The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรชั้นเรียนรายวิชา IS1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปลงซะ ทำดีได้ดี, 2021-05-18 23:43:30

หลักสูตรชั้นเรียนรายวิชา IS1

หลักสูตรชั้นเรียนรายวิชา IS1

Keywords: หลักสูตรชั้นเรียน,IS1,การสอนออนไลน์

นางสาวสุพรรณี ขาวงาม
ตำแหน่ง ครู วิทยฐำนะ ครูชำนำญกำร

โรงเรยี นจอมพระประชาสรรค์
สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุรินทร์

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

Research and Knowledge Formation Page… ก

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page… ข

คำนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 และได้
กำหนดมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชว้ี ัดกล่มุ สาระการเรียนรู้ตา่ งๆ เพ่ือให้สถานศึกษานำไปใชเ้ ป็นกรอบทศิ ทาง
ในการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสตู รการเรยี นการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากลกำหนดเปา้ หมายในการ
พัฒนาผเู้ รียนให้เทยี บเคยี งมาตรฐานสากล โดยครผู ู้สอนสามารถนำกรอบของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้
พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 และหลักสูตรการเรยี นการสอนโรงเรยี นมาตรฐานสากลเพ่ือมาออกแบบ วางแผน
จดั การเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ พือ่ พัฒนาผู้เรียนให้มคี วามรูค้ วามสามารถ และคุณลกั ษณะ
อันพงึ ประสงค์ตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ชว้ี ัดหรอื เป้าหมายท่ีกำหนดใหพ้ ร้อมทั้งดำเนินการวัด
ประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผเู้ รียนให้มคี ุณภาพตามหลักการของหลกั สตู ร เพอ่ื ให้เกดิ ผลสำเรจ็ ตามเจตนารมณ์
ของการปฏริ ูปการศึกษาไทย

ดังน้นั ขนั้ ตอนการนำหลักสูตรสถานศกึ ษาไปปฏิบัตจิ ริงในชัน้ เรยี นของครูผสู้ อน จึงจัดเปน็ หัวใจสำคญั
ของการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนให้บรรลุตามเปา้ หมายของหลักสูตร ผจู้ ัดทำจึงจดั ทำหลักสูตรช้ันเรียนรายวชิ า
การศึกษาคน้ คว้าและสรา้ งองคค์ วามรู้ รหัสวิชา I30201 ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามหลกั สูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลกั สตู รการเรียนการสอนโรงเรยี นมาตรฐานสากล ซง่ึ เปน็
หลักสตู รท่สี ง่ เสริม ปลกู ฝัง และพัฒนาผู้เรียนทงั้ ด้านรา่ งกาย ความรู้ คุณธรรม มจี ติ สำนึกในความเป็น
พลเมอื งไทยและพลเมืองโลก พัฒนาสอดคล้องกบั ทักษะที่จำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 และพระบรมราโชบาย ใน
หลวงรชั กาลที่ 10 ด้านการศึกษา โดยมงุ่ เน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้โดยใชห้ ลกั การ
จดั การเรียนรู้เชงิ รกุ (Active learning) ซ่งึ เปน็ การเรยี นรทู้ ี่ผเู้ รียนไดม้ ีส่วนในการลงมือกระทำ เป็นการจัดการ
เรียนรูท้ ี่ครผู ู้สอนจัดการเรยี นรูโ้ ดยผ้เู รียนมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมตา่ ง ๆ ประเมินผลตามสภาพจรงิ ตามเนื้อหาที่
เรียนและแสดงออกในกระบวนการเรยี นรู้ ไดล้ งมือคิด ลงมือทำ ไดอ้ ภิปรายร่วมกบั เพื่อนและครู ส่งเสริมให้
ผูเ้ รียนมีความตน่ื ตวั ตอ่ การเรียนรู้ และสรา้ งความกระตือรือรน้ ดา้ นการรู้คดิ ในการวางแผนและจัดการเรียนรู้
ทส่ี อดคล้องตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 และหลักสูตรการเรยี นการสอน
โรงเรียนมาตรฐานสากล กลา่ วคือ สอดคล้องดา้ นการกำหนดเนือ้ หา เวลา กิจกรรมการเรียนรู้ ส่อื การ
เรยี นรู้/อปุ กรณ์ แหล่งเรียนรู้ และการวดั ประเมนิ ผล

นอกจากน้ี ในการดำเนินการจัดทำหลักสูตรชัน้ เรยี นรายวชิ าการศึกษาคน้ ควา้ และสรา้ งองค์ความรู้
รหัสวิชา I30201 ผ้จู ดั ทำยงั ดำเนินการจัดทำหลักสูตรช้ันเรยี นโดยใชก้ ระบวนการ PDCA-CPS เพอ่ื ให้
ครผู สู้ อนใชเ้ ปน็ แนวทางในการวางแผนจัดการเรยี นรู้แกผ่ ู้เรียน โดยจัดทำเป็นหน่วยการเรยี นรอู้ ิงมาตรฐานและ
ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามแนวคิดการออกแบบย้อนกลบั (Backward Design) ท่ีมุ่งเน้นกระบวนการคดิ
และการประกันคณุ ภาพผูเ้ รียน ชว่ ยให้ผปู้ กครองและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา
สามารถม่ันใจในจดุ มุ่งหมาย ผลการเรียนรู้และคุณภาพของผเู้ รียนทม่ี ีหลกั ฐานตรวจสอบผลการเรียนรู้อยา่ ง
เปน็ ระบบ

สพุ รรณี ขาวงาม

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page… ค

สารบัญ

เรื่อง หนา้
ประกาศโรงเรียน ก
คำนำ ข
สารบัญ ค
วสิ ัยทัศนห์ ลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 1
หลักการของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 1
จดุ หมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 1
สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น 2
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3
วสิ ยั ทัศนโ์ รงเรียนจอมพระประชาสรรค์ 3
วิสัยทัศน์กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย 3
หลกั สตู รการเรยี นการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล 3
คณุ ลักษณะและศักยภาพผู้เรียนที่เป็นสากล 3
คณุ ภาพผู้เรียน ดา้ นการศึกษาคน้ ควา้ และสรา้ งองค์ความรู้ (Communication and Presentation) 4
ทักษะทีจ่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 และพระบรมราโชบาย ในหลวงรชั กาลที่ 10 ดา้ นการศึกษา 4
ทักษะชีวิตท่สี ำคญั สำหรับผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 5
แนวคดิ การเรยี นร้เู ชงิ รกุ (Active learning) ทน่ี ำมาใช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 5
แผนการจดั การเรยี นรตู้ ามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
5
และหลักสูตรการเรียนการสอนโรงเรยี นมาตรฐานสากล 7
การดำเนนิ การจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการ PDCA-CPS 8
โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นจอมพระประชาสรรค์
ตารางวิเคราะห์ ผลการเรียนรู้ /สาระการเรียนรู้/บรู ณาการทกั ษะชีวติ /สมรรถนะสำคัญของ 18
20
ผู้เรยี น/ทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 /พระบรมราโชบาย ในหลวงรชั กาลที่ 10 ดา้ น 23
การศกึ ษา 24
ตารางวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรเู้ พ่ือจัดทำคำอธิบายรายวิชา 25
คำอธิบายรายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสรา้ งองค์ความรู้ 26
โครงสรา้ งรายวิชา 27
ตารางวิเคราะห์กำหนดการจัดการเรียนรู้ 35
การวัดและประเมนิ ผลการเรียน 40
โครงการสอน (Course Syllabus)
กำหนดการสอนทแี่ สดงถงึ วธิ กี ารจัดการเรยี นรู้ Active Learning ทหี่ ลากหลาย ภาคเรียนที่ 1
กำหนดช้นิ งานสำคัญเพื่อการวัดและประเมนิ ผลนักเรยี น

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page… ง

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้

เรอื่ ง 41
43
การจดั การเรียนรู้ 43
แนวทางการวดั และประเมินผลกลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย 44
วิธกี ารวัดผลและประเมินผลการเรยี นรู้ 46
การวัดผลประเมนิ ผลตามสภาพจริง 47
คุณภาพของผูเ้ รียนท่ีต้องประเมนิ 47
องค์ประกอบของการจัดการเรยี นการสอน 50
เกณฑ์การประเมนิ 52
แนวปฏิบัตใิ นการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ 53
เกณฑ์การวดั และประเมินผลการเรียน 54
สือ่ การเรยี นรู้
อภธิ านศัพท์เฉพาะ

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..1

หลักสตู รชน้ั เรยี น
รายวชิ าการศึกษาคน้ ควา้ และสร้างองค์ความรู้ รหัสวชิ า I30201

วิสัยทศั นห์ ลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน มงุ่ พัฒนาผู้เรียนทุกคน ซ่งึ เปน็ กำลังสำคัญของชาตใิ หเ้ ป็น
มนษุ ยท์ ีม่ ีความสมดุลทั้งดา้ นร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจติ สำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก
ยึดมัน่ ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข มีความรแู้ ละทักษะ
พ้ืนฐาน รวมท้งั เจตคติท่ีจำเป็นต่อการศกึ ษาต่อ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชวี ติ โดยมุง่ เนน้
ผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั บนพน้ื ฐานความเชื่อวา่ ทุกคนสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองได้ตามศกั ยภาพ

หลกั การของหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการที่สำคัญดังน้ี
1. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจดุ หมายและมาตรฐานการเรียนรเู้ ปน็
เป้าหมายสำหรับพฒั นาเด็กและเยาวชนใหม้ คี วามรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเปน็
ไทยควบคู่กับความเป็นสากล
2. เป็นหลักสตู รการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทกุ คนมีโอกาสได้รับการศึกษาอยา่ งเสมอภาค
และมีคุณภาพ
3. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาทสี่ นองการกระจายอำนาจ ให้สงั คมมสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษาให้
สอดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของท้องถ่ิน
4. เปน็ หลักสูตรการศึกษาท่ีมีโครงสรา้ งยดื หยุ่นทงั้ ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลา และการจัด
การเรียนรู้
5. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาที่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั
6. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาสำหรับสำหรบั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั
ครอบคลุมทุกกลมุ่ เป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรแู้ ละประสบการณ์

จดุ หมายของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มงุ่ พัฒนาผู้เรยี นใหเ้ ปน็ คนดี มปี ญั ญา
มีความสุข มีศักยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ จงึ กำหนดเป็นจดุ หมายเพอ่ื ใหเ้ กิดกบั ผเู้ รยี น
เม่อื จบการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ดงั น้ี

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..2

1. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์เห็นคุณคา่ ของตนเอง มวี นิ ัยและปฏิบตั ิตนตาม
หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2. มคี วามรู้ ความสามารถในการสือ่ สาร การคิด การแกป้ ัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชวี ิต
3. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่ดี ี มสี ขุ นิสยั และรักการออกกำลังกาย
4. มคี วามรักชาติ มีจติ สำนึกในการเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ
5. มจี ติ สำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสง่ิ แวดล้อม มีจิต
สาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสรา้ งสิ่งทด่ี ีงามในสังคม และอยู่ร่วมกนั ในสงั คมอยา่ งมีความสุข

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งให้ผเู้ รียนเกดิ สมรรถนะสำคญั
5 ประการ ดังนี้

1. ความสามารถในการสือ่ สาร เปน็ ความสามารถในการรบั และสง่ สาร มวี ัฒนธรรมในการใชภ้ าษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลขา่ วสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชนต์ ่อการพฒั นาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
ปญั หาความขดั แย้งตา่ งๆ การเลือกรบั หรอื ไมร่ บั ขอ้ มลู ข่าวสารดว้ ยหลักเหตผุ ลและความถกู ต้อง ตลอดจน
การเลอื กใชว้ ิธีการสอื่ สาร ที่มปี ระสทิ ธิภาพ โดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบต่อตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคดิ เป็นความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ สงั เคราะห์ การคดิ อย่าง
สร้างสรรค์ การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและการคิดอย่างเป็นระบบ เพ่ือนำไปสู่การสรา้ งองค์ความรูห้ รือ
สารสนเทศ เพื่อการตดั สินใจเกีย่ วกบั ตนองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา เปน็ ความสามารถในการแก้ปัญหาและอปุ สรรคต่างๆทเี่ ผชิญ
ไดอ้ ย่างถูกต้องและเหมาะสมบนพืน้ ฐานของหลักเหตผุ ล คณุ ธรรม และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสมั พันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณต์ า่ งๆในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามรู้มาใชใ้ นการ
ปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หา และมกี ารตดั สนิ ใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทเี่ กิดขึ้น ตอ่ ตนเอง
สังคม และส่ิงแวดล้อม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต มีความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆไปใช้ในการ
ดำเนนิ ชวี ติ ประจำวัน การเรียนรดู้ ้วยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนื่อง การทำงาน และการอยู่รว่ มกันในสงั คม
ดว้ ยการสรา้ งเสรมิ ความสัมพันธ์อนั ดรี ะหวา่ งบุคคล การจดั การปัญหาและความขดั แย้งตา่ งๆอย่างเหมาะสม
การปรับตวั ใหท้ ันกับการเปล่ียนแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอ้ มและการร้จู กั หลกี เลี่ยงพฤติกรรมไมพ่ ึง
ประสงค์ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อืน่

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือกและใชเ้ ทคโนโลยีดา้ นต่างๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพือ่ การพฒั นาตนเองและสงั คม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การ
ทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..3

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ม่งุ พัฒนาผเู้ รยี นให้มีคุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงค์ เพ่อื ให้สามารถอยรู่ ่วมกบั ผู้อืน่ ในสังคมได้อยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและ
พลโลก ได้แก่ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซือ่ สัตย์ สจุ ริต 3. มวี นิ ัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
6. ม่งุ มั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มจี ติ สาธารณะ

วสิ ัยทัศน์โรงเรียนจอมพระประชาสรรค์

โรงเรยี นจอมพระประชาสรรค์ พฒั นาผูเ้ รียนสมู่ าตรฐานสากล ดำรงตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง โดยครแู ละบคุ ลากรมืออาชพี

วสิ ัยทศั น์กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการส่ือสาร ผสานเทคโนโลยี มีความเป็นไทย นำมา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีคุณภาพ

หลักสูตรการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล

เปา้ หมาย
1. โรงเรยี นจัดหลกั สตู รสถานศึกษาเทียบเคียงกับหลกั สูตรมาตรฐานสากล
2. โรงเรียนจัดหลักสูตรที่ส่งเสริมความเป็นเลิศตอบสนองต่อความถนัดและศักยภาพตามความ
ต้องการของผู้เรียน
3. โรงเรยี นจัดการเรยี นการสอนสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์และวิทยาศาสตรด์ ้วยภาษาอังกฤษ
4. โรงเรยี นจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ การศกึ ษาค้นควา้ และสร้างองค์ความรู้ (Research and
Knowledge Formation) การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Communication and Presentation)
และกิจกรรมสร้างสรรค์และบริการสังคม (Global Education and Social service Activity)
5. โรงเรยี นใช้หนังสอื ตำราเรียนและสือ่ ทมี่ ีคุณภาพตามมาตรฐานสากล
6. โรงเรียนใช้ระบบการวัดและประเมินผลตามแบบมาตรฐานสากล โดยประเมินจากการสอบ
ข้อเขียน สอบปากเปล่า สอบสัมภาษณ์ การลงมือปฏิบัติ และสามารถเทียบโอนผลการเรียนกับสถานศึกษา
ระดบั ต่าง ๆ ทงั้ ในและตา่ งประเทศ

คณุ ลักษณะและศกั ยภาพผู้เรียนทเ่ี ปน็ สากล

การจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล มุง่ เน้นการเสรมิ สรา้ งความรู้ ความสามารถและ
คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผูเ้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 สอดคล้องกบั หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
พุทธศักราช 2551 และเป็นไปตามปฏิญาณวา่ ด้วยการจัดการศึกษาของ UNESCO ได้แก่

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..4

Learning to know หมายถึง การเรยี นเพ่ือให้มีความรใู้ นส่งิ ตา่ งๆ อันจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ไป
ไดแ้ ก่ การรู้จักการแสวงหาความรู้ การต่อยอดความรู้ทม่ี ีอยู่ และรวมทง้ั การสร้างความร้ขู นึ้ ใหม่

Learning to do หมายถงึ การเรยี นเพ่ือการปฏิบัติหรือลงมือทำ ซึ่งนำไปสู่การประกอบอาชพี จาก
ความรูท้ ีไ่ ด้ศกึ ษามา รวมทงั้ การปฏบิ ัติเพื่อสรา้ งประโยชน์ให้สงั คม

Learning to live together หมายถึง การเรยี นรเู้ พื่อการดำเนินชวี ติ อยรู่ ่วมกับคนอ่นื ได้อย่างมี
ความสุขทงั้ การดำเนินชวี ติ ในการเรียน ครอบครัว สังคม และการทำงาน

Learning to be หมายถงึ การเรียนรู้เพื่อให้ร้จู ักตนเองอย่างถอ่ งแท้ รูถ้ งึ ศักยภาพ ความถนดั
ความสนใจของตนเอง สามารถใช้ความรู้ความสามารถของตนเองใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ สงั คม เลอื กแนวทาง
การพัฒนาตนเองตามศักยภาพ วางแผนการเรียนต่อ การประกอบอาชีพทส่ี อดคลอ้ งกับศักยภาพของตนเองได้

คุณภาพผเู้ รยี น คณุ ภาพผูเ้ รยี นด้านการศึกษาค้นคว้าและสรา้ งองค์ความรู้
(Communication and Presentation)

1. ตง้ั ประเดน็ / คำถามเกย่ี วกบั สถานการณป์ จั จุบัน และสังคมโลก
2. ตั้งสมมุติฐานและให้เหตุผลที่สนับสนุนหรือโต้แย้งประเด็นความรู้โดยใช้ความรู้จากสาขาต่าง ๆ
และมีทฤษฎรี องรบั
3. ศึกษาค้นค้นคว้า หาความรู้ ข้อมูล และสารสนเทศ โดยระบุ แหล่งเรียนรู้ ทั้งปฐมภูมิและ
ทุตยิ ภูมิ
4. ออกแบบ วางแผนรวบรวมขอ้ มูล โดยใช้กระบวนการรวบรวมขอ้ มลู อย่างมีประสิทธภิ าพ
5. ใช้กระบวนการกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นโดยใช้ความรู้จากสาขาวิชาต่างๆและพิจารณาความ
นา่ เช่ือถอื ของแหล่งเรยี นรูอ้ ยา่ งมีวจิ ารณญาณเพ่ือให้ได้ข้อมลู ท่ีครบถว้ นสมบูรณ์
6. ทำงานบรรลุผลตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพโดยคำแนะนำของครูที่ให้คำปรึกษาอย่าง
ต่อเนื่อง
7. อธิบายความเป็นมาของศาสตร์ หลักการ และวธิ ีคดิ ในสง่ิ ที่ศึกษาคน้ ควา้
8. วเิ คราะห์ ขอ้ มลู โดยใชว้ ิธกี ารท่เี หมาะสม
9. สงั เคราะหแ์ ละสรุปองคค์ วามรู้ อภิปรายผล เปรยี บเทยี บ เชอื่ มโยงความรู้
10. เสนอแนวคดิ วิธีการ แก้ปัญหาอยา่ งเป็นระบบ

ทักษะที่จำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 และพระบรมราโชบาย ในหลวงรัชกาลท่ี 10 ด้านการศึกษา

ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 คือ ทักษะภาษาอังกฤษ ทักษะดิจิทัล ทักษะภาษาไทยและ
พระบรมราโชบาย ในหลวงรัชกาลที่ 10 ด้านการศึกษา 4 ด้าน ได้แก่ 1) มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมอื ง
2) มพี นื้ ฐานชีวิตที่ม่นั คง-มคี ุณธรรม 3) มีงานทำ-อาชีพ และ 4) เป็นพลเมอื งท่ีดี

ดังนั้น ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ครูผู้สอนจึงจำเป็นต้องออกแบบการพัฒนาผู้เรียนให้
สอดคล้องกับทักษะท่ีจำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 และพระบรมราโชบาย ในหลวงรชั กาลท่ี 10 ด้านการศกึ ษา โดย
มุ่งเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญบนพนื้ ฐานความเชอ่ื วา่ ทุกคนสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองไดต้ ามศกั ยภาพ

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..5

ทกั ษะชีวิตทสี่ ำคัญสำหรับผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21

ทักษะชวี ติ (Life Skills) เป็นทักษะภายในทจ่ี ะช่วยให้ผูเ้ รียนสามารถเผชิญสถานการณต์ ่างๆ ท่ีเกิดขึน้
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ไดก้ ำหนดองค์ประกอบทักษะชีวิตท่ีสำคัญไว้ 4 องค์ประกอบ
ไดแ้ ก่ 1. การตระหนักรแู้ ละเหน็ คณุ คา่ ในตนเองและผู้อ่ืน 2. การคดิ วิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่าง
สร้างสรรค์ 3. การจดั การกับอารมณ์และความเครยี ด และ 4. การสรา้ งสมั พันธภาพที่ดีกับผูอ้ ่ืน

องค์การอนามยั โลก (WHO) ได้กำหนดทักษะชีวิตไว้ 10 ทักษะ ได้แก่ 1.ทักษะการตัดสินใจ
(Decision making) 2.ทักษะการแก้ปญั หา (Problem solving) 3.ทักษะการคิดสรา้ งสรรค์ (Creative
thinking) 4.ทักษะการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking) 5.ทักษะการส่ือสารอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
(Effective communication) 6.ทกั ษะการสรา้ งสัมพนั ธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal relationship)
7.ทักษะการตระหนักรู้ในตน (Self-awareness) 8.ทักษะการเขา้ ใจผอู้ น่ื (Empathy) 9.ทกั ษะการจัดการกับ
อารมณ์ (Coping with emotion) และ 10.ทักษะการจดั การกบั ความเครยี ด (Coping with stress)

แนวคดิ การเรยี นร้เู ชิงรุก (Active learning) ทนี่ ำมาใช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

การเรยี นร้เู ชงิ รุก (Active learning) การเรยี นรูท้ ผี่ ูเ้ รยี นได้มีสว่ นในการลงมือกระทำ เป็นการจัดการ
เรียนรทู้ ค่ี รผู ้สู อนจัดการเรียนรโู้ ดยผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ประเมินผลตามสภาพจริงตามเน้ือหาที่
เรียนและแสดงออกในกระบวนการเรียนรู้ ไดล้ งมือคิด ลงมือทำ ได้อภิปรายรว่ มกับเพ่ือนและครู ส่งเสริมให้
ผเู้ รยี นมีความตนื่ ตวั ต่อการเรียนรู้ และสร้างความกระตือรือร้นด้านการรู้คิด

แผนการจดั การเรียนร้ตู ามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
และหลกั สตู รการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล

แผนการจัดการเรยี นรตู้ ามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และหลกั สูตร
การเรยี นการสอนโรงเรยี นมาตรฐานสากล คอื แผนการจดั การเรยี นรทู้ ีส่ ่งเสริม ปลกู ฝงั และพฒั นาผเู้ รียนทั้ง
ด้านรา่ งกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนกึ ในความเปน็ พลเมอื งไทยและพลเมืองโลก พัฒนาสอดคลอ้ งกับ
ทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ 21 และพระบรมราโชบาย ในหลวงรชั กาลท่ี 10 ด้านการศึกษา โดยมุ่งเนน้ ผ้เู รยี น
เป็นสำคญั ทั้งน้ี การจัดการเรยี นรจู้ ะประสบความสำเรจ็ ตามจุดประสงคท์ ตี่ ้งั ไว้ ครผู สู้ อนจำเป็นต้องใช้
หลกั การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ซ่งึ เป็นการเรียนรทู้ ีผ่ เู้ รียนได้มสี ่วนในการลงมอื กระทำ เปน็
การจัดการเรยี นรูท้ ี่ครผู ู้สอนจัดการเรยี นรโู้ ดยผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ประเมินผลตามสภาพจริง
ตามเนือ้ หาทีเ่ รียนและแสดงออกในกระบวนการเรยี นรู้ ได้ลงมอื คิด ลงมือทำ ได้อภิปรายร่วมกบั เพ่ือนและครู
สง่ เสริมใหผ้ ้เู รียนมคี วามตื่นตัวตอ่ การเรียนรู้ และสรา้ งความกระตือรือรน้ ด้านการรู้คดิ ในการวางแผนและ
จดั การเรยี นรู้ทีส่ อดคล้องตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลกั สูตร
การเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล กลา่ วคือ ในการกำหนดเนื้อหา เวลา กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรยี นรู้/อุปกรณ์ แหล่งเรียนรู้ และการวดั ประเมินผล

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..6

นอกจากนี้ ในการดำเนนิ การจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าการศกึ ษาค้นคว้าและสรา้ งองค์
ความรู้ รหัสวชิ า I30201 ผสู้ อนยงั ดำเนนิ การจดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ PDCA-CPS

ภาพประกอบท่ี 1 การบรหิ ารจดั การโรงเรยี นท้งั ระบบดว้ ยกระบวนการ PDCA-CPS
Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..7

การดำเนินการจัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการ PDCA-CPS

ในการดำเนินการจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาการศึกษาคน้ คว้าและสร้างองคค์ วามรู้ รหัส
วิชา I30201โดยใชก้ ระบวนการ PDCA-CPS ในคร้งั นมี้ ีขั้นตอนการดำเนนิ การ ดงั ภาพประกอบ

ประชุม/วางแผน P กรอบแนวคิด CPS
กำหนดปฏทิ ินการจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้
กรอบแนวคิด CPS หลกั
ศกึ ษาขอ้ มลู พืน้ ฐานในการออกแบบแผนการจดั การเรียนรู้ D1 ความรว่ มมอื (C) และการ
ตดิ ตามผล (S) โดย
วเิ คราะหข์ ้อมูลนักเรียนรายบคุ คลเพื่อออกแบบแผนการจดั การเรียนรู้ - กล่มุ บรหิ าร
- งานพัฒนากระบวนการ
นำขอ้ มลู จากการวเิ คราะห์นกั เรียนรายบุคคลมาออกแบบ จดั การเรยี นรู้
แผนการจัดการเรยี นรู้ - หัวหน้ากลุม่ สาระการ
เรียนรู้
ดำเนนิ การออกแบบหน่วยและจดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้น - ครูท่ีปรกึ ษา
Active Learning - ตดิ ตามโดยกลมุ่ บรหิ าร
วิชาการ
ดำเนนิ การออกแบบหน่วยและจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้ D2
D การปฏิบัตติ ามบทบาท
นำแผนการจดั การเรยี นรู้ที่ออกแบบไว้ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หน้าที่ (P) โดย
ในชน้ั เรียน/บันทกึ หลังสอน/ตรวจสอบความเหมาะสมของแผนการ C - ครูผสู้ อน

จัดการเรยี นรู้

ปรบั ปรงุ ข้อมลู /นำข้อมูลไปใช้ในการพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน A
ตอ่ ไป/การดแู ลนักเรยี น/ใหก้ ารช่วยเหลือ/ส่งเสริมนกั เรยี นตามศักยภาพ

ภาพประกอบท่ี 2 การดำเนินการจัดทำแผนการจดั การเรียนร้โู ดยใช้กระบวนการ PDCA-CPS
รายวชิ าการศึกษาค้นควา้ และสรา้ งองค์ความรู้ รหัสวชิ า I30201

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation

โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นจอมพระประชา
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 – 6 กลุ่มการเรียน

Research and Knowledge Formation

Page …..8

าสรรค์ ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวดั สรุ นิ ทร์
น วิทย์ - คณติ (ใชป้ ีการศึกษา 2564-2566)

Research and Knowledge Formation

โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนจอมพระประชา
ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 กลุ่มการเรียน ว

Research and Knowledge Formation

Page …..9

าสรรค์ ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสรุ นิ ทร์
วิทย์ - คณติ (SME) (ใชป้ ีการศึกษา 2564-2566)

Research and Knowledge Formation

โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนจอมพระประชา
ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 กลุ่มการเรยี น

Research and Knowledge Formation

Page …..10

าสรรค์ ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวดั สรุ ินทร์
คณิต – ภาษา (ใชป้ กี ารศึกษา 2564-2566)

Research and Knowledge Formation

โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนจอมพระประชา
ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 - 6 กลุ่มการเรยี น ภาษา – ส

Research and Knowledge Formation

Page …..11

าสรรค์ ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวดั สรุ ินทร์
สังคม และ ศลิ ป-์ การงานฯ (ใช้ปกี ารศกึ ษา 2564-2566)

Research and Knowledge Formation

โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนจอมพระประชา
ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 กลุ่มการเรีย

Research and Knowledge Formation

Page …..12

าสรรค์ ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวดั สรุ ินทร์
ยน ทวศิ กึ ษา (ใช้ปกี ารศึกษา 2564-2566)

Research and Knowledge Formation Page …..13

โครงสร้างหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนจอมพระประชาสรรค์ ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จงั หวัดสรุ นิ ทร์
ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 – 6 กลมุ่ การเรียน วิทย์ - คณติ (ใชป้ กี ารศกึ ษา 2564-2566)

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..14

โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนจอมพระประชาสรรค์ ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์
ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 กลุม่ การเรยี น วิทย์ - คณติ (SME) (ใชป้ ีการศกึ ษา 2564-2566)

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..15

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นจอมพระประชาสรรค์ ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวดั สุรนิ ทร์
ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 กลุม่ การเรียน คณติ – ภาษา (ใช้ปกี ารศกึ ษา 2564-2566)

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..16

โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนจอมพระประชาสรรค์ ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จงั หวดั สุรินทร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 กลุม่ การเรียน ภาษา – สงั คม และ ศิลป์-การงานฯ
(ใช้ปีการศึกษา 2564-2566)

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..17

โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนจอมพระประชาสรรค์ ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสรุ ินทร์
ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 กลมุ่ การเรียน ทวศิ กึ ษา (ใชป้ ีการศึกษา 2564-2566)

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation

ตารางวิเคราะห์ ผลการเรียนรู้ / สาระการเรียนรู้/ บ

ทกั ษะทจ่ี ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 /พระบรมรา

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย รหสั วิชา I302

จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโม

หนว่ ยท่ี ชอ่ื หน่วย ผลการเรียนรู้ ส
ด้านก



1 เปดิ ประเด็น 1. ตั้งประเด็นปญั หา จากสถานการณ์ 1. ต้ังประ

ปัญหา ปจั จุบันและสังคมโลก คำถาม

2. มคี วามร้เู ขา้ ใจเกีย่ วกับทฤษฎีความรู้ 2. การตงั้
สาขาตา่ ง ๆ เหตุผล

3. ต้งั สมมตฐิ านและให้เหตผุ ลที่สนับสนนุ 3. การออ
หรอื โต้แยง้ ประเดน็ ความร้โู ดยใชค้ วามร้จู าก กระบวนก
สาขาวชิ าตา่ ง ๆ

และมที ฤษฎีรองรบั

4. ออกแบบ วางแผนใช้กระบวนการ
รวบรวมขอ้ มูลอย่างมปี ระสิทธิภาพ

Research and Knowledge Formation

Page …..18

บูรณาการทกั ษะชีวิต / สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น /

าโชบาย ในหลวงรชั กาลท่ี 10 ดา้ นการศึกษา

201 วชิ าการศกึ ษาค้นคว้าและสรา้ งองค์ความรู้(IS1)

มง /ภาคเรียน ภาคเรยี นที่ 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนรู้ บูรณาการทักษะชวี ิต/สมรรถนะสำคญั เวลา/ น้ำหนกั
การศึกษาคน้ ควา้ และ ของผู้เรยี นทักษะทจี่ ำเปน็ ในศตวรรษ ชม. คะแนน
สรา้ งองคค์ วามรู้ ท่ี 21 /พระบรมราโชบาย ในหลวง

รชั กาลท่ี 10 ดา้ นการศึกษา

ะเดน็ ปญั หาและการตัง้ - ทกั ษะการสรา้ งสัมพันธภาพ 10 30

ระหว่างบุคคล (Interpersonal

งสมมติฐานและให้ relationship)
- การเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง

- ทกั ษะภาษาอังกฤษในการ
อกแบบ วางแผนใช้ ส่ือสาร
การรวบรวมข้อมลู - ทกั ษะดิจิทลั

- ทักษะภาษาไทย

Research and Knowledge Formation

หนว่ ยที่ ชื่อหน่วย ผลการเรยี นรู้ ส
2 ปรารถนา ด้านก
5. ศกึ ษา คน้ ควา้ แสวงหาความรเู้ ก่ยี วกับ
คำตอบ ประเดน็ ทีเ่ ลือก จากแหลง่ เรียนรู้ท่ี ส
ประสทิ ธิภาพ
3 รอบคอบมี 4. ศกึ ษา
ปัญญา 6. ตรวจสอบความน่าเชือ่ ถือของแหลง่ ที่มา ความรู้ จ
ของข้อมูล
5. การ ตร
7. วิเคราะห์ขอ้ ค้นพบด้วยสถิติที่เหมาะสม น่าเช่ือถอื
8. สงั เคราะห์ สรปุ องค์ความรูด้ ้วย ขอ้ มูล
กระบวนการกลุ่ม
6. การวเิ
9. เสนอแนวคดิ การแกป้ ัญหาอยา่ งเป็น 7. การสัง
ระบบดว้ ยองคค์ วามรู้จากการคน้ พบ
8. การสร

9. การแส
แกป้ ัญหา

รวม
Research and Knowledge Formation

Page …..19

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้ บรู ณาการทกั ษะชีวิต/สมรรถนะสำคัญ เวลา/ นำ้ หนัก
การศกึ ษาคน้ ควา้ และ ของผเู้ รยี นทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ในศตวรรษ ชม. คะแนน
สรา้ งองค์ความรู้ ท่ี 21 /พระบรมราโชบาย ในหลวง

รชั กาลที่ 10 ดา้ นการศกึ ษา

า คน้ คว้า แสวงหา -ทกั ษะการตดั สนิ ใจ (Decision 20 40

จากแหลง่ เรยี นรู้ making)

รวจสอบความ - การเรยี นรู้ด้วยตนเอง
อของแหลง่ ที่มาของ - ทักษะภาษาอังกฤษในการ
ส่อื สาร

เคราะห์ข้อมลู - ทกั ษะดจิ ิทลั

- ทักษะภาษาไทย

งเคราะห์ ข้อมูล -ทกั ษะการส่ือสารอยา่ งมี 10 30

รปุ องค์ความรู้ ประสทิ ธภิ าพ (Effective
communication)
สดงความคดิ และการ -ทกั ษะการสร้างสัมพันธภาพ
า ระหว่างบุคคล (Interpersonal

relationship)

- ทักษะภาษาอังกฤษในการ

สือ่ สาร

- ทักษะดจิ ิทลั

- ทกั ษะภาษาไทย

- มที ัศนคติท่ีถกู ต้องตอ่ บา้ นเมือง

40 100

Research and Knowledge Formation Page …..20

ตารางวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้เพอื่ จัดทำคำอธบิ ายรายวิชา

กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย รหัสวิชา I30201 รายวชิ าการศึกษาคน้ คว้าและสรา้ งองคค์ วามรู้

จำนวน 1.0 หน่วยกิต เวลา 40 ช่ัวโมง/ภาคเรียน ภาคเรยี นท่ี 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4

ผลการวิเคราะห์

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ คา่ นยิ มท่พี งึ

1. ต้ังประเด็นปญั หา จากสถานการณ์ปจั จบุ นั และสังคมโลก กระบวนการ ประสงค์
2. มคี วามรู้เขา้ ใจเก่ยี วกับทฤษฎคี วามรสู้ าขาตา่ ง ๆ
3. ต้ังสมมตฐิ านและให้เหตุผลที่สนบั สนุนหรอื โตแ้ ยง้ ประเดน็ (K) (P) (A)
ความรู้โดยใชค้ วามร้จู ากสาขาวชิ าต่าง ๆ และมที ฤษฎีรองรับ
4. ออกแบบ วางแผนใช้กระบวนการรวบรวมข้อมลู อยา่ งมี 
ประสทิ ธิภาพ

5. ศึกษา คน้ ควา้ แสวงหาความรเู้ กย่ี วกับประเดน็ ทเี่ ลือก
จากแหลง่ เรยี นร้ทู ีป่ ระสิทธภิ าพ 
6. ตรวจสอบความนา่ เชื่อถือของแหล่งท่มี าของข้อมูล
7. วเิ คราะห์ข้อคน้ พบด้วยสถิตทิ ่เี หมาะสม 
8. สังเคราะห์ สรปุ องค์ความร้ดู ว้ ยกระบวนการกลมุ่
9. เสนอแนวคิด การแก้ปัญหาอยา่ งเปน็ ระบบด้วยองคค์ วามรู้ 
จากการค้นพบ






Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..21

ตารางวิเคราะหผ์ ลการเรียนรเู้ พ่ือจัดทำคำอธิบายรายวิชาการศกึ ษาคน้ ควา้ และสรา้ งองคค์ วามรู้

กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ภาคเรยี นที่ 1 รหสั วิชา I30201
รายวชิ าการศึกษาค้นคว้าและสร้างองคค์ วามรู้ จำนวน 1.0 หน่วยกติ
เวลา 40 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น
ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4

หลักสตู ร  รายวิชาพนื้ ฐาน  รายวชิ าเพมิ่ เตมิ ครูผสู้ อน นางสาวสุพรรณี ขาวงาม

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ผลการวเิ คราะห์ คา่ นยิ ม
(K) ทพ่ี งึ ประสงค์(A)
1. ตงั้ ประเด็นปัญหา 1. มีความร้เู ข้าใจเร่ือง ทักษะกระบวนการ มีมารยาทในการ
จากสถานการณ์ปัจจบุ ัน ลักษณะของการศึกษา (P) เขยี น
และสังคมโลก คน้ ควา้ และสรา้ งองค์ความรู้
2. มีความรูเ้ รื่องเกี่ยวกบั 1. นักเรียนตั้งประเดน็ ปัญหา มีมารยาทในการ
2. มคี วามรเู้ ขา้ ใจเกี่ยวกับ สถานการณป์ ัจจุบนั จากสถานการณ์ปจั จบุ นั ของ เขียน
ทฤษฎีความรูส้ าขาต่าง ๆ สงั คมโลกตามลักษณะของ
มคี วามรู้เขา้ ใจเรื่องทฤษฎี การศกึ ษาคน้ คว้าและสร้างองค์ มมี ารยาทในการ
3. ตั้งสมมติฐานและให้ ความร้สู าขาต่าง ๆ ที่ ความรู้ได้อยา่ งถูกต้อง เขยี น
เหตุผลท่ีสนบั สนนุ หรอื เก่ยี วกับการศึกษาค้นควา้ เหมาะสม
โต้แยง้ ประเด็นความรูโ้ ดย และสรา้ งองคค์ วามรู้ มีมารยาทในการ
ใช้ความรจู้ ากสาขาวิชา มีความรู้ เขา้ ใจเร่ืองการ ตอบคำถาม แสดงความคิดเห็น เขียน
ตา่ ง ๆ และมีทฤษฎรี องรบั กำหนดสมมตฐิ านใน เกย่ี วกับทฤษฎคี วามรสู้ าขา
การศกึ ษาคน้ คว้าและสร้าง ตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวกบั การศึกษา 1. มมี ารยาทในการ
4. ออกแบบ วางแผนใช้ องค์ความรู้ คน้ คว้าและสร้างองค์ความรู้ เขยี น
กระบวนการรวบรวม 2. มมี ารยาทในการ
ขอ้ มลู อย่างมีประสิทธิภาพ มคี วามร้คู วามเข้าใจ เขียนสมมตฐิ านของการศึกษา สบื คน้
เกย่ี วกับการออกแบบ คน้ ควา้ และให้เหตุผลท่ี
5. ศกึ ษา คน้ คว้าแสวงหา วางแผนการศกึ ษาคน้ ควา้ สนบั สนนุ หรอื โต้แย้งประเด็น
ความรู้เกยี่ วกบั ประเดน็ ท่ี รวบรวมขอ้ มลู ความร้โู ดยใช้ความรู้จาก
เลือก จากแหล่งเรยี นรู้ที่ มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจ สาขาวชิ าต่าง ๆ และมีทฤษฎี
ประสิทธิภาพ เก่ยี วกับหลักการคน้ ควา้ รองรับ
การแสวงหาความรดู้ ้วย
ตนเอง ออกแบบและวางแผนการ
รวบรวมขอ้ มูลตามประเดน็ ที่
ตนเองสนใจศึกษาคน้ คว้าอยา่ ง
มีประสิทธิภาพ

นักเรียนสืบค้นความร้ตู าม
ประเด็นทีต่ นเองสนใจศึกษา
คน้ ควา้ จากแหลง่ เรยี นรตู้ ่าง ๆ
อยา่ งหลากหลาย

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..22

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ผลการวิเคราะห์ ค่านยิ ม
(K) ทักษะกระบวนการ ที่พงึ ประสงค์(A)
6. ตรวจสอบความ มคี วามรู้ความเข้าใจ มีมารยาทในการ
น่าเชือ่ ถอื ของแหลง่ ท่ีมา เกย่ี วกบั ความนา่ เช่ือของ (P) เขยี น
ของขอ้ มูล แหลง่ ขอ้ มูลในการศกึ ษา นกั เรียนระบุแหล่งทมี่ าของ
คน้ คว้า ข้อมูลท่ีไดจ้ ากการศกึ ษาค้นควา้ มีมารยาทในการ
7. วเิ คราะห์ขอ้ ค้นพบ ได้อยา่ งถกู ต้อง เหมาะสมเพื่อ เขยี น
ด้วยสถิติทเี่ หมาะสม มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตรวจสอบความนา่ เชอ่ื ถอื ของ
เกย่ี วกับสถติ ิพ้ืนฐานทีใ่ ช้ใน แหลง่ ขอ้ มลู 1. มีมารยาทในการ
8. สังเคราะห์ สรปุ องค์ การศกึ ษาคน้ คว้า การ นกั เรียนใช้สถิตพิ น้ื ฐาน เช่น เขยี น
ความรูด้ ว้ ยกระบวนการ วเิ คราะห์ ข้อคน้ พบจาก คา่ เฉลีย่ เป็นต้น เพื่อใช้ 2. มีมารยาทในการ
กล่มุ การศึกษาคน้ คว้า วเิ คราะห์ข้อค้นพบ จาก แลกเปลี่ยนความคิด
มคี วามรคู้ วามเข้าใจ การศกึ ษาคน้ ควา้ ภายในกล่มุ
9. เสนอแนวคิด การ เกี่ยวกับการวิเคราะห์ 3. มคี วามสามัคคีใน
แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สังเคราะห์ ความรู้ท่ไี ดจ้ าก สรุปองคค์ วามรู้จากการศกึ ษา การทำงานกล่มุ
ดว้ ยองคค์ วามรู้จากการ การศกึ ษาค้นควา้ คน้ ควา้ โดยการสงั เคราะห์ มมี ารยาทในการ
คน้ พบ ความรู้ทีไ่ ด้มาดว้ ยกระบวนการ นำเสนอความคดิ
มีความรคู้ วามเขา้ ใจ กลุ่ม แนวทางการ
เกี่ยวกบั การแก้ปญั หา แกป้ ัญหา
เสนอแนวคิด การแก้ปัญหา
อย่างเป็นระบบด้วยองคค์ วามรู้
จากการค้นพบ

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..23

คำอธิบายรายวิชาการศึกษาคน้ คว้าและสรา้ งองค์ความรู้

กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย รหสั วิชา I30201 รายวชิ าการศึกษาค้นควา้ และสรา้ งองคค์ วามรู้

จำนวน 1.0 หน่วยกติ เวลา 40 ชัว่ โมง/ภาคเรียน

ภาคเรียนท่ี 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4

ศกึ ษา วเิ คราะห์ ฝกึ ทกั ษะตัง้ ประเดน็ ปัญหา/ ต้ังคำถามเก่ียวกบั สถานการณ์ปจั จบุ ันและ
สังคมโลก ต้ังสมมติฐานและใหเ้ หตผุ ลท่สี นบั สนุนหรอื โต้แย้งประเดน็ ความรู้

โดยใชค้ วามรู้จากศาสตรส์ าขาตา่ ง ๆ และมีทฤษฎรี องรบั ออกแบบวางแผน รวบรวมข้อมลู ค้นควา้
แสวงหาความรเู้ ก่ียวกับสมมติฐานที่ต้งั ไว้จากแหล่งเรียนรทู้ ั้งปฐมภมู ิและทุตยิ ภูมิ และสารสนเทศ อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ และพิจารณาความน่าเช่อื ถือของแหลง่ เรยี นร้อู ยา่ งมีวจิ ารณญาณ เพื่อให้ได้ข้อมูลทค่ี รบถ้วน
สมบรู ณ์ วเิ คราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการทเ่ี หมาะสม สังเคราะห์สรุปองคค์ วามรู้ร่วมกนั และมีกระบวนการกลมุ่
ในการวิพากษ์ แลกเปลย่ี นความคิดเห็นโดยใช้ความรูจ้ ากสาขาวชิ าตา่ ง ๆ เสนอแนวคิด วธิ ีการ
แกป้ ญั หาอย่างมรี ะบบ ดว้ ยกระบวนการคดิ กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการปฏิบตั ิ

เพอ่ื ใหเ้ กิดทักษะในการค้นควา้ แสวงหาความรู้ สงั เคราะห์ สรุป อภิปรายผล เปรยี บเทียบเชื่อมโยง
ความรู้ ความเป็นมาของศาสตร์ เขา้ ใจหลักการละวิธีคดิ ในสง่ิ ท่ศี กึ ษา เหน็ ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของการศกึ ษา
คน้ คว้าด้วยตนเอง

ผลการเรยี นรู้
1. ตั้งประเดน็ ปญั หา จากสถานการณ์ปจั จบุ ันและสงั คมโลก
2. มีความรู้เขา้ ใจเกย่ี วกบั ทฤษฎีความรู้สาขาต่าง ๆ
3. ต้งั สมมติฐานและใหเ้ หตุผลท่ีสนบั สนุนหรอื โตแ้ ยง้ ประเดน็ ความรู้โดยใชค้ วามร้จู ากสาขาวชิ า ตา่ ง

ๆ และมีทฤษฎีรองรบั
4. ออกแบบ วางแผนใชก้ ระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
5. ศึกษา คน้ ควา้ แสวงหาความรเู้ กี่ยวกับประเด็นท่ีเลือก จากแหล่งเรยี นรทู้ ่ีประสทิ ธิภาพ
6. ตรวจสอบความนา่ เชอ่ื ถือของแหลง่ ที่มาของขอ้ มลู
7. วิเคราะหข์ อ้ คน้ พบดว้ ยสถิตทิ ่เี หมาะสม
8. สงั เคราะห์ สรปุ องค์ความรูด้ ้วยกระบวนการกลมุ่
9. เสนอแนวคดิ การแกป้ ัญหาอย่างเป็นระบบดว้ ยองค์ความรจู้ ากการค้นพบ

รวมทั้งสิ้น 9 ผลการเรยี นรู้

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..24

กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โครงสรา้ งรายวชิ า
จำนวน 1.0 หน่วยกติ
ภาคเรียนที่ รหสั วิชา I30201 รายวิชาการศึกษาคน้ คว้าและสร้างองคค์ วามรู้
เวลา 40 ช่ัวโมง/ภาคเรียน
ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4

หนว่ ย ชื่อหน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
ท่ี ช่ัวโมง คะแนน

1 เปิดประเด็น 1. ตั้งประเดน็ ปญั หา จาก 1. ต้ังประเดน็ ปญั หาและ 10 30

ปัญหา สถานการณ์ปัจจบุ นั และสังคม การต้งั คำถาม 40

โลก 2. การตัง้ สมมติฐานและ 30
100
2. มีความรเู้ ข้าใจเกย่ี วกบั ใหเ้ หตุผล

ทฤษฎคี วามร้สู าขาตา่ ง ๆ 3. การออกแบบ

3. ตัง้ สมมตฐิ านและให้เหตผุ ล วางแผนใช้กระบวนการ

ท่สี นับสนุนหรอื โตแ้ ยง้ ประเด็น รวบรวมข้อมลู

ความรูโ้ ดยใช้ความรจู้ าก

สาขาวิชาต่าง ๆ

และมที ฤษฎรี องรบั

4. ออกแบบ วางแผนใช้

กระบวนการรวบรวมข้อมลู

อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

2 ปรารถนา 5. ศกึ ษา คน้ ควา้ แสวงหา 4. ศกึ ษา ค้นคว้า 20

คำตอบ ความรู้เกีย่ วกับประเดน็ ทเ่ี ลือก แสวงหาความรู้ จาก

จากแหลง่ เรยี นรทู้ ี่ แหล่งเรียนรู้

ประสิทธภิ าพ 5. การ ตรวจสอบความ

6. ตรวจสอบความนา่ เชื่อถือ น่าเช่อื ถอื ของแหล่งที่มา

ของแหลง่ ทมี่ าของขอ้ มูล ของขอ้ มลู

7. วิเคราะห์ขอ้ ค้นพบด้วยสถิติ 6. การวิเคราะห์ข้อมลู

ทเี่ หมาะสม

3 รอบคอบมี 8. สงั เคราะห์ สรปุ องค์ 7. การสงั เคราะห์ ข้อมลู 10

ปัญญา ความรู้ดว้ ยกระบวนการกลุ่ม 8. การสรุปองค์ความรู้

9. เสนอแนวคิด การ 9. การแสดงความคิดและ

แก้ปัญหาอยา่ งเปน็ ระบบดว้ ย การแก้ปัญหา

องค์ความรูจ้ ากการค้นพบ

รวม 40

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..25

ตารางวิเคราะหก์ ำหนดการจัดการเรยี นรู้

กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รหสั วิชา I30201
จำนวน 1.0 หน่วยกิต
รายวิชาการศกึ ษาค้นคว้าและสรา้ งองค์ความรู้
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4
เวลา 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน ภาคเรยี นท่ี 1

หลกั สูตร  รายวิชาพน้ื ฐาน  รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ครูผสู้ อน นางสาวสุพรรณี ขาวงาม

สปั ดาห์ที่ หนว่ ยที่ ชอื่ หน่วย ชือ่ แผนการเรยี นรู้ เวลา
1-5 1 ชวั่ โมง
เปดิ ประเดน็ ปญั หา 1. ปฐมนเิ ทศก่อนเรียน
2. การตั้งประเด็นปัญหา 1
3. ทฤษฎีความรู้ 2
4. การต้ังสมมตฐิ าน 3
5. การวางแผนรวบรวมขอ้ มลู 2
2
6-15 2 ปรารถนาคำตอบ 6. การเขียนบรรณานุกรม
7. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 4
8. การวเิ คราะห์ข้อค้นพบ 12
4
16-20 3 รอบคอบมีปญั ญา 9. การสรา้ งองค์ความรู้
10. การนำเสนอผลงาน 4
11. การสะท้อนความคดิ 4
2

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..26

การวดั และประเมินผลการเรียน

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี 1 รหสั วิชา I30201
รายวชิ าการศกึ ษาค้นควา้ และสร้างองค์ความรู้ จำนวน 1.0 หน่วยกิต
เวลา 40 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4

หลกั สูตร  รายวิชาพนื้ ฐาน  รายวิชาเพ่ิมเตมิ ครูผสู้ อน นางสาวสุพรรณี ขาวงาม

การวัดประเมนิ ผลการเรียนรู้

อัตราส่วนคะแนน ระหว่างภาค : ปลายภาค
30
เป็น 70 :

การวดั ผลประเมนิ ผลการเรียนรู้

อตั ราส่วนคะแนน K : P : A
ดา้ นความรู้ : ด้านทกั ษะกระบวนการ : ด้านคา่ นิยมท่ีพึงประสงค์
เป็น 35 : 45 : 20

ตารางแสดงสัดส่วนคะแนน

คะแนนระหวา่ งภาค คะแนน
ปลายภาค
การประเมิน ก่อน กลางภาค หลัง
35
ความรู้ กลางภาค กลางภาค 45
ทกั ษะกระบวนการ 20
คา่ นิยมที่พงึ ประสงค์ 25 5 5 100

รวมคะแนน 15 10 20

10 5 5

50 20 30

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..27

โครงการสอน (Course Syllabus)
ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4

รหัสวิชา/รายวชิ า I30201 รายวิชา การศกึ ษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้

จำนวนหนว่ ยกิต 1.0 หน่วยกิต

สถานศกึ ษา โรงเรียนจอมพระประชาสรรค์ อำเภอจอมพระ จงั หวัดสุรนิ ทร์

ภาคเรยี นท่ี 1

ปกี ารศกึ ษา 2564

ชื่อครผู สู้ อน นางสาวสุพรรณี ขาวงาม

จำนวนชวั่ โมงท่สี อน/สัปดาห์ 2 ช่วั โมง เวลา 40 ชวั่ โมง / ภาคเรยี น

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..28

โครงการสอน (Course Syllabus) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

1. รหสั วิชา/รายวชิ า I30201 รายวชิ า การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้

2. จำนวนหนว่ ยกติ 1.0 หน่วยกติ

3. สถานศกึ ษา โรงเรียนจอมพระประชาสรรค์ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรนิ ทร์

4. ภาคเรียนท่ี 1

5. ปกี ารศึกษา 2564

6. ช่ือครูผู้สอน นางสาวสพุ รรณี ขาวงาม

7. จำนวนช่วั โมงทีส่ อน/สัปดาห์ 2 ช่วั โมง เวลา 40 ชั่วโมง / ภาคเรียน

8. คำอธบิ ายรายวิชา

ศกึ ษา วิเคราะห์ ฝกึ ทกั ษะตง้ั ประเดน็ ปัญหา/ ต้งั คำถามเก่ยี วกับสถานการณ์ปัจจบุ ันและ

สงั คมโลก ตั้งสมมตฐิ านและใหเ้ หตุผลทีส่ นับสนนุ หรือโต้แยง้ ประเด็นความรู้

โดยใช้ความรูจ้ ากศาสตร์สาขาตา่ ง ๆ และมีทฤษฎรี องรบั ออกแบบวางแผน รวบรวมข้อมูล คน้ ควา้

แสวงหาความรู้เกย่ี วกับสมมติฐานที่ต้งั ไวจ้ ากแหลง่ เรยี นรู้ทั้งปฐมภูมแิ ละทุติยภูมิ และสารสนเทศ อย่างมี

ประสิทธิภาพ และพิจารณาความนา่ เช่ือถือของแหลง่ เรียนรอู้ ย่างมีวจิ ารณญาณ เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่คี รบถว้ น

สมบรู ณ์ วเิ คราะห์ข้อมลู โดยใชว้ ธิ กี ารท่เี หมาะสม สงั เคราะหส์ รปุ องคค์ วามรรู้ ่วมกัน และมีกระบวนการกลมุ่

ในการวิพากษ์ แลกเปลย่ี นความคดิ เห็นโดยใชค้ วามรู้จากสาขาวชิ าตา่ ง ๆ เสนอแนวคิด วธิ กี าร

แกป้ ญั หาอย่างมรี ะบบ ด้วยกระบวนการคิด กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการปฏบิ ตั ิ

เพอ่ื ให้เกิดทักษะในการค้นคว้าแสวงหาความรู้ สังเคราะห์ สรปุ อภปิ รายผล เปรยี บเทยี บเชือ่ มโยง

ความรู้ ความเปน็ มาของศาสตร์ เขา้ ใจหลกั การละวิธคี ิดในสงิ่ ทศี่ ึกษา เห็นประโยชน์และคณุ คา่ ของการศึกษา

คน้ ควา้ ด้วยตนเอง

ผลการเรยี นรู้

1. ต้งั ประเดน็ ปัญหา จากสถานการณ์ปจั จุบันและสังคมโลก

2. มีความรู้เข้าใจเกยี่ วกับทฤษฎคี วามรู้สาขาตา่ ง ๆ

3. ต้ังสมมติฐานและใหเ้ หตุผลท่สี นับสนนุ หรอื โตแ้ ยง้ ประเดน็ ความรู้โดยใชค้ วามรจู้ ากสาขาวิชาต่าง ๆ

และมีทฤษฎรี องรบั

4. ออกแบบ วางแผนใช้กระบวนการรวบรวมข้อมลู อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

5. ศึกษา ค้นควา้ แสวงหาความรู้เก่ยี วกบั ประเดน็ ท่ีเลือก จากแหลง่ เรียนรทู้ ป่ี ระสิทธิภาพ

6. ตรวจสอบความนา่ เชือ่ ถือของแหลง่ ทม่ี าของข้อมลู

7. วเิ คราะห์ข้อคน้ พบด้วยสถิติทเ่ี หมาะสม

8. สังเคราะห์ สรุปองค์ความรดู้ ้วยกระบวนการกลมุ่

9. เสนอแนวคิด การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยองค์ความรู้จากการคน้ พบ

รวมท้ังหมด 9 ผลการเรียนรู้

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Forma

9. ประมวลการเรียนรายวชิ า
9.1 กำหนดการจัดการเรยี นรู้

สัปดาห์ วนั เดอื น ผลการเรียนรู้ หน่วย/สาระสำคัญ เวลา
ท่ี ปี ปฐมนเิ ทศ (ช่วั โมง)

1 1-4 - 1
มิ.ย. 64

2 7 - 11 ต้งั ประเด็นปัญหาจาก หน่วย : เปดิ ประเด็น 2
มิ.ย. 64 สถานการณป์ ัจจบุ ัน ปัญหา 3
และสงั คมโลกได้ สาระสำคญั
-การกำหนดหัวข้อ/
ประเด็นปัญหาทส่ี นใจ

3-4 14 - 25 มีความร้เู ขา้ ใจเกยี่ วกับ หน่วย : เปดิ ประเดน็
ม.ิ ย. 64 ทฤษฎคี วามรสู้ าขา ปญั หา
ตา่ งๆ สาระสำคัญ
-ทฤษฎคี วามรู้ 7
สาขาวชิ าได้แก่ทฤษฎี
ภาษา สังคม
วทิ ยาศาสตร์ การคิด
คำนวณ การงานอาชพี
สขุ ศึกษา และศิลปะ

Research and Knowledge Format

ation Page …..29

การจัดการเรียนรู้ใน การจัดการเรียนรใู้ นภาวะไมป่ กติ น้ำหนัก
ภาวะปกติ คะแนน
ช้ินงาน/ภาระงาน
ชิน้ งาน/ภาระงาน -
- นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น ใน google
form ผา่ นหอ้ งเรยี น 5
การนำเสนอประเดน็ ที่ กลุ่มปดิ face book ช่ือกลุ่ม IS-M4/2-2564
ตนเองสนใจศึกษา และ IS-M4/5-2564 10
ค้นคว้า หนา้ ชั้นเรียน
การนำเสนอประเด็นท่ีตนเองสนใจศกึ ษา
แผนภาพความคิด ค้นคว้า โดยจัดทำวีดีโอ สง่ งานผา่ น
สังเคราะห์ โครงเรือ่ ง หอ้ งเรียน
การศกึ ษาค้นคว้า
เชื่อมโยงทฤษฎคี วามรู้ กลุ่มปิด face book ช่ือกล่มุ IS-M4/2-2564
และ IS-M4/5-2564

แผนภาพความคิด สังเคราะห์ โครงเรือ่ ง
การศกึ ษาคน้ ควา้ เชื่อมโยงทฤษฎคี วามรู้
โดยส่งงานผา่ นหอ้ งเรียน Google
Classroom ชอ่ื หอ้ ง IS-M4/2-2564
และ IS-M4/5-2564

tion

Research and Knowledge Forma

สัปดาห์ วนั เดอื น ผลการเรียนรู้ หน่วย/สาระสำคญั เวลา
ท่ี ปี (ชั่วโมง)

4 21 - 25 ต้งั สมมตฐิ านและให้ หน่วย : เปดิ ประเดน็ 2

มิ.ย. 64 เหตุผลสนับสนุนหรือ ปญั หา 2

โตแ้ ยง้ โดยใช้ความรู้ สาระสำคญั 4

จากศาสตร์สาขาต่างๆ - การตั้งสมมติฐาน

ได้

5 28 มิ.ย. ออกแบบวางแผน หน่วย : เปดิ ประเดน็

- 2 ก.ค. รวบรวมข้อมลู ได้อย่าง ปัญหา

64 มีประสทิ ธิภาพ สาระสำคัญ

- การออกแบบวาง

แผนการเกบ็ รวบรวม

ข้อมูล

-การจัดทำตารางการ

เก็บข้อมูล

6-7 5 - 16 ศกึ ษา ค้นควา้ หนว่ ย : ปรารถนา

ก.ค. 64 แสวงหาความรู้ คำตอบ

เก่ียวกบั ประเด็นที่ สาระสำคญั

เลือก จากแหลง่ เรียนรู้ การสืบค้น ข้อมูลจาก

ทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ แหลง่ เรียนรทู้ ี่มี

ประสทิ ธิภาพ

Research and Knowledge Format

ation Page …..30

การจัดการเรยี นรูใ้ น การจดั การเรียนรูใ้ นภาวะไม่ปกติ นำ้ หนัก
ภาวะปกติ คะแนน
ชิน้ งาน/ภาระงาน
ชิน้ งาน/ภาระงาน กำหนดสมมตฐิ านของการศึกษาคน้ คว้า 10
กำหนดสมมตฐิ านของ ของตนเอง โดยจัดทำใน google doc
การศึกษาค้นคว้า ของ และส่งงานผ่านห้องเรียน Google 5
ตนเอง Classroom ชื่อห้อง IS-M4/2-2564
และ IS-M4/5-2564
ตารางการเก็บข้อมลู ตารางการเก็บข้อมลู พร้อมบัตรบันทกึ
พรอ้ มบัตรบันทึกแหล่ง แหลง่ อา้ งองิ ของตนเอง โดยจัดทำใน
อ้างองิ google doc และส่งงานผ่านห้องเรียน
Google Classroom ชื่อห้อง IS-M4/2-
2564 และ IS-M4/5-2564

โครงรา่ งการศึกษา โครงร่างการศึกษาค้นคว้า ของตนเอง โดย 7
คน้ คว้า จดั ทำใน google doc และส่งงานผ่าน
หอ้ งเรียน Google Classroom ช่ือหอ้ ง
IS-M4/2-2564 และ IS-M4/5-2564

tion

Research and Knowledge Forma

สปั ดาห์ วนั เดือน ผลการเรยี นรู้ หนว่ ย/สาระสำคัญ เวลา
ที่ ปี (ชวั่ โมง)

8-13 19 ก.ค. ศกึ ษา คน้ ควา้ หนว่ ย : ปรารถนา 12

– 20 แสวงหาความรู้ คำตอบ

ส.ค. 64 เกี่ยวกบั ประเด็นที่ สาระสำคัญ

เลือก จากแหล่งเรยี นรู้ ปฏิบตั ิการรวบรวม

ทม่ี ีประสทิ ธิภาพ ข้อมูลตามแผนปฏิบัติ

การ

10 สอบกลางภาคเรียนที่ 1 เก็บคะแนนจ

14-15 23 ส.ค. วเิ คราะหข์ ้อคน้ พบด้วย หน่วย : ปรารถนา 4

- 3 ก.ย. สถติ ทิ เ่ี หมาะสม คำตอบ

64 สาระสำคญั

-ตรวจสอบความ

น่าเชอ่ื ถือของแหลง่ ทีมา

ของข้อมูล

-การวเิ คราะหข์ ้อค้นพบ

Research and Knowledge Format

ation Page …..31

การจดั การเรียนรู้ใน การจัดการเรยี นรู้ในภาวะไม่ปกติ นำ้ หนกั
ภาวะปกติ คะแนน
ชน้ิ งาน/ภาระงาน
ช้นิ งาน/ภาระงาน ข้อมูลจากการสืบคน้ อยา่ งน้อย20 20
แหลง่ ขอ้ มูล โดยจดั ทำวดี โี อ ส่งงานผ่าน
ข้อมลู จากการสบื ค้น ห้องเรียน
อยา่ งน้อย20
แหล่งข้อมูล กลุ่มปิด face book ช่ือกลมุ่ IS-M4/2-2564 และ

IS-M4/5-2564 จัดทำบตั รบันทึก ส่งงานผา่ น
ห้องเรยี น Google Classroom ชอื่ หอ้ ง
IS-M4/2-2564 และ IS-M4/5-2564

จากการปฏบิ ตั ิการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 20 คะแนน

ผลการอภิปรายกลุ่ม ผลการอภิปรายกลุม่ ผา่ น google 13

ในชน้ั เรยี น meet/Zoom /Live ผา่ นกลุ่มปิด face

book หรอื Line

tion

Research and Knowledge Forma

สัปดาห์ วนั เดือน ผลการเรยี นรู้ หนว่ ย/สาระสำคญั เวล
ที่ ปี (ชว่ั โ

16-17 6 - 17 สังเคราะห์ สรปุ องค์ หน่วย : รอบคอบมีปัญญา 4
ก.ย. 64 ความรดู้ ้วย สาระสำคัญ
กระบวนการกลุ่มได้ - การสงั เคราะห์ สรุปองค์
ความร้จู ากข้อมลู ทไ่ี ด้มาด้วย
กระบวนการกลุ่ม

18-19 20 ก.ย. เสนอแนวคิด การ หนว่ ย : รอบคอบมีปัญญา 4

- 1 ต.ค. แกป้ ัญหาอย่างเป็น สาระสำคัญ

64 ระบบด้วยองค์ความรู้ นำเสนอผลงานจากการศึกษา

จากการค้นพบ คน้ ควา้

20 4 - 8 เสนอแนวคดิ การ หน่วย : รอบคอบมีปญั ญา 2

ต.ค.64 แก้ปญั หาอย่างเป็น สาระสำคญั

ระบบดว้ ยองคค์ วามรู้ -สะทอ้ นความคิดเหน็ ต่อการ

จากการค้นพบ เรยี นการสอนวิชา การศึกษา

ค้นควา้ และสรา้ งองคค์ วามรู้

รหัส I30201

รวมน้ำหนักคะแนนตลอด

Research and Knowledge Format

ation Page …..32

การจดั การเรียนรู้ การจดั การเรียนรใู้ นภาวะไมป่ กติ น้ำหนัก
ลา ในภาวะปกติ คะแนน

โมง) ชนิ้ งาน/ภาระ ชนิ้ งาน/ภาระงาน 20

งาน

4 แผนภาพความคิด แผนภาพความคิด สง่ งานผ่านหอ้ งเรยี น

Google Classroom ชื่อหอ้ ง IS-M4/2-

2564 และ IS-M4/5-2564

4 นำเสนอผลงาน นำเสนอผลงานผ่านสอ่ื Social อยา่ งอิสระ 10
-
หน้าช้นั เรยี น และรว่ มกันอภปิ รายกลมุ่ ผา่ น google

meet/Zoom /Live ผ่านกลุ่มปิด face

book หรอื Line

2 ผลงานการถอด ผลงานการถอดบทเรยี น สง่ งานผา่ น

บทเรียน หอ้ งเรียน Google Classroom ช่ือหอ้ ง

IS-M4/2-2564 และ IS-M4/5-2564

ดภาคเรยี น 100

tion

Research and Knowledge Forma

หมายเหตุ
1. กลุ่มปิด face book มดี งั น้ี
1.1 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4/2 ชอ่ื กล่มุ IS-M4/2-2564
1.2 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4/5 ชอื่ กลุ่ม IS-M4/5-2564
2. ห้องเรียน Google Classroom มีดงั นี้
2.1 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4/2 ชือ่ ห้อง IS-M4/2-2564
2.2 ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4/5 ชื่อห้อง IS-M4/5-2564

Research and Knowledge Format

ation Page …..33
tion


Click to View FlipBook Version