The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nongpanga416, 2019-07-07 01:58:12

เมืองจีน

เมืองจีน

สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี
กับอารยธรรมจนี

ดร. บัญชา ธนบญุ สมบัติ
ศนู ยเ์ ทคโนโลยโี ลหะและวัสดแุ ห่งชาติ

วนั ท่ี ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๒๕ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี
มพี ระราชปฏิสนั ถารกับ ฯ พณฯ เติง้ เส่ียวผิง รองประธานคณะกรรมการกลางพรรคคอมมวิ นิสต์จนี ณ กรงุ ปกั กิ่ง

ภาพจากหนังสือ ความรกั ผกู พันกับจีน: การรำลึก ๓๐ ปี สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ ฯ เยอื นจนี หนา้ ๒๖

เปน็ ทท่ี ราบกนั โดยทว่ั ไปในหมปู่ ระชาชนชาวไทย บทความนป้ี ระมวลแรงบนั ดาลพระราชหฤทยั
วา่ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทำให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
ทรงสนพระราชหฤทยั ในภาษาและวฒั นธรรมจนี อกี ทงั้ ราชกุมารี ทรงศึกษาภาษาและวัฒนธรรมจีน
ยังทรงเจริญสมั พันธไมตรกี ับประเทศจนี อยา่ งตอ่ เนื่อง จนเช่ียวชาญ พระราชกรณียกิจที่สำคัญอัน
พระองค์ท่านเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศจีน เ กี่ ย ว เ น่ื อ ง กั บ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง ไ ท ย - จี น
แลว้ กวา่ ๓๐ ครงั้ ไดร้ บั รางวลั ตา่ งๆ จากจนี หลายรางวลั รวมทง้ั เกร็ดเรอ่ื งราวต่างๆ ท่ีน่าสนใจ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งได้รับเลือกให้เป็น “สิบมิตรที่ดี
ทส่ี ดุ ในโลกของชาวจีน”

กรกฎาคม - กนั ยายน 2558 61

วันท่ี ๘ ธนั วาคม ๒๕๕๒ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงฉายพระฉายาลักษณ์ร่วมกบั ฯพณฯ เจี่ย ฉิง้ หลนิ ประธานสภาพท่ีปรกึ ษาการเมอื งประชาชนจนี

กรรมการประจำกรมการเมอื งส่วนกลางของพรรคคอมมิวนสิ ต์จีน
พรอ้ มกับบคุ คลและตวั แทนท่ีได้รบั เลือกเปน็ “สิบมิตรที่ดที ส่ี ุดในโลกของชาวจีน”

ภาพจากหนังสือ ความรักผกู พนั กับจนี : การรำลึก ๓๐ ปี สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ เยือนจนี หนา้ ๙๕

ทรงเริ่มสนพระราชหฤทัยภาษาและอารยธรรมจีน

อาจารยเ์ ผยเ์ สย่ี วรยุ่ ๑ เขยี นไวใ้ นบทความเรอื่ ง ท้ังท่เี ป็นภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และภาษาฝรง่ั เศส”
เสนห่ แ์ หง่ พระจรยิ วตั รในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ ต่อมาในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๒๓ (ค.ศ.
วา่ [๑] “ในปี ค.ศ. ๑๙๗๓ ระหวา่ งท่ีสมเด็จพระเทพ ๑๙๘๐) ไดเ้ รมิ่ ทรงพระอกั ษรภาษาจนี กบั พระอาจารย์
รัตนราชสุดาฯ เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ไป ชาวจีนที่สถานเอกอัครราชทูตจีนประจำประเทศไทย
เยอื นประเทศสวเี ดน ไดเ้ สดจ็ ฯ ชมพพิ ธิ ภณั ฑโ์ บราณวตั ถุ จดั ถวาย ทงั้ นพ้ี ระองคท์ า่ นไดท้ รงเลา่ ใหอ้ าจารยฟ์ น่ั ชนุ
เอเชียตะวันออกไกล (Museum of Far Eastern หมงิ ฟงั วา่ ทรงเรยี นภาษาจนี ตามคำแนะนำของสมเดจ็
Antiquities) ในกรงุ สตอ็ คโฮลม์ และไดท้ อดพระเนตร พระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ อาจารย์ฟั่นชุนหมิง๒
เห็นเครื่องเคลือบดินเผาของจีนจำนวนมาก นับแต่ ไดเ้ ขยี นไวใ้ นบทความเรอื่ ง พระราชหฤทยั อนั งดงาม [๑]
น้ันมา ก็ทรงเริ่มสนพระราชหฤทัยในเรื่องเก่ียวกับ วา่ “สมเด็จพระนางเจ้าฯ มีพระราชดำรัสวา่ ‘อย่ามัว
วฒั นธรรมจนี ครน้ั เมอ่ื ทรงเขา้ รบั การศกึ ษาในคณะอกั ษร แต่มองไปแต่ทางโลกตะวันตก จีนก็เป็นชนชาติที่
ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั กไ็ ด้ทรงพระอักษร ยง่ิ ใหญช่ นชาตหิ นง่ึ ตอ่ ไปจะตอ้ งพฒั นาอยา่ งแนน่ อน’”
หนงั สอื และตำรบั ตำราเกยี่ วกบั ประเทศจนี จำนวนมาก

๑ เผยเ์ สยี่ วรยุ่ ศาสตราจารย์ประจำคณะภาษาต่างประเทศ มหาวทิ ยาลยั ปักกิ่ง
๒ ฟน่ั ชนุ หมิง อาจารย์ประจำศนู ย์ภาษาและวัฒนธรรมสำหรบั เจ้าหนา้ ท่กี ารทูต กรงุ ปักกิ่ง เป็นพระอาจารยผ์ ูถ้ วายพระอกั ษร ในช่วงเดือนกรกฎาคม
พ.ศ.๒๕๔๑-๒๕๔๔

62 กรกฎาคม - กนั ยายน 2558

ในชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๒๓ ถึง ๒๕๕๗ สถานเอก แสดงเสมอ หลังจากเสร็จส้ินกิจกรรมท้ังหลายแล้ว
อัครราชทูตจีนประจำประเทศไทยได้จัดพระอาจารย์ เสด็จฯ กลับถึงที่ประทับ ก็ยังต้องทรงการบ้านและ
ชาวจีนมาถวายพระอักษรแด่สมเด็จพระเทพรัตน เตรยี มบทเรยี นของวนั ถดั ไป มกั จะทรงงานจนถงึ ดกึ ดนื่
ราชสดุ าฯ รวมทงั้ สน้ิ ๑๓ คน หรืออาจถึง ๑ หรือ ๒ นาฬิกาของวันใหม่
แต่ไม่ว่าจะดึกเพียงไร วันรุ่งข้ึนก็จะทรงตื่นบรรทม
ทรงเปน็ “นักเรยี นนอก” ตรงเวลาได้เสมอเพ่ือเสด็จออกว่ิงและเริ่มต้นวันใหม่
ของชีวิตนักศึกษา บันทึกประจำวันของสมเด็จ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม พระเทพรัตนราชสุดาฯ ได้จดบันทึกกิจกรรมต่างๆ
ราชกุมารี ทรงพระราชดำริจะเพิ่มพูนทักษะ เหลา่ นีไ้ ว้อย่างชัดเจน”
ความรู้ภาษาจีน โดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านการพูด บันทึกประจำวันเก่ียวกับช่วงเวลาอันแสน
การฟัง และการเขียน ท้ังน้ีได้ทรงเล่าไว้ในหนังสือ พิเศษนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
เมื่อข้าพเจ้าเป็นนักเรียนนอก ว่า “ข้าพเจ้า ราชกุมารี ได้โปรดเกล้าฯ ให้จัดพิมพ์เผยแพร่
เรียนภาษาจีนมา ๒๐ ปีแล้ว แตค่ วามรูย้ งั ไม่กา้ วหน้า พระราชทานชอ่ื หนงั สอื วา่ เมอ่ื ขา้ พเจา้ เปน็ นกั เรยี นนอก
เทา่ ทคี่ วร ทง้ั ๆ ทสี่ ถานทตู จนี จดั ครมู าสอนเปน็ ประจำ หนังสือเล่มนี้มีเกร็ดเร่ืองราวน่าสนใจที่เกิดข้ึนใน
จึงเกิดความคิดวา่ ถา้ ข้าพเจ้าไดม้ าอย่ใู นแวดวงคนจนี แต่ละวัน รวมทั้งภาพประกอบจำนวนมากที่ช่วยให้
เรียนภาษาจีนอย่างเดียวไม่ต้องทำงานอ่ืนสักพักน่า เข้าใจเร่ืองราวต่างๆ ไดอ้ ยา่ งแจม่ ชัดย่ิงข้นึ
จะดขี นึ้ ” ดงั นน้ั จงึ ตดั สนิ พระราชหฤทยั ไปศกึ ษาภาษา
จีนท่ีมหาวิทยาลัยปักก่ิง ในช่วงวันท่ี ๑๔ กุมภาพันธ์ หนงั สอื เมือ่ ข้าพเจ้าเป็นนกั เรยี นนอก
ถงึ ๑๕ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๔๔
ในการนี้ กระทรวงศึกษาของจีนได้รับภาระ
ค่าใช้จ่ายทุกด้าน ต้ังแต่ค่าท่ีพักในมหาวิทยาลัย
ค่าเล่าเรียนและค่าอาหาร ส่วนมหาวิทยาลัยปักก่ิง
นอกจากจะจัดพระอาจารย์ให้มาสอนภาษาจีนทั้ง
ไวยากรณ์ การอา่ น และการพดู แลว้ ยงั จดั ใหพ้ ระองคท์ า่ น
ได้เรียนรำมวยไทเก๊ก เขียนภาพจีน เขียนตัวหนังสือ
และสซี อเออ้ ร์หอู ีกด้วย [๒]
อาจารย์เผย์เสี่ยวรุ่ย ได้บันทึกไว้ว่า
“ในช่วงเวลา ๑ เดือนถัดจากนั้นมา สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ ต้องทรงพระอักษรและเข้าร่วม
กิจกรรมต่างๆ มากมาย ทรงต่ืนบรรทมเวลา ๖
นาฬกิ าตรงเปน็ ประจำทกุ วนั จากนนั้ ทรงวงิ่ ออกกำลงั
กายรอบทะเลสาบเว่ยหมิงหูและฝึกเรียนไทเก๊กที่ริม
ทะเลสาบ ในช่วงเช้าต้องทรงพระอักษรวิชาภาษาจีน
ช่วงบ่ายทรงพระอักษรวิชาด้านศิลปะ วัฒนธรรม
หรือฝึกทักษะการใช้ภาษาจีนจากการทัศนศึกษา
ฟังการบรรยาย หรือการประชุมสัมมนา ช่วงค่ำก็มัก
จะมกี ำหนดการพบปะเยย่ี มชมหรอื ทอดพระเนตรการ

กรกฎาคม - กนั ยายน 2558 63

พบนกั ปราชญ์ ท่านจี้เซีย่ นหลนิ “สนทนาภาษาจนี เรยี นเรอ่ื งของศาสตราจารย์
จ้ีเซี่ยนหลิน เพราะเราจะไปหาท่านที่บ้านบ่ายนี้
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม อา่ นแลว้ รสู้ กึ ประทบั ใจวา่ คนพเิ ศษ ทา่ นเปน็ คนซานตง
ราชกุมารี ทรงโปรดท่ีจะมีพระราชปฏิสันถารกับผู้รู้ เ ร่ิ ม แ ป ล ห นั ง สื อ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ตั้ ง แ ต่ อ า ยุ น้ อ ย
หรือปราชญ์ในสาขาวิชาต่างๆ ขณะที่ศึกษาอยู่ที่ ต่อมาเรียนวรรณคดีตะวันตก ที่จริงสอบได้ท้ังท่ี
มหาวิทยาลัยปักก่ิง จึงหาโอกาสเสด็จพระราชดำเนิน มหาวทิ ยาลยั ปกั กงิ่ และมหาวทิ ยาลยั ชงิ หวั แปลบทกวี
ไปพบกับปราชญ์ของจีนท่านหนึ่ง คือ ศาสตราจารย์ ของเฮอลเดอรีน (Hölderin) เป็นนักศึกษาแลก
จี้เซ่ียนหลิน พระองค์ท่านได้เล่าไว้ในหนังสือ เปลย่ี นของมหาวทิ ยาลยั ไปทมี่ หาวทิ ยาลยั เกอรท์ งิ เกน
เมอื่ ข้าพเจ้าเปน็ นกั เรียนนอก วา่ [๒] (Göttingen) ได้เรียนภาษาสันสกฤตจนจบ
ปริญญาเอก เขียนวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับไวยากรณ์

กลยทุ ธก์ ารถวายพระอกั ษรของพระอาจารย์

อาจารย์หวังร่ัวเจียง๓ เขียนเล่าไว้ในเร่ือง “กำหนดฉากเปน็ หอ้ งรบั รองหรอื หอ้ งเลยี้ งรบั รอง
พระวริ ยิ ะอตุ สาหะ พระอจั ฉรยิ ภาพ และพระจรยิ วตั ร ทั้งน้ี โดยนำเอาประสบการณ์ของพระองค์มาปรับให้
อนั โดดเดน่ : บนั ทกึ การถวายพระอกั ษรภาษาจนี สมเดจ็ เป็นบทสนทนาจำลอง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
พระเทพรัตนราชสดุ าฯ ว่า [๑] โปรดวิธีการฝึกฝนเช่นนี้ และทรงเลือกที่จะเป็นฝ่าย
“ขา้ พเจ้ารับผิดชอบถวายพระอักษรวชิ าการ กำหนดบทบาทผู้แสดง ทรงรับสั่งว่า “วันน้ีอาจารย์
สนทนาภาษาจีน เนื่องจากไม่มีตำราใดที่เหมาะสม เปน็ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง…” “วนั นใ้ี หอ้ าจารยเ์ ปน็
ข้าพเจ้าจึงตัดสินใจแต่งตำราข้ึนเอง แนวคิดพ้ืนฐาน รองประธาน…” แลว้ ฝกึ สนทนาอย่างทรงสำราญพระ
คือสร้างบทเรียนให้สอดคล้องกับสถานภาพที่เป็นจริง ราชหฤทัย”
ของพระองค์ เลอื กสมมตสิ ถานการณจ์ ำเพาะทพี่ ระองค์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
อาจจะต้องเสด็จพระราชดำเนินไปเข้าร่วม วางเนือ้ หา ราชกมุ ารี ทรงบนั ทกึ วธิ กี ารสอนในมมุ มองของพระองค์
หลกั ใหอ้ ยใู่ นภาวการณท์ พี่ ระองคจ์ ะตอ้ งเสดจ็ พระราช ไว้วา่ [๒]
ดำเนินไปเข้าร่วม วางเน้อื หาหลักให้อยู่ในภาวการณท์ ่ี “เตรยี มเรอื่ งพบอธกิ ารคนื นี้ ครหู วงั บอกวา่ ให้
พระองค์ต้องมีพระราชดำรัส ดำเนินเร่ืองว่าพระองค์ ดเู ทปทพ่ี ดู กบั รฐั มนตรเี ฉนิ จอื้ ลี่ และเหน็ วา่ ตรงไหนทยี่ งั
จะได้พบผู้ใด และควรจะมีพระราชกระแสอย่างไร เขียนไม่ดีให้แก้ไข ท่ีข้าพเจ้าพูดวันน้ันครูฟังแล้วเขียน
ควรจะมพี ระราชกระแสถามอยา่ งไร มพี ระราชกระแส ออกมาใหเ้ ปน็ บทสนทนา ศพั ทไ์ หนทข่ี า้ พเจา้ พดู ไมอ่ อก
ตอบอย่างไร ในขณะเดียวกันก็ถวายเน้ือหาภูมิหลัง หรือใช้คำผิดก็แก้ให้เสร็จแล้วเขียนให้ด้วยว่าอ่าน
ขอ้ มลู เพอ่ื ใหท้ รงสามารถเพม่ิ พนู ขอบเขตการสนทนาได้ อย่างไร แปลวา่ อะไร”
กวา้ งขวางยง่ิ ขน้ึ และสามารถดำเนนิ การสนทนาไดอ้ ยา่ ง เมอ่ื ศษิ ยผ์ มู้ พี ระวริ ยิ ะอตุ สาหะอยา่ งเยย่ี มยอด
เปน็ อสิ ระมากขึ้นดว้ ย” และ ได้พบกับครูที่มีจิตวิญญาณแห่งความเป็นครูแท้เช่นน้ี
ก็ไม่น่าแปลกใจว่าเหตุใดการทรงพระอักษรภาษาจีน
ณ มหาวิทยาลัยปักก่ิง จงึ สัมฤทธผ์ิ ลอยา่ งดยี ิ่ง

๓ หวังรว่ั เจยี ง ศาสตราจารยป์ ระจำคณะภาษาจีนสำหรบั ชาวตา่ งชาติ มหาวทิ ยาลัยปกั ก่งิ

64 กรกฎาคม - กนั ยายน 2558

ในหนังสือมหาวัสตุ เรียนสันสกฤตแล้วยังเรียน อาจารย์หวังรั่วเจียง ซึ่งตามเสด็จฯ ไปเยี่ยม
ภาษาบาลี (เรียนภาษารัสเซีย ยูโกสลาเวีย อาหรับ) ท่านจ้ีเซ่ียนหลินด้วยเขียนเล่าว่าเมื่อสมเด็จพระเทพ
กลับมาสอนภาษาสันสกฤต เขียนหนังสือเกี่ยวกับ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงทราบว่า
ศกุนตลาของกาลิทาส ไปที่พม่าเย่ียมสมาคมค้นคว้า ท่านจี้เซี่ยนหลินเคยศึกษาภาษาสันสกฤต ภาษาบาลี
เก่ียวกับพมา่ เขียนเก่ยี วกบั ปัญจตนั ตระ” และภาษาโตคาเรียน ก็ทรงปรารภข้ึนว่า “เรารู้จัก
“ในช่วงปฏิวัติวัฒนธรรมทำอะไรไม่ค่อยได้ ภาษาบาลีและสันสกฤตอยู่ แต่ภาษาโตคาเรียนคือ
แอบแปลรามายณะ ภายหลังเขียนเก่ียวกบั รามายณะ ภาษาอะไรนะ” อาจารย์หวังรั่วเจียงกล่าวว่าตนเองก็
ต่อไป ค้นคว้าเรื่องความสัมพันธ์จีน-อินเดีย ศึกษา รู้จักภาษาโตคาเรียนน้อยมาก ทราบแต่เพียงว่าเป็น
พุทธศาสนา ท่านเคยเป็นรองอธิการบดีมหาวิทยาลัย ภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน และเมื่อ
ปักกง่ิ เปน็ บคุ คลตัวอยา่ ง เนอ่ื งจากศกึ ษามาก เขียน แรกเริ่มที่มีการแปลนามศัพท์ทางพุทธศาสนามาเป็น
หนังสือไม่หยุดทั้งๆ ท่ีทำงานบริหารด้านการสอน ภาษาจนี นน้ั ไมไ่ ดแ้ ปลจากภาษาบาลสี นั สกฤตโดยตรง
เปน็ นกั วชิ าการทท่ี ำไดค้ รบถว้ นพรอ้ มทกุ อยา่ ง ทงั้ เปน็ แต่แปลผ่านภาษาโตคาเรียนมาอีกทอดหนึ่ง ดังนั้น
นกั เขยี น นกั วจิ ยั ครู ผบู้ รหิ าร เวลานอ้ี ายุ ๙๐ ปี แลว้ ” จงึ ควรจะไปขอคำอธบิ ายจากทา่ นจเ้ี ซย่ี นหลนิ โดยตรง

สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชปฏิสนั ถารกบั ท่านจี้เซีย่ นหลนิ

ภาพจากหนงั สอื เม่ือข้าพเจา้ เป็นนักเรียนนอก หน้า ๑๙๖

กรกฎาคม - กนั ยายน 2558 65

ครั้นเม่ือสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทำงานบา้ น กวาดบา้ น ซกั ผา้ ทำทกุ ๆ อยา่ งดว้ ยตวั เอง
สยามบรมราชกุมารี ทรงพบท่านจี้เซ่ียนหลิน ไมย่ อมใหค้ นอน่ื ชว่ ย ไมจ่ า้ งลกู จา้ ง สำหรบั คนอายุ ๙๐ ปี
ปราชญ์ผ้นู ้กี ก็ ราบบงั คมทลู วา่ เท่านี้ก็นับว่ามากแลว้ ”
“ภาษาโตคาเรียนพบครั้งแรกที่ซินเจียง อาจารย์หวังร่ัวเจียง บันทึกไว้ว่า สมเด็จ
ผเู้ คยเรยี นภาษาสนั สกฤตมากอ่ นกจ็ ะเรยี นภาษาโตคา- พระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงมีพระราชหฤทัยชื่นชม
เรียนไดค้ อ่ นข้างงา่ ย เมอ่ื เทียบกบั ภาษาสันสกฤตแลว้ ท่านจี้เซี่ยนหลินท่ีตลอดชีวิตได้ทำงานประพันธ์
ภาษาโตคาเรยี นจะไมม่ หี นว่ ยเสยี งธนติ และเสยี งโฆษะ อย่างไม่หยุดยั้งจนมีผลงานมากมาย และทรงมี
คำบอกจำนวนของภาษาโตคาเรียนค่อนข้างซับซ้อน พระดำรสั วา่ “ตอ่ ไปนถี้ ้ารูส้ ึกเหนอื่ ยจากการเลา่ เรียน
นอกจากจะมีคำบอกจำนวนแบบเด่ียวและแบบผสม กจ็ ะต้องคิดถึงท่านจ้ีเซยี่ นหลนิ ”
แล้ว ยังมีคำบอกแบบเปน็ คูอ่ กี ดว้ ย”
อาจารย์หวังรั่วเจียง เขียนบันทึกไว้ว่า พระราชนิพนธ์เก่ยี วกับจีน
“คำกราบบังคมทูลของท่านจ้ีเซ่ียนหลินไม่เพียงแต่
จะทำให้ทรงเข้าใจภาษาโตคาเรียนในภาพรวมได้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
เท่าน้ัน ยังได้กระตุ้นความสนพระทัยที่จะได้ความรู้ ราชกุมารี ทรงเป็นนักเขียนและนักแปลผู้มีผลงาน
ต่อยอดไปอีกขั้น ทรงมีพระราชดำริว่า เมื่อเสด็จฯ มากมาย เฉพาะหนังสือท่ีเกี่ยวกับจีนอาจแบ่งเป็น ๓
ประเทศเยอรมนีจะเสด็จฯ ไปทอดพระเนตรจารึก กลมุ่ หลัก ไดแ้ ก่ [๑]
ภาษาโตคาเรยี นทีเ่ กบ็ ไวท้ ่นี ั่นให้จงได้”
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม พระราชนิพนธ์ชุดเสด็จพระราชดำเนิน
ราชกุมารี ทรงถามท่านว่าทำไมเรียนภาษาสันสกฤต เยือนสาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงปี พ.ศ.
ท่านอธิบายว่าวัฒนธรรมใหญ่ๆ มีวัฒนธรรมจีนและ
วฒั นธรรมอนิ เดยี ทง้ั สองวฒั นธรรมมคี วามเกย่ี วขอ้ งกนั ๒๕๒๔-๒๕๔๘ ได้แก่ ย่ำแดนมังกร (พ.ศ. ๒๕๒๔)
จีนรับวัฒนธรรมหลายอย่างจากอินเดีย ท่ีเห็นชัดเจน มุ่งไกลในรอยทราย (พ.ศ. ๒๕๓๓) แกะรอยโสม
คือพุทธศาสนา จึงเห็นว่าควรจะทำความเข้าใจ (พ.ศ. ๒๕๓๔) ไอรัก คืออะไร (พ.ศ. ๒๕๓๖)
ประเทศอินเดียให้ดี และทรงบันทึกไว้ด้วยว่า เกล็ดหิมะในสายหมอก เล่ม ๑-๕ (พ.ศ. ๒๕๓๗)
“ท่านมีห้องหนังสือหลายห้อง มีหนังสือโบราณ ใตเ้ มฆทเี่ มฆใต้ (พ.ศ. ๒๕๓๘) เย็นสบายชายน้ำ (พ.ศ.
หนังสือทางพุทธศาสนาก็เยอะแยะ มีพระไตรปิฎก ๒๕๔๐)คนื ถนิ่ จนี ใหญ่(พ.ศ.๒๕๔๑)เจยี งหนานแสนงาม
ตอนน้ีกำลังค้นคว้าพุทธศาสนานิกายวัชรยาน (พ.ศ. ๒๕๔๓) เม่ือข้าพเจ้าเป็นนักเรียนนอก (พ.ศ.
(แบบทิเบต) ในเมืองคู่เชอ (เมืองนี้ชาวต่างชาติมัก ๒๕๔๔) หวงเหออู่อารยธรรม (พ.ศ. ๒๕๔๔) และ
เรียกเคล่ือนเป็นเมืองกุฉา-Kucha) ทางตะวันตกของ ตน้ น้ำ ภูผา และผนื ทราย (พ.ศ. ๒๕๔๘)
ภูมิภาคปกครองตนเองซินเจียง”
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม พระราชนพิ นธแ์ ปลไดแ้ ก่ ผเี สอื้ ผลงานของ
ราชกุมารี ยังทรงบันทึกไว้ด้วยว่า“พูดกันถึงเร่ือง
คนอายยุ นื ทกุ คนอดไมไ่ ดท้ จี่ ะยกตวั อยา่ งศาสตราจารย์ หวงั เมง่ิ (พ.ศ.๒๕๓๗) เกจ็ แกว้ ประกายกวี (บทกวจี นี
จเี้ ซ่ยี นหลิน คนชอบถามวา่ ทา่ นออกกำลงั กายอยา่ งไร พ.ศ. ๒๕๓๘) เมฆเหินน้ำไหล ผลงานของฟงั ฟงั (พ.ศ.
(เช่น คนแก่มักจะเดินเล่น หรือรำมวยจีน) ท่านว่า ๒๕๓๙) หยกใสร่ายคำ บทกวีจีน (พ.ศ. ๒๕๔๑)
ไม่ออกกำลังใดๆ ทั้งสิ้น ที่จริงแล้วออกกำลังกายคือ เพยี งวนั พบ วนั นที้ สี่ ำคญั (รวมพระราชนพิ นธแ์ ปล พ.ศ.
๒๕๔๘) หมู่บ้านเล็กตระกูลเป้า ผลงานของหวังอันอ้ี
(พ.ศ. ๒๕๕๕) นารีนครา ผลงานของฉือลี่ (พ.ศ.
๒๕๕๖) ตลอดกาลนะ่ นานแคไ่ หน ผลงานของเถยี่ หนงิ
(พ.ศ. ๒๕๕๗)

66 กรกฎาคม - กนั ยายน 2558

วันท่ี ๒๗ กมุ ภาพนั ธ์ – ๖ มนี าคม ๒๕๓๘ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เสดจ็ พระราชดำเนินเยือนเมอื งคุณหมิง ตา้ หลี่ และสบิ สองปันนา มณฑลยูนนาน
โดยมปี ระชาชนชาวไตสิบสองปันนาและชนเผ่าต่างๆ ถวายการตอ้ นรบั อยา่ งอบอนุ่

ภาพจากหนังสอื ความรักผูกพนั กบั จนี : การรำลึก ๓๐ ปี สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ ฯ เยือนจนี หน้า ๔๕

พระราชนิพนธ์ทัว่ ไปเก่ียวกบั จีน ได้แก่ ร้อยภาพ คลอ้ งใจ ไทย-จีน (พ.ศ. ๒๕๕๐) และ ศลิ ปะจนี

(พ.ศ. ๒๕๕๐)
ตัวอย่างงานพระราชนิพนธเ์ ก่ียวกับจีน

กรกฎาคม - กนั ยายน 2558 67

ความเข้าพระราชหฤทยั ในศิลปะจนี วันท่ี ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๕ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารี
ในวันที่ ๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระอักษรโอกาสเสด็จพระราชดำเนนิ
ทรงแสดงปาฐกถาเร่ือง ศิลปะจีน ณ มหาวิทยาลัย ไปพพิ ิธภณั ฑ์แหง่ มณฑลฮกเกยี้ น
ศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตอำเภอองครักษ์ จังหวัด
นครนายก ปาฐกถาท่ีทรงบรรยายมีความยาว ภาพจากหนังสือ ความรักผูกพนั กบั จนี : การรำลกึ ๓๐ ปี
ประมาณ ๒ ชว่ั โมงเศษ ครอบคลมุ ศลิ ปะจนี แขนงตา่ งๆ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
อย่างครบถ้วน ทั้งด้านทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง เสด็จฯ เยือนจีน หน้า ๖๘
และวรรณศิลป์ อีกทั้งยังได้ทรงฉายภาพงานศิลปะ
ประเภทต่างๆ ท่คี ัดสรรแลว้ อกี ประมาณ ๑๓๐ ภาพ กวีนิพนธ์ : “กวีมีอิสระในการเขียน และ
ประกอบการบรรยาย ทรงต้ังข้อสังเกตว่า “ศิลปะ
หรืออารยธรรมจีนไม่ใช่อารยธรรมที่เหมือนกันไป ยอ่ มหวงั ใหผ้ อู้ า่ นไดใ้ ชจ้ นิ ตนาการและปญั ญากลน่ั กรอง
หมดอย่างที่เราคิด แต่เป็นของพื้นเมืองก็มีอยู่มาก ตคี วามจากกวนี พิ นธข์ องตน เสรภี าพนเี้ ปน็ การใหช้ วี ติ
เพราะประเทศจีนกว้างใหญ่มาก มีแว่นแคว้นหรือ อันสมบูรณ์แก่บทกวีจากภาษาใจที่สื่อกันได้โดยไม่มี
ประเทศย่อยๆ อยู่ในจีน จึงมีความเป็นพ้ืนถิ่นและ ขอบเขตจำกดั ไรพ้ รมแดน เป็นภาษาสากล”
วัฒนธรรมหลากหลาย”
ปาฐกถาดังกล่าวนี้ได้จัดพิมพ์เผยแพร่ใน จิตรกรรม : “ศิลปินนิยมเขียนภาพ
หนังสือช่ือ ศิลปะจีน ดังจะคัดข้อความบางส่วน
มานำเสนอ เพื่อเป็นตัวอย่างแสดงให้เห็นถึงความเข้า ภูเขาสูงตระหง่าน คนตัวเล็ก รวมภาพให้เห็น
พระราชหฤทัยอันลุ่มลึกต่อศิลปะจีนของพระองค์ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติว่า มนุษย์
ทา่ น ดงั นี้ จะตัวเล็กนิดเดียวเม่ือเปรียบเทียบกับธรรมชาติ
อันยิ่งใหญ่ ชมภาพจีนแล้วจะได้แนวคิดทางปรัชญา
การเขยี นพกู่ นั จนี : “กรณเี ขยี นตวั อกั ษรจนี เสมอ เช่น ดอกเหมย หรือดอกบ๊วย ท่ีบานได้แม้
แตฤ่ ดหู นาวท่มี หี ิมะตก คอื ความอดทน ความคงทน
เปน็ ศลิ ปะทคี่ นจนี ชนื่ ชมมาก และถอื วา่ เปน็ ศลิ ปะชน้ั สงู
การเขียนพู่กันที่จีนเรียกว่า ซูฝ่า น้ันฝรั่งเรียกว่า
calligraphy” และ “พู่กันซึ่งเป็นเครื่องมือใน
การเขียนก็ไม่เหมือนกับเครื่องมืออย่างอื่น เขียนแล้ว
ไม่แข็ง จะมีความอ่อนนุ่ม จะสัมพันธ์กับมือของเรา
ท่ีว่าเราจะกดหนักกดเบา มีความรู้สึกจากจิตใจ
จากสมอง จนถึงที่มือ เพราะฉะนั้นก็จะเป็นเรื่องของ
ศลิ ปะมากกวา่ การที่เราจะเขยี นหนงั สอื อื่นๆ ท่วั ไป”

สวนจนี : “สวนราษฎรมเี นอื้ ทน่ี อ้ ย ผจู้ ดั สวน

ตอ้ งจดั เนือ้ ทใี่ หไ้ ดป้ ระโยชน์มากที่สุด เชน่ ขุดสระนำ้
สะทอ้ นทวิ ทศั นท์ ส่ี วยงามจากขา้ งนอกมาไวใ้ นบา้ นเรา
จีนเรยี กวา่ เปน็ การ “ยืมวิว” ของคนอืน่ มา”

68 กรกฎาคม - กนั ยายน 2558

ส่วนไผ่จะลู่ไปตามลมไม่หักโค่น แม้ลมจะแรงเพียงใด พระองค์ท่านยังทรงแทรกเกร็ดความรู้
ถงึ ไผเ่ ลก็ ๆ ไมต่ า้ นลม จรงิ ๆ แลว้ จะแขง็ มาก ใชป้ ระโยชน์ เชิงวัฒนธรรมของจีนโบราณด้วย เช่น “สมมติว่า
แทนคอนกรตี เสรมิ เหล็กก็ยงั ได”้ อาจารย์ผู้ใหญ่จะเขียนหนังสือ เขียนบทกวี ก็จะมี
ลูกศิษย์เป็นคนน่ังฝนหมึกให้คนฝนหมึกจะได้รับ
ดนตรี : “นักแต่งเพลงคนหน่ึงมีคนรู้จัก ถ่ายทอดความรู้ ฟังอะไรต่อมิอะไรและดูอากัปกิริยา
ของอาจารยด์ ว้ ย นเ่ี ปน็ การเรยี นจากอาจารยแ์ บบหนงึ่
มากชอ่ื หวงั ลว่ั ปนิ (Wangluobin ค.ศ. ๑๙๑๓-๑๙๙๖) ฝนหมกึ รบั ใช้อาจารย์”
เขาเปน็ ราชาแหง่ เพลงตะวนั ตก คอื แถบซนิ เกยี ง ชงิ ไห่ นอกจากน้ี ยังทรงมีข้อสังเกตบางประการ
เช่น เพลง “ณ ที่อันแสนไกลทีน่ ั้น” ไดค้ วามบนั ดาลใจ ซ่ึงผู้ท่ีสนใจอาจสืบค้นหาความจริงด้วยตนเอง เช่น
จากเพลงพื้นเมืองในชิงไห่ เนื้อเพลงหรือทำนองเพลง “คนไทยนิยมสั่งสีจากจีนมาใช้ เพราะฉะน้ันจะมีชื่อ
จะแสดงใหเ้ หน็ ถงึ สภาพทางภมู ศิ าสตรแ์ ถบนน้ั ซง่ึ เปน็ เปน็ จนี เชน่ สเี ขยี วตงั้ แช สแี ดง ใช้คำวา่ หงชาด หงดนิ
ทุ่งหญ้ากว้างและมีม้าวิง่ คนท่ีอยแู่ ถวน้ันเป็นคนเล้ียง หงสบาท สงสยั คำวา่ หง ตรงกบั คำจนี วา่ สแี ดง ไมท่ ราบ
สัตว์เร่ร่อน เขาก็พูดถึงว่าอยู่ในที่น่ันท่ีห่างไกล มีสาว ว่าเปน็ คำพอ้ งหรอื เปน็ สีแดงทสี่ ่ังเข้ามาจากจนี ”
แสนดี ใครเดินผ่านกระโจมของเธอก็จะต้องหันหน้า สว่ นภาพในหนา้ ๖๔ ของหนังสอื ศิลปะจีน
ไปดู เพราะหน้าของเธอแจ่มใสสวยงามเหมือน พระองค์ท่านก็ตั้งข้อสังเกตอย่างมีอารมณ์ขันชวนคิด
ดวงตะวนั ตอ้ งใจคน เหมอื นแสงจนั ทรก์ ระจา่ งในยามคำ่ และเขยี นไวใ้ ตภ้ าพวา่ “ภาพนคี้ นจนี บอกวา่ เปน็ ภาชนะ
ฉั น ยิ น ดี ท่ี จ ะ ล ะ ท้ิ ง ท รั พ ย์ ส ม บั ติ ทั้ ง ป ว ง ทั้ ง ห ม ด สำหรับใส่สุรา เราลองถามคนไทยหลายคนแล้วบอก
มาต้อนแกะอยู่กับเธอ ได้เห็นหน้าเธอทุกวัน ได้เห็น วา่ คือ คอมฟอร์ตร้อย กเ็ ลยไมร่ ู้ว่าอะไร ทา่ นพิจารณา
เสื้อผ้าขลิบทอง และหวังจะเป็นแกะตัวน้อยอยู่ใกล้ เอาเองกแ็ ลว้ กันวา่ มนั ใชอ้ ย่างไร”
กายเธอ อยากให้เธอใช้แส้เบาๆ ตีตัวฉันอย่างไม่หยุด
เลยเหมอื นเวลาท่ีขม่ี า้ ”

วนั ที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ – ๖ มนี าคม ๒๕๓๘ ภาพปริศนาจากหนงั สอื ศลิ ปะจีน หน้า ๖๔
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี

เสด็จพระราชดำเนนิ เยอื นเมอื งคุณหมงิ ตา้ หลี่
และสิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประชาชนเผ่าตา่ งๆ

ถวายการต้อนรับอยา่ งอบอนุ่
โดยทรงบรรเลงเพลง “จยุ้ ไท่ผิง”

กบั นักดนตรชี นเผ่าไป๋ด้วย

ภาพจากหนังสอื ความรกั ผูกพนั กับจีน : การรำลึก ๓๐ ปี
สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ ฯ เยือนจีน

หน้า ๔๔

กรกฎาคม - กนั ยายน 2558 69

โทบรรงาณส น พ ร ะ ร า ช ห ฤ ทั ย ใ น บ ท ก วี จี น เร่อื งแรก คอื ในเดอื นมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จพระราชดำเนิน
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ไปทรงเปดิ ปา้ ยสถาบนั ขงจอ่ื แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
ราชกมุ ารี ทรงโปรดปรานบทกวจี นี โบราณเปน็ อยา่ งยง่ิ และเมื่อมีคนกล่าวว่าที่ต้ังสถาบันขงจื่อมีขนาดเล็ก
ประเด็นนี้อาจารย์จี้หนานเซิง๔ เล่าไว้ในเรื่อง สมเด็จ เกินไป ก็ทรงยกเอาบทกวีสมัยถังท่ีประพันธ์โดย
เจ้าฟา้ ผพู้ ิเศษกบั ความร้สู กึ อนั พิเศษ ว่า หลิวอี่ว์ซี ที่ว่า “ (ขุนคีรีใช่
“ทรงสนพระราชหฤทยั ในการนมี้ าก และทรง เพราะสูงจึงเสถียร แต่มีเซียนสถิตช่ือจึงลือเล่ือง)”
ใหห้ าหนังสอื บทกวีสมยั ถงั ๓๐๐ บท ฉบบั แปลเปน็ ข้ึนมาเปรียบ อันแสดงให้เห็นถึงพระปฏิภาณ
ภาษาอังกฤษมาใช้ประกอบอีกด้วย ในการถวาย ทเี่ ฉยี บคม สามารถยกคำปราชญท์ เี่ หมาะกบั เหตกุ ารณ์
พระอกั ษร ขา้ พเจา้ จะใชภ้ าษาฝรง่ั เศสถวายขอ้ มลู เกยี่ ว มากลา่ วและทำให้ผู้ทีไ่ ดย้ ินฉุกคิดได้
กบั ตวั กวี คำแปลตวั บทและความหมายโดยนยั จากนน้ั อกี เรอ่ื งหนง่ึ ทรงเลา่ ไวใ้ นหนงั สอื ศลิ ปะจนี วา่
ก็จะอ่านออกเสียงและท่องบทกวีถวายให้ทรงฝึกไป “ท่านประธานาธิบดีเจียงเจ๋อหมินท่อง
พรอ้ มๆ กัน ในระหวา่ งนน้ั มักจะมพี ระราชดำรัสถาม บทกวีสมัยราชวงศ์ถังได้เป็นร้อยๆ บท และท่านก็ว่า
และมพี ระราชวนิ จิ ฉยั ตอ่ บทกวที ที่ รงเสมอๆ การถวาย เรียนมาเป็นวิศวกร แต่ก็ต้องเห็นคุณค่าของบทกวี
พระอกั ษรจงึ เปลยี่ นรปู แบบจากการบรรยายประกอบ ท่องได้ก็จะซึมเข้าไปในจิตใจ ท่านว่า ข้าพเจ้าเรียน
การฝกึ ทกั ษะกลายเปน็ อภปิ รายรว่ มกันโดยปรยิ าย” อักษรศาสตร์มา แต่คงท่องสู้ท่านไม่ได้ พอไปส่งท่าน
อาจารย์เผย์เสี่ยวรุ่ย ได้แสดงความช่ืนชมใน ทท่ี พี่ กั ตอนไปภเู กต็ ทา่ นกเ็ รยี กเขา้ ไปทห่ี อ้ ง ไหนมาทอ่ ง
พระปรชี าสามารถด้านวรรณศลิ ป์ของสมเด็จพระเทพ กลอนใหฟ้ งั ซิ ไมต่ อ้ งทอ่ งกลอนจนี ทอ่ งกลอนไทยใหฟ้ งั
รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารีไวว้ ่า พอทอ่ งทา่ นกพ็ อใจ บอกวา่ ยงั ทอ่ งกลอนได้ พอจะกลบั
“พระราชนิพนธ์แปลบทกวีสมัยราชวงศ์ถัง ทา่ นมอบลายมอื ของทา่ นเอาไวใ้ ห้ เปน็ บทกวขี องหลไ่ี ป๋
และซ่งในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สามารถเก็บ กล่าวถึงสุราอย่างดี สุราท่ีปรุงด้วยหัวพืชสมุนไพร
สารัตถะและนัยแฝงต่างๆ ได้อย่างครบถ้วน อย่างหน่ึง คนไทยแปลว่า ทิวลิป รินสุราสีอำพัน
ถูกต้องแม่นยำ บางบทบางตอนก็ทรงแปลได้อย่าง ใสช่ ามหยก ชมวา่ เจา้ ของบา้ นฉลาดมาก สามารถทำให้
บริบูรณ์ด้วยเชิงวรรณศิลป์ ตัวอย่างเช่น บทกวี แขกมึนเมาได้ คือ มอมเหล้าแขกจนมึน ไม่รู้ว่า
“เซิงเซิงม่าน” ของหล่ีชิงเจ้า วรรคหนึ่งมีความเป็น ที่นี่เป็นบ้านตนหรือบ้านคนอ่ืน อันน้ีเป็นคำชม
ภาษาจนี ว่า หมายความวา่ ดูแลดี ไมใ่ ช่มามอมด้วยสุราอย่างเดยี ว
ก็ทรง แ ป ลเป็นภาษาไทยว่า “ค้ น ค้ น ห า ห า พูดว่ามอมเมาของเราไม่ดี แต่ในที่นี้เป็น sense ท่ีดี
เงียบเงียบเหงาเหงา โศกโศกเศร้าเศร้า ตรอมตรม” พู ด ถึ ง ว่ า ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ ดู แ ล แ ข ก จ น ก ร ะ ท่ั ง แ ข ก
ซงึ่ เปน็ การถา่ ยทอดทไ่ี ดท้ งั้ ความหมายและอารมณก์ วี มีความรู้สึกว่า เหมือนอยู่บ้านตนเองนับเป็นคำพูด
ได้ทัง้ การเลน่ เสียงคลอ้ งจอง ชวนให้ท่องไดค้ ล่องปาก ท่ลี กึ ซง้ึ ”
ฟงั ไพเราะเสนาะหู นบั เปน็ ศลิ ปะการแปลชน้ั เลศิ ”
มีเกร็ดน่าสนใจเกี่ยวกับบทกวีหลายเร่ือง
หนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจอันลึกซ้ึงของ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ที่มีต่อบทกวีโบราณของจีน จะขอเล่าไว้ในที่น้ีสัก ๒
เร่อื ง ดงั น้ี

๔ จห้ี นานเซิง อดีตเลขานุการเอกประจำกระทรวงการตา่ งประเทศของจนี เป็นพระอาจารยผ์ ูถ้ วายพระอักษร ในช่วงเดอื นกุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๒๕ –
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๖

70 กรกฎาคม - กนั ยายน 2558

คแลวาะเมทสคนโนพโรละยรขีาชอหงจฤีนทัยในวิทยาศาสตร์ “ศูนย์แลกเปล่ียนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และวัฒนธรรมไทย-จีน สิรินธร” อันแสดงให้เห็นถึง
อาจารย์หวังร่ัวเจียง แสดงทัศนะของท่านไว้ พระวิสัยทัศน์ทางวิชาการที่ต้องการยกระดับการแลก
ในบทความเรอื่ ง พระวริ ิยะอตุ สาหะ พระอจั ฉรยิ ภาพ เปล่ียนความรู้ระหว่างไทย-จีนให้สอดคล้องกับบริบท
และพระจริยวัตรอันโดดเด่น: บันทึกการถวายพระ และความต้องการของสงั คมในปจั จบุ ัน
อักษรภาษาจีนสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ ว่า [๑]
“นบั แตท่ ท่ี รงเรม่ิ สนพระราชหฤทยั “หนหู คู น” สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เปน็ ตน้ มา ในยามทมี่ รี ับสง่ั หยอกลอ้ กม็ กั จะทรงแทรก ทอดพระเนตรกิจกรรมบนเรอื ตัดนำ้ แขง็ เสวี่ยหลง
คำศัพท์เฉพาะท่ีใช้ในทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
ด้วยเสมอ เช่น เมื่อพระสหายท่านหน่ึงรับประทาน เมอื่ วันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖
เนอ้ื ววั แลว้ มอี าการแพ้ กม็ พี ระดำรสั วา่ นา่ จะใหไ้ ปเพม่ิ
ยีนของเสือ เพราะเสือกินเนื้อวัวแล้วไม่แพ้ ข้าพเจ้า ภาพจากหนังสอื ๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ หนา้ ๖๒
มีความรู้สึกว่า “นิทรรศการผลงานความสำเร็จของ
โครงการ 863๕” น้ันมีผลต่อความสนพระราชหฤทัย ความรว่ มมอื กบั สาธารณรฐั ประชาชนจนี ในดา้ น
ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ อยู่มาก ทำให้การ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามแนวทางพระราชดำริ
ใฝ่พระราชหฤทยั ในเรอื่ งจนี ของพระองค์เบนจากเร่อื ง ดำเนินการผ่านกลไกความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิต
ขนบประเพณีวัฒนธรรมไปเป็นด้านวิทยาศาสตร์และ วิทยาศาสตร์จีน (CAS : Chinese Academy of
เทคโนโลยี และทำให้ทรงเข้าพระราชหฤทัยประเทศ Sciences) ในหลายดา้ น เช่น [๔]
จนี สมัยใหม่ลึกซ้งึ เขา้ ไปอกี ขนั้ หนึง่ ” และ • การวิจัยร่วมด้านฟิสิกส์นิวเคลียร์และ
ทรงมีแผนพระราชดำริใหม่ๆ ในด้านการ อนภุ าค ระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี (มทส.)
แลกเปลี่ยนระหว่างไทย-จีน มีพระราชปรารภว่า กบั The Institute of High Energy Physics (IHEP)
“ที่ผ่านมา คนไทยต้องการเรียนรู้ภาษากับวัฒนธรรม โดยมีนักศึกษาปริญญาเอกของ มทส. ไปทำงานวิจัย
จีนจึงมาท่ีประเทศจีน แต่ถ้าต้องการศึกษาด้าน ที่ IHEP และแลกเปล่ียนนกั วจิ ัย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก็จะไปทางยุโรปอเมริกา • การวิจยั ร่วมด้านดาราศาสตร์ ระหว่าง
เดยี๋ วนไี้ ดม้ าเหน็ แลว้ วา่ วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยขี องจนี สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
หลายๆ ด้านก้าวหน้าไปมาก นอกจากนี้สภาวการณ์ กบั Yunnan Astronomical Observatory (YNAO)
ของประเทศจนี กบั ประเทศไทยกม็ ลี กั ษณะใกลเ้ คยี งกนั ในหวั ขอ้ “Observations and studies of low mass
ต่อจากน้ีไปสมควรจะส่งคนมาท่ีประเทศจีนเพ่ือเรียน ratio, deep over contact binary stars” ในช่วงปี
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที ก่ี ้าวหน้าบ้าง” พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๗
ในปี พ.ศ.๒๕๕๐ เมื่อมหาวิทยาลัยปักก่ิง
เตรียมจัดต้ัง “ศูนย์แลกเปลี่ยนภาษาและวัฒนธรรม
สิรินธร” น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเพ่ือเฉลิม
พระเกยี รตใิ นพระวโรกาสพระชนมายคุ รบ ๕๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
กพ็ ระราชทานคำแนะนำวา่ ควรเพม่ิ คำวา่ “วทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี” และ “ไทย-จีน” เข้าไปด้วยให้เป็น

๕ ขอ้ ความในตน้ ฉบบั (หนงั สือ เมอ่ื ได้ใกล้ชดิ ยคุ ลบาท) หนา้ ๗๖ เขียนวา่ “863 โครงการ” แตท่ ี่ถูกต้องคือ “โครงการ 863”

กรกฎาคม - กนั ยายน 2558 71

• การประยุกต์ข้อมูลดาวเทียมของจีน • การส่งนักศึกษาไทยไปศึกษาระดับ
และไทยเพอ่ื การจดั การปญั หาอทุ กภยั ในพน้ื ทน่ี ำ้ ทว่ ม ปริญญาโทหรือเอกในสาขาต่างๆ ได้แก่ การสำรวจ
ซ้ำซาก ระหว่างสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ ระยะไกล เทคโนโลยีอวกาศ ฟิสิกส์ของเครื่องเร่ง
และภูมิสารสนเทศ (GISTDA) กับ Institute of อนุภาคและเทคโนโลยีแสงซนิ โครตรอน การประมวล
Remote Sensing and Digital Earth (RADI) โดย ภาษาธรรมชาติและการแปลภาษาด้วยคอมพิวเตอร์
ร่วมกันประมวลผลแปลภาพถ่ายดาวเทียม รวบรวม หุ่นยนต์อัตโนมัติ ดาราศาสตร์ ดาราฟิสกิ ส์ และระบบ
ขอ้ มลู อทุ กวทิ ยาและอตุ นุ ยิ มวทิ ยา และจดั ทำฐานขอ้ มลู จำลองน้ำสำหรบั การเปลยี่ นแปลงภูมอิ ากาศ
ของพื้นท่ีศึกษา ได้แก่ ลุ่มน้ำยม และลุ่มน้ำแยงซี นอกจากน้ี ยังมีโครงการวิจัยข้ัวโลกตาม
เพอ่ื เปรยี บเทยี บลกั ษณะภมู ปิ ระเทศและปจั จยั แวดลอ้ ม พระราชดำรสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรม
ต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อการเกิดน้ำท่วมในพ้ืนที่ศึกษา ราชกุมารี ซึ่งสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
ดังกล่าว เป้าหมายของโครงการน้ีคือการพัฒนาแบบ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้ลงนามในข้อตกลง
จำลองเพอ่ื ใชเ้ ปน็ เคร่อื งมอื ในการจัดการอุทกภัย ความร่วมมือกับหน่วยงานขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้
• การประชมุ วชิ าการ ICCES-HAII Work- (CAA: Chinese Arctic and Antarctic
shop ในประเด็น Rainfall Forecasting จัดโดย Administration) สังกัดสำนักงานบริหารกิจการ
สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร ทางทะเล โดยคัดเลือกนักวิจัยไทย ๒ คน ได้แก่
(สสนก.) ร่วมกับ The Institute of Atmospheric รองศาสตราจารย์ดร.สชุ นาชวนติ ย์และผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์
Physics (IAP) และ The International Center ดร.อรฤทัย ภิญญาคง จากคณะวิทยาศาสตร์
for Climate and Environment Sciences (IC- จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ใหเ้ ดนิ ทางไปกบั คณะสำรวจ
CES) ทก่ี รุงเทพมหานคร เม่อื วนั ที่ ๒ ธันวาคม พ.ศ. ทวีปแอนตาร์กติกจีนคร้ังท่ี 30 หรือ CHINARE30
๒๕๕๖ (30th Chinese Antarctic Research Expedition)
• การวิจัยและพัฒนาระบบแปลภาษา ระหว่างวันท่ี ๑ มกราคม ถึง ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ.
อัตโนมัติจีน-ไทย โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ ๒๕๕๗ เพ่ือไปทำงานวิจัยที่สถานีวิจัยเกรทวอลล์
และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ร่วมกับ Institute of (Great Wall Station) ซ่ึงต้ังอยู่บนเกาะคิงส์จอร์จ
Computing Technology (ICT) ในช่วงปี พ.ศ. ในทวปี แอนตาร์กติกา
๒๕๕๖-๒๕๕๗

โครงการ 863 คอื อะไร?

โครงการ 863 (863 Program) หรือ โครงการพัฒนาเทคโนโลยีระดับสูงและการพัฒนาการวิจัยแห่งชาติ (State
High-Tech Development Plan) เรม่ิ ต้นเม่อื วันที่ ๓ มนี าคม ค.ศ. ๑๙๘๖ ซงึ่ จนี เขยี นโดยใช้รปู แบบว่า 86/3 จึงเรยี กว่า
โครงการ 863
โครงการนี้มีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาระดับความสามารถทางเทคโนโลยีช้ันสูงของจีนในหลายสาขา โดยวิศวกร
ชั้นนำ ๔ คนของจีน ได้เขียนจดหมายถึงท่านเติ้งเส่ียวผิงระบุว่า ท้ัง ๔ คนได้ติดตามความคืบหน้าโครงการ Star Wars
ของสหรัฐอเมริกาและโครงการวิทยาศาสตร์อื่นๆ ทั่วโลก และเสนอว่าจีนควรมีโครงการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับสูงของตัวเอง ทา่ นเตง้ิ เสย่ี วผิงสนับสนนุ ใหเ้ กดิ โครงการนที้ ันที และผนู้ ำจนี รุน่ ตอ่ มาทุกคนกใ็ ส่ใจโครงการนี้อยา่ งต่อเนื่อง
ในระยะแรก โครงการ 863 เนน้ พฒั นาเทคโนโลยีใน ๗ สาขา ได้แก่ พลงั งาน วสั ดุศาสตร์ เลเซอร์ เครอื่ งจกั รกลอตั โนมตั ิ
เทคโนโลยชี วี ภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีอวกาศ ตอ่ มาได้เพิ่มอกี ๒ สาขา ไดแ้ ก่ โทรคมนาคม (ค.ศ. ๑๙๙๒)
และเทคโนโลยีทางทะเล (ค.ศ.๑๙๙๖)

ทมี่ า : http://en.wikipedia.org/wiki/863_Program

72 กรกฎาคม - กนั ยายน 2558

ทัศนะตอ่ ชาวจนี ในประเทศไทย นิสิตมหาวิทยาลัยก็มีพระสหายเป็นลูกหลานจีน
จำนวนมาก ทรงช่ืนชมในผลการเรียนที่โดดเด่นของ
บทความนข้ี อจบดว้ ยประเดน็ เลก็ ๆ แตเ่ กย่ี วขอ้ ง พระสหายท้ังหลายและมีพระดำรัสว่า “ครอบครัว
กับคนจีนและคนไทยเช้ือสายจีน น่ันคือ ทัศนะของ ชาวจนี ใหค้ วามสำคญั ตอ่ การศกึ ษาของลกู หลานอยา่ ง
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มาก จะพยายามอยา่ งเตม็ ที่ ใหล้ กู หลานมโี อกาสไดเ้ รยี น
ทม่ี ตี อ่ ชาวจนี ในประเทศไทย พระองคท์ า่ นไดพ้ ระราช หนงั สือ ซึ่งเป็นการกระทำทีถ่ กู ตอ้ ง””
ทานความเห็นแก่อาจารย์เผยเ์ สีย่ วรุ่ยว่า [๑] นอกจากนี้ การที่พระองค์ทา่ นเสด็จพระราช
“ชาวจีนที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยไม่เคย ดำเนินงานตรุษจีนที่เยาวราชเป็นประจำ ย่อมแสดง
ถูกมองว่าเป็นคนต่างชาติเลย และมีสิทธิเท่าเทียม ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ท ร ง ใ ห้ ค ว า ม ส ำ คั ญ กั บ วั ฒ น ธ ร ร ม จี น
กับคนไทยทุกประการ นายกรัฐมนตรีของไทยหลาย และคนจนี ในประเทศไทยอยา่ งเปน็ รปู ธรรม
คนก็เป็นลูกหลานจีน แม้จะมีเชื้อสายจีนแต่ก็เป็น
คนไทยเต็มตัว” และ “อันท่ีจริง เมื่อตอนที่ทรงเป็น

รูจ้ ัก...สถาบนั บัณฑิตวิทยาศาสตร์จนี

สถาบนั บณั ฑิตวทิ ยาศาสตร์จนี (CAS : Chinese Academy of Sciences)
ประกอบดว้ ยสถาบนั วจิ ยั จำนวน ๑๐๔ แหง่ มหาวทิ ยาลยั และองคก์ รสนบั สนนุ ๕ แหง่
องค์กรด้านการบรหิ ารจดั การ ๑๒ องคก์ ร และหน่วยงานอืน่ ๆ อกี ๓ หนว่ ยงาน นอก
จากนย้ี งั มหี นว่ ยงานดา้ นกฎหมาย ๒๕ หนว่ ยงาน และวสิ าหกจิ ทส่ี ถาบนั บณั ฑติ วทิ ยา-
ศาสตร์จนี ลงทุนอีก ๒๒ แห่ง (ข้อมลู ในปี พ.ศ.๒๕๕๕ )
ตัวอยา่ งสถาบันวิจยั ในสังกดั เชน่ สถาบันฟสิ ิกส์ (Institute of Physics)
สถาบนั เคมี (Institute of Chemistry) สถาบนั ธรณีวิทยาและธรณฟี ิสิกส์ (Institute
of Geology and Geophysics) ศูนย์วิทยาศาสตร์นาโนและนาโนเทคโนโลยีแห่ง
ชาติ (National Center for Nano Science and Technology) สถาบันจิตวทิ ยา
(Institute of Psychology) และ ศนู ย์วิทยาศาสตร์อวกาศแหง่ ชาติ (National Space Science Center) เปน็ ตน้
มหาวทิ ยาลัยในสังกัด ไดแ้ ก่ University of Chinese Academy of Sciences และ University of Science and
Technology of China

ท่มี า : www.english.cas.cn/CASI/

แหล่งขอ้ มูลอ้างองิ
๑. เผยเ์ สยี่ วรุ่ย และคณะ เขียน, จตุวิทย์ แก้วสวุ รรณ์ และคณะ ผแู้ ปล,จ ปกรณ์ ลมิ ปนุสรณ์ บรรณาธิการแปล, เม่อื ได้ใกล้ชดิ ยคุ ลบาท, สำนักพิมพ ์
ชวนอ่าน, พิมพค์ ร้ังแรก ธันวาคม ๒๕๕๗
๒. สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี, เม่ือข้าพเจา้ เป็นนกั เรยี นนอก พระราชนิพนธ์ในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกุมาร,ี พิมพค์ รัง้ ที่ ๒ มีนาคม ๒๕๔๕, จดั พิมพ์โดย มูลนธิ ฺสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ
๓. สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี, ศิลปะจีน ปาฐกถาพระราชนพิ นธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, นานม ี
บ๊คุ สพ์ บั ลเิ คชนั่ ส์, พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน ๒๕๕๐
๔. ๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วิทยาปรทิ รรศน,์ จดั พมิ พ์โดย โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำรสิ มเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรม
ราชกมุ ารี, พมิ พ์ครงั้ ที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๘
๕. ความรักผกู พนั กับจนี : การรำลกึ ๓๐ ปี สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ ฯ เยอื นจนี , Copyright by Xinhua News Agency,
Published by Amarin Printing and Publishing Public Company Limited, ISBN 978-974-8100-88-3


Click to View FlipBook Version