The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรชั้นเรียนรายวิชา IS1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปลงซะ ทำดีได้ดี, 2021-05-18 23:43:30

หลักสูตรชั้นเรียนรายวิชา IS1

หลักสูตรชั้นเรียนรายวิชา IS1

Keywords: หลักสูตรชั้นเรียน,IS1,การสอนออนไลน์

Research and Knowledge Formation Page …..34

หนว่ ยท่ี 1 เรอ่ื ง เปิดประเด็นปญั หา เวลาเรยี น 10 ชวั่ โมง
หนว่ ยที่ 2 เรื่อง ปรารถนาคำตอบ เวลาเรียน 20 ช่ัวโมง
หน่วยที่ 3 เรอ่ื ง รอบคอบมีปญั ญา เวลาเรียน 10 ชว่ั โมง
รวมเวลาเรยี น 40 ช่ัวโมง

9.2 รปู แบบหรือวธิ กี ารจดั การเรยี นการสอน (ดงั เอกสารแนบ)
1. Active Learning ( Problem-based Learning (PBL), GPAS 5 Steps)
2. กระบวนการกลุ่ม (GROUP PROCESS)

9.3 สื่อการเรียนรู้
1. .ใบความรู้
2. ใบงาน
3. สอื่ ICT, ส่ืออินเทอร์เนต็

9.4 วิธีวัดและประเมินผล
1. ประเมินผลงาน
2. สังเกตการปฏิบัติงาน
3. คะแนนพฤติกรรม

9.5 ช้ินงานและภาระงาน
1. ผลงานจากการปฏิบตั ิ ( แผนภาพความคดิ ใบงาน สมุดบันทึก)
2. การนำเสนอผลงาน
3. ข้อมลู จากการศึกษาค้นคว้า

10. แหลง่ เรยี นรู้
1. หอ้ งสมุดโรงเรยี นจอมพระประชาสรรค์
2. ห้องสมดุ ประชาชน
3. อินเทอร์เน็ต
4. บคุ คล

ลงชื่อ...................... .................ครูประจำวชิ า ลงชอ่ื .................. ..................หัวหนา้ กลุม่ สาระฯ
(นางสาวสพุ รรณี ขาวงาม) (นางสริ ริ ัตน์ ขมุ ทอง )

............/.................../..............

(ลงชอื่ ) วา่ ท่ี ร.ต.......................รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ (ลงชื่อ)......................ผอู้ ำนวยการ

(ทองดี ศรีวิเศษ) (นายสฤษด์ิ วิวาสขุ ุ)

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..35

กำหนดกำรสอนทแี่ สดงถึงวธิ กี ำรจดั กำรเรยี นรู้ Active Learning ทห่ี ลำกหลำย
วิชำกำรศึกษำคน้ ควำ้ และสร้ำงองคค์ วำมรู้ รหสั วิชำ I30201 ภำคเรยี นท่ี 1

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Forma

กำหนดการสอนทแี่ สดงถึงวิธีการจัดการเรียน

หน่วย ชอ่ื หน่วย แผนการ ชอ่ื แผน เวลา
ท่ี จดั การ (ชว่ั โมง)
เรยี นรทู้ ี่ การตั้งประเด็น
1 เปดิ ประเด็นปญั หา ปญั หา 2 ตงั้ ป
(ปฐมนเิ ทศ 1 ชม.) 2 ปัจจ

3 ทฤษฎีความรู้ 3 มคี ว
ควา

4 การตัง้ สมมติฐาน 2 ตั้งส
สนบั
จาก

Research and Knowledge Format

ation Page …..36

นรู้ Active Learning ที่หลากหลาย ภาคเรยี นที่ 1

ผลการเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้

ประเดน็ ปัญหาจากสถานการณ์ วธิ ีการจัดการเรียนร้แู บบ Project Based Learning (PBL) ดงั น้ี
จุบนั และสงั คมโลกได้ ขน้ั ที่ 1 การเตรยี มความพร้อม
ขนั้ ที่ 2 ศึกษาความเป็นไปได้
วามรเู้ ข้าใจเกย่ี วกับทฤษฎี ขั้นที่ 3 กำหนดหวั ขอ้
ามรสู้ าขาตา่ งๆ ขั้นที่ 4 การดำเนินงานสรา้ งช้นิ งาน
ข้ันที่ 5 นำเสนอผลงาน
สมมตฐิ านและให้เหตุผล
บสนนุ หรือโตแ้ ย้งโดยใชค้ วามรู้ วธิ ีสอนแบบคน้ พบ (Discovery Method) ดงั นี้
กศาสตร์สาขาต่างๆได้ ขัน้ ที่ 1. ข้ันนำ
ขั้นท่ี 2. ขนั้ ฝกึ ทกั ษะการสืบคน้ ขอ้ มูล
ข้ันที่ 3. ข้ันสรปุ ผล

กระบวนการจดั การเรียนรู้ แบบ BBL ประกอบด้วย 5 ขน้ั ตอน
ดงั นี้

ข้ันที่ 1 ขั้นเตรยี มความพรอ้ ม
ขั้นที่ 2 ขั้นเรยี นรู้
ขนั้ ท่ี 3 ขั้นฝกึ
ขั้นท่ี 4 ขนั้ สรปุ
ขน้ั ท่ี 5 ข้นั ประยุกตใ์ ชท้ นั ทีทันใด

tion

Research and Knowledge Forma

หน่วย ชอ่ื หน่วย แผนการ เวลา
ท่ี จัดการ ชอ่ื แผน (ชั่วโมง)
เรยี นรูท้ ่ี
1 เปิดประเดน็ ปัญหา 2 ออก
5 การวางแผน ขอ้ ม
รวบรวมข้อมูล

2 ปรารถนาคำตอบ 6 การเขยี นบัตร 4 ศกึ ษ
บันทึก ควา
จาก
ประ

7 ปฏบิ ัตกิ ารเกบ็ 12 ศกึ ษ
รวบรวมขอ้ มูล ควา
จาก
ประ

Research and Knowledge Format

ation Page …..37

ผลการเรยี นรู้ กระบวนการจดั การเรยี นรู้

กแบบ วางแผนรวบรวม กระบวนการจดั การเรียนรู้ แบบ GPAS (พว.)

มลู ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ข้ันท่ี 1 ขน้ั รวบรวบข้อมูล ( Gathering )

ขน้ั ที่ 2 ข้นั การจัดกระทำกับข้อมูล(Processing)

ขั้นที่ 3 ข้ันประยุกต์ใช้ ( Applying )

ขั้นท่ี 4 ข้นั ประเมินเพอื่ เพ่ิมคุณคา่ (Self-Regulating)

ษา คน้ ควา้ แสวงหา กระบวนการจดั การเรียนรู้ แบบ BBL (5 ขน้ั )

ามรู้เกีย่ วกับประเดน็ ที่เลือก ขนั้ ท่ี 1 ขั้นอุ่นเครือ่ ง (Warm-up Stage)

กแหลง่ เรียนรู้ท่ี ขน้ั ที่ 2 ขั้นเรียนรู้ (Learning Stage)

ะสิทธภิ าพได้ ขั้นท่ี 3 ขน้ั ฝกึ (Practice Stage)

ข้ันที่ 4 ข้ันสรปุ (Conclusion Stage)

ข้ันที่ 5 ขัน้ นำความรู้ไปใช้ (Application Stage)

ษา คน้ ควา้ แสวงหา วธิ สี อนแบบค้นพบ (Discovery Method) ดงั น้ี

ามรูเ้ กยี่ วกับประเด็นท่ีเลือก ขั้นท่ี 1. ขน้ั นำ

กแหลง่ เรียนรู้ท่ี ขน้ั ที่ 2. ขน้ั ฝึกทักษะการสบื ค้นข้อมลู

ะสทิ ธภิ าพได้ ขน้ั ที่ 3. ขนั้ สรุปผล

tion

Research and Knowledge Forma

หนว่ ย ช่อื หน่วย แผนการ เวลา
ที่ จัดการ ชื่อแผน (ชว่ั โมง)
เรียนร้ทู ี่
2 ปรารถนาคำตอบ 4 วิเค
8 การวิเคราะห์ข้อ สถิต
คน้ พบ

3 รอบคอบมปี ญั ญา 9 การสร้างองค์ 4 สงั เ
ความรู้ ควา
กล่มุ
10 การนำเสนอ
ผลงาน 4 เสน
แกป้
ด้วย
คน้

Research and Knowledge Format

ation Page …..38

ผลการเรียนรู้ กระบวนการจดั การเรียนรู้

คราะหข์ ้อคน้ พบดว้ ย กระบวนการจัดการเรียนร้แู บบ GPAS 5 ขัน้ ตอน (พว.)

ตทิ ี่เหมาะสมได้ ขั้นที่ 1 ขั้นรวบรวบข้อมูล ( Gathering )

ขั้นท่ี 2 ขนั้ คิดวเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความรู้ (Processing)

ขน้ั ที่ 3 ข้ันปฏิบัติและสรุปความรหู้ ลัง

การปฏบิ ตั ิ (Applying and Constructing)

ขั้นท่ี 4 ขั้นการส่อื สาร /นำเสนอ (Applying)

ขั้นท่ี 5 ขัน้ ประเมินผล (Self Regulation)

เคราะห์ สรุปองค์ วิธีสอนแบบคน้ พบ (Discovery Method)

ามรดู้ ้วยกระบวนการ ขน้ั ที่ 1. ขั้นนำ

มได้ ขั้นท่ี 2. ขั้นฝกึ ทกั ษะการสบื ค้นขอ้ มูล

ขั้นที่ 3. ข้ันสรุปผล

นอแนวคดิ การ วิธีสอนแบบคน้ พบ (Discovery Method) ดงั น้ี

ปัญหาอย่างเปน็ ระบบ ขนั้ ท่ี 1. ขัน้ นำ

ยองค์ความรู้จากการ ขน้ั ท่ี 2. ข้นั ฝกึ ทักษะ

นพบ ขน้ั ที่ 3. ขน้ั สรปุ ผล

tion

Research and Knowledge Forma

หนว่ ย ชอ่ื หน่วย แผนการ เวลา
ที่ จดั การ ชอื่ แผน (ช่ัวโมง)
เรยี นรทู้ ่ี
3 รอบคอบมปี ัญญา 2
11 การสะท้อน
ความคิด

รวมชั่วโมงท้ังส้นิ 40

Research and Knowledge Format

ation Page …..39

ผลการเรียนรู้ กระบวนการจดั การเรยี นรู้

เสนอแนวคิด การแก้ปญั หาอยา่ งเป็น กิจกรรมการเรียนรู้ (การสะทอ้ นคดิ ตาม
ระบบดว้ ยองคค์ วามร้จู ากการค้นพบ แนวคิดหมวก 6 ใบ)

ขั้นที่ 1 ขั้นกระต้นุ คิด
ขนั้ ท่ี 2 ขัน้ ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม วดั การสะท้อนคิด
ตามแนวคดิ หมวก 6 ใบ ซึง่ มีข้อคำถาม

คำถามท่ี 1 ตัง้ คำถามใหค้ ิด(สีขาว)
คำถามท่ี 2 ถามความรู้สึก (สีแดง)
คำถามท่ี 3 ตรวจสอบรอบดา้ น (สดี ำ)
คำถามที่ 4 หาข้อดีของผลงาน (สเี หลอื ง)
คำถามที่ 5 หาทางเลือก/พฒั นาผลงาน

(สเี ขยี ว)
คำถามท่ี 6 ตอ่ ยอดความรู้ (สนี ้ำเงิน)
ขน้ั ท่ี 3 ข้นั สรุปผล

tion

Research and Knowledge Formation Page …..40

กำหนดช้นิ งานสำคัญเพ่อื การวัดผลประเมนิ ผลนักเรยี น

โรงเรยี นจอมพระประชาสรรค์ อำเภอจอมพระ จงั หวัดสรุ ินทร์ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564

ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4 วชิ าการศกึ ษาค้นควา้ และสร้างองคค์ วามรู้ รหสั วิชา I30201 จำนวน 1.0 หน่วยกิต
ครูประจำวชิ า นางสาวสุพรรณี ขาวงาม

ท่ี ชื่อช้ินงาน/ ลักษณะ คะแนน ว/ด/ป ว/ด/ป หมายเหตุ
20 สั่งงาน สง่ งาน
ภาระงาน งาน
5 ก.ค. -13 30 ก.ย. 64
1. ขอ้ มลู จากการสบื ค้นอยา่ งน้อย กลุม่ ส.ค.64

20 แหล่งข้อมูล

ลงชอื่ .......................................ครูประจำวชิ า ลงช่ือ…………………….................…… หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ
(นางสาวสุพรรณี ขาวงาม) (นางสริ ริ ตั น์ ขมุ ทอง )
............/.................../..............
............/.................../..............

ลงชอ่ื วา่ ทร่ี ้อยตรี................................................ รองผูอ้ ำนวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ
(ทองดี ศรีวิเศษ)

............/.................../..............

ลงชอ่ื ....................................................... ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น
(นายสฤษด์ิ ววิ าสุขุ)

............/.................../............

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..41

การจัดการเรียนรู้

การจดั การเรยี นร้เู ปน็ กระบวนการสำคัญในการนำหลกั สูตรสูก่ ารปฏิบตั ิ หลักสตู รแกนกลางการศึกษา
ขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เปน็ หลกั สตู รทีม่ มี าตรฐานการเรยี นรู้ สมรรถนะสำคญั และคุณลักษณะอนั พงึ
ประสงคข์ องผู้เรียน เปน็ เปา้ หมายสำหรบั พัฒนาเด็กและเยาวชน หลักสูตรการเรยี นการสอนโรงเรยี น
มาตรฐานสากล ซึง่ เปน็ หลักสตู รทสี่ ่งเสริม ปลูกฝัง และพัฒนาผ้เู รยี นท้งั ด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มี
จติ สำนกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก

ในการพฒั นาผเู้ รียนให้มคี ุณสมบตั ิตามเปา้ หมายหลักสตู ร ผู้สอนพยายามคดั สรร กระบวนการเรียนรู้
จดั การเรยี นรู้โดยช่วยให้ผเู้ รยี นเรยี นรผู้ า่ นสาระ ผลการเรยี นรู้ทก่ี ำหนดไวใ้ นหลักสตู ร 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
รวมท้ังปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ พฒั นาทักษะต่างๆ อนั เป็นสมรรถนะสำคัญใหผ้ ู้เรยี นบรรลุ
ตามเปา้ หมาย

1. หลักการจดั การเรียนรู้

การจัดการเรยี นรู้เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีความร้คู วามสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคญั และ
คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ตามที่กำหนดไวใ้ นหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 โดย
ยดึ หลักว่า ผู้เรียนมคี วามสำคัญทสี่ ุด เชอ่ื ว่าทุกคนมคี วามสามารถเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชนท์ ่ี
เกดิ กับผูเ้ รยี น กระบวนการจัดการเรยี นรูต้ ้องสง่ เสริมให้ผเู้ รยี น สามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตาม
ศักยภาพ คำนงึ ถงึ ความแตกต่างระหว่างบคุ คลและพฒั นาการทางสมอง เนน้ ใหค้ วามสำคัญทัง้ ความรู้ และ
คุณธรรม และตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรการเรียนการสอนโรงเรยี นมาตรฐานสากล ซงึ่ เป็นหลักสตู รท่ีส่งเสรมิ
ปลูกฝงั พัฒนาผเู้ รยี นทัง้ ด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนกึ ในความเปน็ พลเมืองไทยและพลเมืองโลก
พฒั นาสอดคลอ้ งกับทักษะท่ีจำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 และพระบรมราโชบาย ในหลวงรัชกาลท่ี 10 ด้าน
การศกึ ษา โดยม่งุ เนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใชห้ ลักการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
(Active learning) ซึ่งเป็นการเรยี นร้ทู ่ผี เู้ รยี นได้มีสว่ นในการลงมือกระทำ เปน็ การจดั การเรยี นรู้ท่ีครผู ู้สอน
จัดการเรยี นร้โู ดยผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมต่าง ๆ

2. กระบวนการเรยี นรู้

การจดั การเรยี นรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรยี นจะต้องอาศัยกระบวนการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย เปน็
เคร่ืองมือทจ่ี ะนำพาตนเองไปส่เู ป้าหมายของหลกั สตู ร กระบวนการเรียนรทู้ ่ีจำเปน็ สำหรับผูเ้ รียน คือ
กระบวนการจัดการเรียนรู้เชงิ รกุ (Active learning) อาทิ วิธีการจัดการเรียนรูแ้ บบ Project Based
Learning (PBL) วธิ สี อนแบบค้นพบ (Discovery Method) กระบวนการจัดการเรียนรูแ้ บบสืบเสาะ
(Inquiry) 5E กระบวนการเรียนรู้แบบบรู ณาการ กระบวนการสรา้ งความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทาง
สงั คม กระบวนการเผชญิ สถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้ จากประสบการณ์จรงิ กระบวนการ
ปฏบิ ัติ ลงมือทำจริง กระบวนการจดั การ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรยี นรู้ของตนเอง

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..42

กระบวนการเหลา่ นเ้ี ปน็ แนวทางในการจัดการเรยี นรทู้ ีผ่ เู้ รียนควรไดร้ บั การฝึกฝน พฒั นา เพราะจะ
สามารถช่วยใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรยี นรู้ได้ดี บรรลเุ ปา้ หมายของหลกั สตู ร ดงั นัน้ ผสู้ อนจึงจำเป็นตอ้ งศึกษาทำ
ความเขา้ ใจในกระบวนการเรียนรตู้ ่าง ๆ เพอ่ื ให้สามารถเลือกใช้ในการจัดการเรียนร้ไู ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

3. การออกแบบการจดั การเรียนรู้

ผสู้ อนต้องศกึ ษาหลักสูตรสถานศกึ ษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีว้ ัด สมรรถนะสำคญั ของ
ผเู้ รียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ และสาระการเรยี นรทู้ ่ีเหมาะสมกบั ผเู้ รียน แลว้ จงึ พจิ ารณาออกแบบการ
จดั การเรียนรู้โดยเลอื กใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นได้
พัฒนาเตม็ ตามศักยภาพและบรรลตุ ามเปา้ หมายที่กำหนด

4. บทบาทของผสู้ อนและผ้เู รียน

การจัดการเรยี นรเู้ พอ่ื ให้ผเู้ รยี นมคี ุณภาพตามเป้าหมายของหลกั สูตร ทงั้ ผู้สอนและผูเ้ รียนควรมี
บทบาท ดังน้ี

4.1 บทบาทของผสู้ อน
1) ศกึ ษาวเิ คราะห์ผู้เรยี นเป็นรายบคุ คล แลว้ นำข้อมลู มาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ท่ีท้าทาย
ความสามารถของผู้เรียน
2) กำหนดเป้าหมายทต่ี ้องการให้เกิดขึน้ กบั ผู้เรียน รอบด้านทง้ั ด้านความรู้และทักษะกระบวนการ ท่ี
เป็นความคดิ รวบยอด หลักการ และความสมั พันธ์ รวมทง้ั คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
3) ออกแบบการเรยี นรู้และจัดการเรยี นรทู้ ่ีตอบสนองความแตกต่างระหว่างบคุ คลและพัฒนาการทาง
สมอง เพื่อนำผเู้ รยี นไปสู่เป้าหมาย
4) จัดบรรยากาศทีเ่ ออ้ื ต่อการเรียนรู้ และดแู ลชว่ ยเหลือผ้เู รยี นใหเ้ กิดการเรียนรู้
5) จดั เตรยี มและเลอื กใช้ส่อื ใหเ้ หมาะสมกับกิจกรรม นำภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมมา
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั การเรียนการสอน
6) ประเมนิ ความก้าวหนา้ ของผเู้ รียนด้วยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย เหมาะสมกับ ธรรมชาติของวิชาและ
ระดับพัฒนาการของผ้เู รยี น
7) วิเคราะหผ์ ลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสรมิ และพัฒนาผเู้ รียน รวมทง้ั ปรบั ปรงุ การจัดการเรียน
การสอนของตนเอง
4.2 บทบาทของผเู้ รยี น
1) กำหนดเป้าหมาย วางแผนและรับผดิ ชอบการเรียนร้ขู องตนเอง
2) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรยี นรู้ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ขอ้ ความรู้ ต้ังคำถาม คดิ หา
คำตอบหรือหาแนวทางแกป้ ัญหาดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ
3) ลงมอื ปฏิบัตจิ ริง สรุปสิง่ ที่ได้เรียนร้ดู ้วยตนเอง และนำความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ช้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ
4) มปี ฏิสัมพันธ์ ทำงาน ทากิจกรรมร่วมกบั กลุม่ และครู
5) ประเมนิ และพฒั นากระบวนการเรียนรขู้ องตนเองอยา่ งต่อเนือ่ ง

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..43

แนวทางการวัดและประเมนิ ผล
กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
เป็นกระบวนการเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ตีความผลการเรียนรู้และพัฒนาการด้านต่างๆ ของผู้เรียนตาม
มาตรฐานการเรยี นรู้ /ตวั ชว้ี ัด ของหลกั สตู ร นำผลไปปรบั ปรงุ พัฒนาการจดั การเรยี นรู้และใช้เป็นข้อมูลสำหรับ
การตัดสินผลการเรียน โดยมีองค์ประกอบของการวัดผลและประเมินการเรียนรู้ที่หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนด จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ และมาตรฐานการเรียนรู้ไว้เปน็ เป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาผู้เรียนใหเ้ ป็นคนดี มีปัญญา
มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก กำหนดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด ที่กำหนดในสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ มีความสามารถด้านการอ่าน คิด
วิเคราะห์และเขยี น มีคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคแ์ ละเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น

การวดั และประเมินผลรายกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ผู้สอนวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ผู้เรียน
ตามตัวชี้วัดในรายวิชาพื้นฐาน/เพิ่มเติม ตามที่กำหนดไว้ในหน่วยการเรียนรู้ ใช้วิธีการวัดและประเมินผลท่ี
หลากหลาย จากแหล่งข้อมูลหลาย ๆ แหล่ง เพื่อให้ได้ผลการประเมินที่สะท้อนความรู้ความสามารถที่แท้จริง
ของผู้เรียนโดยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอนโดยสังเกต
พัฒนาการและความประพฤติของผู้เรียน สังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม การประเมินตาม
สภาพจริง เช่น การประเมินการปฏิบัติงาน การประเมินจากชิ้นงาน/ใบงาน การประเมินจากภาระงานท่ี
มอบหมาย เป็นต้น ควบคู่กับการใช้การทดสอบแบบต่างๆ อย่างสมดุลและครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ด้าน
ทักษะ และด้านเจตคติ โดยใหค้ วามสำคัญกบั การประเมนิ ผลระหว่างเรยี นมากกว่าการประเมินปลายปี/ปลาย
ภาคเรยี น และใชเ้ ป็นขอ้ มูลเพ่อื การประเมนิ การเล่ือนชน้ั และการจบการศึกษา

เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ครูผู้สอนต้องตรวจสอบความรู้ความสามารถที่แสดง
พัฒนาการของผู้เรยี นอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง และผู้เรียนต้องรับผิดชอบและตรวจสอบความก้าวหน้าของ
ตนเองอย่างสม่ำเสมอเช่นกัน หน่วยการเรียนรู้เป็นส่วนท่ีครูผู้สอนและผู้เรียนใช้ตรวจสอบย้อนกลับว่าผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้หรือยัง การประเมินในระดับชั้นเรียนต้องอาศัยทั้งผลการประเมินย่อยเพื่อพัฒนา และการ
ประเมนิ ผลรวมเพ่ือสรปุ ผลการเรยี นร้เู ม่ือจบหน่วยการเรยี นร้แู ละจบรายวิชา

วิธีการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ให้บรรลุผลตามเป้าหมายของการเรียนรู้ที่วางไว้ควรมี
แนวทางดังต่อไปนี้

1. ตอ้ งวดั ท้งั ความรู้ ความคดิ ความสามารถ ทกั ษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม
คา่ นิยมรวมทง้ั โอกาสในการเรียนของผูเ้ รยี น

2. วธิ ีการวัดผลและประเมนิ ผล ต้องสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรียนรู้
3. ตอ้ งเก็บข้อมลู ท่ีได้จากการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริงและต้องประเมินผลภายใต้
ข้อมูลท่ีมีอยู่
4. ผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องนำไปสู่การแปลผลและลงข้อสรุปที่
สมเหตสุ มผล
5. การวดั ผลต้องเทยี่ งตรงและเป็นธรรม ทงั้ ดา้ นของวิธีการวดั โอกาสของการประเมิน

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..44

การวดั ผลประเมนิ ผลตามสภาพจริง
กิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนมีหลากหลายเช่นกิจกรรมในห้องเรียน กิจกรรมการปฏิบัติ

กิจกรรมการสำรวจ กิจกรรมการตรวจสอบ กิจกรรมศึกษาค้นคว้า ฯลฯ อย่างไรก็ตามในการทำกิจกรรมต้อง
คำนึงว่าผู้เรียนแต่ละคนมีศักยภาพที่แตกต่างกัน ผู้เรียนแต่ละคนจึงอาจทำงานชิ้นเดียวกันได้เสร็จในเวลาที่
แตกต่างกัน และผลของงานที่ได้อาจแตกต่างกันด้วย เมื่อผู้เรียนทำกิจกรรมเหล่านี้เสร็จแล้วก็จะต้องเก็บ
รวบรวมผลงาน เช่น รายงาน ชิ้นงาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏิบัติต่างๆ เจตคติ ความรัก ความซาบซ้ึง
กิจกรรมที่ผู้เรียนได้ทำเหล่านี้ต้องใช้วิธี ประเมินที่มีความแตกต่างกัน เพื่อช่วยให้สามารถประเมินความรู้
ความสามารถและความรู้สึกนึกคิดที่แท้จริงของผู้เรียนได้ การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจะมี
ประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อมีการประเมินหลายๆ ด้าน หลากหลายวิธี ในสถานการณ์ต่าง ๆ กันสอดคล้องกับ
ชีวิตจริง และต้องประเมนิ อยา่ งต่อเนอื่ งเพ่ือจะได้ข้อมูลท่ีมากพอท่ีจะสะท้อนของผเู้ รยี นได้

ลักษณะสำคญั ของการวัดและประเมินผลจากสภาพจริง
1. การวัดประเมินผลตามสภาพจริง มีลักษณะที่สำคัญคือใช้วิธีการประเมินกระบวนการคิดที่

ซับซ้อน ความสามารถในการปฏิบัติงาน ศักยภาพผู้เรียนในด้านของผู้ผลิตและกระบวนการที่
ได้ผลผลติ มากกวา่ ที่จะประเมินวา่ ผเู้ รียนจดจำความรู้อะไรบ้าง
2. เปน็ การประเมนิ ความสามารถของผเู้ รยี นเพื่อวนิ ิจฉยั ผเู้ รยี นในส่วนท่ีควรส่งเสริมและส่วนที่แก้ไข
ปรับปรุงเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพตามความสามารถ ความสนใจและความ
ตอ้ งการของแตล่ ะบุคคล
3. เป็นการประเมินที่จะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมประเมินผลงานของตนเองและของเพื่อน
ร่วมหอ้ ง เพื่อสง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นรู้จกั ตนเอง เชอ่ื ม่ันในตนเอง สามารถพฒั นาตนเองได้
4. ข้อมูลที่ได้จากการประเมินจะสะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการเรียนการสอนและการวางแผนการ
สอนของผู้สอนว่าสามารถตอบสนองความสามารถ ความสนใจและความต้องการของผู้เรียน
แต่ละบุคคลไดห้ รอื ไม่
5. ประเมนิ ความสามารถของผูเ้ รียนในการถ่ายโอนการเรยี นไปสู่ชีวติ จรงิ ได้
6. ประเมินดา้ นตา่ งๆด้วยวธิ ที ่หี ลากหลายในสถานการณ์ต่าง ๆอย่างต่อเน่อื ง

วธิ ีการและแหลง่ ข้อมูลท่ใี ช้
เพื่อให้การวัดและประเมินผลสะท้อนความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียนผลการประเมินอาจได้มาจาก

แหล่งขอ้ มลู และวธิ กี ารต่างๆดังต่อไปนี้
1.การประเมินผลกลุ่ม ( Group Assessment ) ความสามารถที่จะทำงานในฐานะสมาชิกทีม่ ี

ประสทิ ธิภาพของกลุ่มถือเป็นทักษะสำคัญในการจัดการเรียนร้ทู ่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การทำกิจกรรมต้อง
เน้นย้ำการทำงานเป็นกลุม่ ที่มีการจัดการด้านความพร้อมที่มีคุณภาพและมีการประเมินผลที่ละเอียดรอบคอบ
การทำงานกลมุ่ ของผเู้ รียนจะมคี ณุ ภาพสูงสดุ รวมทง้ั มคี วามสนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ เมื่อมีการปฏบิ ตั ิ ดงั นี้

1) จัดบรรยากาศให้เหมาะสม ช่วยให้ผู้เรียนทราบและเข้าใจว่าการทำงานกลุ่มจะให้ผลดีแก่
ผูเ้ รยี นอยา่ งไร ผลงานกลมุ่ จะประเมนิ ด้วยวธิ ีใด

2) จัดให้ผ้เู รยี นทราบว่า งานของกลมุ่ จะประเมินเม่ือใดล่วงหนา้ เพื่อผเู้ รยี นจะได้ไม่กดดันและ
วิตกกังวลวา่ ผู้สอนจะประเมินเม่อื ใด

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..45

3) การกำหนดคะแนนไมค่ วรมากเกินไป เพราะหลกั การตอ้ งการจะพัฒนาการทำงานร่วมกนั
4) แจ้งเกณฑ์การประเมินให้ผู้เรียนได้ทราบ และบอกเกณฑ์บางส่วนให้ พร้อมทั้งให้ผู้เรียน
เพมิ่ เตมิ เกณฑข์ องตนเองได้ จึงค่อยตดั สินใจวา่ แต่ละเกณฑ์จะใหค้ ะแนนอย่างไร
5) จัดเวลาให้ผู้เรียนได้มีการสำรวจว่าคุ้มค่าแก่การเรียนรู้หรือไม่ เป็นการให้ผู้เรียนได้
วิเคราะห์ผลสำเร็จของตนเอง มีเวลาแยกแยะวา่ ยงั มจี ุดใดทสี่ ามารถทำได้ดีย่ิงขึน้ อีก
6) ผู้สอนต้องมั่นใจและกระจ่างชัดเจนว่า สิ่งที่ประเมินผล คือ ผลผลิตจากงานของกลุ่มหรือ
ประเมินกระบวนการทำงาน กระบวนการและผลผลิตเปน็ คนละเรื่องกัน และจำเปน็ ต้องมแี นวทางการประเมิน
ที่แตกต่างกัน ในการทำกิจกรรมกลุ่ม บางกิจกรรมใช้การประเมินผลผลิต แต่บางกิจกรรมอาจใช้เพื่อการ
ประเมนิ ผลกระบวนการปฏิบตั ิเท่าน้ัน
7) ต้องระวังอันตรายจากการประเมินงานกลุ่มเป็นรายบุคคล เพราะจะนำไปสู่ความรู้สกึ เจบ็
ชำ้ นำ้ ใจและการโต้แย้งอย่างรนุ แรงได้ ตอ้ งมีการแจ้งเกณฑ์ล่วงหนา้ มกี ารอภปิ ราย มีขอ้ ตกลงต้ังแต่แรกเร่ิมลง
มอื ปฏิบตั ิกจิ กรรม การประเมินผลบุคคลควรจะทำต่อเมื่อ ผู้เรียนท้งั กลมุ่ ได้รบั การพฒั นาความมน่ั ใจและความ
เชอ่ื ถือ
8) พิจารณาการจดั กลมุ่ จะให้ผูเ้ รยี นจัดกล่มุ เองหรือไมห่ รอื จะใชก้ ารส่มุ จดั ผู้เรียนเข้ากลุ่มเพื่อ
ความเหมาะสมในการคละความสามารถของผู้เรยี นในกล่มุ หรือผสู้ อนจดั ผู้เรียนให้สมดลุ เพือ่ คละประสบการณ์
ความรู้ ความสามารถและทักษะของผูเ้ รียน วธิ ีนม้ี ปี ระโยชนเ์ พื่อจัดกลุ่มการเรียนรูแ้ บบร่วมมืออย่างมีคุณภาพ
แต่ตอ้ งการทกั ษะการประสานงานทสี่ ูงมาก
2. การประเมินตนเอง ( Self Assessment ) ในการเสนอผลงาน ผู้สอนควรฝึกให้ผู้เรียนมี
การประเมินตนเองทั้งด้านความคิด และด้านความรู้สึก โดยให้ผู้เรียนได้พูดถึงงานของตนเอง มีขั้นตอน
กระบวนการทำอยา่ งไร มีจุดบกพร่อง จดุ ดตี รงไหน ผเู้ รยี นไดค้ วามรูอ้ ะไรบา้ งและผเู้ รยี นมคี วามรูส้ กึ อย่างไรต่อ
งานท่ีทำ ขณะเดียวกนั กเ็ ปิดโอกาสให้เพอื่ นไดม้ ีการวิพากษว์ ิจารณง์ านของผู้เรยี นอันจะนำไปสู่ความภาคภมู ิใจ
3. การเขียนรายงาน ( Self - Report) เปน็ การใหผ้ เู้ รยี นเขยี นรายงานเกี่ยวกับพฤติกรรมของ
ตนเอง เหมือนการสมั ภาษณ์เพยี งแตไ่ ม่มคี นคอยต้งั คำถามเทา่ นั้นเอง
จากวิธีการประเมินดังกล่าวสามารถนำมาจัดแสดงวิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้ของ
สาระการเรยี นรู้ในด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ และด้านคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยมได้
การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ควรจดั ใหค้ รอบคลุมทั้งด้านความรู้
ด้านทักษะกระบวนการ และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และ
ตัวชี้วัดตามที่หลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป้าหมายหลักสูตรการเรียนการสอน
โรงเรียนมาตรฐานสากลที่กำหนดไว้ ควรมุ่งเน้นการวัดสมรรถภาพโดยรวมของผู้เรียนเป็นหลัก จุดประสงค์
หลักของการวัดประเมินไม่ใช่อยู่ที่การวัดผลเพื่อตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการวัด
และประเมินผลเพื่อนำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอนเพื่อช่วยพัฒนาใหผ้ ู้เรียนสามารถ
เรยี นรู้ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพและเตม็ ตามศักยภาพ

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..46

คุณภาพของผู้เรียนทีต่ อ้ งประเมนิ

การวัดและประเมินผล กำหนดให้ทำการวัดและประเมนิ ผลตามผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ในการ

วัดและประเมินผล ท่ตี อ้ งนำมาพจิ ารณา มดี ังน้ี

1) ดา้ นความรู้ ในการวัดประเมนิ ผลด้านความร้ตู อ้ งสอดคล้องกบั ผลการเรยี นรู้ 9 ข้อ ดังน้ี

1. ตั้งประเด็นปญั หา จากสถานการณป์ จั จุบันและสังคมโลก

2. มคี วามรเู้ ขา้ ใจเกีย่ วกบั ทฤษฎคี วามรสู้ าขาตา่ ง ๆ

3. ต้งั สมมติฐานและให้เหตผุ ลท่ีสนับสนนุ หรือโตแ้ ยง้ ประเดน็ ความรโู้ ดยใช้ความรู้จากสาขาวิชา

ตา่ ง ๆ และมที ฤษฎรี องรับ

4. ออกแบบ วางแผนใช้กระบวนการรวบรวมข้อมลู อย่างมีประสิทธภิ าพ

5. ศึกษา ค้นควา้ แสวงหาความรู้เกยี่ วกับประเดน็ ท่เี ลือก จากแหล่งเรยี นรู้ทปี่ ระสิทธภิ าพ

6. ตรวจสอบความน่าเช่ือถอื ของแหล่งท่ีมาของข้อมูล

7. วิเคราะห์ข้อคน้ พบด้วยสถิติที่เหมาะสม

8. สังเคราะห์ สรปุ องค์ความรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม

9. เสนอแนวคดิ การแกป้ ญั หาอย่างเป็นระบบด้วยองค์ความรจู้ ากการคน้ พบ

2) ดา้ นทกั ษะ / กระบวนการ

การวัดประเมินผลด้านทักษะ / กระบวนการ เป็นการวัดความสามารถของผู้เรียนครอบคลุม

ประเด็นที่ต้องประเมนิ ดังน้ี

1. การแกป้ ัญหา

2. การให้เหตุผล

3. การส่อื สาร การสอ่ื ความหมาย และการนำเสนอ

4. การเชือ่ มโยง

5. ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์

3). ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

การวดั ประเมินผลดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ครอบคลมุ ประเดน็ ที่ตอ้ งประเมนิ ดังน้ี

1. ทำงานอยา่ งเป็นระเบยี บ

2. มีระเบยี บวินัย

3. มคี วามรอบคอบ

4. มคี วามรับผิดชอบ

5. มวี จิ ารณญาณ

6. มคี วามเช่ือมนั่ ในตนเอง

7. ตระหนักในคณุ คา่ และมเี จตคติท่ีดี

นอกจากนี้ยังครอบคลุมประเด็นการประเมินตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พุทธศกั ราช 2551 ได้แก่

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต

3. มวี ินัย 4. ใฝเ่ รียนรู้

5. อย่อู ยา่ งพอเพียง 6. ม่งุ ม่นั ในการทำงาน

7. รกั ความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..47

องคป์ ระกอบของการจดั การเรียนการสอน
ในการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนต้องจัดกิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนมีผลการเรียนรู้ มีพัฒนาการ

ตามผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ ซึ่งต้องอาศัยการวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้
องค์ประกอบของการสอนท้ังสามส่วนมคี วามสัมพนั ธ์กบั ดงั ภาพ

ตัวชี้วัดการเรยี นรู้

กจิ กรรมการเรยี นรู้ การวัดละประเมินผลการ
เรียนรู้

ภาพประกอบท่ี 3 ความสัมพันธ์ขององคป์ ระกอบของการจัดการเรยี นการสอน

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ สามารถกำหนดวิธีการและเครื่องมือสำหรับวัดและ
ประเมินผลภายใต้กรอบของผลการเรียนรู้ วิธีวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ที่สำคัญ ได้แก่ การ
ทดสอบ การสังเกต การสัมภาษณ์ และการประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน สำหรับเครื่องมือที่ใช้ ได้แก่
แบบทดสอบ แบบสงั เกต และแบบประเมินคุณภาพ ตามลำดบั การสรา้ งเครอื่ งมือ และเกณฑก์ ารประเมิน
ทำไดโ้ ดยวเิ คราะห์ผลการเรียนรู้

เกณฑ์การประเมิน

เกณฑ์การประเมินที่นำเสนอนี้เพื่อเป็นแนวทางให้ครูผู้สอนใช้เป็นกรอบในการประเมินคณุ ภาพของ
ผู้เรียนในดา้ นตา่ ง ๆ ดังนี้
1. เกณฑก์ ารให้คะแนนผลการเรียนร้โู ดยการสอบ

สำหรับแบบทดสอบท่ีเป็นปรนัยเลือกตอบ สามารถกำหนดเกณฑ์ในการให้คะแนนอย่างกว้าง ๆ
คอื ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผดิ ได้ 0 คะแนน

สำหรบั แบบทดสอบท่เี ป็นอัตนยั หรือแบบความเรยี งสามารถกำหนดตวั บ่งชีแ้ ละเกณฑ์ในการให้
คะแนนมากกว่าสองระดับ เช่น อาจกำหนดคะแนนเต็มเป็น 4 คะแนน แล้วพิจารณากำหนดเกณฑ์การให้
คะแนนลดหลัน่ ลงมา สำหรับนักเรยี นทแ่ี สดงผลการเรยี นยงั ไมถ่ ึงเกณฑก์ ำหนด

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..48

2. เกณฑ์การใหค้ ะแนนด้านทักษะ / กระบวนการ
แบบแยกองค์ประกอบ

ทักษะกระบวนการ การแก้ปัญหา

คะแนน / ความหมาย ความสามารถในการแก้ปญั หาที่ปรากฏใหเ้ หน็

4 ดีมาก ใช้ยุทธวิธีการดำเนินการแก้ปัญหาสำเรจ็ อย่างมีประสิทธิภาพ อธิบายถึงเหตุผล

ในการใชว้ ธิ ีการดังกล่าวได้เขา้ ใจชดั เจน

3 ดี ใช้ยุทธวิธีการดำเนินการแก้ปัญหาสำเร็จ แต่น่าจะอธิบายถึงเหตุผลในการใช้

วธิ กี ารดงั กล่าวได้ดกี วา่ นี้

2 พอใช้ ใชย้ ทุ ธวธิ กี ารดำเนินการแก้ปัญหา สำเร็จเพียงบางสว่ น อธบิ ายถึงเหตุผลในการใช้

วิธกี ารดงั กล่าวไดบ้ างสว่ น

1 ตอ้ งปรบั ปรุง มรี ่องรอยการดำเนินการแก้ปัญหาบางสว่ น เริม่ คิดว่าทำไมจงึ ต้องใชว้ ิธีการน้ันแล้ว

หยุด อธบิ ายต่อไมไ่ ด้ แก้ปญั หาไม่สำเรจ็

0 ไม่พยายาม ทำได้ไมถ่ ึงเกณฑ์ขา้ งตน้ หรอื ไม่มรี ่องรอยการดำเนินการแกป้ ัญหา

ทกั ษะกระบวนการ การให้เหตุผล

คะแนน / ความหมาย ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลท่ีปรากฏให้เห็น

4 ดมี าก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสนิ ใจอยา่ งสมเหตสุ มผล

3 ดี มีการอา้ งอิงถกู ต้องบางส่วน และเสนอแนวคิดประกอบการตดั สินใจ

2 พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตผุ ลในการประกอบการตดั สนิ ใจ

1 ตอ้ งปรบั ปรงุ มีความพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ

0 ไม่พยายาม ไมม่ แี นวคดิ ประกอบการตดั สนิ ใจ

ทกั ษะกระบวนการ การเชือ่ มโยง

คะแนน / ความหมาย ความสามารถในการเชอ่ื มโยงทีป่ รากฏใหเ้ ห็น
4 ดีมาก
นำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในการเชือ่ มโยงกับสาระภาษาไทย/ สาระอนื่
3 ดี / ในชีวิตประจำวัน เพื่อช่วยในการแก้ปัญหา หรือประยุกต์ใช้ได้อย่างสอดคล้อง
และเหมาะสม
2 พอใช้
1 ต้องปรบั ปรุง นำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในการเชื่อมโยงกับสาระภาษาไทย/ สาระอืน่
0 ไมพ่ ยายาม / ในชวี ติ ประจำวนั เพือ่ ชว่ ยในการแกป้ ัญหา หรอื ประยกุ ต์ใชไ้ ด้บางสว่ น
นำความรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์ในการเชื่อมโยงกบั สาระภาษาได้บางสว่ น

นำความรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์ในการเช่ือมโยงยังไม่เหมาะสม

ไมเ่ ชอื่ มโยงกบั สาระอื่นใด ๆ

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..49

ทกั ษะกระบวนการ ความคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์

คะแนน / ความหมาย ความคดิ ริเรมิ่ สรา้ งสรรคท์ ีป่ รากฏใหเ้ ห็น

4 ดมี าก มีแนวคดิ / วิธีการนำเสนอแปลกใหมท่ สี่ ามารถนำไปปฏิบตั ไิ ดถ้ ูกตอ้ งสมบรู ณ์

3 ดี มีแนวคิด / วิธีการนำเสนอแปลกใหม่ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ถูกต้องแต่นำไป

ปฏิบัติแลว้ ไมถ่ กู ตอ้ งสมบูรณ์

2 พอใช้ มีแนวคดิ / วธิ ีการนำเสนอไมแ่ ปลกใหมแ่ ต่นำไปปฏบิ ตั ไิ ด้ถูกตอ้ งสมบรู ณ์

1 ตอ้ งปรบั ปรุง มีแนวคดิ / วิธีการนำเสนอไมแ่ ปลกใหมแ่ ละนำไปปฏิบตั ิแล้วยังไม่สมบรู ณ์

0 ไม่พยายาม ไมม่ ผี ลงาน

3. เกณฑก์ ารให้คะแนนดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงคแ์ บบแยกองคป์ ระกอบ

คุณลกั ษณะ มีความรับผิดชอบ

คะแนน / ความหมาย คณุ ลกั ษณะที่ปรากฏให้เหน็

3 ดมี าก - สง่ งานก่อนหรอื ตรงตามกำหนดเวลานดั หมาย

- รบั ผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและปฏิบัติเองจนเป็นนสิ ยั เป็นระบบแก่ผู้อ่ืน

และแนะนำชักชวนใหผ้ อู้ ืน่ ปฏบิ ตั ิ

2 ดี - สง่ งานชา้ กว่ากำหนด แต่ได้มีการตดิ ต่อชี้แจงครูผู้สอน มีเหตุผลที่รับฟงั ได้

- รบั ผดิ ชอบในงานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ปฏิบตั เิ องจนเป็นนิสยั

1 พอใช้ - สง่ งานช้ากวา่ กำหนด

- ปฏิบัติงานโดยต้องอาศัยการชี้แนะ แนะนำ ตกั เตือนหรือให้กำลังใจ

คุณลกั ษณะ มีระเบียบวินัย

คะแนน / ความหมาย คณุ ลกั ษณะทีป่ รากฏให้เหน็

3 ดีมาก - สมดุ งาน ช้นิ งาน สะอาดเรียบรอ้ ย

- ปฏิบตั ติ นอยู่ในข้อตกลงทก่ี ำหนดใหร้ ่วมกนั ทกุ ครั้ง

2 ดี - สมุดงาน ชิน้ งาน สว่ นใหญส่ ะอาดเรียบร้อย

- ปฏิบตั ติ นอยู่ในขอ้ ตกลงทกี่ ำหนดใหร้ ว่ มกันเป็นส่วนใหญ่

1 พอใช้ - สมุดงาน ชน้ิ งาน ไม่ค่อยสะอาดเรียบร้อย

- ปฏบิ ัตติ นอยู่ในข้อตกลงที่กำหนดใหร้ ่วมกนั เปน็ บางครัง้ ต้องอาศัยการแนะนำ

คณุ ลกั ษณะ ทำงานเป็นระบบรอบคอบ

คะแนน / ความหมาย คุณลักษณะท่ปี รากฏให้เหน็

3 ดีมาก - มกี ารวางแผนการดำเนนิ งานเป็นระบบ

- การทำงานมคี รบทกุ ขั้นตอน ตัดขั้นตอนทไี่ ม่สำคัญออก

- จัดเรยี งลำดบั ความสำคัญก่อน – หลัง ถกู ตอ้ งครบถว้ น

2 ดี - มกี ารวางแผนการดำเนนิ งาน

- การทำงานไมค่ รบทุกขนั้ ตอน และผดิ พลาดบา้ ง

- จัดเรยี งลำดับความสำคญั กอ่ น – หลงั ได้เปน็ ส่วนใหญ่

1 พอใช้ - ไมม่ ีการวางแผนการดำเนนิ งาน

- การทำงานไมม่ ีขัน้ ตอน มีความผิดพลาดตอ้ งแกไ้ ข

- ไมจ่ ัดเรียงลำดับความสำคัญ

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..50

4. เกณฑก์ ารประเมินช้ินงานแบบองค์รวม

คะแนน / ความหมาย คุณภาพของชิน้ งานที่ปรากฏใหเ้ ห็น
4 ดีมาก
- แสดงวิธีการหรอื การหาเหตุผล สนับสนุนการหาคำตอบได้ครบถ้วนสมบูรณ์
3 ดี - มองเห็นความเชอื่ มโยงหรอื การขยายผลไปสู่หลักการของปัญหาได้อย่างสมบูรณ์
2 พอใช้ - มีองค์ประกอบของชิ้นงานครบถ้วน 3 รายการ(รูปแบบรายงาน ความถูกต้อง
ชัดเจนในการเขยี นหรอื พมิ พ์ การจดั รูปเล่ม

- แสดงวิธีการหรอื การหาเหตุผล สนับสนุนการหาคำตอบไดบ้ างส่วน
- เช่อื มโยงไปสหู่ ลกั การของปญั หาได้บางส่วน
- มีองคป์ ระกอบของชิน้ งานไมน่ ้อยกวา่ 2 รายการ

- แสดงเหตุผล สนับสนุนการหาคำตอบเลก็ นอ้ ย
- แสดงการเชอื่ มโยงหลักการการแก้ปัญหาไดเ้ ล็กนอ้ ย
- มีองค์ประกอบของช้ินงานไมน่ ้อยกวา่ 2 รายการ

1 ต้องปรับปรุง - ไม่มีชน้ิ งาน

5. เกณฑก์ ารให้คะแนนด้านคณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์แบบองค์รวม

คะแนน / ความหมาย คณุ ลกั ษณะทป่ี รากฏใหเ้ ห็น
3 ดีมาก
สามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเองหรือเป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้ในการปฏิบัติงานอย่างมี
2 ดี ระบบ มีระเบียบวินัย มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มี
ความเช่อื มัน่ ในตนเอง
1 พอใช้
สามารถปฏิบัติตนตามคำแนะนำหรือชี้แนะในการปฏิบัติงานอย่างมีระบบ มี
ระเบียบวนิ ยั มคี วามรอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มวี จิ ารณญาณ มคี วามเชื่อม่ัน
ในตนเอง

ไม่สามารถปฏิบัติตนตามคำแนะนำหรือชี้แนะด้วยตนเอง แต่ต้องมีการกำกับและ
ติดตามอยู่เสมอในการปฏิบัติงานอย่างมีระบบ มีระเบียบวินัย มีความรอบคอบ
มคี วามรบั ผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ มคี วามเชื่อม่ันในตนเอง

แนวปฏบิ ตั ใิ นการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการคือ

การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้
ประสบผลสำเร็จนั้น นักเรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องนักเรยี นซึ่งเป็นเปา้ หมายหลักในการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ในระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็น
กระบวนการพัฒนาคุณภาพนักเรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ
ความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของนักเรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้
นักเรียนเกดิ การพัฒนาและเรียนรอู้ ยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..51

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 2 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา มี
รายละเอยี ด ดงั น้ี

1. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ครู
ผู้สอนดำเนินการเป็นปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย
เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้ม
สะสมงาน การใชแ้ บบทดสอบ ฯลฯ โดยครู ผูส้ อนเปน็ ผู้ประเมินเองหรือเปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนประเมินตนเอง
เพ่ือนประเมนิ เพอ่ื น ผู้ปกครองร่วมประเมนิ ในกรณที ไ่ี ม่ผา่ นตัวชี้วัดใหม้ ี การสอนซ่อมเสรมิ

การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า นักเรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าใน
การเรียนรู้ อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่ งที่จะต้อง
ได้รับการพัฒนาปรับปรุงและส่งเสรมิ ในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอน
ของตนดว้ ย ทั้งน้ีโดยสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชีว้ ดั และผลการเรียนรู้

2. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดำเนินการเพื่อตัดสินผลการเรียน
ของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อ
การเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนของ
ผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและ
สารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการ
จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการ
รายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ผูป้ กครองและชุมชน

ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ในการตรวจสอบทบทวนพัฒนาคุณภาพ
นักเรียน ที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาเต็มตาม
ศักยภาพบนพื้นฐาน ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จำแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่ม
นกั เรียนท่ัวไป กลมุ่ นักเรียนทีม่ คี วามสามารถพิเศษ กลุม่ นักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นต่ำ กลมุ่ ผู้เรยี นที่
มีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มนักเรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มนักเรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและ
สงั คม กลมุ่ พิการทางรา่ งกายและสตปิ ญั ญา เป็นต้น ขอ้ มูลจากการประเมินจึงเป็นหวั ใจของสถานศึกษาในการ
ดำเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและประสบความสำเร็จใน
การเรียน

สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล
การเรยี นของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏบิ ตั ิท่เี ปน็ ข้อกำหนดของหลักสูตร
สถานศกึ ษา เพ่ือให้บุคลากรทเ่ี ก่ียวข้องทุกฝ่ายถือปฏบิ ัติร่วมกนั

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..52

เกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการเรยี น

1. การตดั สนิ การใหร้ ะดบั และการรายงานผลการเรียน
1.1 การตดั สินผลการเรยี น

ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น ผู้สอนต้องคำนึงถึงการพัฒนานักเรียนแต่ละคนเป็นหลัก และ
ต้องเก็บข้อมูลของนักเรียนทุกด้านอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้
พัฒนาจนเตม็ ตามศกั ยภาพ

ระดบั มัธยมศึกษา
(1) ตดั สินผลการเรยี นเปน็ รายวชิ า ผเู้ รยี นต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่นอ้ ยกว่า

รอ้ ยละ 80 ของเวลาเรียนท้งั หมดในรายวิชานน้ั ๆ
(2) นักเรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ และผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่า

ร้อยละ 80 ของจำนวนตัวชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้
(3) นักเรยี นตอ้ งได้รบั การตดั สนิ ผลการเรยี นทุกรายวชิ า ไม่นอ้ ยกวา่ ระดบั “ 1 ” จึงจะถือ

ว่าผ่านเกณฑ์ตามทีส่ ถานศึกษากำหนด
(4) นักเรียนต้องได้รับการประเมิน และมผี ลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน

ในระดับ “ ผ่าน ” ขึ้นไป มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับ“ ดี ” ขึ้นไป และมีผลการ
ประเมินกิจกรรมพัฒนานกั เรียน ในระดับ “ ผา่ น ”

การพจิ ารณาเลื่อนช้นั ระดบั มัธยมศึกษา ถ้านกั เรียนมขี อ้ บกพรอ่ งเพียงเล็กน้อย และพิจารณาเห็นว่า
สามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้ผอ่ นผนั ให้เลอื่ นชั้นได้ แตห่ ากนักเรยี นไมผ่ ่านรายวชิ าจำนวนมาก และ
มีแนวโนม้ ว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นทีส่ ูงข้ึน ให้ตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำชั้นได้ ทั้งน้ี
ใหค้ ำนงึ ถึงวุฒิภาวะและความรคู้ วามสามารถของนักเรยี นเปน็ สำคัญ

1.2 การใหร้ ะดับผลการเรยี น
ระดับมัธยมศึกษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา ให้ใช้ตัวเลขแสดงระดับผล

การเรยี นเป็น 8 ระดับ ดังนี้

ระดับผลการเรียน ความหมาย ช่วงคะแนนร้อยละ
4 ผลการเรียนดเี ยยี่ ม 80 - 100
3.5 ผลการเรยี นดมี าก 75 - 79
3 ผลการเรยี นดี 70 - 74
2.5 ผลการเรยี นคอ่ นขา้ งดี 65 - 69
2 ผลการเรยี นนา่ พอใจ 60 - 64
1.5 ผลการเรียนพอใช้ 55 - 59
1 ผลการเรยี นผ่านเกณฑ์ข้นั ต่ำ 50 - 54
0 ผลการเรียนตำ่ กวา่ เกณฑ์ 0 - 49

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับผลการ
ประเมนิ เป็น ดเี ยี่ยม ดี ผา่ น และไม่ผ่าน

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..53

ส่อื การเรยี นรู้

สื่อการเรียนรู้เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้
ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรู้มี
หลากหลายประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่ายการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีในท้องถิ่น
การเลือกใช้ส่อื ควรเลอื กใหม้ ีความเหมาะสมกับระดบั พฒั นาการ และลีลาการเรยี นรทู้ ่หี ลากหลายของผเู้ รียน
การจดั หาส่ือการเรียนรู้ ผู้เรียนและผูส้ อนสามารถจดั ทำและพฒั นาข้ึนเอง หรือปรบั ปรุงเลือกใช้อยา่ งมีคุณภาพ
จากสื่อต่างๆ ที่มีอยู่รอบตัวเพื่อนำมาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ ที่สามารถส่งเสริมและสื่อสารให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง
สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องและผู้มีหน้าที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรดำเนินการ
ดังน้ี

1. จัดให้มแี หลง่ การเรยี นรู้ ศูนยส์ ่อื การเรยี นรู้ ระบบสารสนเทศการเรยี นรู้ และเครือข่ายการเรียนรู้ที่
มปี ระสิทธิภาพทง้ั ในสถานศกึ ษาและในชุมชน เพ่อื การศึกษาคน้ คว้าและ การแลกเปลยี่ นประสบการณ์การ
เรยี นรู้ ระหว่างสถานศึกษา ท้องถิ่น ชุมชน สงั คมโลก

2. จดั ทำและจัดหาส่ือการเรียนรูส้ ำหรบั การศึกษาค้นคว้าของผเู้ รยี น เสรมิ ความรู้ใหผ้ สู้ อน รวมทง้ั
จัดหาสิง่ ทม่ี ีอยู่ในท้องถิ่นมาประยกุ ตใ์ ชเ้ ป็นส่ือการเรียนรู้

3. เลอื กและใชส้ ่ือการเรียนรู้ท่ีมคี ณุ ภาพ มีความเหมาะสม มคี วามหลากหลายสอดคล้อง กบั วธิ กี าร
เรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรยี นรู้ และความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลของผเู้ รยี น

4. ประเมนิ คณุ ภาพของสื่อการเรียนรู้ท่ีเลือกใช้อย่างเปน็ ระบบ
5. ศกึ ษาค้นควา้ วิจยั เพื่อพฒั นาสื่อการเรียนรใู้ หส้ อดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รยี น
6. จัดให้มกี ารกำกับ ติดตาม ประเมนิ คุณภาพและประสทิ ธภิ าพเก่ียวกับส่ือและการใช้สือ่ การเรยี นรู้
เป็นระยะๆ และสมำ่ เสมอ
ในการจัดทำ การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ในสถานศึกษา ควรคำนึงถึง

หลักการสำคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบ

กิจกรรมการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย ไม่กระทบความมั่นคง

ของชาติ ไมข่ ัดตอ่ ศลี ธรรม มีการใชภ้ าษาท่ถี กู ตอ้ ง รูปแบบการนำเสนอท่เี ขา้ ใจงา่ ย และน่าสนใจ

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..54

อภิธานศพั ท์เฉพาะ

กระบวนการ PDCA-CPS

กระบวนการ PDCA-CPS เปน็ กระบวนการบรหิ ารงานของโรงเรียนจอมพระประชาสรรค์ ตาม
ขน้ั ตอนการบรหิ ารงานตามวงจรคุณภาพ ดำเนินการ 4 ข้ันตอน ดงั น้ี

ขน้ั ท่ี 1) ขั้นวางแผน (Plan : P)
ขน้ั ที่ 2) ขัน้ ดำเนินการตามแผนและโครงการ(Do : D)

ขั้นที่ 3) ขน้ั กำกับติดตาม (S-Supervision) ตรวจสอบผล
ขนั้ ท่ี 4) การปรับปรุงแก้ไขส่วนทีม่ ีปัญหา (Action : A)
ในการดำเนนิ การตามวงจรคุณภาพดังกลา่ วนน้ั ยึดหลกั CPS คือ หลกั ความรว่ มมือ(COOPERATIVE)
การปฏบิ ัตติ ามบทบาทหนา้ ท่ี (PERFORMANCE : P) และมีการกำกบั ดูแลโดยผู้เชย่ี วชาญ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ
หรือผูม้ สี ่วนได้ ส่วนเสยี (SUPERVISOR : S) ในทุกขั้นตอน

พระบรมราโชบาย ในหลวงรัชกาลที่ 10 ด้านการศึกษา 4 ด้าน
พระบรมราโชบาย ในหลวงรชั กาลที่ 10 ด้านการศึกษา 4 ดา้ น มีดงั น้ี
ด้านที่ 1 มที ศั นคติท่ถี ูกต้องต่อบ้านเมือง ประกอบดว้ ย 1) ความรคู้ วามเข้าใจตอ่ ชาติบ้านเมือง

2) ยดึ ม่ันในศาสนา 3) มนั่ คงในสถาบนั กษตั ริย์ และ 4) มคี วามเอื้ออาทรต่อครอบครวั และชุมชนของตน
ดา้ นท่ี 2 มีพน้ื ฐานชีวิตท่มี ่นั คง – มีคุณธรรม ประกอบดว้ ย 1) รูจ้ ักแยกแยะสิ่งทผ่ี ิด–ชอบ/ชัว่ –ดี

2) ปฏิบัตแิ ตส่ ่ิงทีช่ อบ สงิ่ ทด่ี งี าม 3) ปฏิเสธส่งิ ที่ผดิ ส่งิ ที่ชว่ั และ 4) ช่วยกนั สร้างคนดใี ห้แกบ่ ้านเมือง
ด้านท่ี 3 มงี านทำ–มอี าชีพ ประกอบด้วย 1) การเลี้ยงดลู ูกหลานในครอบครัวหรือการฝกึ ฝนอบรม

ในสถานศกึ ษาต้องมุ่งใหเ้ ด็กและเยาวชน รักงาน สูง้ าน ทำจนงานสำเรจ็ 2) การฝกึ ฝนอบรมทง้ั ในหลกั สตู ร
และนอกหลักสตู รต้องมีจดุ มงุ่ หมายใหผ้ ูเ้ รียนทำงานเปน็ และมีงานทำในทสี่ ุด3) ตอ้ งสนบั สนนุ ผู้สำเรจ็ หลักสูตร
มีอาชพี มีงานทำ จนสามารถเล้ยี งตนเองและครอบครวั

ดา้ นที่ 4 เป็นพลเมืองทด่ี ี ประกอบด้วย 1) การเป็นพลเมืองดี เป็นหน้าท่ขี องทุกคน 2) ครอบครัว –
สถานศกึ ษาและสถานประกอบการตอ้ งส่งเสรมิ ให้ทุกคนมโี อกาสทำหน้าทีเ่ ป็นพลเมอื งดี 3) การเป็นพลเมืองดี
คอื “เหน็ อะไรที่จะทำเพื่อบ้านเมอื งไดก้ ็ต้องทำ” เชน่ งานอาสาสมคั ร งานบำเพ็ญประโยชน์ งานสาธารณกุศล
ให้ทำดว้ ยความมีน้ำใจ และความเอื้ออาทร

ทักษะชีวติ 10 ทักษะขององคก์ ารอนามยั โลก (WHO)
ทกั ษะชีวติ 10 ทกั ษะขององค์การอนามยั โลก (WHO) ประกอบด้วย
1.ทกั ษะการตดั สนิ ใจ (Decision making) เป็นความสามารถในการตดั สินใจเกี่ยวกับเร่ืองราวตา่ งๆ

ในชีวติ ไดอ้ ย่างมรี ะบบ เชน่ ถ้าบุคคลสามารถตัดสินใจเกย่ี วกบั การกระทำของตนเองท่เี ก่ียวกับพฤติกรรมด้าน
สุขภาพหรือความปลอดภยั ในชีวิต โดยประเมินทางเลอื กและผลทไ่ี ด้จากการตัดสนิ ใจเลอื กได้อยา่ งถูกต้อง
เหมาะสม กจ็ ะมผี ลต่อการมสี ุขภาพทีด่ ีทงั้ รา่ งกายและจติ ใจ

2.ทกั ษะการแก้ปัญหา (Problem solving) เปน็ ความสามารถในการจัดการกบั ปัญหาทเ่ี กิดขนึ้ ใน
ชีวิตไดอ้ ย่างมรี ะบบ ไม่เกดิ ความเครียดทั้งทางรา่ งกายและจิตใจจนอาจลุกลามเปน็ ปญั หาใหญโ่ ตเกนิ แก้ไขได้

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation Page …..55

3.ทกั ษะการคดิ สรา้ งสรรค์ (Creative thinking) เป็นความสามารถในทางความคิด ซึง่ จะเปน็ ส่วน
ช่วยในการตดั สินใจและแกไ้ ขปญั หา โดยใช้วธิ กี ารคิดแบบสรา้ งสรรคเ์ พื่อค้นหาทางเลือกต่างๆรวมท้ังผลที่จะ
เกดิ ข้นึ ในแต่ละทางเลือก และสามารถนำประสบการณ์มาปรับใช้ในชวี ติ ประจำวันไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

4.ทักษะการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ (Critical thinking) เป็นความสามารถในการคดิ วิเคราะหข์ ้อมลู
ตา่ งๆ และประเมินปัญหาหรือสถานการณ์ที่อยรู่ อบตัวที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต ทกั ษะการคิดอยา่ งมี
วิจารณญาณสามารถช่วยให้วัยรนุ่ ตระหนกั และประเมินผลสง่ิ ทจี่ ะมีผลกระทบต่อทัศนคตแิ ละพฤติกรรมของ
ตนเอง เชน่ การร้จู กั คณุ ค่าในตนเอง การจดั การกับความกดดนั จากเพ่ือนๆ หรือการรบั ข้อมูลจากสื่อตา่ งๆ

5.ทกั ษะการส่ือสารอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ (Effective communication) เปน็ ความสามารถในการใช้
คำพูดและทา่ ทางเพือ่ แสดงออกถึงความรสู้ ึกนึกคิดของตนเองได้อยา่ งเหมาะสมกบั วฒั นธรรมและสถานการณ์
ต่างๆ ไม่วา่ จะเปน็ การแสดงความคิดเห็น การแสดงความต้องการ การแสดงความช่ืนชม การขอรอ้ ง การเจรจา
ตอ่ รอง การตักเตอื น การช่วยเหลือ การปฏเิ สธ

6.ทกั ษะการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal relationship) เป็นความสามารถใน
การสรา้ งความสมั พนั ธท์ ่ดี ีระหวา่ งกันและกัน สามารถรักษาสัมพนั ธภาพไว้ไดย้ ืนยาว

7.ทักษะการตระหนักรู้ในตน (Self-awareness) เป็นความสามารถในการค้นหา รู้จักและเข้าใจ
ตนเอง เช่น รู้ขอ้ ดีขอ้ ด้อยของตนเอง รู้ความต้องการและสง่ิ ทไี่ มต่ ้องการของตนเอง ซึง่ จะชว่ ยใหว้ ัยรนุ่ เข้าใจ
ตัวเองเวลาเผชิญกับความเครียดหรือสถานการณ์ตา่ งๆ และทกั ษะน้ยี ังเป็นพน้ื ฐานของการพฒั นาทักษะอ่นื ๆ
เช่นการสื่อสาร การสร้างสัมพันธภาพ การตดั สนิ ใจ ความเห็นอกเหน็ ใจผู้อื่น

8.ทักษะการเข้าใจผอู้ น่ื (Empathy) เปน็ ความสามารถในการเขา้ ใจความเหมือนหรือความแตกต่าง
ระหว่างบคุ คลในด้านความสามารถ เพศ วยั ระดับการศึกษา ศาสนา ความเชื่อ สผี ิว อาชพี ฯลฯ ซงึ่ จะชว่ ยให้
สามารถยอมรบั บุคคลทต่ี ่างจากเรา เกิดการช่วยเหลอื บุคคลที่ดอ้ ยกวา่ หรือไดร้ ับความเดือดร้อน

9.ทกั ษะการจดั การกับอารมณ์ (Coping with emotion) เป็นความสามารถในการรบั รู้อารมณ์ของ
ตนเองและผอู้ ่ืน รู้วา่ อารมณม์ ีผลต่อการแสดงพฤติกรรมอย่างไร รวู้ ิธกี ารจัดการกับอารมณ์โกรธและความ
โศกเศร้า ท่ีส่งผลทางลบต่อร่างกายและจิตใจได้อยา่ งเหมาะสม

10.ทักษะการจดั การกับความเครียด (Coping with stress) เป็นความสามารถในการรบั รูถ้ ึงสาเหตุ
ของความเครียด รวู้ ธิ ีผอ่ นคลายความเครียด และแนวทางในการควบคุมระดับความเครียดเพอื่ ใหเ้ กิด
พฤติกรรมในทางท่ีถกู ต้องเหมาะสมและไมเ่ กดิ ปัญหาด้านสุขภาพ

Research and Knowledge Formation

Research and Knowledge Formation


Click to View FlipBook Version