023 การด าเนินงาน ส น . เ ว ช ส ถิ ติ ทางการแพทย์ ผู้กรอกข้อมูล ตัวชี้วัด เจ้าหน้าที่ศูนย์ คุณภาพ ผู้บันทึกส่งข้อมูล เข้าระบบ หั ว ห น้ า ศู น ย์ คุณภาพ ผู้วิเคราะห์ข้อมูล และดูรายงาน เปรียบเทียบ แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในการด าเนินการ 3 ท่าน


ประชุมเตรียม ความพร้อม โดยเชิญ ผู้เกี่ยวข้องกับ ตัวชี้วัด (THIP) แต่งตั้ง ผู้ประสานงาน ในส่วนที่ เกี่ยวข้อง ท าความเข้าใจ ร่วมกัน ในค าจ ากัดความ ของตัวชี้วัดที่มี การเปลี่ยนแปลง ส่งข้อมูล ตัวชี้วัด ทาง E-mail ให้กับ สน.เวชสถิติทาง การแพทย์ ก าหนดส่ง ภายในวันที่ 12 ของทุกเดือน (หน่วยส่งให้สน. เวชสถิติทาง การแพทย์) และส่งข้อมูลของ เดือนที่ผ่านมา รูปแบบการด าเนินงาน


การส่งออกข้อมูลตัวชี้วัดของ THIP (รายเดือน) หน่วยส่งผล ตัวชี้วัดตาม รูปแบบที่ ก าหนดให้ สน. เวชสถิติทาง การแพทย์ ผู้กรอกข้อมูล (สน.เวชสถิติทางการแพทย์) ลงข้อมูลและบันทึก ข้อมูลในระบบภายใน วันที่ 22 ของทุกเดือน และประสานกับผู้บันทึก ส่งข้อมูล(ศูนย์คุณภาพ) เมื่อส่งข้อมูลเข้าระบบ ผู้บันทึกส่งข้อมูล (ศูนย์คุณภาพ) ตรวจสอบความถูก ต้องของข้อมูล ในแต่ ละตัวชี้วัดโดย วิเคราะห์ผลในแต่ละ เดือนและเทียบเคียง กับผลลัพธ์ที่ได้ใน เดือนก่อนหน้านี้ กรณีไม่พบ ความ คลาดเคลื่อน รายงานผู้ วิเคราะห์ข้อมูล และกดส่งข้อมูล


สอบถามจาก ผู้กรอกข้อมูล ในการส่ง ตัวเลขของ หน่วยเมื่อ พบความ คลาดเคลื่อน สอบถามข้อมูล จาก ผู้ประสานงาน ของหน่วย เพื่อให้ ตรวจสอบข้อมูล ใหม่อีกครั้ง กรณีหน่วยงาน ยืนยันตัวเลข เดิมประสาน ผู้บันทึกข้อมูล ไม่ต้อง ปรับเปลี่ยน ข้อมูล กรณีหน่วย ปรับแก้ตัวเลข ให้หน่วยงาน ส่งข้อมูลให้ ผู้กรอกข้อมูล ใหม่อีกครั้ง ทาง E-mail ด าเนินการตรวจสอบ ความถูกต้องของ ข้อมูลอีกครั้ง ถ้าไม่พบความ คลาดเคลื่อนรายงาน ผู้วิเคราะห์ข้อมูล และกดส่งข้อมูล กรณีพบความคลาดเคลื่อน ผู้บันทึกส่งข้อมูลเข้าระบบด าเนินการดังนี้


1. มีความส าคัญต่อคุณภาพของโรงพยาบาล 2. อ้างอิงได้ทางวิชาการ 3. มีประโยชน์ต่อกระบวนการพัฒนาคุณภาพ 4. มีองค์ประกอบที่มีคุณสมบัติในระดับที่ยอมรับได้ ส าหรับการตัดสินใจเชิงการ จัดการ 5. เป็นไปได้จริงและคุ้มค่าในการเก็บข้อมูลให้ได้ถูกต้อง 6. ค านึงผลกระทบต่อผู้ตัดสินใจและผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติงาน คุณลักษณะของตัวชี้วัดเปรียบเทียบ


1. กลุ่มตัวชี้วัดรายโรค ประกอบด้วย 10 หมวด 1.1 DH โรคหลอดเลือดหัวใจ (23 ตัวชี้วัด) 1.2 DN โรคหลอดเลือดสมอง (12 ตัวชี้วัด) 1.3 DR โรคทางเดินหายใจ (13 ตัวชี้วัด) 1.4 DC โรคเรื้อรัง (19 ตัวชี้วัด) 1.5 DO โรคกล้ามเนื้อและกระดูก (6 ตัวชี้วัด) 1.6 DG โรคระบบทางเดินอาหาร (4 ตัวชี้วัด) 1.7 DP โรคเกี่ยวกับเด็ก (1 ตัวชี้วัด) 1.8 DS โรคเกี่ยวกับผู้ติดยาและสารเสพติด (4 ตัวชี้วัด) 1.9 DE ศูนย์ความเป็นเลิศ (18 ตัวชี้วัด) 1.10 DM กลุ่มโรคสุขภาพจิต (10 ตัวชี้วัด) บัญชีตัวชี้วัดเปรียบเทียบ จ านวน 232 ตัวชี้วัด แบ่งเป็น 5 กลุ่ม


2. กลุ่มตัวชี้วัดกระบวนการดูแลผู้ป่วยที่ส าคัญ ประกอบด้วย 7 หมวด 2.1 CM การดูแลมารดาและทารก (19 ตัวชี้วัด) 2.2 CA การดูแลผู้ป่วยทางด้านวิสัญญี (5 ตัวชี้วัด) 2.3 CO การดูแลผู้ป่วยทางด้านการผ่าตัด (3 ตัวชี้วัด) 2.4 CG การดูแลผู้ป่วยทั่วไป (4 ตัวชี้วัด) 2.5 CE การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน (4 ตัวชี้วัด) 2.6 CI การดูแลผู้ป่วยวิกฤต (1 ตัวชี้วัด) 2.7 CP การดูแลผู้ป่วยจิตเวช (2 ตัวชี้วัด)


3.กลุ่มตัวชี้วัดระบบงานส าคัญ ประกอบด้วย 8 หมวด 3.1 SI ระบบควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ (9 ตัวชี้วัด) 3.2 SL ระบบการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ (1 ตัวชี้วัด) 3.3 SH ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (28 ตัวชี้วัด) 3.4 SF ระบบบริหารการเงินการคลัง (6 ตัวชี้วัด) 3.5 SC ระบบบริการประชาชน (6 ตัวชี้วัด) 3.6 SG ระบบอภิบาลองค์กร (1 ตัวชี้วัด) 3.7 SS ระบบการท าให้ปราศจาก (3 ตัวชี้วัด) 3.8 SM ระบบยา (3 ตัวชี้วัด)


4.กลุ่มตัวชี้วัดสร้างเสริมสุขภาพ ประกอบด้วย 5 หมวด 4.1 HE ตัวชี้วัดสร้างเสริมสุขภาพบุคลากร (6 ตัวชี้วัด) 4.2 HC ตัวชี้วัดสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มบริการลูกค้า (2 ตัวชี้วัด) 4.3 HD ตัวชี้วัดสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มโรค 4.4 HP ตัวชี้วัดสร้างเสร้างสุขภาพตามกลุ่มวัย 4.5 HH ตัวชี้วัดสร้างเสริมสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ (14 ตัวชี้วัด)


5.กลุ่มตัวชี้วัดกลุ่มโรคที่ควรรักษาแบบผู้ป่วยนอก ประกอบด้วย 1 หมวด 5.1 AA ตัวชี้วัดกลุ่มโรคที่ควรรักษาแบบผู้ป่วยนอก (5 ตัวชี้วัด)


สรุปผลตัวชี้วัด THIP ปี 66 (ต.ค.65 - ก.ค.66) THIP ปี 63 (62 ตัว) ปี 64 (62 ตัว) ปี 65 (61 ตัว) ปี 66 (47/61 ตัว) (ต.ค.65 - ก.ค.66) ผ่าน 37 (59.68%) 40 (64.52%) 43 (70.49%) 33 (70.21%) ไม่ผ่าน 25 (40.32%) 22 (35.48%) 18 (29.51%) 14 (29.79%)


ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด (ศูนย์หัวใจ) ปี 66 1.DH0101 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน(ACS) 2.DH0110 ร้อยละผู้ป่วยภาวะขาดเลือดเฉียบพลัน ชนิด ST segment ยกขึ้น (STEMI) ที่ได้รับ PPCI ภายใน 120 นาที หรือ Fibrinolytic Agent ภายใน 30 นาที เมื่อแรกรับ ผู้ประสาน : น.ท.หญิง สุพัตรา นุชกูล ชื่อตัวชี้วัด เป้า ผลลัพธ์ปี 63 ผลลัพธ์ปี 64 ผลลัพธ์ปี 65 ผลลัพธ์ปี 66 (ต.ค.65 - ก.ค.66) DH0101 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือด เฉียบพลัน < 10 % 7.64 (22/288) 7.90 (29/367) 9.65 (33/342) 12.90 (36/279) DH0110 ร้อยละผู้ป่วยภ าวะขาดเลือดเฉียบพลัน ชนิด ST segment ยกขึ้น (STEMI) ที่ได้รับ PPCI ภายใน 120 นาที หรือ Fibrinolytic Agent ภายใน 30 นาที เมื่อ แรกรับ (ปรับเมื่อปี 65) > 70 % 50.00 (6/12) 11.54 (3/26) 6.98 (3/43) 56.66 (17/30) (PPCI. 13/22) (SK. 4/8)


ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด (กลุ่มงานอายุรกรรม ) ปี66 1. DN0101 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วย stroke 2. DN0102 ร้อยละผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือด ที่ได้รับยาต้านเกล็ดเลือด ภายใน 2 วัน หลังเข้ารับการรักษาใน รพ.ฯ 3. DN0107 ร้อยละการรับกลับเข้าโรงพยาบาลของผู้ป่วย stroke ด้วยโรคหลอดเลือดสมองเดิม ภายใน 28 วันโดย ไม่ได้วางแผน 4. DN0110 ร้อยละผู้ป่วย Ischemic stroke ที่ได้รับ Thrombolytic Agents ภายใน 60 นาที เมื่อมาถึงโรงพยาบาล 5. DC0101 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานผู้ใหญ่ที่ควบคุมระดับน้ าตาลในเลือดได้ดี 6. DR0201 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยวัณโรคปอดในช่วง 12 เดือน 7. DR0202 ร้อยละของผู้ติดเชื้อเอชไอวี ได้รับการคัดกรองวัณโรคปอด 8. DR0203 ร้อยละความส าเร็จการรักษาวัณโรค 9.DR0205 ร้อยละผู้ป่วยวัณโรคที่มีผลเลือดเอชไอวีบวกได้รับการรักษาด้วย ART ผู้ประสาน : น.ท.หญิง อุทุมพร รูปเล็ก


ชื่อตัวชี้วัด เป้า ผลลัพธ์ปี 63 ผลลัพธ์ปี 64 ผลลัพธ์ปี 65 ผลลัพธ์ปี 66 (ต.ค.65 - ก.ค.66) DN0101 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วย stroke (2 หน่วย) ≤ 8 % (THIP) 14.31 (85/580) 15.02 (82/546) 15.51 (83/535) 10.90 (58/532) Med.25,Sx.33 DN0102 ร้อยละผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือด ที่ได้รับยาต้านเกล็ด เลือด ภายใน 2 วัน หลังเข้ารับการรักษาใน รพ.ฯ > 80 % (THIP) 100 (319/319) 100 (315/315) 97.61 (286/293) 100 (286/236) DN0107 ร้อยละการรับกลับเข้าโรงพยาบาลของผู้ป่วย stroke ด้วยโรคหลอดเลือดสมองเดิม ภายใน 28 วันโดย ไม่ได้ วางแผน (2 หน่วย) ≤ 2 % 4.89 (24/491) 3.30 (14/455) 5.24 (25/477) 2.14 (10/466) Med.10,Sx.0 DN0110 ร้อยละผู้ป่วย Ischemic stroke ที่ได้รับ Thrombolytic Agents ภายใน 60 นาที เมื่อมาถึง โรงพยาบาล > 65 % (THIP) 58.97 (23/39) 75.86 (22/29) 56.67 (17/30) 69.81 (37/53) DC0101 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานผู้ใหญ่ที่ควบคุมระดับน้ าตาล ในเลือดได้ดี > 40% ครั้งที่1 =27.69 (2,711/9,790) ครั้งที่ 2 = 18.56 (1,987/10,702) ครั้งที่1 =27.54 (1,097/3,984) ครั้งที่ 2 = 21.03 (2,202/10,470) ครั้งที่ 1 = 38.52 (4,202/10,908) ครั้งที่ 2 = 43.34 (4,499/10,382) ครั้งที่ 1 = 26.88 (3,109/11,567)


ชื่อตัวชี้วัด เป้า ผลลัพธ์ปี 63 ผลลัพธ์ปี 64 ผลลัพธ์ปี 65 ผลลัพธ์ปี 66 (ต.ค.65 - ก.ค.66) DR0201 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยวัณโรคปอดในช่วง 12 เดือน เริ่มเก็บปี 63 < 5 % 1.55 (2/129) 2.46 (3/122) 10.78 (11/102) รายปี DR0202 ร้อยละของผู้ติดเชื้อเอชไอวี ได้รับการคัดกรองวัณโรค ปอด เริ่มเก็บปี 63 100 % 100 (1,343/1,343) 100 (1,950/1,950) 100 (1784/1784) รายปี DR0203 ร้อยละความส าเร็จการรักษาวัณโรค เริ่มเก็บปี 63 > 80 % 54.26 (70/129) 81.97 (100/122) 50 (51/102) รายปี DR0205 ร้อยละผู้ป่วยวัณโรคที่มีผลเลือดเอชไอวีบวกได้รับ การรักษาด้วย ART เริ่มเก็บปี 63 100% 100 (14/14) 100 (14/14) 75 (3/4) รายปี


ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด (กลุ่มงานศัลยกรรม) ปี66 1. DH0201 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยที่ท า CABG 2. DH0203 ร้อยละการติดเชื้อแผลผ่าตัด CABG 3. DN0101 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วย stroke 4. DN0107 ร้อยละการรับกลับเข้าโรงพยาบาลของผู้ป่วย stroke ด้วยโรคหลอดเลือดสมองเดิม ภายใน 28 วัน โดยไม่ได้วางแผน 5. CO0101 ร้อยละของการใช้แบบตรวจสอบเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยเมื่อมารับการตรวจรักษาในห้องผ่าตัด 6. CO0105 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยผ่าตัดใน 24 ชั่วโมง 7. CO0107 ร้อยละการผ่าตัดซ้ า ผู้ประสาน : น.ต.หญิง สุนันทา แก้วค า


ชื่อตัวชี้วัด เป้า ผลลัพธ์ปี 63 ผลลัพธ์ปี 64 ผลลัพธ์ปี 65 ผลลัพธ์ปี 66 (ต.ค.65 - ก.ค.66) DH0201 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยที่ท า CABG ≤ 5 % 2.2 (2/90) 1.35 (1/74) 0 (0/99) 0 (0/50) DH0203 ร้อยละการติดเชื้อแผลผ่าตัด CABG ≤ 0.1 % 0 (0/90) 0 (0/74) 0 (0/99) 0 (0/50) DN0101 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วย stroke (2 หน่วย) ≤ 8 % (THIP) 14.31 (85/580) 15.02 (82/546) 15.51 (83/535) 10.90 (58/532) Med.25,Sx.33 DN0107 ร้อยละการรับกลับเข้าโรงพยาบาลของผู้ป่วย stroke ด้วยโรคหลอดเลือดสมองเดิม ภายใน 28 วันโดยไม่ได้วางแผน (2 หน่วย) ≤ 2 % 4.89 (24/491) 3.30 (14/455) 5.24 (25/477) 2.14 (10/466) Med.10,Sx.0


ชื่อตัวชี้วัด เป้า ผลลัพธ์ปี 63 ผลลัพธ์ปี 64 ผลลัพธ์ปี 65 ผลลัพธ์ปี 66 (ต.ค.65 - ก.ค.66) CO0101 ร้อยละของการใช้แบบตรวจสอบเพื่อความ ปลอดภัยของผู้ป่วยเมื่อมารับการตรวจรักษาใน ห้องผ่าตัด (6 หน่วย) 100 % เริ่มปี63 97.75 (8,174/8,362) 100 (6,398/6,398) 100 (7243,/7,243) 100 (7,524/7,524) CO0105 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยผ่าตัดใน 24 ชั่วโมง (6 หน่วย) < 0.02 % 0 (0/6,981) 0.02 (1/5,129) 0 (0/5,993) 0 (0/6,276) CO0107 ร้อยละการผ่าตัดซ้ า (6 หน่วย) 0 % 0.17 (15/8,764) 0.05 (3/6,361) 0.97 (7/7,243) 0.22 (17/7,393) Eye.10,Sx.4,สูติ.3


ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด (กลุ่มงานศัลยกรรมกระดูก) ปี 66 1. DO0202 ร้อยละของผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก ได้รับ prophylactic antibiotic 2. DO0205 ร้อยละการติดเชื้อแผลผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกภายใน 90 วัน 3. DO0302 ร้อยละของผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า ได้รับ prophylactic antibiotic 4. DO0304 ร้อยละการติดเชื้อในข้อเข่าหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าภายใน 90 วัน 5. CO0101 ร้อยละของการใช้แบบตรวจสอบเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยเมื่อมารับการตรวจรักษาในห้อง ผ่าตัด 6. CO0105 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยผ่าตัดใน 24 ชั่วโมง 7. CO0107 ร้อยละการผ่าตัดซ้ า ผู้ประสาน : น.ท.หญิง เพ็ญแข สุขวณิช


ชื่อตัวชี้วัด เป้า ผลลัพธ์ปี 63 ผลลัพธ์ปี 64 ผลลัพธ์ปี 65 ผลลัพธ์ปี 66 (ต.ค.65 - ก.ค.66) DO0202 ร้อยละของผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก ได้รับ prophylactic antibiotic (ภายใน 1 ชั่วโมง ก่อนลงมีดผ่าตัด) 100 % 98.48 (65/66) 98.31 (58/59) 93.94 (62/66) 94.64 (53/56) DO0205 ร้อยละการติดเชื้อแผลผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกภายใน 90 วัน < 1 % 0 (0/55) 0 (0/76) 0 (0/52) 0 (0/62) DO0302 ร้อยละของผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า ได้รับ prophylactic antibiotic (ภายใน 1 ชั่วโมง ก่อนลงมีดผ่าตัด) 100 % 91.11 (123/135) 95.38 (62/65) 78.72 (37/47) 92.02 (150/163) DO0304 ร้อยละการติดเชื้อในข้อเข่าหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าภายใน 90 วัน < 1 % 0 (0/129) 0 (0/108) 0 (0/24) 0 (0/127)


ชื่อตัวชี้วัด เป้า ผลลัพธ์ปี 63 ผลลัพธ์ปี 64 ผลลัพธ์ปี 65 ผลลัพธ์ปี 66 (ต.ค.65 - ก.ค.66) CO0101 ร้อยละของการใช้แบบตรวจสอบเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย เมื่อมารับการตรวจรักษาในห้องผ่าตัด (6 หน่วย) 100 % เริ่มปี63 97.75 (8,174/8,362) 100 (6,398/6,398) 100 (7,243/7,243) 100 (7,524/7,524) CO0105 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยผ่าตัดใน 24 ชั่วโมง (6 หน่วย) < 0.02 % 0 (0/6,981) 0.02 (1/5,129) 0 (0/5,993) 0 (0/6,276) CO0107 ร้อยละการผ่าตัดซ้ า (6 หน่วย) 0 0.17 (15/8,764) 0.05 (3/6,361) 0.97 (7/7,243) 0.22 (17/7,393) Eye.10,Sx.4, สูติ.3


ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด (กลุ่มงานจักษุกรรม) ปี66 1. DC0103 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองเบาหวานเข้าจอประสาทตา 2. CO0101 ร้อยละของการใช้แบบตรวจสอบเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยเมื่อมารับการตรวจรักษาในห้อง 3. CO0105 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยผ่าตัดใน 24 ชั่วโมง 4. CO0107 ร้อยละการผ่าตัดซ้ า ผู้ประสาน : น.ท.หญิง ณฐมน วรรณดิลก


ชื่อตัวชี้วัด เป้า ผลลัพธ์ปี 63 ผลลัพธ์ปี 64 ผลลัพธ์ปี 65 ผลลัพธ์ปี 66 (ต.ค.65 - ก.ค.66) DC0103 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการ คัดกรองเบาหวานเข้าจอประสาทตา ≥ 60 % 48.77 (6,116/12,538) 32.3 (5,265/13,742) 70.05 (6,611/94,385) รายปี CO0101 ร้อยละของการใช้แบบตรวจสอบเพื่อ ความปลอดภัยของผู้ป่วยเมื่อมารับการ ตรวจรักษาในห้องผ่าตัด (6 หน่วย) 100 % เริ่มปี63 97.75 (8,174/8,362) 100 (6,398/6,398) 100 (7243,/7,243) 100 (7,524/7,524) CO0105 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยผ่าตัดใน 24 ชั่วโมง (6 หน่วย) < 0.02 % 0 (0/6,981) 0.02 (1/5,129) 0 (0/5,993) 0 (0/6,276) CO0107 ร้อยละการผ่าตัดซ้ า (6 หน่วย) 0 0.17 (15/8,764) 0.05 (3/6,361) 0.97 (7/7,243) 0.22 (17/7,393) Eye.10,Sx.4,สูติ.3


ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด (กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม) ปี 66 1. CM0101 สัดส่วนการตายของมารดาจาการตั้งครรภ์ และ/หรือการคลอด (ต่อแสนทารกเกิดมีชีพ) 2. CM0107 ร้อยละการตกเลือดหลังคลอดเฉียบพลันกรณีคลอดทางช่องคลอด 3. CM0109 ร้อยละการชักขณะตั้งครรภ์ คลอดหรือหลังคลอด 4. CM0205 อัตราการขาดออกซิเจนรุนแรงในทารกแรกเกิด 5. CO0101 ร้อยละของการใช้แบบตรวจสอบเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยเมื่อมารับการตรวจรักษาในห้องผ่าตัด 6. CO0105 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยผ่าตัดใน 24 ชั่วโมง 7. CO0107 ร้อยละการผ่าตัดซ้ า ผู้ประสาน : น.ท.หญิง รัชดา วิมุกตะลพ


ชื่อตัวชี้วัด เป้า ผลลัพธ์ปี 63 ผลลัพธ์ปี 64 ผลลัพธ์ปี 65 ผลลัพธ์ปี 66 (ต.ค.65 - ก.ค.66) CM0101 สัดส่วนการตายของมารดาจาการตั้งครรภ์ และ/หรือการคลอด (ต่อแสนทารกเกิดมีชีพ) < 15 0 (0/2,307) 0 (0/1,606) 0 0/1124 รายปี CM0107 ร้อยละการตกเลือดหลังคลอดเฉียบพลันกรณี คลอดทางช่องคลอด < 2 % 0.51 (8/1,568) 0.94 (10/1,068) 0.84 (6/713) 0.96 (8/828) CM0109 ร้อยละการชักขณะตั้งครรภ์ คลอดหรือหลัง คลอด 0 % 0 (0/2,342) 0 (0/1,690) 0 (0/1,158) 0.07 (1/1,409) CM0205 อัตราการขาดออกซิเจนรุนแรงในทารกแรกเกิด < 5:1000 ทารกเกิดมี ชีพ 0.87 (2/2,307) 0 (0/1,606) 0.89 (1/1,124) 0 0/1,353)


ชื่อตัวชี้วัด เป้า ผลลัพธ์ปี 63 ผลลัพธ์ปี 64 ผลลัพธ์ปี 65 ผลลัพธ์ปี 66 (ต.ค.65 - ก.ค.66) CO0101 ร้อยละของการใช้แบบตรวจสอบเพื่อ ความปลอดภัยของผู้ป่วยเมื่อมารับการ ตรวจรักษาในห้องผ่าตัด (6 หน่วย) 100 % เริ่มปี63 97.75 (8,174/8,362) 100 (6,398/6,398) 100 (7243,/7,243) 100 (7,524/7,524) CO0105 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยผ่าตัดใน 24 ชั่วโมง (6 หน่วย) < 0.02 % 0 (0/6,981) 0.02 (1/5,129) 0 (0/5,993) 0 (0/6,276) CO0107 ร้อยละการผ่าตัดซ้ า (6 หน่วย) 0 0.17 (15/8,764) 0.05 (3/6,361) 0.97 (7/7,243) 0.22 (17/7,393) Eye.10,Sx.4,สูติ.3


ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด (กลุ่มงานกุมารเวชกรรม) ปี 66 1. CM0202 อัตราการตายปริก าเนิด (อายุครรภ์ตั้งแต่ 28 สัปดาห์) 2. CM0203 อัตราการตายของทารกแรกเกิด 3. CM0207 ร้อยละการเสียชีวิตในโรงพยาบาลของทารกแรกเกิดน้ าหนักต่ ากว่า 1,000 กรัม ภายใน 28 วัน 4. CM0208 ร้อยละการเสียชีวิตใน รพ. ของทารกแรกเกิดน้ าหนัก 1,000 – 1,499 กรัม ภายใน 28 วัน 5. CM0209 ร้อยละการเสียชีวิตใน รพ. ของทารกแรกเกิดน้ าหนัก 1500 – 2499 กรัม ภายใน 28 วัน ผู้ประสาน : น.ต.หญิง นิภาพรรณ ยิ้มถนอม


ชื่อตัวชี้วัด เป้า ผลลัพธ์ปี 63 ผลลัพธ์ปี 64 ผลลัพธ์ปี 65 ผลลัพธ์ปี 66 (ต.ค.65 - ก.ค.66) CM0202 อัตราการตายปริก าเนิด (อายุครรภ์ตั้งแต่ 28 สัปดาห์) ≤ 4 ต่อ 1000 ทารกคลอด 1.30 (3/2,308) 1.24 (2/1,608) 0 (0/1,124) 2.21 (3/1,353) CM0203 อัตราการตายของทารกแรกเกิด ≤ 6 ต่อ 1000 ทารกมีชีพ 1.30 (3/2,307) 1.89 (3/1,606) 0 (0/1,124) 4.43 (6/1,353) CM0207 ร้อยละการเสียชีวิตในโรงพยาบาลของทารกแรก เกิดน้ าหนักต่ ากว่า 1,000 กรัม ภายใน 28 วัน < 50 % 0 (0/2) 50 (1/2) 0 (0/0) 0 (0/0) CM0208 ร้อยละการเสียชีวิตใน รพ. ของทารกแรกเกิด น้ าหนัก 1,000 – 1,499 กรัม ภายใน 28 วัน < 10 % 0 (0/4) 0 (0/7) 0 (0/2) 0 (0/5) CM0209 ร้อยละการเสียชีวิตใน รพ. ของทารกแรกเกิด น้ าหนัก 1500 – 2499 กรัม ภายใน 28 วัน < 2 % 1.70 (3/176) 0 (0/116) 0 (0/79) 1.78 (2/112)


ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด (กลุ่มงานวิสัญญีกรรม) ปี 66 1. CA0101 อัตราการเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นระหว่างผ่าตัดในผู้ป่วยที่มีระดับ ASA physical status I,II ก่อน ผ่าตัด 2. CA0104 ร้อยละของผู้ป่วยได้รับการใส่ท่อหายใจซ้ าภายใน 2 ชั่วโมงหลังการถอดท่อหายใจ* ผู้ประสาน : ร.อ.หญิง อรทัย คงชนะ เปลี่ยนเป็น น.ต.หญิง นฤมล สง่ารักษ์ ชื่อตัวชี้วัด เป้า ผลลัพธ์ปี 63 ผลลัพธ์ปี 64 ผลลัพธ์ปี 65 ผลลัพธ์ปี 66 (ต.ค.65 - ก.ค.66) CA0101 อัตราการเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น ระหว่างผ่าตัดในผู้ป่วยที่มีระดับ ASA physical status I,II ก่อนผ่าตัด 0 ต่อ 10,000 ราย 0 (0/4,029) 0 (0/2,858) 0 (0/3,165) 0 (0/3,327) CA0104 ร้อยละของผู้ป่วยได้รับการใส่ท่อ หายใจซ้ าภายใน 2 ชั่วโมงหลังการ ถอดท่อหายใจ* 0 ต่อ 100 ราย 0.23 (6/2,581) 0.14 (3/2,074) 0 (0/2,135) 0.13 (3/2,280)


ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด (กลุ่มงานทันตกรรม) ปี 66 1. CO0101 ร้อยละของการใช้แบบตรวจสอบเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยเมื่อมารับการตรวจรักษาในห้องผ่าตัด 2. CO0105 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยผ่าตัดใน 24 ชั่วโมง 3. CO0107 ร้อยละการผ่าตัดซ้ า ผู้ประสาน : น.ต.ยุทธชัย โชติโก ชื่อตัวชี้วัด เป้า ผลลัพธ์ปี 63 ผลลัพธ์ปี 64 ผลลัพธ์ปี 65 ผลลัพธ์ปี 66 (ต.ค.65 - ก.ค.66) CO0101 ร้อยละของการใช้แบบตรวจสอบเพื่อความ ปลอดภัยของผู้ป่วยเมื่อมารับการตรวจ รักษาในห้องผ่าตัด (6 หน่วย) 100 % 97.75 (8,174/8,362) 100 (6,398/6,398) 100 (7243/7243) 100 (7524/7524) CO0105 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยผ่าตัดใน 24 ชั่วโมง (6 หน่วย) < 0.02 % 0 (0/6,981) 0.02 (1/5,129) 0 (0/5,993) 0 (0/6,276) CO0107 ร้อยละการผ่าตัดซ้ า (6 หน่วย) 0 0.17 (15/8,764) 0.05 (3/6,361) 0.97 7/7243 0.22 (17/7,393) Eye.10,Sx.4,สูติ.3


ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด (กลุ่มงานโสต ศอ นาสิกกรรม) ปี 66 1. CO0101 ร้อยละของการใช้แบบตรวจสอบเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยเมื่อมารับการตรวจรักษาในห้องผ่าตัด 2. CO0105 ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยผ่าตัดใน 24 ชั่วโมง 3. CO0107 ร้อยละการผ่าตัดซ้ า 4. DE1601 ร้อยละของทารกแรกเกิดที่ได้รับการตรวจคัดกรองการได้ยิน ภายใน 30 วัน ผู้ประสาน : พ.จ.อ.หญิง พีรญา ค าเงิน ชื่อตัวชี้วัด เป้า ผลลัพธ์ปี 63 ผลลัพธ์ปี 64 ผลลัพธ์ปี 65 ผลลัพธ์ปี 66 (ต.ค.65 - ก.ค.66) CO0101 ร้อยละของการใช้แบบตรวจสอบเพื่อความ ปลอดภัยของผู้ป่วยเมื่อมารับการตรวจรักษา ในห้องผ่าตัด (6 หน่วย) 100 % เริ่มปี63 97.75 (8,174/8,362) 100 (6,398/6,398) 100 (7243/7243) 100 (7524/7524) CO0105 อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยผ่าตัดใน 24 ชั่วโมง (6 หน่วย) < 0.02 % 0 (0/6,981) 0.02 (1/5,129) 0 (0/5,993) 0 (0/6,276) CO0107 อัตราการผ่าตัดซ้ า (6 หน่วย) 0 0.17 (15/8,764) 0.05 (3/6,361) 0.97 7/7243 0.22 (17/7,393) Eye.10,Sx.4,สูติ.3 DE1601 ร้อยละของทารกแรกเกิดที่ได้รับการตรวจคัด กรองการได้ยิน ภายใน 30 วัน >90% เริ่มปี66 รายปี


ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด (ฝ่ายการพยาบาล) ปี 66 1. CG0101 อัตราการเกิดแผลกดทับในโรงพยาบาล 2. CG0102 อัตราการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง 3. SC0102 ร้อยละความพึงพอใจของผู้ป่วยใน (ภาพรวม) ผู้ประสาน : น.อ.หญิง ปนัดดา บ ารุง เปลี่ยนเป็น น.ท.หญิง อัฐนิจสา ไม้แก้วธนวัฒน์ ชื่อตัวชี้วัด เป้า ผลลัพธ์ปี 63 ผลลัพธ์ปี 64 ผลลัพธ์ปี 65 ผลลัพธ์ปี 66 (ต.ค.65 - ก.ค.66) CG0101 อัตราการเกิดแผลกดทับ < 3 ต่อ 1000 วันนอน 1.05 (125/119,029) 0.58 (72/124,379) 0.69 (64/101,359) 0.78 (66/84,501) CG0102 อัตราการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยง < 10 ครั้ง/1000 วันนอน 5.12 (238/46,488) 3.37 (148/43,910) 3.25 (130/42,813) 3.49 (128/36,638) SC0102 ร้อยละความพึงพอใจของผู้ป่วยใน (ภาพรวม) > 95 % ครั้งที่1 = 99.15 (350/353) ครั้งที่ 2 = 99.73 (364/365) ครั้งที่1 = 98.25 (280/285) ครั้งที่ 2 = N/A ครั้งที่1 = NA ครั้งที่2 = 99.28 (277/279) ครั้งที่1 = 96.59 (397/285)


ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด (กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน) ปี 66 1. CE0101 ร้อยละผู้ป่วยห้องฉุกเฉิน ที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิตได้รับยาต้านจุลชีพ ภายใน 3 ชั่วโมง 2. CE0104 ร้อยละผู้ป่วยห้องฉุกเฉิน ที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิตได้รับยาต้านจุลชีพ ภายใน 1 ชั่วโมง ผู้ประสาน : ร.ท.หญิง ศาธิยา มุ่งอิน ชื่อตัวชี้วัด เป้า ผลลัพธ์ปี 63 ผลลัพธ์ปี 64 ผลลัพธ์ปี 65 ผลลัพธ์ปี 66 (ต.ค.65 - ก.ค.66) CE0101 ร้อยละผู้ป่วยห้องฉุกเฉิน ที่มีภาวะติดเชื้อ ในกระแสโลหิตได้รับยาต้านจุลชีพ ภายใน 3 ชั่วโมง ปี66 ปรับเป้า >80% >70 % >80% 94.67 (391/413) 83.29 (1,206/1,448) 82.95 (1,294/1,560) 82.02 (1,214/1,480) CE0104 ร้อยละผู้ป่วยห้องฉุกเฉิน ที่มีภาวะติดเชื้อ ในกระแสโลหิตได้รับยาต้านจุลชีพ ภายใน 1 ชั่วโมง 100% 75.25 (76/101) 82.87 (150/181) 75.33 (113/150) 79.08 (121/153)


ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด (แผนกป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ ใน รพ.ฯ) ปี 66 1. SI0101 อัตราการติดเชื้อปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ (ภาพรวม) 2. SI0102 อัตราการติดเชื้อปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ ของผู้ป่วยใน ICU 3. SI0103 อัตราการติดเชื้อปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ ของผู้ป่วยนอก ICU 4. SI0201 อัตราการติดเชื้อในกระแสเลือดจากการคาสายสวนหลอดเลือดส่วนกลาง 5. SI0202 อัตราการติดเชื้อในกระแสเลือดจากการคาสายสวนหลอดเลือดส่วนกลาง ของผู้ป่วยใน ICU 6. SI0203 อัตราการติดเชื้อในกระแสเลือดจากการคาสายสวนหลอดเลือดส่วนกลาง ของผู้ป่วยนอก ICU 7. SI0301 อัตราการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะ 8. SI0302 อัตราการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะของผู้ป่วยใน ICU 9. SI0303 อัตราการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะของผู้ป่วยนอก ICU ผู้ประสาน : น.ท.หญิง อังสุมาลิน ศรีจรูญ


Click to View FlipBook Version