The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebooknayok, 2020-04-26 23:50:14

รายงานผลการดำเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

รายงานผลการดำเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

Keywords: e-book ee job

42

สานักงาน กศน.จงั หวัด งบประมาณ งบประมาณทีใ่ ช้ คงเหลือ รอ้ ยละ
ทไี่ ดร้ ับจัดสรร
9. พษิ ณโุ ลก 378,619.00 53,381.00 87.64
10. เพชรบูรณ์ 432,000.00 100.00
11. แพร่ 528,000.00 528,000.00 0.00 94.62
12. แมฮ่ ่องสอน 384,000.00 98.21
13. ลาปาง 336,000.00 363,357.00 20,643.00 99.74
14. ลาพนู 624,000.00 99.90
15. สโุ ขทัย 384,000.00 330,000.00 6,000.00 97.63
16. อตุ รดติ ถ์ 432,000.00 100.00
17. อทุ ัยธานี 432,000.00 622,349.00 1,651.00 98.44
384,000.00 98.64
รวม 9,408,000.00 383,600.00 400.00

421,760.00 10,240.00

432,000.00 0.00

378,000.00 6,000.00

9,279,837.00 128,163.00

จากตารางท่ี 4.8 การใช้งบประมาณในการจัดอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัดในเขต
ภาคเหนือ พบว่า ไดร้ ับการจัดสรรงบประมาณ จานวน 9,408,000.00 บาท งบประมาณท่ีใช้ จานวน
9,279,837.00 บาท คงเหลือ 128,163.00 บาท (ร้อยละ 98.64) โดยสานักงาน กศน.จังหวัดท่ีใช้
งบประมาณมากที่สุด คือ กาแพงเพชร เชียงราย นครสวรรค์ พะเยา พิจิตร เพชรบูรณ์ และอุตรดิตถ์
(รอ้ ยละ 100.00) รองลงมา คอื ลาพนู (รอ้ ยละ 99.90) และนอ้ ยทีส่ ุด คือ พิษณุโลก (รอ้ ยละ 87.64)

ตารางที่ 4.9 การใช้งบประมาณในการจัดอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัดในเขต ภาค

ตะวันออกเฉียงเหนอื

สานกั งาน กศน.จงั หวดั งบประมาณ งบประมาณที่ใช้ คงเหลือ ร้อยละ
ท่ไี ดร้ ับจัดสรร

1. กาฬสินธุ์ 864,000.00 864,000.00 0.00 100.00

2. ขอนแก่น 1,248,000.00 1,242,070.00 5,930.00 99.52

3. ชัยภมู ิ 768,000.00 758,000.00 10,000.00 98.70

4. นครพนม 576,000.00 575,800.00 200.00 99.97

5. นครราชสมี า 1,536,000.00 1,452,061.00 83,939.00 94.54

6. บึงกาฬ 384,000.00 384,000.00 0.00 100.00

7. บุรีรมั ย์ 1,104,000.00 1,104,000.00 0.00 100.00

8. มหาสารคาม 624,000.00 624,000.00 0.00 100.00

9. มุกดาหาร 336,000.00 334,058.00 1,942.00 99.42

10. ยโสธร 432,000.00 432,000.00 0.00 100.00

43

สานักงาน กศน.จังหวดั งบประมาณ งบประมาณท่ีใช้ คงเหลอื รอ้ ยละ
ทไ่ี ด้รบั จดั สรร
11. ร้อยเอด็ 960,000.00 0.00 100.00
12. เลย 960,000.00 100.00
13. ศรีสะเกษ 672,000.00 672,000.00 0.00 85.82
14. สกลนคร 1,056,000.00 100.00
15. สรุ นิ ทร์ 864,000.00 906,290.00 149,710.00 100.00
16. หนองคาย 816,000.00 100.00
17. หนองบวั ลาภู 432,000.00 864,000.00 0.00 100.00
18. อานาจเจรญิ 288,000.00 100.00
19. อดุ รธานี 336,000.00 816,000.00 0.00 88.24
20. อุบลราชธานี 960,000.00 99.96
1,200,000.00 432,000.00 0.00 97.64
รวม 15,456,000.00
288,000.00 0.00

336,000.00 0.00

847,070.00 112,930.00

1,199,500.00 500.00

15,090,849.00 365,151.00

จากตารางที่ 4.9 การใช้งบประมาณในการจัดอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัดในเขตภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่า ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จานวน 15,456,000.00 บาท งบประมาณ
ที่ใช้ จานวน 15,090,849.00 บาท คงเหลือ 365,151.00 บาท (ร้อยละ 97.64) โดยสานักงาน กศน.
จังหวัดท่ีใช้งบประมาณมากท่ีสุด คือ กาฬสินธุ์ บึงกาฬ บุรีรัมย์ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย
สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวลาภู และอานาจเจริญ (ร้อยละ 100.00) รองลงมา คือ
นครพนม (รอ้ ยละ 99.97) และน้อยที่สุด คือ ศรีสะเกษ (ร้อยละ 85.82)

ตารางท่ี 4.10 การใช้งบประมาณในการจัดอบรมของสานักงาน กศน.จงั หวดั ในเขตภาคกลาง

สานกั งาน กศน.จงั หวดั งบประมาณ งบประมาณทใ่ี ช้ คงเหลอื ร้อยละ
ทีไ่ ดร้ บั จดั สรร

1. กรุงเทพมหานคร 2,696,000.00 2,583,418.18 112,581.82 95.82

2. กาญจนบุรี 624,000.00 621,995.00 2,005.00 99.68

3. ชัยนาท 384,000.00 376,735.00 7,265.00 98.11

4. นครปฐม 336,000.00 301,207.00 34,793.00 89.64

5. นนทบรุ ี 288,000.00 260,025.00 27,975.00 90.29

6. ปทุมธานี 336,000.00 334,100.00 1,900.00 99.43

7. ประจวบคีรขี ันธ์ 384,000.00 350,881.00 33,119.00 91.38

8. พระนครศรีอยธุ ยา 768,000.00 674,143.00 93,857.00 87.78

9. เพชรบุรี 384,000.00 384,000.00 0.00 100.00

44

สานกั งาน กศน.จังหวัด งบประมาณ งบประมาณทใ่ี ช้ คงเหลอื รอ้ ยละ
ทไ่ี ดร้ ับจดั สรร
10. ราชบุรี 473,889.00 6,111.00 98.73
11. ลพบุรี 480,000.00 95.17
12. สมุทรปราการ 528,000.00 502,485.00 25,515.00 98.19
13. สมุทรสงคราม 288,000.00 100.00
14. สมทุ รสาคร 144,000.00 282,780.00 5,220.00 99.99
15. สระบรุ ี 144,000.00 95.91
16. สิงหบ์ ุรี 624,000.00 144,000.00 0.00 97.12
17. สพุ รรณบรุ ี 288,000.00 81.84
18. อ่างทอง 480,000.00 143,986.00 14.00 100.00
336,000.00 95.04
รวม 9,512,000.00 598,471.00 25,529.00

279,697.00 8,303.00

392,848.00 87,152.00

336,000.00 0.00

9,040,660.18 471,339.82

จากตารางที่ 4.10 การใช้งบประมาณในการจัดอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัดในเขตภาค
กลาง พบว่า ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จานวน 9,512,000.00 บาท งบประมาณที่ใช้ จานวน
9,040,660.18 บาท คงเหลือ 471,339.82 บาท (ร้อยละ 95.04) โดยสานักงาน กศน.จังหวัดท่ีใช้
งบประมาณมากที่สุด คือ เพชรบุรี สมุทรสงคราม และอ่างทอง (ร้อยละ 100.00) รองลงมา คือ
สมุทรสาคร (ร้อยละ 99.99) และน้อยท่ีสดุ คอื สพุ รรณบุรี (รอ้ ยละ 81.84)

ตารางที่ 4.11 การใช้งบประมาณในการจัดอบรมของสานกั งาน กศน.จังหวัดในเขตภาคตะวนั ออก

สานกั งาน กศน.จังหวดั งบประมาณ งบประมาณท่ีใช้ คงเหลือ ร้อยละ
ท่ไี ด้รับจดั สรร

1. จนั ทบรุ ี 480,000.00 479,999.00 1.00 100.00

2. ฉะเชิงเทรา 528,000.00 528,000.00 0.00 100.00

3. ชลบุรี 528,000.00 528,000.00 0.00 100.00

4. ตราด 336,000.00 336,000.00 0.00 100.00

5. นครนายก 192,000.00 191,937.00 63.00 99.97

6. ปราจีนบุรี 336,000.00 330,000.00 6,000.00 98.21

7. นครนายก 384,000.00 359,982.00 24,018.00 93.75

8. สระแกว้ 432,000.00 432,000.00 0.00 100.00

รวม 3,216,000.00 3,185,918.00 30,082.00 99.06

45

จากตารางที่ 4.11 การใช้งบประมาณในการจัดอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัดในเขตภาค
ตะวันออก พบวา่ ไดร้ ับการจัดสรรงบประมาณ จานวน 3,216,000.00 บาท งบประมาณที่ใช้ จานวน
3,185,918.00 บาท คงเหลือ 30,082.00 บาท (ร้อยละ 99.06) โดยสานักงาน กศน.จังหวัดท่ีใช้
งบประมาณมากทสี่ ดุ คอื จันทบรุ ี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด และสระแก้ว (ร้อยละ 100.00) รองลงมา
คอื นครนายก (รอ้ ยละ 99.97) และนอ้ ยท่ีสุด คือ นครนายก (รอ้ ยละ 93.75)

ตารางท่ี 4.12 การใช้งบประมาณในการจัดอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัดในเขตภาคใต้และ

ภาคใตช้ ายแดน

สานักงาน กศน.จังหวัด งบประมาณ งบประมาณที่ใช้ งบประมาณ รอ้ ยละ
ท่ีไดร้ ับจดั สรร คงเหลอื

1. กระบ่ี 384,000.00 383,660.00 340.00 99.91

2. ชุมพร 384,000.00 375,385.00 8,615.00 97.76

3. ตรงั 480,000.00 479,960.00 40.00 99.99

4. นครศรีธรรมราช 1,104,000.00 1,100,220.00 3,780.00 99.66

5. นราธวิ าส 624,000.00 624,000.00 0.00 100.00

6. ปัตตานี 576,000.00 576,000.00 0.00 100.00

7. พงั งา 384,000.00 384,000.00 0.00 100.00

8. พัทลุง 528,000.00 513,754.00 14,246.00 97.30

9. ภเู ก็ต 144,000.00 144,000.00 0.00 100.00

10. ยะลา 384,000.00 384,000.00 0.00 100.00

11. ระนอง 240,000.00 239,300.00 700.00 99.71

12. สงขลา 768,000.00 768,000.00 0.00 100.00

13. สตลู 336,000.00 335,999.30 0.70 100.00

14. สุราษฎร์ธานี 912,000.00 884,680.00 27,320.00 97.00

รวม 7,248,000.00 7,192,958.30 55,041.70 99.24

จากตารางท่ี 4.12 การใช้งบประมาณในการจัดอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัดในเขต
ภาคใต้และภาคใต้ชายแดน พบว่า ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จานวน 7,248,000.00 บาท
งบประมาณท่ีใช้ จานวน 7,192,958.30 บาท คงเหลือ 55,041.70 บาท (ร้อยละ 99.24) โดย
สานักงาน กศน.จังหวัดที่ใช้งบประมาณมากท่ีสุด คือ นราธิวาส ปัตตานี พังงา ภูเก็ต ยะลา สงขลา
และสตลู (ร้อยละ 100.00) รองลงมา คือ ตรัง (ร้อยละ 99.99) และน้อยที่สุด คือ สุราษฎร์ธานี (ร้อย
ละ 97.00)

46

1.3 เป้าหมายผู้ผ่านการอบรม เป็นการนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับจานวนเปูาหมายผู้ผ่านการ
อบรมโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ โดยเปูาหมายท่ีกาหนดไว้อาเภอละ 40 คน
928อาเภอ รวม 37,120 คน ผลการดาเนินงานสามารถสรุปไดด้ งั ตารางท่ี 4.13-4.18

ตารางท่ี 4.13 เป้าหมายผู้ผา่ นการอบรมในภาพรวม

ภาค อาเภอ (แหง่ ) เปา้ หมาย (คน) เปา้ หมายที่ได้ (คน) รอ้ ยละ
8,295 105.80
1. เหนอื 196 7,840 13,330 103.49
8,578 111.69
2. ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 322 12,880 2,857 106.60
6,598 109.24
3. กลาง 192 7,680 39,658 106.84

4. ตะวนั ออก 67 2,680

5. ใต้ 151 6,040

รวม 928 37,120

จากตารางท่ี 4.13 เปูาหมายผู้ผ่านการอบรมในภาพรวม พบว่า เปูาหมายผู้ผ่านการอบรม
ทัง้ ส้นิ จานวน 39,658 คน จากเปูาหมายท่ีกาหนดไว้ จานวน 37,120 คน (ร้อยละ 106.84) โดยภาค
ทมี่ เี ปาู หมายผู้ผา่ นการอบรมมากทสี่ ดุ คอื ภาคกลาง (ร้อยละ 111.69) รองลงมา คือ ภาคใต้ (ร้อยละ
109.24) และนอ้ ยทีส่ ุด คอื ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื (รอ้ ยละ 103.49)

ตารางท่ี 4.14 เปา้ หมายผู้ผา่ นการอบรมของสานักงาน กศน.จงั หวดั ในเขตภาคเหนอื

สานักงาน กศน.จังหวดั อาเภอ (แห่ง) เปา้ หมาย (คน) เป้าหมายท่ีได้ (คน) รอ้ ยละ

1. กาแพงเพชร 11 440 630 143.18
109.58
2. เชียงราย 18 720 789 103.90
100.00
3. เชียงใหม่ 25 1,000 1,039 100.00
101.67
4. ตาก 9 360 360 100.00
106.67
5. นครสวรรค์ 15 600 600 110.28
114.09
6. นา่ น 15 600 610 103.75
74.64
7. พะเยา 9 360 360

8. พจิ ิตร 12 480 512

9. พิษณโุ ลก 9 360 397

10. เพชรบรู ณ์ 11 440 502

11. แพร่ 8 320 332

12. แม่ฮ่องสอน 7 280 209

สานกั งาน กศน.จงั หวัด อาเภอ (แห่ง) เป้าหมาย (คน) เปา้ หมายท่ีได้ (คน) 47

13. ลาปาง 13 520 566 รอ้ ยละ
14. ลาพูน 8 320 320
15. สโุ ขทยั 9 360 366 108.85
16. อตุ รดิตถ์ 9 360 383 100.00
17. อทุ ยั ธานี 8 320 320 101.67
196 7,840 8,295 106.39
รวม 100.00
105.80

จากตารางที่ 4.14 เปูาหมายผู้ผ่านการอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัดในเขตภาคเหนือ
พบว่า เปูาหมายท้ังส้ิน จานวน 7,840 คน เปูาหมายท่ีได้ จานวน 8,295 คน (ร้อยละ 105.80)
โดยสานักงาน กศน.จังหวัดท่ีได้เปูาหมายมากที่สุด คือ กาแพงเพชร (ร้อยละ 143.18) รองลงมา คือ
เพชรบูรณ์ (รอ้ ยละ 114.09) และนอ้ ยท่ีสุด คือ แมฮ่ ่องสอน (ร้อยละ 74.64)

ตารางที่ 4.15 เป้าหมายผู้ ผ่านการ อบรมของสานักงาน กศ น .จังหวัด ใน เขตภ าค

ตะวันออกเฉียงเหนอื

สานกั งาน กศน.จงั หวดั อาเภอ (แห่ง) เปา้ หมาย (คน) เป้าหมายทไ่ี ด้ (คน) ร้อยละ

1. กาฬสนิ ธุ์ 18 720 735 102.08

2. ขอนแก่น 26 1,040 928 89.23

3. ชัยภมู ิ 16 640 640 100.00

4. นครพนม 12 480 604 125.83

5. นครราชสมี า 32 1,280 1,342 104.84

6. บงึ กาฬ 8 320 300 93.75

7. บรุ ีรัมย์ 23 920 930 101.09

8. มหาสารคาม 13 520 520 100.00

9. มกุ ดาหาร 7 280 280 100.00

10. ยโสธร 9 360 360 100.00

11. รอ้ ยเอ็ด 20 800 800 100.00

12. เลย 14 560 614 109.64

13. ศรสี ะเกษ 22 880 880 100.00

14. สกลนคร 18 720 907 125.97

15. สุรินทร์ 17 680 686 100.88

16. หนองคาย 9 360 360 100.00

17. หนองบวั ลาภู 6 240 240 100.00

สานกั งาน กศน.จงั หวดั อาเภอ (แห่ง) เป้าหมาย (คน) เป้าหมายทีไ่ ด้ (คน) 48

18. อานาจเจรญิ 7 280 284 รอ้ ยละ
19. อุดรธานี 20 800 800
20. อบุ ลราชธานี 25 1,000 1,120 101.43
304 12,160 13,330 100.00
รวม 112.00
103.49

จากตารางที่ 4.15 เปูาหมายผู้ผ่านการอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัดในเขตภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่า เปูาหมายท้ังส้ิน จานวน 12,160 คน เปูาหมายที่ได้ จานวน 13,330 คน
(ร้อยละ 103.49) โดยสานักงาน กศน.จังหวัดท่ีได้เปูาหมายมากที่สุด คือ สกลนคร (ร้อยละ 125.97)
รองลงมา คือ นครพนม (รอ้ ยละ 125.83) และนอ้ ยท่ีสุด คอื ขอนแกน่ (รอ้ ยละ 89.23)

ตารางท่ี 4.16 เปา้ หมายผู้ผา่ นการอบรมของสานกั งาน กศน.จังหวัดในเขตภาคกลาง

สานกั งาน กศน.จงั หวดั อาเภอ (แห่ง) เปา้ หมาย (คน) เป้าหมายท่ีได้ (คน) รอ้ ยละ

1. กรงุ เทพมหานคร 50 2,000 2,188 109.40
107.50
2. กาญจนบุรี 13 520 559 130.00
117.14
3. ชัยนาท 8 320 416 123.75
116.43
4. นครปฐม 7 280 328 105.31
99.06
5. นนทบรุ ี 6 240 297 103.13
108.25
6. ปทุมธานี 7 280 326 113.41
100.00
7. ประจวบคีรขี นั ธ์ 8 320 337 100.00
285.83
8. พระนครศรีอยุธยา 16 640 634 113.65
100.83
9. เพชรบุรี 8 320 330 92.50
116.07
10. ราชบรุ ี 10 400 433 111.69

11. ลพบรุ ี 11 440 499

12. สมทุ รปราการ 6 240 240

13. สมทุ รสงคราม 3 120 120

14. สมทุ รสาคร 3 120 343

15. สระบรุ ี 13 520 591

16. สิงห์บรุ ี 6 240 242

17. สุพรรณบรุ ี 10 400 370

18. อ่างทอง 7 280 325

รวม 192 7,680 8,578

49

จากตารางท่ี 4.16 เปูาหมายผู้ผ่านการอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัดในเขตภาคกลาง
พบว่า เปูาหมายทั้งสิ้น จานวน 7,680 คน เปูาหมายท่ีได้ จานวน 8,578 คน (ร้อยละ 111.69) โดย
สานักงาน กศน.จังหวัดท่ีได้เปูาหมายมากท่ีสุด คือ สมุทรสาคร (ร้อยละ 285.83) รองลงมา คือ
ชยั นาท (ร้อยละ 130.00) และน้อยทีส่ ดุ คอื สพุ รรณบุรี (ร้อยละ 92.50)

ตารางที่ 4.17 เป้าหมายผู้ผ่านการอบรมของสานกั งาน กศน.จงั หวัดในเขตภาคตะวนั ออก

สานักงาน กศน.จงั หวัด อาเภอ (แห่ง) เป้าหมาย (คน) เปา้ หมายทไี่ ด้ (คน) รอ้ ยละ

1. จันทบุรี 10 400 455 113.75

2. ฉะเชงิ เทรา 11 440 488 110.91

3. ชลบรุ ี 11 440 535 121.59

4. ตราด 7 280 243 86.79

5. นครนายก 4 160 167 104.38

6. ปราจนี บรุ ี 7 280 280 100.00

7. ระยอง 8 320 329 102.81

8. สระแกว้ 9 360 360 100.00

รวม 67 2,680 2,857 106.60

จากตารางท่ี 4.17 เปูาหมายผู้ผ่านการอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัดในเขตภาคตะวันออก
พบว่า เปูาหมายท้ังส้ิน จานวน 2,680 คน เปูาหมายที่ได้ จานวน 2,857 คน (ร้อยละ 106.60)
โดยสานกั งาน กศน.จังหวัดทไ่ี ดเ้ ปาู หมายมากท่ีสุด คอื ชลบุรี (ร้อยละ 121.59) รองลงมา คือ จันทบุรี
(รอ้ ยละ 113.75) และนอ้ ยท่ีสุด คือ ตราด (ร้อยละ 86.79)

ตารางท่ี 4.18 เปา้ หมายผู้ผ่านการอบรมของสานักงาน กศน.จงั หวัดในเขตภาคใต้และภาคใต้ชายแดน

สานักงาน กศน.จังหวัด อาเภอ (แหง่ ) เป้าหมาย (คน) เป้าหมายทไ่ี ด้ (คน) ร้อยละ

1. กระบี่ 8 320 328 102.50

2. ชุมพร 8 320 364 113.75

3. ตรงั 10 400 507 126.75

4. นครศรีธรรมราช 23 920 947 102.93

5. นราธวิ าส 13 520 520 100.00

6. ปัตตานี 12 480 510 106.25

7. พงั งา 8 320 392 122.50

8. พทั ลุง 11 440 447 101.59

9. ภูเกต็ 3 120 148 123.33

สานักงาน กศน.จังหวัด อาเภอ (แห่ง) เป้าหมาย (คน) เป้าหมายทีไ่ ด้ (คน) 50

10. ยะลา 8 320 320 ร้อยละ
11. ระนอง 5 200 245
12. สงขลา 16 640 748 100.00
13. สตลู 7 280 294 122.50
14. สุราษฎรธ์ านี 19 760 828 116.88
151 6,040 6,598 105.00
รวม 108.95
109.24

จากตารางที่ 4.18 เปูาหมายผู้ผ่านการอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัดในเขตภาคใต้และ
ภาคใต้ชายแดน พบวา่ เปูาหมายท้งั ส้นิ จานวน 6,040 คน เปูาหมายท่ีได้ จานวน 6,597 คน (ร้อยละ
109.24) โดยสานักงาน กศน.จังหวัดท่ีได้เปูาหมายมากที่สุด คือ ตรัง (ร้อยละ 126.75) รองลงมา คือ
ภเู กต็ (ร้อยละ 123.33) และนอ้ ยทีส่ ุด คอื ยะลาและนราธวิ าส (ร้อยละ 100.00)

1.4 หนว่ ยงานภาคีเครือข่ายทเ่ี ขา้ รว่ มจัดการอบรม เปน็ การนาเสนอขอ้ มูลเก่ียวกับหน่วยงาน
ภาคีเครือข่ายที่เข้าร่วมจัดการอบรมโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพ ผลการ
ดาเนินงานสามารถสรุปได้ดังตารางที่ 4.19-4.24

ตารางท่ี 4.19 หน่วยงานภาคีเครือข่ายทเ่ี ข้ารว่ มจดั การอบรมในภาพรวม

ภาค ห ่นวยงานการศึกษา
ส่วนราชการระดับ ัจงห ัวด
และอาเภอ รวม
อง ์คกรปกครอง ่สวนท้อง ่ถิน
หนว่ ยงานภาคี โรงพยาบาลรัฐบาล
สถานประกอบการ
เครอื ขา่ ย (แห่ง) ื่อน ๆ

1. เหนือ 100 19 84 21 9 7 240

2. ตะวนั ออกเฉียงเหนือ 243 28 150 10 9 29 469

3. กลาง 91 27 95 20 17 36 286

4. ตะวันออก 24 6 32 8 4 4 78

5. ใตแ้ ละใต้ชายแดน 67 20 57 15 18 20 197

รวม 525 100 418 74 57 96 1,270

รอ้ ยละ 41.34 7.87 32.91 5.83 4.49 7.56 100.00

หมายเหตุ ดรู ายชอื่ หนว่ ยงานภาคีเครือข่ายทงั้ หมดทภ่ี าคผนวก

51

คานยิ าม
1. หนว่ ยงานการศกึ ษา หมายถึง สถานศึกษา เช่น ศนู ย์การเรียน โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย

เป็นต้น สานักงานศึกษาธิการจังหวัด สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และแหล่งเรียนรู้ เช่น วัด
พิพิธภัณฑ์ ศนู ย์เรยี นรู้ เป็นต้น

2. ส่วนราชการระดับจังหวัดและอาเภอ หมายถึง ท่ีว่าการปกครองอาเภอ สานักงานเขต สถานี
ตารวจภธู ร สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวัด/อาเภอ เรือนจากลางจงั หวัด สานักงานสาธารณสุขจังหวัด/
อาเภอ สานักงานเกษตรจังหวัด/อาเภอ ค่ายทหาร สว่ นอุทยานแหง่ ชาติ เป็นต้น

3. องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ หมายถึง องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การบริหาร
สว่ นตาบล/แขวง

4. โรงพยาบาลรัฐบาล หมายถึง โรงพยาบาลรัฐบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น โรงพยาบาลประจาจังหวัด/อาเภอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
เป็นต้น รวมทงั้ คลนิ ิกทีเ่ ปดิ บริการโดยทวั่ ไป

5. สถานประกอบการ หมายถงึ รา้ นค้า แคมป์ โฮมสเตย์ ตลาด ห้าง บริษัท สถาบันการเงิน สนาม
กอล์ฟ และโรงแรม

6. อน่ื ๆ เชน่ มลู นธิ ิ สถานรี ถไฟ สถานท่ที ่องเทย่ี ว ชุมชนท่องเทยี่ ว OTOP นวตั วิถี เป็นต้น

จากตารางที่ 4.19 หนว่ ยงานภาคเี ครือขา่ ยที่เข้าร่วมจดั การอบรมในภาพรวม พบว่า หน่วยงาน
ภาคเี ครอื ข่ายทเี่ ข้ารว่ มท้ังสิ้น จานวน 1,270 แห่ง โดยหน่วยงานภาคีเครือข่ายท่ีเข้าร่วมมากท่ีสุด คือ
หน่วยงานการศึกษา จานวน 525 แห่ง (ร้อยละ 41.34) รองลงมา คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
จานวน 418 แห่ง (ร้อยละ 32.91) และน้อยท่ีสุด คือ สถานประกอบการ จานวน 57 แห่ง (ร้อยละ
4.49)

นอกจากน้ัน ภาคีเครือข่ายที่เข้าร่วมจัดการอบรมที่เป็นบุคคล ได้แก่ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน
ข้าราชการบานาญ ผู้สูงอายุ ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ตารวจน้า รวมท้ังผู้ประกอบการ เช่น
ท่องเที่ยว ขับรถขนส่งผู้โดยสาร ค้าขาย เป็นต้น ตลอดจนอาสาสมัคร เช่น อาสาสมัครสาธารณสุข
ประจาหมู่บ้าน อาสาสมัครบ้านหนังสือชุมชน อาสาสมัครตารวจท่องเที่ยว อาสาสมัครสันติภาพ UN.
อาสาสมคั รนานาชาติ Open mind Project Foundation เป็นต้น

กลุ่มบุคคล ได้แก่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กองทุนพัฒนาสตรี รวมทั้งสมาคมและชมรม เช่น สมาคม
สอ่ื มวลชนเพ่อื การท่องเทย่ี ว ชมรมกานันและผู้ใหญ่บ้าน ชมรมครู ชมรมรักษ์ท่องเที่ยว ชมรมเรือ ชมรม
ธุรกิจท่องเที่ยว ชมรม I LOVE Suanphung ชมรมล่องแก่ง ชมรมช่างเสริมสวย ชมรมนวด เป็นต้น
ตลอดจนกลุ่มอาชีพต่าง ๆ เช่น แม่บ้าน เกษตร พ่อค้า นวดแผนไทย ปลูกผักปลอดภัย ตัดเย็บเส้ือผ้า
เทยี นหอมและจกั สาน ทอผา้ ไหม มัคคุเทศก์ท้องถ่ิน เป็นต้น

52

ตารางท่ี 4.20 หนว่ ยงานภาคีเครอื ข่ายที่เข้าร่วมจัดการอบรมของสานกั งาน กศน.จงั หวดั ในเขตภาคเหนอื
สานกั งาน กศน.
จงั หวัด
ห ่นวยงานการศึกษา
่สวนราชการระดับ ัจงห ัวด รวม
และอาเภอ
หนว่ ยงานภาคี อง ์คกรปกครอง ่สวนท้องถ่ิน
โรงพยาบาลรัฐบาล
เครือขา่ ย (แห่ง) สถานประกอบการ
ื่อน ๆ

1. กาแพงเพชร 6 - 4 - - - 10

2. เชยี งราย 6 2 5 2 - - 15

3. เชียงใหม่ 6 1 20 - 1 - 28

4. ตาก 3 - - - 1 - 4

5. นครสวรรค์ 8 2 8 2 1 - 21

6. นา่ น 13 1 1 1 - - 16

7. พะเยา 3 1 5 - - 1 10

8. พิจิตร 9 1 12 2 - - 24

9. พษิ ณโุ ลก 5 1 6 11 1 - 24

10. เพชรบรู ณ์ 7 5 422 20

11. แพร่ 12 - 5 - 2 2 21

12. แม่ฮ่องสอน 5 1 2-1-9

13. ลาปาง 7 1 3 1 - 2 14

14. ลาพูน 1 - -- -12

15. สุโขทัย 4 3 ----7

16. อุตรดิตถ์ 4 - 9 - - 1 14

17. อทุ ัยธานี 1 - ----1

รวม 100 19 84 21 9 7 240

ร้อยละ 41.67 7.92 35.00 8.75 3.75 2.92 100.00

จากตารางท่ี 4.20 หน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เข้าร่วมจัดการอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัด
ในเขตภาคเหนือ พบว่า หนว่ ยงานภาคเี ครือขา่ ยท่ีเขา้ ร่วมทง้ั สิน้ จานวน 240 แห่ง โดยหน่วยงานภาคี
เครอื ข่ายท่ีเขา้ รว่ มมากทีส่ ดุ คอื หนว่ ยงานการศกึ ษา จานวน 100 แหง่ (ร้อยละ 41.67) รองลงมา คือ
องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน จานวน 84 แห่ง (ร้อยละ 35.00) และน้อยท่ีสุด คือ สถานประกอบการ
จานวน 9 แหง่ (รอ้ ยละ 3.75)

53

ตารางท่ี 4.21 หน่วยงานภาคีเครือข่ายท่ีเข้าร่วมจัดการอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัดในเขต
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
สานกั งาน กศน.
จังหวดั
ห ่นวยงานการศึกษา
่สวนราชการระดับ ัจงห ัวด รวม
และอาเภอ
หน่วยงานภาคี อง ์คกรปกครอง ่สวนท้อง ่ถิน
โรงพยาบาลรัฐบาล
เครือข่าย (แห่ง) สถานประกอบการ
ื่อน ๆ

1. กาฬสินธุ์ 20 3 9 - - - 32

2. ขอนแกน่ 10 1 4 3 1 - 19

3. ชัยภูมิ 19 - 5 - - - 24

4. นครพนม 14 1 5 - - - 20

5. นครราชสมี า 33 1 8 1 1 7 51

6. บึงกาฬ 91 2 - 1 - 13

7. บรุ ีรมั ย์ 18 3 9 - 1 19 50

8. มหาสารคาม 15 4 - - - 1 20

9. มุกดาหาร 4- 5 - -- 9

10. ยโสธร 10 - 2 - - - 12

11. รอ้ ยเอด็ 1- - - -- 1

12. เลย 12 2 4 - 2 1 21

13. ศรสี ะเกษ 17 - 4 - - - 21

14. สกลนคร 19 1 4 3 - - 27

15. สรุ ินทร์ 11 - 5 - - - 16

16. หนองคาย 7- 7 - 1 - 15

17. หนองบัวลาภู 25 6 - - - 13

18. อานาจเจรญิ 7- - - 11 9

19. อุดรธานี 12 - 2 3 - - 17

20. อบุ ลราชธานี 3 6 69 - 1 - 79

รวม 243 28 150 10 9 29 469

รอ้ ยละ 51.81 5.97 31.98 2.13 1.92 6.18 100.00

54

จากตารางที่ 4.21 หน่วยงานภาคีเครือข่ายท่ีเข้าร่วมจัดการอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัด
ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่า หน่วยงานภาคีเครือข่ายท่ีเข้าร่วมทั้งสิ้น จานวน 469 แห่ง
โดยหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เข้าร่วมมากที่สุด คือ หน่วยงานการศึกษา จานวน 243 แห่ง (ร้อยละ
51.81) รองลงมา คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 150 แห่ง (ร้อยละ 31.98) และน้อยท่ีสุด
คือ สถานประกอบการ จานวน 9 แห่ง (ร้อยละ 1.92)

ตารางที่ 4.22 หน่วยงานภาคเี ครอื ข่ายทเ่ี ขา้ รว่ มจัดการอบรมของสานกั งาน กศน.จังหวดั ในเขตภาคกลาง
สานักงาน กศน.
จังหวดั
ห ่นวยงานการศึกษา
ส่วนราชการระดับ ัจงห ัวด รวม
และอาเภอ
หน่วยงานภาคี อง ์คกรปกครอง ่สวนท้อง ่ถิน
โรงพยาบาลรัฐบาล
เครือข่าย (แห่ง) สถานประกอบการ
ื่อน ๆ

1. กรุงเทพมหานคร 16 6 6 3 8 31 70
3 7 4 - - 22
2. กาญจนบุรี 8 2 5 - - - 12
- 4 2 2 - 13
3. ชยั นาท 5 - 1 -1- 4
- 5 -2- 8
4. นครปฐม 5 1 3 - 2 - 11
1 - - - - 16
5. นนทบุรี 2 5 3 5 1 - 19
5 5 1 - 3 21
6. ปทุมธานี 1 - 15 2 - - 22
- 1 --- 3
7. ประจวบคีรขี นั ธ์ 5 1 1 --- 3
1 2 --- 3
8. พระนครศรอี ยธุ ยา 15 1 24 3 1 - 31
1 3 --- 6
9. เพชรบรุ ี 5 - 5 - - 2 13
- 5 --- 9
10. ราชบรุ ี 7 27 95 20 17 36 286
9.44 33.22 6.99 5.94 12.59 100.00
11. ลพบุรี 5

12. สมุทรปราการ 2

13. สมทุ รสงคราม 1

14. สมุทรสาคร -

15. สระบรุ ี 2

16. สิงห์บรุ ี 2

17. สพุ รรณบุรี 6

18. อา่ งทอง 4

รวม 91

ร้อยละ 31.82

55

จากตารางที่ 4.22 หน่วยงานภาคีเครือข่ายท่เี ข้ารว่ มจดั การอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัด
ในเขตภาคกลาง พบว่า หน่วยงานภาคีเครอื ข่ายท่เี ขา้ ร่วมท้ังสิ้น จานวน 286 แห่ง โดยหน่วยงานภาคี
เครือข่ายท่ีเข้าร่วมมากท่ีสุด คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จานวน 95 แห่ง (ร้อยละ 33.22)
รองลงมา คือ หน่วยงานการศึกษา จานวน 91 แห่ง (ร้อยละ 31.82) และน้อยท่ีสุด คือ สถาน
ประกอบการ จานวน 17 แห่ง (ร้อยละ 5.94)

ตารางท่ี 4.23 หน่วยงานภาคีเครือข่ายท่ีเข้าร่วมจัดการอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัดในเขต
ภาคตะวันออก
สานกั งาน กศน.
จังหวัด
ห ่นวยงานการศึกษา
ส่วนราชการระดับ ัจงห ัวด รวม
และอาเภอ
หนว่ ยงานภาคี อง ์คกรปกครอง ่สวนท้อง ่ถิน
โรงพยาบาลรัฐบาล
เครอื ขา่ ย (แห่ง) สถานประกอบการ
ื่อน ๆ

1. จนั ทบุรี 1 - 5 1 --7
2
2. ฉะเชิงเทรา 1 1 7 3 - - 13
1
3. ชลบรุ ี 6 - 10 1 2 3 23
-
4. ตราด 1 1 4 - 1-7
1
5. นครนายก 2 6 - - --2
7.69
6. ปราจนี บุรี 1 2 1 1-5

7. ระยอง 7 2 - - 1 11

8. สระแกว้ 5 2 2 - - 10

รวม 24 32 8 4 4 78

ร้อยละ 30.77 41.03 10.26 5.13 5.13 100.00

จากตารางที่ 4.23 หนว่ ยงานภาคีเครือขา่ ยทเ่ี ข้ารว่ มจัดการอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัด
ในเขตภาคตะวันออก พบว่า หน่วยงานภาคีเครือข่ายท่ีเข้าร่วมท้ังสิ้น จานวน 78 แห่ง โดยหน่วยงาน
ภาคีเครือข่ายท่ีเข้าร่วมมากที่สุด คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จานวน 32 แห่ง (ร้อยละ 41.03)
รองลงมา คือ หน่วยงานการศึกษา จานวน 24 แห่ง (ร้อยละ 30.77) และน้อยที่สุด คือ สถาน
ประกอบการ จานวน 4 แหง่ (รอ้ ยละ 5.13)

56

ตารางที่ 4.24 หน่วยงานภาคีเครือข่ายท่ีเข้าร่วมจัดการอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัดในเขต
ภาคใต้และภาคใต้ชายแดน
สานักงาน กศน.
จงั หวดั
ห ่นวยงานการศึกษา
่สวนราชการระดับ ัจงห ัวด รวม
และอาเภอ
หน่วยงานภาคี อง ์คกรปกครอง ่สวนท้อง ่ถิน
โรงพยาบาลรัฐบาล
เครอื ข่าย (แห่ง) สถานประกอบการ
ื่อน ๆ

1. กระบ่ี 42 1 - -1 8

2. ชมุ พร 64 3 3 - 2 18

3. ตรงั 73 3 2 1 - 16

4. นครศรีธรรมราช 14 3 16 1 2 2 38

5. นราธวิ าส 4- 4 - 1- 9

6. ปัตตานี 41 2 - -- 7

7. พงั งา 31 - 4 - 2 10

8. พัทลงุ 6- 2 2 3 5 18

9. ภเู ก็ต -- - - 5- 5

10. ยะลา 51 3 - -- 9

11. ระนอง 41 4 - 1 3 13

12. สงขลา 54 4 - - 4 17

13. สตูล 1- 3 - -1 5

14. สุราษฎร์ธานี 4 - 12 3 5 - 24

รวม 67 20 57 15 18 20 197

ร้อยละ 34.01 10.15 28.93 7.61 9.14 10.15 100.00

จากตารางที่ 4.24 หน่วยงานภาคเี ครอื ข่ายที่เข้าร่วมจัดการอบรมของสานักงาน กศน.จังหวัด
ในเขตภาคใต้และภาคใต้ชายแดน พบว่า หน่วยงานภาคีเครือข่ายท่ีเข้าร่วมท้ังสิ้น จานวน 197 แห่ง
โดยหน่วยงานภาคีเครือข่ายท่ีเข้าร่วมมากที่สุด คือ หน่วยงานการศึกษา (ร้อยละ 34.01) รองลงมา
คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (ร้อยละ 28.93) และน้อยท่ีสุด คือ โรงพยาบาลรัฐบาล (ร้อยละ
7.61)

57

1.5 กระบวนการจัดการเรียนรู้ เป็นการนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ใน
การจัดการอบรมโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สารด้านอาชีพ โดยสามารถสรปุ ไดด้ งั น้ี

1.5.1 มีการวางแผนและประชุมเพื่อชี้แจงแนวทางการดาเนินงานโครงการฯ และสารวจ
ความต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ีในการเข้าร่วมอบรมโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้าน
อาชีพ

1.5.2 การเตรียมความพร้อมในการจัดการอบรมโครงการฯ โดยมีการจัดเตรียมสถานที่
สอื่ การเรยี นรู้ต่าง ๆ และวทิ ยากรท่จี ะมาเปน็ ผถู้ า่ ยทอดความร้ใู ห้กับผู้ร่วมการอบรม

1.5.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น การฝึกอบรม การบรรยาย การสนทนากับ
ชาวต่างชาติ การสาธิต การแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน การแสดงบทบาทสมมติ (Role-Play) การใช้
สถานการณ์จาลอง (Simulation) การเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) การเล่นเกมด้วย
การใช้โปรแกรมแปลภาษาอังกฤษ Google App การศึกษาดูงาน การฝึกปฏิบัติจริงในพ้ืนท่ีร่วมกับ
ภาคเี ครือขา่ ยทงั้ ภาครัฐและเอกชน เปน็ ตน้ ทั้งน้ี อาจมีการประเมินผู้เข้ารับการอบรมก่อนดาเนินการ
อบรมเพื่อสร้างพ้ืนฐานความรู้ของผู้เข้าร่วมอบรม รวมท้ังมีการปรับพื้นฐานก่อนการอบรม เน่ืองจาก
ระดับความรู้มีไม่เท่ากัน และมีการประเมินผลหลังการอบรมเพื่อประมวลผลการเรียนรู้ท้ังหมดของ
ผู้เขา้ รบั การอบรม

1.5.4 นิเทศ ติดตามและประเมินผลการกระบวนการจัดการเรียนรู้ เช่น การทดสอบ การ
สังเกต นาเสนอผลงาน เป็นตน้ และนาผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาตอ่ ไป

ตัวอย่าง
1. การจัดกระบวนการเรยี นรู้ของ กศน.อาเภอนาแหว้ จงั หวดั เลย

1.1 การเตรียมความพร้อมก่อนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ปรับพ้ืนฐานความรู้ผู้เรียน
1 ชั่วโมง เรยี นรรู้ ว่ มกนั ก่อนพบครวู ิทยากร 1 ช่ัวโมง ฝึกสนทนากับครวู ิทยากร 1 ช่วั โมง ประเมินก่อน
การเรยี นรู้

1.2 การจัดกระบวนการเรียนรู้ มีการช้ีแจง ทาความเข้าใจกับผู้เรียนให้เข้าใจเน้ือหา
ขอบข่ายของการเรียนพอสังเขป เช่น การทักทายแบบเป็นทางการ การทักทายแบบไม่เป็นทางการ
กิจกรรมฝึกพูดตามครู โดยครูอธิบายความหมายคาและประโยคจากนั้นฝึกสนทนาตามสถานการณ์ท่ี
กาหนด จับคู่กันแสดงบทบาทสมมุติ โดยใช้คาศัพท์สานวนท่ีได้เรียนไปและออกมาพูดหน้าช้ันเรียน
จัดเตรียมสอ่ื ตา่ ง ๆ เช่น บัตรคา บัตรภาพ เกม เพลง เป็นตน้ มกี ารช่วยเหลือครูวทิ ยากรและผเู้ รียนใน
การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ได้แก่ ตรวจแบบฝกึ หัดหรือใบงาน สรุปเน้ือหาในบทเรียนท่ีเรียนใน
แตล่ ะช่วั โมง และนัดหมายผู้เรียนในการเรียนในช่วั โมงตอ่ ไป

1.3 การสอนหรือการอบรมให้ความรู้ ครูออกเสียงคาศัพท์หลาย ๆ ครั้ง ออกเสียง
ประโยคสนทนาท้ังเด่ียวหรือเป็นกลุ่ม จากบัตรคา ผู้เรียนฝึกออกเสียงคาศัพท์ ฝึกพูดประโยคสนทนา
ทง้ั เด่ียวและจับคู่หรอื เป็นกลมุ่ ผู้เรียนทาแบบทดสอบ

58

1.4 การสรุป ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปหลักการใช้คาศัพท์สานวนและประโยคในการ
ทักทายลกั ษณะตา่ ง ๆ และนัดหมายผูเ้ รยี นในการเรียนชัว่ โมงตอ่ ไป

1.6 ความสาเร็จในการจัดกิจกรรมตามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
ความสาเร็จในการจัดกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ของโครงการ กล่าวคือ ประชาชนที่ผ่านการ
อบรมตามโครงการภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สารดา้ นอาชีพ มีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดทักษะในการ
ส่ือสารภาษาอังกฤษ โดยสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและดาเนิน
ชีวิตประจาวัน ซึ่งมีการพัฒนาอาชีพของตนเอง สร้างอาชีพเสริม ต่อยอดอาชีพ และเพ่ิมรายได้ให้กับ
ตนเองและครอบครัว รวมทั้งสามารถวางแผนและบริหารจัดการอาชีพได้อย่างมีคุณภาพ และสามารถ
ถา่ ยทอดความร้ใู ห้กบั ผูอ้ นื่ ได้

1.7 ปัจจัยแห่งความสาเร็จ เป็นการนาเสนอข้อมูลเก่ียวกับปัจจัยแห่งความสาเร็จในการ
จัดการอบรมโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารดา้ นอาชีพ โดยสามารถสรุปไดด้ งั น้ี

1.7.1 งบประมาณที่ไดร้ บั การจดั สรรเพียงพอในการจัดการอบรมให้กับประชาชนในพ้ืนท่ี
1.7.2 ผู้บริหารทั้งในระดับจังหวัดและอาเภอ ครู เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้ความสาคัญใน
การดาเนนิ งานโครงการฯ และการจัดกจิ กรรมทางดา้ นภาษา
1.7.3 ประชาชนในพ้ืนที่เปูาหมายที่เข้ารับการอบรมให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรม
โครงการฯ เป็นอยา่ งดี
1.7.4 วทิ ยากร เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ มีเทคนิคและสื่อการเรียนรู้ท่ีหลากหลายใน
การถา่ ยทอดความรใู้ ห้กับผูเ้ ขา้ รบั การอบรม
1.7.5 ภาคีเครือข่ายบุคคล กลุ่มบุคคล รวมท้ังภาครัฐและเอกชนที่ให้ความร่วมมือในการ
ส่งเสริมสนับสนุนและประชาสัมพันธ์การจดั กิจกรรมโครงการฯ เป็นอย่างดี
1.7.6 สื่อประกอบการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเปูาหมาย เพียงพอ มีความหลากหลาย
มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็นเคร่ืองมือในการจัดกิจกรรม ทาให้ผู้เข้ารับการอบรม
สนกุ สนาน ต้งั ใจในการเรียนรู้ และกล้าที่จะแลกเปลี่ยนเรยี นรู้มากขึ้น
1.7.7 หลักสูตรอาชีพในการอบรมมีความสอดคล้องตรงกับความต้องการของผู้เข้ารับการ
อบรมท่เี ป็นกลุ่มเปาู หมายในพ้ืนที่
1.7.8 สถานท่ีที่ใช้ในการจัดอบรมมีความเหมาะสม เอ้ือต่อการฝึกทักษะและ
ประสบการณข์ องกล่มุ เปาู หมายผู้เขา้ รบั การอบรม
1.7.9 ระยะเวลาในการอบรมเหมาะสมและยืดหยุ่นได้ตามความต้องการของผู้เข้ารับการ
อบรมและบรบิ ทของพืน้ ที่

59

1.8 ปัญหาและอุปสรรคในการจัดอบรม เป็นการนาเสนอข้อมูลเก่ียวกับปัญหาและอุปสรรค
ในการจดั การอบรมโครงการภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสารดา้ นอาชีพ โดยสามารถสรปุ ได้ดังน้ี

1.8.1 ผู้เข้ารับการอบรม
1) มีความแตกตา่ งกนั ทง้ั คณุ วุฒิ วัยวฒุ ิ และระดบั ความรู้พื้นฐานภาษาอังกฤษ
2) ตดิ ภารกจิ และทางาน ทาให้ไม่สามารถเขา้ รว่ มกจิ กรรมไดอ้ ย่างตอ่ เนื่อง
3) อยตู่ ่างพน้ื ท่ที าให้การเดนิ ทางไกลจากสถานที่อบรม
4) ไมก่ ลา้ พูด และกลา้ แสดงออก
5) ใช้สมาร์ทโฟนไม่คลอ่ ง

1.8.2 หลักสูตรและสอ่ื การเรียนรู้
1) ต้องการใหเ้ ปดิ อบรมภาษาอน่ื ๆ เชน่ จนี เขมร พม่า เป็นต้น
2) ขาดสอื่ และอปุ กรณท์ ท่ี นั สมัย
3) อปุ กรณส์ ื่อไมม่ ีความพร้อมในการใช้งาน

1.8.3 การประชาสัมพนั ธ์ และระยะเวลา สถานทใ่ี นการอบรม
1) การประชาสมั พนั ธ์ยงั ไมท่ ัว่ ถงึ ในแต่ละกลุ่มเปูาหมาย
2) ระยะเวลาการจัดอบรมค่อนข้างส้ัน สาหรับการสร้างทักษะด้านภาษาอังกฤษ

ให้กบั ผ้เู ข้าอบรม และวิทยากรต้องปรับเนอ้ื หาใหส้ อดคล้องกบั เวลาท่มี จี ากดั
3) สถานท่ีในการจัดกิจกรรมไม่เอ้ืออานวย เนื่องจากมีความคับแคบ และอากาศ

รอ้ น
4) ควรจัดการอบรมอย่างต่อเนื่องเพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมได้รับการพัฒนาความรู้

ด้านภาษาอังกฤษอยา่ งตอ่ เน่ือง
1.8.4 วทิ ยากร
1) ไม่มเี วลามาสอนตามวันเวลาท่ีกาหนดไว้ ทาให้ต้องเลื่อนระยะวันท่ีจัดการเรียน

การสอน
2) วทิ ยากรค่อนขา้ งหายากเนื่องจากอยู่ในพืน้ ท่ีห่างไกล
3) ขาดทักษะในการใช้ส่ือเทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยเสริมในการอบรม และขาด

เทคนิคการสอนท่ีหลากหลาย
1.8.5 งบประมาณ
1) งบประมาณทีไ่ ด้รับไมเ่ พยี งพอ
2) ค่าตอบแทนวิทยากรน้อย ทาให้ไม่สามารถจา้ งวทิ ยากรชาวต่างประเทศได้

60

ส่วนท่ี 2 การติดตามผลการดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ไดน้ าเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู แบ่งเป็น 2 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ผลการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา และครูหรือเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ

โครงการภาษาองั กฤษเพ่อื การสือ่ สารดา้ นอาชีพในสถานศึกษา

ตอนที่ 2 ผลการสมั ภาษณ์ผู้เข้ารว่ มโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพ

ในสถานศึกษา

ซง่ึ มรี ายละเอียดดังน้ี

ตอนท่ี 1 ผลการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา และครูหรือเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบโครงการ

ภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่ือสารดา้ นอาชีพในสถานศึกษา

ตารางท่ี 4.25 สถานภาพผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา และครหู รอื เจา้ หน้าทีผ่ ู้รับผิดชอบโครงการฯ

สถานภาพ จานวน (คน) รอ้ ยละ

1. เพศ

1.1 ชาย 16 25.00

1.2 หญิง 48 75.00

รวม 64 100.00

2. ตาแหน่งปจั จุบนั

2.1 ผู้บริหารสถานศกึ ษา 24 37.50

2.2 ข้าราชการครู 3 4.69

2.3 ครอู าสาสมคั ร กศน. 11 17.19

2.4 ครู กศน.ตาบล 24 37.50

2.5 บคุ ลากรทางการศึกษาอื่น 1 1.56

2.6 อนื่ ๆ 1 1.56

รวม 64 100.00

จากตารางที่ 4.25 สถานภาพผู้ให้สัมภาษณ์ พบว่า มีผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งหมด จานวน 64 คน
(รอ้ ยละ 100.00) ส่วนมากเป็นเพศหญิง จานวน 48 คน (ร้อยละ 75.00) โดยมีตาแหน่งเป็นผู้บริหาร
สถานศึกษาและครู กศน.ตาบล จานวน 24 คน (ร้อยละ 37.50) เท่ากัน และอ่ืนๆ ได้แก่ วิทยากร
จานวน 1 คน

จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา และครูหรือเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการ
ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพของสถานศึกษาในการติดตามการดาเนินงานโครงการ
ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ สามารถสรุปประเด็นการสัมภาษณ์ได้เป็น 8 ด้าน ซ่ึงมี
รายละเอยี ดดังนี้

61

1.1 ด้านความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับแนวทางการดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการ
ส่อื สารดา้ นอาชพี

1.1.1 ภาคตะวันออก ผู้บริหารและครู กศน.ที่รับผิดชอบดาเนินงานโครงการ
ภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สารด้านอาชพี มีความเข้าใจในแนวทางการดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษ
เพื่อการส่ือสารด้านอาชีพเป็นอย่างดี เพราะมีหนังสือช้ีแจงข้ันตอนการดาเนินงานโดยละเอียด
จากสานักงาน กศน. และสานักงาน กศน. จังหวัดได้ประชุมช้ีแจง หารือแนวทางการดาเนินงาน
ในระดับจังหวัด มีการสื่อสาร สร้างการรับรู้ในกรอบและแนวทางการดาเนินงานในทิศทางเดียวกัน
และมอบหมายให้ กศน.อาเภอพัฒนาหลักสูตรและออกแบบกิจกรรมการอบรมตามบริบทของพื้นที่
เชน่ หลักสตู รภาษองั กฤษเพอ่ื การทอ่ งเทย่ี ว หลักสูตรภาษาองั กฤษเพอ่ื การประกอบอาชีพ

1.1.2 ภาคกลาง ผบู้ ริหารและครทู ่ีรับผิดชอบโครงการมีความเข้าใจเก่ียวกับแนวทางการ
ดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพเป็นอย่างดี เพราะมีหนังสือช้ีแจงขั้นตอน
การดาเนินงานโดยละเอียดจากสานักงาน กศน. และสานักงาน กศน. จังหวัดได้ประชุมชี้แจง หารือ
แนวทางการดาเนินงานในระดับจังหวัด สร้างการรับรู้ในกรอบและแนวทางการดาเนินงานเพื่อให้
เป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงการเบิกจ่ายงบประมาณโดยใช้หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายในการจัด
อบรมประชาชนของสถานศึกษา สังกัดสานักงาน กศน. และมอบหมายให้ กศน.อาเภอพัฒนา
หลักสูตรและออกแบบกิจกรรมการอบรมตามบริบทของพ้ืนท่ี เช่น หลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการ
ท่องเทยี่ ว หลักสตู รภาษาอังกฤษเพอื่ การประกอบอาชพี

1.1.3 ภาคเหนือ ผู้บริหารและครู กศน. ท่ีรับผิดชอบดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษ
เพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ มีความเข้าใจในแนวทางการดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการ
สื่อสารด้านอาชีพเป็นอย่างดี โดยมีหนังสือสั่งการให้ดาเนินกิจกรรม จากสานักงาน กศน. จากน้ันได้
ศึกษายุทธศาสตร์ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาของสานักงาน กศน.
ปีงบประมาณ 2562 และศึกษาระเบียบการเบิกจ่ายจากคู่มือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
นอกจากนี้ สถานศึกษายังมีประสบการณ์ในการจัดการอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ
มาแล้ว ในปี 2561

1.1.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ผบู้ ริหารและครู กศน. ท่ีรับผิดชอบดาเนินงานโครงการ
ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ ส่วนใหญ่มีความเข้าใจในแนวทางการดาเนินงานโครงการ
ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพเป็นอย่างดี เพราะมีหนังสือช้ีแจงขั้นตอนการดาเนินงานโดย
ละเอียดจากสานักงาน กศน. และสถานศึกษาได้ประชุมชี้แจง หารือแนวทางการดาเนินงานมีการ
สอื่ สาร สรา้ งการรบั รูใ้ นกรอบและแนวทางการดาเนินงานในทิศทางเดียวกัน และมอบหมายให้ กศน.
อาเภอ พัฒนาหลักสูตรและออกแบบกิจกรรมการอบรมตามบริบทของพ้ืนท่ี เช่น หลักสูตร
ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเท่ียว หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพ หลักสูตรภาษาอังกฤษ
เพอื่ การเกษตร เปน็ ตน้

62

1.1.5 ภาคใต้ ผู้บริหารและครู กศน.ที่รับผิดชอบดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อ
การส่ือสารด้านอาชีพมีความเข้าใจในแนวทางการดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร
ด้านอาชีพเป็นอย่างดี เพราะมีหนังสือช้ีแจงขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียดจากสานักงาน กศน.
มีคู่มือแนวทางการดาเนนิ งาน และเป็นโครงการที่ได้ดาเนินการต่อเน่ืองมาจากปีงบประมาณที่ผ่านมา
รวมทง้ั สานกั งาน กศน. จงั หวัดได้ประชุมช้ีแจง โดยมอบหมายให้ กศน.อาเภอ ดาเนินการตามบริบท
ของพ้ืนท่ี ทั้งนี้หลักสูตรที่นามาใช้ มีท้ังหลักสูตรที่พัฒนากันเองในสถานศึกษา จัดหาหลักสูตรจาก
สถาบัน กศน.ภาค หรือหลักสูตรจากสถานศึกษาอื่นที่พัฒนาให้เหมาะสมกับบริบทของพ้ืนที่และ
ผ้เู รยี น

จากประเด็นดังกลา่ วขา้ งตน้ สามารถสรปุ ไดว้ ่า ผู้บรหิ ารสถานศึกษา และครูหรือเจ้าหน้าท่ี
ผู้รับผิดชอบโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพในสถานศึกษา มีความเข้าใจใน
แนวทางการดาเนนิ งานโครงการภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สารด้านอาชีพเปน็ อย่างดี โดยให้เหตผุ ลดงั นี้

1. สานักงาน กศน. มีหนังสือช้ีแจงแนวทางการดาเนินงานโครงการฯ โดยละเอียด
พรอ้ มท้งั มกี ารแนบหลกั เกณฑก์ ารเบิกจ่ายในการจัดอบรมประชาชนของสถานศึกษา สังกัดสานักงาน
กศน. ตามระเบยี บการเบิกจ่ายจากคมู่ อื การจดั กิจกรรมฝึกอบรมประชาชน

2. สานักงาน กศน.จังหวัดได้ประชุมช้ีแจง หารือแนวทางการดาเนินงานในระดับจังหวัด
มีการสื่อสาร สร้างการรับรู้ในกรอบและแนวทางการดาเนินงานในทิศทางเดียวกัน และมอบหมายให้
กศน.อาเภอพัฒนาหลักสูตรและออกแบบกิจกรรมการอบรมตามบริบทของพื้นท่ี เช่น หลักสูตร
ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเท่ียว หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพ หลักสูตรภาษาอังกฤษ
เพื่อการเกษตร เป็นต้น โดยการจัดหาหลักสูตรจากสถาบัน กศน.ภาค หรือหลักสูตรจากสถานศึกษา
อื่นท่พี ัฒนาใหเ้ หมาะสมกบั บริบทของพน้ื ท่แี ละผู้เรียน

3. สานักงาน กศน.จังหวัด และ กศน.อาเภอ มีประสบการณ์ในการจัดการอบรม
ภาษาองั กฤษเพือ่ การสอื่ สารด้านอาชีพมาแลว้ ในปี 2561

1.2 ด้านการวเิ คราะหป์ ัญหาและสารวจความต้องการของประชาชน
1.2.1 ภาคตะวันออก มีการวิเคราะห์สภาพ บริบทของพื้นท่ี นโยบายการพัฒนาของ

จังหวัด และความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย ประสานงานกับภาคีเครือข่าย ผู้นาชุมชนเพื่อสารวจ
ความต้องการ สารวจผู้สนใจ และประชาสัมพันธ์โครงการ มีการสารวจความต้องการด้านการส่ือสาร
ภาษาอังกฤษในการเวทีประชาคมไทยนิยมย่ังยืน และเมื่อได้รับการจัดสรรงบประมาณจะมีการเจาะ
สารวจเพ่ือยืนยันความต้องการอีกคร้ัง มีการสร้างการรับรู้ และกระตุ้น จูงใจให้ประชาชนเปูาหมาย
กาหนดกรอบหลักสูตรร่วมกันระหวา่ งวิทยากรและเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการวางแผนการจัดการ
อบรมใหส้ อดคล้องกบั ความตอ้ งการ ความสะดวกของผู้เรียน

1.2.2 ภาคกลาง สถานศึกษาแต่ละแห่งดาเนินการสารวจปัญหาและความต้องการของ
ประชาชนในพื้นที่ และนาปัญหาและความต้องการมาวิเคราะห์ตามสภาพบริบทของพื้นท่ี ความ

63

จาเป็นท่ตี อ้ งใชภ้ าษาอังกฤษในการส่ือสาร การนาไปใช้ในการประกอบอาชีพ และความรู้พื้นฐานของ
ผู้เรียน เข่น มีความจาเป็นที่จะต้องสื่อสารภาษาอังกฤษให้ได้เพื่อต้องการเพ่ิมยอดขายสินค้า การ
ใหบ้ รกิ าร เพ่ิมความเชีย่ วชาญในการทางาน หรอื สามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเข้าใจ เป็นต้น
เมื่อได้ข้อมูลครบถ้วน สถานศึกษาจะนาข้อมูลเหล่านี้มาวางแผนร่วมกับผู้บริหาร ครู วิทยากรและ
ผู้เรียน เพ่ือร่วมจัดทาหลักสูตร และวางแผนการจัดการอบรมให้ตรงกับความต้องการ และความ
สะดวกของผูเ้ รียน ด้วยการแบ่งกลุ่มผูเ้ รยี นออกเปน็ ร่นุ ๆ รวมทง้ั การแบง่ กลมุ่ ผู้เรียนออกเปน็ อาชพี

1.2.3 ภาคเหนือ มีการวิเคราะห์สภาพ บริบทของพ้ืนที่ และสารวจความต้องการของ
กลุ่มเปูาหมาย โดยประสานงานกับภาคีเครือข่าย ผู้นาชุมชน และประชาชนท่ีสนใจ และนามา
วางแผนเพอื่ พฒั นาหลักสูตรรว่ มกนั ระหว่างวิทยากรและเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการ และวางแผน
การจดั การอบรมใหส้ อดคลอ้ งกับความต้องการของผู้เรยี น

1.2.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สถานศึกษาได้วิเคราะห์สภาพบริบทของพ้ืนที่ และ
ความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย โดยประสานงานกับภาคีเครือข่าย ผู้นาชุมชนเพื่อสารวจความ
ต้องการของประชาชนกลุ่มเปูาหมายหรือผู้สนใจ จากการสอบถามและการจัดเวทีประชาคมหมู่บ้าน
และนาข้อมูลมาวิเคราะห์ความต้องการของประชาชนในแต่ละพ้ืนที่ เพ่ือวางแผนการจัดกิจกรรมให้
สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของกลุ่มเปาู หมาย และเมอื่ ได้รับการจดั สรรงบประมาณ สถานศึกษาได้จัด
ประชุมชี้แจง และวางแผนร่วมกับวิทยากรในการออกแบบกระบวนการ/วิธีการจัดการเรียนรู้ จัดทา
แผนการจัดการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับการจดั การเรียนรู้เพ่ือให้สอดคล้องกับกลุ่มเปูาหมาย ท่ีต้องการ
นาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพได้จริง โดยสถานศึกษาได้จัดการเรียนรู้ตาม
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีหลักสูตรกาหนดและปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อให้มีเนื้ อหา
สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงตามลักษณะงานอาชีพของผู้เรียนกลุ่มเปูาหมายท่ีเข้ามาเรียนรู้ ผ่าน
สื่อการสอนต่าง ๆ เช่น บัตรคา ใบความรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง มีการวัดและ
ประเมนิ ผลผู้เรยี นด้วยวธิ ีการประเมินตามสภาพจรงิ เช่น การตอบคาถาม การฝึกออกเสยี ง การสังเกต
การเข้าร่วมกจิ กรรม

1.2.5 ภาคใต้ มีการสารวจความต้องการก่อนการการจัดการเรียนการสอน โดยมีการลง
พน้ื ท่ีร่วมประชุมกับประชาชนท่ีมกี ารจดั ประชุมตามวาระตา่ งๆ ครูมีการวิเคราะห์สภาพปัญหาร่วมกับ
วิทยากร ตั้งแต่บรบิ ทของพ้ืนที่ ความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย โดยศึกษาข้อมูลของผู้สมัคร จากภูมิ
หลัง อาชีพ อายุ นามากาหนดกรอบหลักสูตรเพ่ือให้สอดคล้องกับความต้องการ ความเหมาะสมกับ
พ้ืนฐานความรู้ อาชพี ของผูเ้ รยี นให้ไดม้ ากทีส่ ุด

จากประเดน็ ดังกล่าวขา้ งต้นสามารถสรปุ ได้วา่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูหรือเจ้าหน้าที่
ผู้รับผิดชอบโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพของสถานศึกษา โดยมีข้ันตอนการ
วิเคราะหป์ ญั หาและสารวจความตอ้ งการของประชาชน ดงั ตอ่ ไปน้ี

64

1) สถานศึกษาสารวจปัญหาและความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ ประสานงานกับ
ภาคเี ครอื ข่าย ผู้นาชมุ ชน และประชาชนทส่ี นใจเพื่อสารวจความต้องการของประชาชนกลุ่มเปูาหมาย
หรอื ผ้สู นใจ และประชาสมั พันธ์โครงการ จากการสอบถามและการจัดเวทีประชาคมหมบู่ า้ น

2) สถานศึกษานาปัญหาและความต้องการมาวิเคราะห์ตามสภาพบริบทของพ้ืนที่
ความจาเป็นท่ีต้องใช้ภาษาอังกฤษในการส่ือสาร การนาไปใช้ในการประกอบอาชีพ และความรู้
พื้นฐานของผู้เรียน เช่น มีความจาเป็นท่ีจะต้องส่ือสารภาษาอังกฤษให้ได้เพ่ือต้องการเพิ่มยอดขาย
สินค้า การให้บริการเพ่ิมความเชี่ยวชาญในการทางาน หรือสามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่าง
เข้าใจ เปน็ ตน้

3) สถานศกึ ษาจัดประชุมช้ีแจง และวางแผนร่วมกับผู้บริหาร ครู วิทยากร และผู้เรียนเพ่ือ
ร่วมกันออกแบบกระบวนการ/วิธีการจัดการเรียนรู้ จัดทาหลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้ ให้
เหมาะสมกบั การจัดการเรยี นรู้ให้สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการและความสะดวกของผู้เรียนที่ต้องการนา
ความรทู้ ไี่ ด้รบั ไปประยกุ ต์ใช้ในการประกอบอาชีพได้จริง

4) สถานศึกษาจัดการเรยี นรตู้ ามแผนการจดั การเรียนรู้ที่หลักสูตรกาหนดและปรับเปลี่ยน
รูปแบบการจัดกิจกรรมเพ่ือให้มีเน้ือหาสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงตามลักษณะงานอาชีพของ
ผู้เรียนกลุ่มเปูาหมายท่ีเข้ามาเรียนรู้ ผ่านสื่อการสอนต่าง ๆ เช่น บัตรคา ใบความรู้ เพื่อให้ผู้เรียน
สามารถเรยี นร้ไู ด้อย่างต่อเนอ่ื ง มีการวดั และประเมินผลผู้เรียนด้วยวิธีการประเมินตามสภาพจริง เช่น
การตอบคาถาม การฝกึ ออกเสียง การสังเกตการเขา้ รว่ มกิจกรรม เป็นต้น

1.3 ดา้ นการประชาสมั พนั ธ์
1.3.1 ภาคตะวันออก ผู้บริหารสถานศึกษามอบหมายให้ ครู กศน.ตาบลประชาสัมพันธ์

ให้กลุ่มเปูาหมายโดยตรง ประชาสัมพันธ์ผ่านผู้นาชุมชน และ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน
(อสม.) ประชาสัมพนั ธ์ในการประชุมประจาเดือนหัวหน้าส่วนราชการอาเภอ การประชุมประจาเดือน
กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ประชาสัมพันธ์ผ่านทางรายการวิทยุ เสียงตามสายประจาหมู่บ้านทางเคเบิลทีวี
ท้องถิ่น (ตัวว่ิงด้านล่างของจอ) การจัดทาแผ่นพับ เผยแพร่ที่ห้องสมุดประชาชน การจัดทาหนังสือ
ราชการประชาสัมพันธ์ส่งไปตามหน่วยงานภาคีเครือข่าย และการประชาสัมพันธ์ผ่านไลน์หรือเพจ
เฟซบ๊กุ

1.3.2 ภาคกลาง ผู้บริหารสถานศึกษา ในพ้ืนท่ีเปูาหมาย ได้ดาเนินการจัดประชุมทีมงาน
เพื่อวางแผนการประชาสัมพันธ์ โดยผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาเข้ารว่ มประชุมหรอื มอบหมายให้ครู กศน. ที่
รับผิดชอบโครงการเข้าร่วมประชุมกับส่วนราชการ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.)
ธุรกิจการท่องเที่ยว หรือประชาสัมพันธ์ผ่านไลน์ โดยผ่านกลุ่มไลน์ของนักศึกษาการศึกษานอกระบบ
ข้ันพนื้ ฐาน เพอ่ื แจง้ ต่อตอ่ ผู้ปกครอง ญาต,ิ เพ่อื นบา้ น กล่มุ ไลน์ของกานนั ผใู้ หญ่บา้ น กลุ่มไลน์หัวหน้า
สว่ นราชการ กลมุ่ ไลนข์ องครู กศน.ตาบล ประชาสัมพันธ์โดยใช้เฟซบุ๊กของกศน.อาเภอ ของครู กศน.
ตาบล หอกระจายข่าวของหมู่บ้าน โดยกานัน ผู้ใหญ่บ้านช่วยประชาสัมพันธ์ การจัดทาแผ่นพับ

65

เผยแพร่ที่ห้องสมุดประชาชน การจัดทาหนังสือราชการประชาสัมพันธ์ส่งไปตามหน่วยงานภาคี
เครือขา่ ย ผา่ นส่ือเคเบลิ ทวี ี คลิปวดี ีโอ ยูทบู

1.3.3 ภาคเหนือ ผู้บริหารสถานศึกษามอบหมายให้ ครู กศน.ตาบล/ครูอาสา
ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเปูาหมายโดยตรง ประชาสัมพันธ์ผ่านชมรม ผู้นาชุมชน และอาสาสมัคร
สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) และประชาสัมพันธ์ในการประชุมประจาเดือนของอาสาสมัคร
สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสายประจาหมู่บ้าน นอกจากน้ี ยังได้
ขอความอนเุ คราะห์ภาคีเครอื ข่ายซง่ึ เป็นโรงเรียนกวดวิชาใหช้ ว่ ยประชาสัมพันธด์ ้วย

1.3.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้บริหารสถานศึกษามอบหมายให้ ครู กศน.ตาบล
ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเปูาหมายโดยตรง ประชาสัมพันธ์ผ่านการพบกลุ่มนักศึกษา ประชาสัมพันธ์
ระหว่างการจัดกิจกรรม กศน. เช่น การประชุมสัญจร เป็นต้น ประชาสัมพันธ์ผ่านผู้นาชุมชน
ประชาสัมพันธ์ในการประชุมประจาเดือนหัวหน้าส่วนราชการ การประชุมประจาเดือนกานัน
ผู้ใหญ่บ้าน ประชาสัมพันธ์ผ่านทางห่อกระจายข่าวประจาหมู่บ้าน การจัดทาหนังสือราชการ
ประชาสมั พันธ์สง่ ไปตามหน่วยงานภาคีเครอื ข่าย และการประชาสมั พันธผ์ ่านไลน์หรือเพจเฟซบุ๊ก

1.3.5 ภาคใต้ ผู้บริหารสถานศึกษามอบหมายให้ ครู กศน.ตาบลประชาสัมพันธ์ให้
กลุม่ เปูาหมายโดยตรง ประชาสัมพันธ์ผ่านเครือข่าย ผู้นาชุมชน ผู้เรียนในกลุ่มอ่ืน ๆ และอาสาสมัคร
สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ประชาสัมพันธ์ในการประชุมประจาเดือนหัวหน้าส่วนราชการ
อาเภอ การประชุมประจาเดือนกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ประชาสัมพันธ์ผ่านทางรายการวิทยุ เสียงตามสาย
ประจาหมู่บ้าน จัดทาปูายประชาสัมพันธ์ แผ่นพับ เผยแพร่ท่ีห้องสมุดประชาชน การจัดทาหนังสือ
ราชการประชาสัมพันธ์สง่ ไปตามหน่วยงานภาคีเครอื ข่าย และการประชาสัมพันธ์ผ่านไลน์กลุ่มแม่บ้าน
กลมุ่ ผู้เรยี นหรือเพจเฟซบุก๊

จากประเดน็ ดังกล่าวขา้ งต้นสามารถสรุปได้วา่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูหรือเจ้าหน้าท่ี
ผู้รับผิดชอบโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพของสถานศึกษา มีการประชาสัมพันธ์
โครงการฯ ผา่ นส่อื ตา่ ง ๆ ดังนี้

1) สอื่ บคุ คล ไดแ้ ก่ การประชุมประจาเดือนหัวหน้าส่วนราชการอาเภอ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน
อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บา้ น (อสม.) และการพบกลุ่มนักศึกษา

2) สื่อส่ิงพิมพ์ ได้แก่ หนังสือราชการประชาสัมพันธ์ส่งไปยังหน่วยงานภาคีเครือข่าย
โรงเรียนกวดวิชา ธุรกิจการท่องเท่ียว และจดั ทาแผ่นพับ

3) สื่อออนไลน์ ได้แก่ เพจเฟซบกุ๊ กลมุ่ ไลน์ต่างๆ และยทู บู
4) สือ่ อนื่ ๆ ได้แก่ รายการวิทยุ เสียงตามสายประจาหมู่บ้านทางเคเบิลทีวีท้องถ่ิน (ตัววิ่ง
ดา้ นล่างของจอ) หอกระจายขา่ วของหมู่บา้ น และคลิปวดี โี อ

66

1.4 ดา้ นการจัดกจิ กรรมร่วมกบั ภาคเี ครอื ข่าย
1.4.1 ภาคตะวันออก การดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพ

สถานศกึ ษามกี ารดาเนินงานรว่ มกับเครือขา่ ยทห่ี ลากหลายประเภท ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน
เช่น องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น เทศบาล อบต. โรงพยาบาล บุคคล อาทิ ผู้นาชุมชน อาสาสมัคร
สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ชาวต่างประเทศที่มาอาศัยอยู่ในประเทศโดยความร่วมมือกับภาคี
เครือข่าย ส่วนใหญ่เพ่ือขอความร่วมมือในการประชาสัมพันธ์โครงการ ขอใช้สถานท่ีจัดการอบรม
การสนบั สนนุ บคุ ลากรให้เขา้ รับการอบรมเพอ่ื ให้เป็นแบบอย่างที่ดี และเป็นวทิ ยากรสอนภาษาอังกฤษ

1.4.2 ภาคกลาง การดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ
สถานศึกษาดาเนินงานร่วมกับเครือข่ายที่หลากหลายประเภทท้ังภาครัฐ เอกชน และประชาชน เช่น
องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น กานัน ผู้ใหญ่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล อาสาสมัคร
สาธารณสุข ข้าราชการครูเกษียณ ชมรมธุรกิจท่องเที่ยวแก่งกระจาน รีสอร์ท อุทยานแห่งชาติแก่ง
กระจาน บ้านสมุนไพร เรือนจากลางจังหวัดสมุทรสาคร โรงงานอุตสาหกรรมกิจวัฒนาผ้าย้อม,ค่าย
ทหาร บริษัทไทยยูเนียนยูนอร์ท สถานีตารวจภูธร ศูนย์ถ่ายทอดการท่องเท่ียวตลาดน้าท่าคา และ
ประธานชมรมกลุ่มเรือพายตลาดน้าท่าคา โดยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ส่วนใหญ่เพ่ือขอความ
รว่ มมอื ในการประชาสัมพนั ธ์โครงการ ขอใช้สถานที่จัดการอบรม การสนับสนุนบุคลากรให้เข้ารับการ
อบรมเพ่ือให้เป็นแบบอย่างทีด่ ี และเป็นวทิ ยากรสอนภาษาอังกฤษ

1.4.3 ภาคเหนือ สถานศึกษามีการดาเนินงานร่วมกับหน่วยงานเครือข่าย ทั้งภาครัฐ
เอกชน เช่น โรงเรียน วัด องค์การบริหารส่วนตาบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ชมรม และ
ประชาชน เช่น ผู้นาชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ผู้ประกอบการโฮมสเตย์/
เกสต์เฮาส์ เจ้าของร้านค้า และครูชาวไทยและชาวต่างประเทศที่สอนอยู่ในโรงเรียน โดยขอความ
รว่ มมือในเร่ืองการประชาสัมพันธโ์ ครงการ ขอใช้สถานทจ่ี ัดการอบรม/สถานทีฝ่ ึกปฏิบัติ ขอสนับสนุน
บุคลากรเพ่ือร่วมเปน็ วิทยากรสอนภาษาองั กฤษ

1.4.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ด้านอาชพี สถานศึกษาไดด้ าเนนิ งานร่วมกับเครือข่าย ท่ีหลากหลายทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน
เช่น องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั เทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล สานักงานพัฒนาชุมชน โรงเรียน
ในสังกัดสานักงานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กลุ่มอาชีพ กลุ่มแม่บ้าน อาสาสมัครปุาไม้ ภาคีเครือข่าย
ประเภทบุคคล อาทิ ผู้นาชุมชน ชาวต่างประเทศท่ีมาอาศัยอยู่ในประเทศไทย โดยส่วนใหญ่ภาคี
เครือข่ายให้การสนับสนุนและให้ความร่วมมือในการประชาสัมพันธ์โครงการ การใช้สถานท่ีจัดการ
อบรม การสนับสนุนบุคลากรให้เข้ารับการอบรมเพื่อให้เป็นแบบอย่างท่ีดี และเป็นวิทยากรจัด
กระบวนการเรยี นรู้ภาษาอังกฤษ

1.4.5 ภาคใต้ การดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ
สถานศกึ ษามกี ารดาเนินงานรว่ มกบั เครอื ขา่ ยในพ้ืนทีท่ หี่ ลากหลายประเภท สนับสนุนวิทยากร ผู้เรียน
และสถานท่ีจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วยภาครัฐได้แก่ ฐานทัพเรือพังงา เครือข่ายเอกชนได้แก่

67

โรงแรมอนั ดามนั เอมแปรส ปุาตอง โรงแรมปุาตองรีสอรท์ กล่มุ ชมรมเสริมสวยปุาตอง รวมทั้งองค์การ
ปกครองส่วนท้องถ่ิน เทศบาล อบต. โรงพยาบาล บุคคล อาทิ ผู้นาชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข
ประจาหม่บู า้ น (อสม.)

จากประเด็นดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ผู้บริหารสถานศึกษา และครูหรือ
เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพของสถานศึกษามีการจัด
กจิ กรรมรว่ มกับภาคีเครือข่าย โดยสถานศึกษาขอความร่วมมือในการประชาสัมพันธ์โครงการ การขอ
ใช้สถานทใ่ี นการจดั การอบรม การสนับสนนุ บคุ ลากรเปน็ วทิ ยากรและผู้เข้ารบั การอบรม ดงั นี้

1) หน่วยงานการศกึ ษา ไดแ้ ก่ โรงเรียน และวดั
2) สว่ นราชการระดับจงั หวัดและอาเภอ ได้แก่ อทุ ยานแห่งชาติ เรือนจากลางจังหวัด ค่าย
ทหาร สถานีตารวจภธู ร ศูนย์ถา่ ยทอดการท่องเที่ยว สานักงานพัฒนาชมุ ชน และฐานทัพเรือ
3) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วน
ตาบล และเทศบาลตาบล
4) โรงพยาบาลรัฐบาล ได้แก่ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบล
5) สถานประกอบการ ได้แก่ โรงแรม รสี อร์ท บ้านสมุนไพร โรงงานอุตสาหกรรมกิจวัฒนา
ผา้ ย้อม และบรษิ ัทไทยยูเนียนยนู อร์ท
6) บุคคล/กลุ่มบุคคล ได้แก่ ข้าราชการครูเกษียณ ผู้นาชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข
ประจาหมู่บ้าน (อสม.) ชาวต่างประเทศท่ีมาอาศัยอยู่ในประเทศ ประธานชมรมกลุ่มเรือพาย
ผู้ประกอบการโฮมสเตย์/เกสต์เฮาส์ เจ้าของร้านค้า ครูชาวไทยและชาวต่างประเทศที่สอนอยู่ใน
โรงเรียน กลมุ่ อาชพี กลุม่ แม่บ้าน อาสาสมคั รปุาไม้ กลมุ่ ชมรมเสริมสวย และชมรมธุรกจิ ทอ่ งเทยี่ ว

1.5 ด้านการใหค้ าปรึกษา แนะนา และสนบั สนนุ
1.5.1 ภาคตะวันออก มีการให้การสนับสนับสนุน ให้คาปรึกษา แนะนา แนวทางการ

ดาเนินงาน จากสานักงาน กศน.จังหวัด รวมท้ังผู้บริหารสถานศึกษาช่วยให้ข้อเสนอแนะในการ
ดาเนินงานจัดทาโครงการ หลักสูตร และวางแผนการใช้งบประมาณ อานวยการ ส่งเสริม สนับสนุน
วสั ดอุ ุปกรณ์ ให้การจดั กิจกรรมเปน็ ไปด้วยความเรียบร้อยตามเปูาหมายและวัตถุประสงค์ มีการนิเทศ
ติดตามระหว่างการอบรม ให้กาลงั ใจผู้รบั ผดิ ชอบการดาเนนิ งานอย่างตอ่ เนื่อง

1.5.2 ภาคกลาง มีการให้การสนับสนับสนุน ให้คาปรึกษาแนะนา แนวทางการ
ดาเนินงาน จากสานักงาน กศน.จังหวัด รวมท้ังผู้บริหารสถานศึกษา ได้ช้ีแจงแนวทางการดาเนินงาน
โครงการภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสารด้านอาชีพให้กับครู กศน. ช่วยให้ข้อเสนอแนะในการดาเนินงาน
จัดทาโครงการ หลักสูตร ใหค้ าแนะนาสาหรับกลุ่มผู้เรียนท่ีมีความหลากหลายแตกต่างเรื่องอายุ โดย
วิธีการใหก้ ลมุ่ ทีม่ ีอายุนอ้ ยช่วยสอนผู้ที่มอี ายมุ าก รว่ มวางแผนการจัดกิจกรรม/การประชาสัมพันธ์และ
วางแผนการใช้งบประมาณ อานวยการ ส่งเสริม สนับสนุน วัสดุอุปกรณ์ ให้การจัดกิจรรมเป็นไปด้วย

68

ความเรียบร้อยตามเปูาหมายและวัตถุประสงค์มีการนิเทศ ติดตามระหว่างการอบรม ให้กาลังใจ
ผรู้ ับผิดชอบการดาเนนิ งานอยา่ งตอ่ เน่ือง

1.5.3 ภาคเหนอื ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษามกี ารสนับสนับสนุน ให้คาปรึกษา แนะนาแนวทาง
การดาเนินงาน รวมทัง้ ช่วยให้ข้อเสนอแนะในการดาเนนิ งานจัดทาโครงการ การพัฒนาหลักสูตร การ
วางแผนการจัดกิจกรรมการอบรม การใช้งบประมาณและการเบิกจ่าย ส่งเสริม สนับสนุน วัสดุ
อุปกรณ์ ให้การจัดกิจกรรมเป็นไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุตามเปูาหมายและวัตถุประสงค์ มีการ
นิเทศ ตดิ ตามระหวา่ งการอบรม

1.5.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สานักงาน กศน.จังหวัด ให้การสนับสนับสนุนให้
คาปรึกษา แนะนา แนวทางการดาเนินงาน รวมทั้งผู้บริหารสถานศึกษาช่วยให้ข้อเสนอแนะให้
คาปรึกษาในการดาเนินงานจัดทาโครงการ หลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการและบริบทของ
ชุมชน เพื่อให้กลุ่มเปูาหมายสามารถนาความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดาเนินชีวิต
และวางแผนการใช้งบประมาณ การอานวยการ ส่งเสริม สนับสนุน วัสดุอุปกรณ์ ให้การจัดกิจรรม
เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ยบรรลตุ ามเปูาหมายและวัตถปุ ระสงค์ มีการนิเทศ ติดตามระหว่างการอบรม
ใหก้ าลงั ใจผูร้ ับผิดชอบการดาเนนิ งานอย่างต่อเน่ือง

1.5.5 ภาคใต้ มีการให้การสนับสนับสนุน ให้คาปรึกษา แนะนา แนวทางการดาเนินงาน
เริ่มตั้งแต่ให้คาแนะนาต้ังแต่การประชาสัมพันธ์หาผู้เรียน การสารวจและวิเคราะห์ความต้องการ
จัดหาวิทยากร จัดทาหลักสูตร วิเคราะห์หลักสูตร จัดหาสถานท่ีจัดการเรียนการสอน วางแผนการ
จัดการเรียนการสอนและกิจกรรมต่างๆ ให้คาปรึกษาในกรณีที่พบปัญหาในการจัดการเรียนการสอน
จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ มีการนิเทศ ติดตามระหว่างการอบรม ให้กาลังใจผู้ดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง
ตลอดจนในบางสถานศึกษาต้องทาหนา้ ทรี่ บั สง่ ท้งั วิทยากรและผ้เู รยี น

จากประเด็นดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ผู้บริหารสถานศึกษา และครูหรือ
เจา้ หน้าทผี่ ู้รับผิดชอบโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพของสถานศึกษาได้ให้คาปรึกษา
แนะนา และสนับสนุนตั้งแต่การชี้แจงแนวทางการดาเนินงานโครงการฯ การจัดทาโครงการ
การประชาสัมพันธ์หาผู้เรียน การสารวจและวิเคราะห์ความต้องการ จัดหาวิทยากร รวมท้ังจัดทา
หลักสูตร วิเคราะห์หลักสูตร จัดหาสถานท่ีจัดการเรียนการสอน สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในการจัด
กิจกรรม การวางแผนการจัดการเรยี นการสอนและกิจกรรมตา่ ง ๆ การใชง้ บประมาณและการเบิกจ่าย
ใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรียบรอ้ ยตามเปาู หมายและวตั ถปุ ระสงค์ ท้ังนี้ยังให้คาแนะนาสาหรับกลุ่มผู้เรียนท่ี
มีความหลากหลายแตกต่างเรื่องอายุ โดยวิธีการให้กลุ่มที่มีอายุน้อยช่วยสอนผู้ท่ีมีอายุมาก ตลอดจน
ดาเนนิ การนเิ ทศ ตดิ ตามระหว่างการอบรม และให้กาลังใจผรู้ บั ผดิ ชอบการดาเนนิ งานอย่างต่อเน่อื ง

69

1.6 ด้านปัจจัย/ทรัพยากรท่ีส่งเสริมสนับสนุนในการดาเนินโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการ
สอื่ สารด้านอาชพี

1.6.1 ภาคตะวันออก มีเครือข่ายท่ีหลากหลายให้การสนับสนุน ในรูปแบบต่างๆ เช่น
การสนับสนุนให้ใช้อาคาร สถานที่ สาหรับการจัดกิจกรรม/โครงการ มีวิทยากรที่เป็นคนไทยและ
ชาวต่างชาติ (เช่น กศน.อาเภอพนัสนิคมวิทยากรเป็นชาวต่างชาติ) ท่ีมีความรู้และประสบการณ์ด้าน
ภาษาอังกฤษ เข้าใจธรรมชาติผู้เรียน กศน. มีเทคนิคสร้างแรงจูงใจ และจัดกิจกรรมได้หลากหลาย
รูปแบบ การยืดหยุ่นในระเบียบ แนวปฏิบัติ ผู้บริหาร กศน.จังหวัดให้ความสาคัญ ส่งเสริมสนับสนุน
ขอ้ เสนอแนะแนวทางการดาเนนิ งาน งบประมาณ สาหรับการจดั กจิ กรรมการ ครูสารวจความต้องการ
ของกลมุ่ เปูาหมายและจดั หลกั สตู รใหต้ รงความต้องการ การจัดทาแผนการเรียนรู้รายกลุ่ม/รายบุคคล
เพราะความต้องการ ระดับพ้ืนฐานความรู้ด้านภาษาอังกฤษของผู้เรียนแตกต่างกันเพื่อการคัดกรอง
ผู้เรียนให้มีพื้นฐานความรู้ภาษาอังกฤษท่ีเท่ากันหรือใกล้เคียงกัน การพัฒนาหลักสูตร ออกแบบการ
อบรมร่วมกันระหว่างวิทยากร ผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่มเปูาหมายมีความศรัทธาต่องาน กศน.
มีความม่ันใจ เช่ือว่าจะได้รับประโยชน์ในการเข้าร่วมกิจกรรม มีส่ือสาหรับการจัดกิจกรรมท่ี
หลากหลายและเข้าถึงง่าย ในรูปแบบหนังสือหรือเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเข้าถึงได้ง่าย มีการติดตาม
และรายงานผลการดาเนินหลังเสร็จสิ้นโครงการอย่างต่อเนื่องต่อผู้บริหารเพื่อรับทราบผลการ
ดาเนินงาน ปญั หาอุปสรรคเพ่ือหาแนวทางในการพฒั นาต่อไป

1.6.2 ภาคกลาง
1) เครือข่ายให้ความร่วมมือสนับสนุนการจัดกิจกรรม ทั้งในเรื่องสถานที่จัด

กจิ กรรม สถานท่สี าหรบั การฝึกปฏิบตั ิ รวมถงึ ได้รบั ความร่วมมือจากสถานประกอบการ รีสอร์ทต่าง ๆ
รา้ นอาหาร อุทยานแห่งชาติแกง่ กระจาน ในการสนับสนุนให้ลูกจ้างมาเข้าร่วมโครงการ

2) วิทยากร มีจิตอาสา มีความเสียสละ ให้ความสาคัญกับการส่งเสริมเรียนรู้ของ
ประชาชนในพื้นท่ีของตนเอง โดยเสียสละทั้งเวลา อุปกรณ์ท่ีใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอน
รวมถงึ การรับค่าตอบแทนท่มี ีจานวนนอ้ ย และรายได้ประจาเพื่อมาเป็นวิทยากรสอนภาษาอังกฤษเพื่อ
การส่ือสารด้านอาชีพให้กับผู้เรียน รวมถึงวิทยากรเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์สูง
สอนภาษาอังกฤษมาตลอด ดาเนินการจดั การเรียนการสอนได้ดี มกี ารสรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้ เพ่ือ
สร้างความประทับใจให้เกิดกับผู้เรียน นอกจากนี้ วิทยากรยังแนะนาให้ผู้เรียนใช้แอปพลิเคชัน
“speak” เป็นเครือ่ งมือในการสรา้ งความมนั่ ใจและช่วยในการเรยี นรู้

3) คณะทางาน ประกอบด้วย ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ ครูอาสาสมัคร ครู กศน.
ตาบล มีความรับผิดชอบและทุ่มเท ในการทางาน ตั้งแต่กระบวนการสารวจความต้องการ การ
วิเคราะห์ข้อมูล การวางแผนการดาเนินงาน ที่ชัดเจน มีการประชาสัมพันธ์ที่เข้าถึงผู้เรียน การปรับ
หลักสูตรให้เหมาะสมกับบริบทของพ้ืนที่ ครอบคลุม รวมถึง สานักงาน กศน.จังหวัดให้คาปรึกษาใน
การทางาน การอานวยความสะดวกเรื่องของการจัดสรรงบประมาณจากสานักงาน กศน.จังหวัดที่
ดาเนนิ การให้อย่างรวดเร็ว กิจกรรมทีส่ ามารถจัดไดห้ ลากหลายรปู แบบ มกี ารตดิ ตาม และรายงานผล

70

การดาเนินหลังเสร็จส้ินโครงการอย่างต่อเนื่องต่อผู้บริหารเพื่อรับทราบผลการดาเนินงาน ปัญหา
อุปสรรค เพื่อหาแนวทางในการพฒั นาต่อไป

4) ผเู้ รียน มคี วามสนใจ ต้องการที่จะเรียนรู้เพอื่ นาไปใช้ในการประกอบอาชีพอย่าง
แท้จริงจงึ ขยนั อดทน มีมานะและ ผู้เรียนส่วนใหญ่มีความกล้าท่ีจะสนทนากับชาวต่างชาติเพ่ือให้เกิด
การเรยี นรู้

1.6.3 ภาคเหนือ ผู้บริหารให้การสนับสนุนและให้คาปรึกษา ผู้รับผิดชอบโครงการมี
ความรู้และสามารถบริหารจัดการได้ดี มีเครือข่ายทั้งภาครัฐ และเอกชน ให้ความร่วมมือและ
สนบั สนุนในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ การสนบั สนนุ ใหใ้ ช้อาคารสถานที่สาหรับการจัดการอบรม มีวิทยากร
ท่ีเป็นคนไทยและชาวต่างชาติ ทม่ี คี วามรู้และประสบการณ์ดา้ นการสอนภาษาอังกฤษ มีเทคนิคสร้าง
แรงจูงใจ และจัดกิจกรรมได้หลากหลายรูปแบบ ผู้เข้าอบรมมีความกระตือรือร้นและมีความตั้งใจสูง
มีความมั่นใจ เช่ือว่าจะได้รับประโยชน์ในการเข้าร่วมกิจกรรม ครูมีการสารวจความต้องการของ
กลุ่มเปูาหมายและพัฒนาหลักสูตรได้ตรงกับความต้องการ โดยร่วมกันออกแบบการอบรมระหว่าง
วทิ ยากรและผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ มีการใช้ส่ือการอบรมที่หลากหลาย ในรูปแบบของแผ่นพับ บัตรคา
เอกสารประกอบการอบรม และคลิปต่าง ๆ มีสถานท่ฝี กึ ปฏบิ ตั กิ ารสนทนา

1.6.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเครือข่ายที่หลากหลายให้การสนับสนุน ในรูปแบบ
ต่าง ๆ เช่น การสนับสนุนให้ใช้อาคาร สถานท่ี สาหรับการจัดกิจกรรม/โครงการ มีวิทยากรท่ีเป็นคน
ไทยและชาวต่างชาติ ที่มีความรู้และประสบการณ์ด้านภาษาอังกฤษ เข้าใจธรรมชาติผู้เรียน กศน.
มเี ทคนิคสร้างแรงจงู ใจ และจดั กจิ กรรมได้หลากหลายรูปแบบ โดยครูที่รับผิดชอบโครงการ ได้จัดการ
เรียนรู้ร่วมกับวิทยากร เพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดกิจกรรมให้มีเน้ือหาสอดคล้องกับสภาพความ
เป็นจริงตามลักษณะงานอาชีพของผู้เรียนกลุ่มเปูาหมายที่เข้ามาเรียนรู้ ผ่านส่ือการสอนต่าง ๆ เช่น
บัตรคา ใบความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง มีการวัดและประเมินผลผู้เรียนด้วย
วิธีการประเมินตามสภาพจริงท่ีหลากหลาย เช่น การซักถาม การตอบคาถาม การฝึกออกเสียง การ
สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม เพ่ือวัดความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้ใน
หลักสูตร มีงบประมาณเพียงพอต่อการจัดกิจกรรม มีหลักสูตรท่ีหลากหลายสอดคล้องกับความ
ต้องการและบริบทของชุมชน ครูสารวจความต้องการของกลุ่มเปูาหมายและจัดทาหลักสูตรให้ตรง
ความต้องการ การจัดทาแผนการเรียนรู้รายกลุ่ม/รายบุคคล เนื่องจากกลุ่มเปูาหมายมีช่วงอายุและ
ระดับพื้นฐานความรู้ด้านภาษาอังกฤษท่ีแตกต่างกัน เพ่ือการคัดกรองผู้เรียนให้มีพื้นฐานความรู้
ภาษาอังกฤษที่เท่ากนั หรอื ใกล้เคยี งกนั กลุ่มเปูาหมาย/ประชาชนให้ความสาคัญและมีความสนใจที่จะ
เข้ารว่ มกิจกรรม เพราะเชอื่ ว่าจะไดร้ ับประโยชนจ์ ากการเข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งสามารถนาความรู้ท่ีได้รับ
ไปประยุกตใ์ ช้ในการประกอบอาชีพไดจ้ รงิ มีสอื่ สาหรับการจัดกจิ กรรมท่ีหลากหลายและเข้าถึงได้ง่าย
เชน่ บตั รคา ใบความรู้ หรือ เทคโนโลยสี ารสนเทศทเี่ ขา้ ถงึ ได้ง่าย ผูบ้ ริหารและบคุ ลากรให้ความสาคัญ
และให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรม มีการติดตามและรายงานผลการดาเนินหลังเสร็จสิ้นโครงการ

71

อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และเสนอตอ่ ผบู้ ริหารเพื่อรบั ทราบผลการดาเนนิ งาน ปญั หาอุปสรรค เพื่อหาแนวทางใน
การพฒั นาต่อไป

1.6.5 ภาคใต้ มีเครือข่ายที่หลากหลายให้การสนับสนุน ในรูปแบบต่างๆ เช่น การ
สนับสนุนให้ใช้อาคาร สถานท่ี ผู้บริหาร กศน.จังหวัดให้ความสาคัญ โดยการกาหนดแนวทางการ
ดาเนินงานส่งเสริมสนับสนุน เสนอแนะแนวทางการดาเนินงาน งบประมาณสาหรับการจัดกิจกรรม
การ สาหรับการจัดกิจกรรม/โครงการ ผู้บริหาร กศน.อาเภอ ผู้รับผิดชอบโครงการและครูร่วมกัน
สารวจความตอ้ งการของกลมุ่ เปูาหมายและจดั หลกั สตู รให้ตรงความต้องการ การจัดทาแผนการเรียนรู้
รายกลุ่ม/รายบุคคล เพราะความต้องการ ระดับพ้ืนฐานความรู้ด้านภาษาอังกฤษของผู้เรียนแตกต่าง
กัน เพ่ือการคัดกรองผู้เรียนให้มีพ้ืนฐานความรู้ภาษาอังกฤษที่เท่ากันหรือใกล้เคียงกัน การพัฒนา
หลักสูตร มีการออกแบบการเรียนการสอนร่วมกันกับวิทยากร ท่ีเป็นบุคคลท่ัวไปท่ีมีความรู้
ความสามารถในการสอนภาษาอังกฤษ หรือท่ีมีอาชีพเก่ียวข้องกับการใช้ภาษาอังกฤษ เช่น ไกด์หรือ
ครูที่สอนภาษาอังกฤษในโรงเรียน โดยผู้รับผิดชอบโครงการจะร่วมจัดการเรียนการสอนในกิจกรรม
ต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนวิทยากรให้ทาความเข้าใจธรรมชาติผู้เรียน กศน. ร่วมกันสร้างเทคนิคสร้าง
แรงจูงใจ และจัดกิจกรรมได้หลากหลายรูปแบบ การยืดหยุ่นในระเบียบ แนวปฏิบัติ ผู้รับผิดชอบ
โครงการ ท้ังนี้ กลุ่มเปูาหมายต้องมีความศรัทธาต่องาน กศน. มีความมั่นใจ เช่ือว่าจะได้รับประโยชน์
ในการเข้าร่วมกิจกรรม มีการใช้ส่ือการเรียนท่ีหลากหลายและเข้าถึงง่าย ในรูปแบบหนังสือหรือ
เทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าถึงได้ง่าย มีการติดตามและรายงานผลการดาเนินหลังเสร็จสิ้นโครงการ
อย่างต่อเน่ืองทั้งจากผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ หรือผู้ทาหน้าท่ีนิเทศ เพื่อรับทราบผลการดาเนินงาน
ปญั หาอุปสรรค เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาตอ่ ไป

จากประเด็นดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ผู้บริหารสถานศึกษา และครูหรือ
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพของสถานศึกษามีปัจจัย/
ทรัพยากรทสี่ ่งเสรมิ สนบั สนุนในการดาเนินโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารดา้ นอาชพี ดังนี้

1) มงี บประมาณทเี่ พียงพอต่อการจดั กจิ กรรม
2) ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ ครู และเจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้องให้ความสาคัญและร่วมมือในการ
จัดกิจกรรม รวมทั้งมีการติดตามและรายงานผลการดาเนินหลังเสร็จส้ินโครงการอย่างต่อเน่ือง
และเสนอต่อผู้บริหารเพ่ือรับทราบผลการดาเนินงาน ปัญหาอุปสรรค เพ่ือหาแนวทางในการ
พฒั นาการดาเนินงานโครงการฯ
3) มภี าคีเครอื ขา่ ยท้งั ภาครัฐและเอกชนที่ให้ความร่วมมือในการสนับสนุนการจัดกิจกรรม
ท้ังในเรอื่ งสถานทจ่ี ัดกิจกรรมและการฝกึ ปฏิบตั ิ
4) มีวิทยากรที่เป็นท้ังคนไทยและชาวต่างชาติท่ีเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ด้านการ
สอนภาษาอังกฤษ ซึ่งมีความเข้าใจในธรรมชาติของผู้เรียน กศน. มีเทคนิคสร้างแรงจูงใจ และจัด
กิจกรรมได้หลากหลายน่าสนใจ
5) มผี เู้ รยี นทมี่ ีความต้องการเรียนรู้เพอ่ื นาไปใช้ในการประกอบอาชีพอย่างแท้จริง

72

6) มีส่ือการเรียนรู้สาหรับการจัดกิจกรรมท่ีหลากหลายและเข้าถึงง่ายในรูปแบบของ
หนังสือ แผน่ พับ บตั รคา ใบความรู้ สอ่ื ออนไลน์ และสอ่ื อืน่ ๆ

7) มีหลักสูตรและแผนการเรียนรู้รายกลุ่ม/รายบุคคลที่หลากหลายสอดคล้องกับความ
ต้องการของผู้เรียนและบริบทของพ้ืนที่ เน่ืองจากกลุ่มเปูาหมายมีช่วงอายุและระดับพ้ืนฐานความรู้
ดา้ นภาษาองั กฤษที่แตกตา่ งกัน

8) มีการวัดและประเมินผลผู้เรียนด้วยวิธีการประเมินตามสภาพจริงที่หลากหลาย เช่น
การซักถาม การตอบคาถาม การฝึกออกเสียง การสังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม เพ่ือวัดความรู้ความ
เขา้ ใจของผู้เรียนตามวตั ถุประสงคท์ ี่กาหนดไวใ้ นหลกั สูตร

1.7 ด้านปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้าน
อาชพี

1.7.1 ภาคตะวันออก บางพื้นท่ีกลุ่มเปูาหมายไม่สนใจ เนื่องจากมีงานทา มีฐานะทาง
เศรษฐกิจดีและอยู่ในช่วงการบารุง การเก็บเก่ียวพืชผลทางการเกษตร การกาหนดกลุ่มเปูาหมาย 20
คนต่อกลุ่ม ถือว่ามากเกินไปในการอบรมภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร เพราะวิทยากรดูแลได้ไม่ทั่วถึง
ความยากในการรวมกลุ่มกลุ่มเปูาหมาย กลุ่มเปูาหมายบางส่วนเข้ารับการอบรมท้ังวันไม่ได้ วิทยากร
ต้องใช้เทคนิคในการจูงใจให้ผู้เรียนอยู่ได้ท้ังวัน และบางพื้นท่ีขาดแคลนวิทยากรท่ีมีทั้งความรู้
ภาษาอังกฤษ และประสบการณ์การสอนผู้เรียนนอกระบบ สถานศึกษาบางแห่งไม่มีส่ือประกอบการ
เรียนรู้ สานักงาน กศน.จังหวัดบางแห่งกาหนดกลุ่มเปูาหมายที่เป็นประชาชน และบางแห่งเป็น
นกั ศึกษา กศน. ซง่ึ ทาให้เกิดความเข้าใจไม่ตรงกัน เพราะบางแห่งให้นักศึกษา กศน. เข้ารับการอบรม
ได้แต่บางแห่งไม่ให้ใช้กลุ่มเปูาหมายท่ีเป็นนักศึกษา กศน.เพราะเกิดความซ้าซ้อนในเรื่องของการใช้
จา่ ยงบประมาณ

1.7.2 ภาคกลาง ค่าตอบแทนสาหรับวิทยากรที่มีจานวนน้อยทาให้หาวิทยากรที่มีความรู้
ความสามารถในการดาเนนิ การไดย้ าก ความรเู้ ร่ืองพื้นฐานดา้ นภาษาอังกฤษของกลุ่มเปูาหมายของแต่
ละคนไม่เท่ากัน มีความหลากหลายของช่วงวัย ส่งผลให้การรับรู้ไม่เท่ากัน ผู้เรียนไม่กล้าพูด กลัวการ
ออกเสียงผิด เวลาเรียนหากมีการจัดการเรียนการสอน 5 ช่ัวโมง/วัน ผู้เรียนไม่สามารถมาเรียนได้
เพราะมีภาระดา้ นอาชพี ท่ตี ้องรับผดิ ชอบ ประชาชนบางส่วนไม่เห็นความสาคัญของภาษาอังกฤษให้ไม่
สนใจมาสมคั รเรียนเทา่ ที่ควร ผเู้ รียนบางส่วนขาดเรยี นมาเรียนไม่สม่าเสมอเน่ืองจากไม่ค่อยมีเวลาว่าง
จึงทาให้การเรยี นไม่ตอ่ เน่ือง การอบรม กล่มุ เปาู หมายกาหนด 20 คน เปน็ การดาเนินการท่ียากในการ
รวมกลมุ่ ชาวบ้าน การกาหนดกลุ่มเปูาหมายไม่เหมือนกันบางแห่งเป็นกลุ่มชาวบ้าน บางแห่งเป็นกลุ่ม
อาชพี

1.7.3 ภาคเหนือ ผู้เข้าอบรมมาร่วมกิจกรรมไม่ต่อเนื่อง เข้ารับการอบรมท้ังวันไม่ได้
เน่ืองจากบางคนมีภารกิจจาเป็น พื้นฐานของผู้เข้าอบรมไม่เท่ากัน มีหลายวัย จึงได้ความรู้ต่างกัน
วิทยากรจึงต้องจัดกิจกรรมเป็นรายบุคคล งบประมาณที่ได้รับไม่เพียงพอ โดยเฉพาะค่าตอบแทน

73

วิทยากรนอ้ ยเกินไป จงึ ไม่สามารถหาครชู าวตา่ งชาติมาเป็นวทิ ยากรได้ วทิ ยากรท่ีได้ส่วนมากจึงเป็นครู
คนไทย นอกจากนี้บางพ้ืนท่ีไม่มีชาวต่างชาติในหมู่บ้าน เม่ือเข้าอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร
ด้านอาชพี แล้ว จึงไม่มีโอกาสไดใ้ ชใ้ นชีวติ จรงิ

1.7.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มเปูาหมายมีพ้ืนฐานความรู้และช่วงอายุท่ีแตกต่าง
กัน ส่งผลให้เกิดการรับรู้ไม่เท่ากัน วิทยากรและครูที่รับผิดชอบโครงการต้องร่วมกันออกแบบและ
ปรับเปล่ียนรูปแบบการจัดกิจกรรมที่หลากหลายเหมาะสมกับกลุ่มเปูาหมาย โดยใช้สื่อการสอนท่ี
หลากหลาย ๆ เช่น บัตรคา ใบความรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง มีการวัดและ
ประเมินผลผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การซักถาม การตอบคาถาม เป็นต้น บางพื้นท่ี
กลุม่ เปูาหมาย ไม่สามารถเขา้ ร่วมกจิ กรรมไดค้ รบตามจานวนช่ัวโมง เนื่องจากติดภารกิจ มีงานประจา
และอยู่ในช่วงการเก็บเกี่ยวพืชผลทางการเกษตร และไม่สะดวกในการเดินทางเข้าร่วมกิจกรรม
เนื่องจากสถานที่จัดกิจกรรมมีระยะทางไกลจากบ้านพักอาศัย ส่งผลให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ไม่
ต่อเน่ือง และบางพนื้ ที่การกาหนดกลมุ่ เปูาหมาย 30 คนต่อกลุ่ม ถือว่ามากเกินไปในการอบรม เพราะ
วทิ ยากรดแู ลได้ไม่ทั่วถงึ และยากในการรวมกล่มุ กลุ่มเปูาหมาย

1.7.5 ภาคใต้
1) ขาดแคลนวทิ ยากรท่ีมคี วามรคู้ วามเช่ยี วชาญท้งั ในเร่ืองเน้อื หาและวิธกี ารสอน
2) วิทยากรที่มีความรู้ดังกล่าวจะเป็นข้าราชการประจา เวลาในการจัดการเรียน

การสอน จะไม่ตรงกับตารางเรียนทก่ี าหนดไว้
3) ผู้เรยี นประกอบอาชพี แตกต่างกนั หาเวลาเรยี นให้ตรงกนั ค่อนขา้ งยาก
4) พืน้ ความรู้ผ้เู รยี นแตกต่างกนั การจัดการเรียนการสอนดาเนินการไปไดย้ าก
5) คา่ ตอบแทนวิทยากรคอ่ นขา้ งน้อย
6) หลักสตู รการสอนแตล่ ะสถานศึกษามคี วามหลากหลาย
7) ขาดส่อื ทีม่ ีความหลากหลาย
8) ระยะเวลาในการเรียนนอ้ ย
9) สถานท่จี ัดการเรยี นการสอนห่างไกล ความไมส่ ะดวกในการเดินทาง

จากประเด็นดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ผู้บริหารสถานศึกษา และครูหรือ
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพของสถานศึกษาได้ให้ความ
คิดเห็นเก่ียวกบั สภาพปญั หาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการฯ ดังนี้

1. ปัญหาดา้ นงบประมาณ เวลาและสถานที่
1.1 งบประมาณทไ่ี ด้รบั ไมเ่ พียงพอต่อการดาเนินงานโครงการฯ
1.2 ค่าตอบแทนวิทยากรน้อยเกินไป ทาให้ไม่สามารถจ้างครูชาวต่างชาติมาเป็น

วทิ ยากรได้ ซง่ึ ส่วนมากที่จ้างมาเปน็ วทิ ยากรจะเปน็ คนไทย
1.3 เกิดความซ้าซ้อนในการใช้จ่ายงบประมาณ เน่ืองจากสถานศึกษาบางแห่งให้

นกั ศกึ ษา กศน. เขา้ รบั การอบรมได้ แต่บางแหง่ ไม่ใหใ้ ช้กลมุ่ เปาู หมายท่ีเปน็ นกั ศึกษา กศน.

74

1.4 สถานที่จัดการฝึกอบรมห่างไกลและไม่สะดวกในการเดินทาง
1.5 ระยะเวลาในการฝกึ อบรมมีน้อยเกนิ ไป ทาให้ผ้เู รียนไดเ้ รยี นรไู้ ม่เต็มที่

2. ปัญหาดา้ นวทิ ยากรและผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม
2.1 ขาดแคลนวิทยากรท่ีมีความรู้ความเชี่ยวชาญท้ังในเรื่องเน้ือหาและวิธีการสอน

โดยวทิ ยากรที่มีความรู้ดังกลา่ วจะเป็นขา้ ราชการประจา เวลาในการจัดการเรียนการสอนจะไม่ตรงกับ
ตารางเรยี นที่กาหนดไว้

2.2 สถานศึกษาบางแห่ง ขาดแคลนวิทยากรที่มีท้ังความรู้ภาษาอังกฤษ
และประสบการณก์ ารสอนผูเ้ รียนนอกระบบ

2.3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมประกอบอาชีพแตกต่างกัน ทาให้เวลาเรียนไม่ตรงกัน และไม่
สามารถมาเรียนได้ เพราะมภี าระดา้ นอาชีพทีต่ อ้ งรับผดิ ชอบ

2.4 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้พื้นฐานทางภาษาอังกฤษและช่วงอายุท่ีแตกต่างกัน
ส่งผลให้เกิดการรับรไู้ มเ่ ท่ากัน ทาให้การจัดฝกึ อบรมเป็นไปได้ยาก

2.5 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่สนใจ เน่ืองจากมีงานทา มีฐานะทางเศรษฐกิจดี และอยู่
ในช่วงการบารุงและเกบ็ เก่ียวพชื ผลทางการเกษตร

2.6 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมต่อกลุ่มมากเกินไปในการอบรมภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร
ทาให้วทิ ยากรดแู ลไม่ทัว่ ถึง

3. ปญั หาด้านหลกั สูตรและสอ่ื การเรียนรู้
3.1 หลักสูตรแตล่ ะสถานศกึ ษามีความหลากหลาย เนื่องจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความ

แตกตา่ งกันทงั้ อาชพี อายุ และประสบการณใ์ นการเรยี นรู้
3.2 สถานศึกษาบางแห่งไม่มีสื่อประกอบการเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ไม่มีความ

หลากหลาย
1.8 ขอ้ เสนอแนะในการดาเนนิ งานโครงการภาษาองั กฤษเพ่อื การสอ่ื สารดา้ นอาชีพ
1.8.1 ภาคตะวันออก
1) ควรจดั สรรงบประมาณใหเ้ หมาะสม เพยี งพอ
2) แกไ้ ขระเบยี บให้เออ้ื ตอ่ การจดั อบรม โดยเฉพาะค่าตอบแทนวทิ ยากร
3) ส่วนกลางควรดาเนินการประชาสัมพันธ์ในวงกว้างระดับประเทศก่อน เพื่อให้

การประสานงานและการดาเนนิ งานในระดับพืน้ ท่ีทาไดส้ ะดวก
4) ควรมกี ารจดั กิจกรรม/โครงการท่เี ปดิ สอนภาษาอ่ืนๆ ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและ

บรบิ ทของพื้นท่ี เชน่ ภาษาเขมร
5) ควรกาหนดกลมุ่ เปูาหมายที่เข้ารับการอบรมใหม้ ีความชดั เจน

75

1.8.2 ภาคกลาง
1) ควรจดั สรรงบประมาณให้เหมาะสม เพียงพอ
2) แกไ้ ขระเบยี บใหเ้ ออ้ื ตอ่ การจัดอบรม โดยเฉพาะค่าตอบแทนวทิ ยากร
3) คราวตอ่ ไปขอเสนอใหจ้ ัดในรูปแบบค่าย เปน็ ฐานการเรียนรู้
4) นโยบายถ้ามีการปรับหรือยืดหยุ่นเรื่องกลุ่มผู้เรียนไม่เน้นกลุ่มอาชีพมากเกินไป

จะตรงกบั ความต้องการของผู้เรียนมากขนึ้ เพราะบรบิ ทของแตล่ ะพื้นท่ีไมเ่ หมือนกนั
5) ใหม้ ีการเปิดภาษาจีน เนื่องจากบางพื้นท่ี มีนักท่องเท่ียวชาวจีนเข้ามาท่องเที่ยว

เป็นจานวนมาก
6) ควรกาหนดกลุม่ เปูาหมายใหม้ ีความชัดเจน
7) ควรเปดิ หลกั สตู รใหก้ ลุ่มเปาู หมายเดมิ เพอื่ ต้องเรยี นอย่างต่อเน่อื ง

1.8.3 ภาคเหนือ
1) ควรจัดสรรงบประมาณให้ตามความต้องการของสถานศึกษา ไม่ควรให้ทุก

อาเภอเพราะบางอาเภอแทบจะไม่มีชาวต่างชาติ ให้ผู้เข้าอบรมได้สนทนาด้วย ทาให้สูญเสีย
งบประมาณ

2) ควรเพิ่มงบประมาณให้สถานศึกษา เพราะค่าตอบแทนวิทยากรไม่ได้จ่ายตาม
อัตราท่ใี ห้ไว้ จ่ายแค่ชว่ั โมงละ 200 บาทเท่านั้น ซึ่งนอ้ ยเกินไป

3) ควรแก้ไขระเบียบให้เออ้ื ต่อการจัดการอบรม โดยเฉพาะคา่ ตอบแทนวทิ ยากร
1.8.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

1) สานกั งาน กศน.
1.1) ควรจดั สรรงบประมาณใหเ้ หมาะสม เพียงพอ
1.2) ควรมีนโยบายให้สถานศึกษาดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการ

ส่ือสารด้านอาชีพอย่างต่อเน่ือง เพื่อเป็นการพัฒนาความรู้ ทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร
ของประชาชนในรปู แบบต่าง ๆ อยา่ งเปน็ รปู ธรรมและต่อเนอ่ื ง

1.3) ควรมีนโยบายให้สถานศึกษาจัดกิจกรรม/โครงการท่ีเปิดสอนภาษาอื่น ๆ
ทสี่ อดคลอ้ งกับวิถชี ีวิตและบรบิ ทของพ้นื ท่ี เช่น ภาษาเขมร ภาษาจีน เป็นตน้

1.4) ควรจัดทาคู่มือหรือแนวทางการดาเนินงานที่ชัดเจน เพื่อเป็นแนวทางให้
สถานศึกษาหรือผู้ท่ีเกี่ยวข้องสามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมให้ถูกต้องตามระเบียบของทาง
ราชการ

2) สถาบนั กศน.ภาค
2.1) ควรส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของครู กศน. ให้มีทักษะการส่ือสาร

ภาษาองั กฤษ เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดกจิ กรรมของสถานศึกษา

76

2.2) ควรจัดทาและรวบรวมหลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพ
เพอื่ ให้สถานศกึ ษา สามารถนาหลักสูตร มาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมตามบริบทของ
แต่ละพ้ืนท่ี

3) สานักงาน กศน.จงั หวัด
ควรประชุมชี้แจง เพื่อทาความเข้าใจแนวทางการดาเนินงานโครงการฯ ระดับ

จังหวัด เพื่อเป็นแนวทางให้สถานศึกษานาไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องตามระเบียบของทางราชการ
และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน พร้อมท้ังกากับ ติดตาม และส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้บริหารระดับ
อาเภอเอาใจใส่ ให้ความสาคัญในการปฏิบัติงานของครู และบุคลากรทางการศึกษาอย่างใกล้ชิด
และตอ่ เนื่อง

4) สถานศกึ ษา
4.1) ควรศึกษาข้อมูล บริบทของชุมชนและความต้องการฝึกอบรมของ

ประชาชนกลมุ่ เปูาหมาย เพื่อใหส้ ามารถจัดกิจกรรมสอดคลอ้ งกับความต้องการของประชาชน
4.2) ครูท่ีรับผิดชอบโครงการหรือวิทยากรควรบูรณาการทางานร่วมกันเพื่อ

ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับกลุ่มเปูาหมาย ด้วยวิธีการที่
หลากหลาย

1.8.5 ภาคใต้
1) ควรจดั สรรงบประมาณใหเ้ หมาะสม เพียงพอ
2) แกไ้ ขระเบียบใหเ้ ออื้ ตอ่ การจดั อบรม โดยเฉพาะค่าตอบแทนวทิ ยากร
3) ควรกาหนดคณุ สมบตั ิของกลุ่มเปาู หมายทีเ่ ข้ารบั การอบรมให้มคี วามชดั เจน
4) ควรมกี ารจดั กจิ กรรม/โครงการที่เปดิ สอนภาษาอน่ื ๆ ทีส่ อดคล้องกับวิถีชีวิตและ

บรบิ ทของพ้นื ท่ีหรอื เชน่ ภาษาพมา่ ภาษาจีน ภาษายาวี
5) ควรมีหลกั สูตรภาษาองั กฤษท่เี ป็นหลักสูตรกลาง สถานศึกษาสามารถนามาปรับ

ใช้ได้
6) การจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษควรมีการต่อเน่ือง หรือ มีระดับการเรียน

ต่อเนือ่ งกันเปน็ ระยะ
7) สานักงาน กศน. ควรสนบั สนนุ สื่อที่หลากหลาย และทันสมัยในการจัดการเรียน

การสอน
8) การหาสถานที่จัดการเรยี นการสอนควรเป็นสถานทที่ ่ีมีการคมนาคมสะดวก

77

จากประเด็นดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ผู้บริหารสถานศึกษา และครูหรือ
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพของสถานศึกษามีข้อเสนอแนะ
ในการดาเนนิ งานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารดา้ นอาชีพ ดงั นี้

1. ดา้ นนโยบายและงบประมาณ
1.1 ควรมนี โยบายใหส้ ถานศึกษาดาเนนิ งานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้าน

อาชีพอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการพัฒนาความรู้ ทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารของประชาชนใน
รูปแบบตา่ ง ๆ อย่างเปน็ รปู ธรรมและต่อเนือ่ ง

1.2 ควรมีนโยบายให้สถานศึกษาจัดกิจกรรม/โครงการท่ีเปิดสอนภาษาอ่ืน ๆ ท่ี
สอดคล้องกับวถิ ชี วี ติ และบรบิ ทของพ้นื ท่ี เช่น ภาษาเขมร ภาษาพมา่ ภาษาจนี ภาษายาวี เปน็ ต้น

1.3 ควรจัดทาคู่มือหรือแนวทางการดาเนินงานท่ีชัดเจน เพื่อเป็นแนวทางให้
สถานศกึ ษาหรือผู้ที่เก่ยี วขอ้ งสามารถนาไปใชใ้ นการจัดกจิ กรรมให้ถูกต้องตามระเบยี บของทางราชการ

1.4 ควรประชุมชี้แจงเพ่ือทาความเข้าใจแนวทางการดาเนินงานโครงการฯ ระดับ
จังหวัด เพ่ือเป็นแนวทางให้สถานศึกษานาไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องตามระเบียบของทางราชการและ
เปน็ ไปในทิศทางเดียวกนั

1.5 ควรประชาสัมพันธ์ในวงกว้างระดับประเทศก่อน เพ่ือให้การประสานงานและการ
ดาเนินงานในระดบั พ้ืนท่ีทาไดส้ ะดวก

1.6 ควรจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสมและเพยี งพอ
1.7 ควรแก้ไขค่าตอบแทนวิทยากรในเอกสารหลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายในการจัด
กิจกรรมฝกึ อบรมประชาชนของสถานศึกษา
1.8 ควรจัดสรรงบประมาณให้ตามความต้องการของสถานศึกษา ไม่ควรให้ทุกอาเภอ
เพราะบางอาเภอแทบไม่มกี ลมุ่ เปูาหมายที่ต้องการอบรมและไม่มชี าวต่างชาติ
2. ด้านบุคลากร วทิ ยากร และผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรม
2.1 ควรสง่ เสรมิ และพฒั นาศักยภาพของครู กศน. ให้มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ
เพื่อนาไปประยุกต์ใชใ้ นการจดั กิจกรรมของสถานศกึ ษา
2.2 ควรกากับ ติดตาม และส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้บริหารระดับอาเภอเอาใจใส่ให้
ความสาคัญในการปฏิบตั ิงานของครูและบุคลากรทางการศกึ ษาอยา่ งใกลช้ ิดและต่อเนื่อง
2.5 ครูที่รับผิดชอบโครงการหรือวิทยากรควรบูรณาการทางานร่วมกันเพ่ือออกแบบ
การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมและสอดคลอ้ งกับกล่มุ เปูาหมายด้วยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย
2.6 ควรกาหนดกล่มุ เปูาหมายและคุณสมบตั ิผู้เขา้ รบั การอบรมให้มีความชัดเจน
2.7 ควรศึกษาข้อมูลบริบทของชุมชนและความต้องการฝึกอบรมของประชาชน
กลมุ่ เปูาหมาย เพอ่ื ใหส้ ามารถจัดกจิ กรรมสอดคลอ้ งกับความต้องการของประชาชน
2.8 ควรปรับหรือยืดหยุ่นเรื่องกลุ่มผู้เรียนที่ไม่เน้นกลุ่มอาชีพมากเกินไปจะทาให้ตรง
กบั ความตอ้ งการของผูเ้ รียนมากขนึ้ เพราะบริบทของแต่ละพนื้ ท่ีแตกตา่ งกัน

78

3. ด้านหลักสตู รและสอื่ การเรียนรู้
3.1 ควรจัดทาและรวบรวมหลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพ เพื่อให้

สถานศึกษา สามารถนาหลักสูตรมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมตามบริบทของแต่ละ
พน้ื ท่ี

3.2 ควรเปิดหลักสูตรให้กลุม่ เปูาหมายเดมิ ทต่ี ้องการเรยี นรู้อย่างต่อเนือ่ ง
3.3 ควรมีหลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารที่เป็นหลักสูตรกลาง เพื่อให้
สถานศึกษาสามารถนามาปรบั ใชไ้ ด้
3.4 ควรสนบั สนุนสอื่ ทหี่ ลากหลายและทนั สมัยในการจัดการเรียนการสอน

ตอนท่ี 2 ผลการสัมภาษณ์ผู้เข้าร่วมโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพ
ในสถานศกึ ษา

ตารางท่ี 4.26 สถานภาพผู้เข้ารว่ มโครงการฯ จานวน (คน) รอ้ ยละ
สถานภาพ
16 19.75
1. เพศ 65 80.25
1.1 ชาย 81 100.00
1.2 หญงิ
รวม 16 19.75
8 9.88
2. อายุ 21 25.93
2.1 นอ้ ยกวา่ หรอื เทา่ กับ 30 ปี 36 44.44
2.2 31-40 ปี 81 100.00
2.3 41-50 ปี
2.4 50 ปขี ้นึ ไป 28 34.57
รวม 12 14.82
11 13.58
3. อาชีพ 6 7.41
3.1 เกษตรกร 5 6.17
3.2 ค้าขาย 4 4.94
3.3 แมบ่ ้าน 3 3.70
3.4 ธุรกจิ สว่ นตัว 3 3.70
3.5 นวดแผนไทย
3.6 เจ้าหนา้ ทขี่ องรัฐ
3.7 ผนู้ าชุมชน
3.8 พนกั งานโรงแรม

3.9 อนื่ ๆ สถานภาพ จานวน (คน) 79
รวม 9
81 ร้อยละ
11.11
100.00

จากตารางที่ 4.26 สถานภาพผู้ให้สัมภาษณ์ พบว่า มีผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งหมด จานวน 81 คน
(ร้อยละ 100.00) ส่วนมากเป็นเพศหญิง จานวน 65 คน (ร้อยละ 80.25) มีอายุ 50 ปีขึ้นไป จานวน
36 คน (ร้อยละ 44.44) และประกอบอาชีพเกษตรกร จานวน 28 คน (ร้อยละ 34.57) และอาชีพอื่นๆ
ไดแ้ ก่ รับจา้ งท่วั ไป จานวน 2 คน นกั ศึกษา จานวน 2 คน ชา่ งเสริมสวย จานวน 2 คน นักจัดรายการ
วทิ ยุ จานวน 1 คน พนักงานขบั รถ จานวน 1 คน ช่างกระจก จานวน 1 คน

จากการสัมภาษณ์ผู้เข้าร่วมโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพของสถานศึกษาใน
การติดตามการดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพ สามารถสรุปประเด็นการ
สมั ภาษณ์ได้ 7 ด้าน ซงึ่ มีรายละเอียดดังน้ี

2.1 ด้านสาเหตุจงู ใจการเข้าร่วมกจิ กรรม
2.1.1 ภาคตะวันออก ผู้เรียนความสนใจ และความต้องการในการส่ือสารภาษาอังกฤษ

เพ่ือนาความรไู้ ปพฒั นาตนเองและพัฒนาการประกอบอาชพี รวมถึงต้องการสื่อสารกับชาวต่างชาติ เช่น
ท่ีจังหวัดจันทบุรี ได้ทดลองทาตลาดขายมังคดุ ออนไลน์ด้วย จังหวัดปราจนี บุรีอยากเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
ประกอบกับเป็นหมู่บ้านนวัตวิถีเชิงเกษตร และมีคนงานช่วยทาสวนเป็นคนต่างด้าวที่สื่อสารด้วย
ภาษาอังกฤษได้ดี นอกจากน้ัน ผู้เรียนอยากใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ อยากทบทวนภาษา อยากมี
ความรู้ ฟื้นฟคู วามร้ภู าษาอังกฤษของตนเอง อยากเรยี นรู้สิง่ ใหม่ ๆ หรือที่ กศน.อาเภอสัตหีบ ต้องการ
ต่อยอดการขายสินค้าของกลุ่มผ้ามัดย้อม เพราะอาเภอสัตหีบมีนักท่องเท่ียวชาวต่างประเทศเยอะ
จงึ ตอ้ งการมคี วามรู้ภาษาองั กฤษ เมอื่ มลี กู คา้ เป็นชาวต่างประเทศจะไดก้ ล้าพูดคุยและขายสนิ ค้าได้

2.1.2 ภาคกลาง ผู้เรียนความสนใจ และความต้องการในการส่ือสารภาษาอังกฤษ เพ่ือนา
ความรู้ไปพัฒนาตนเองและพัฒนาการประกอบอาชีพ รวมถึงต้องการส่ือสารกับชาวต่างชาติ เช่น
จังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อนาผลผลิตจากสวนมะพร้าวไปขายให้กับนักท่องเท่ียวและต้องการสื่อสาร
กบั นักท่องเท่ยี ว เพอ่ื นาไปใช้ในการขายสนิ ค้าได้โดยไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง ทาให้ขายสินค้าได้มาก
ข้ึนมีรายได้เพ่ิมขึ้น เพื่อรักษาภาพลักษณ์ของท้องถ่ิน (อัมพวา) เนื่องจากทุกวันนี้ในพ้ืนที่มี
นักท่องเที่ยวผ่านมาแล้วสอบถามทางไปตลาดน้าอัมพวาถ้าเป็นชาวบ้านท่ัวไปจะไม่ตอบ จะเฉยๆ ซ่ึง
ทาใหเ้ สียหาย แตถ่ ้าพอรภู้ าษาอังกฤษเบื้องต้นก็สามารถบอกเส้นทางการเดินทาง ทางรถเมล์ ห้องน้า
ได้ เพ่ือเพ่ิมรายได้จากการขายสินค้า เนื่องจากมีร้านขายเครื่องด่ืมใกล้กับสถานีรถไฟ ทาให้มีกลุ่ม
นักท่องเท่ียวมาซ้ือเครื่องด่ืม ถ้าคนขายพูดภาษาอังกฤษเก่ง พูดสนุกจะได้ทิปจากนักท่องเท่ียว
นอกจากน้ีเมื่อนักท่องเท่ียวผ่านไปผ่านมาจะถามหาห้องน้าว่าไปทางไหน ราคาก่ีบาท รถไฟมาก่ีโมง
ทาใหเ้ ห็นความสาคญั และความจาเป็นของภาษาอังกฤษต้องใช้ในการสื่อสาร อาชีพนวดแผนโบราณมี
นักท่องเที่ยวมาใช้บริการจึงต้องการมีความรู้ภาษาอังกฤษ เพ่ือใช้ในการประกอบอาชีพ สาหรับ

80

จังหวัดเพชรบุรี อาชีพพนักงานขับรถรับจ้าง ซึ่งทาให้ได้พบกับนักท่องเที่ยวท่ีมาเท่ียวท่ีแก่งกระจาน
เป็นจานวนมาก นักท่องเท่ียวอยากคุยกับคนไทย และเม่ือพบนักท่องเท่ียวอยากช่วย ส่วนอีกเหตุผล
หนึ่งคอื เปน็ หมบู่ ้านทอ่ งเท่ียว นวตั วิถี มีผูเ้ ดินทางมาเท่ียว และมาดกู ารประกอบอาชีพการถีบกระดาน
เกบ็ หอยแครง แต่ผูน้ าเที่ยวภายในหมู่บ้านสามารถสื่อสารกับนักท่องเที่ยวได้ไม่ก่ีคนทาให้การต้อนรับ
นกั ท่องเทย่ี วทาได้ไมเ่ ต็มท่ี จึงเปน็ สาเหตุให้เขา้ มาเรียนเพ่ือนาไปใช้ สาหรับการต้อนรับนักท่องเที่ยวท่ี
เดินทางมาท่องเท่ียวในในหมู่บ้าน นอกจากนี้เหตุผลของเจ้าหน้าท่ี ณ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ต้องการสร้างความเชื่อมั่นให้กับตนเอง เพราะเมื่อมีโทรศัพท์มายังสานักงานจะต้องหา
ผู้ทส่ี ามารถพดู ไดท้ ่สี านักงานช่วยตอบหรือไมก่ ็หนีไมร่ บั เนื่องจากสื่อสารไมไ่ ด้ และไมเ่ ช่ือมน่ั ในตนเอง

2.1.3 ภาคเหนือ ผู้เรียนต้องการเพิ่มเติมความรู้ภาษาอังกฤษจากที่มีอยู่เดิม เพื่อนา
ความรูไ้ ปพัฒนาตนเองและพฒั นาการประกอบอาชีพ เช่น การนวดแผนไทย ขายของที่ระลึก และการ
เป็นอาสาสมัคร นาชาวต่างชาติท่ีมาแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม กับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ท่ีมาศึกษาเส้นทาง
ธรรมชาติ ทงุ่ ดอกกระเจียว (อาเภอทับคล้อ) รวมถึงต้องการส่ือสารภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวันกับ
ชาวต่างชาติ

2.1.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้เรียนมีความสนใจ และความต้องการในการส่ือสาร
ภาษาอังกฤษ เพ่ือนาความรู้ไปพัฒนาตนเองและพัฒนาการประกอบอาชีพ รวมถึงต้องการสื่อสารกับ
ชาวต่างชาติ เช่น จังหวัดบึงกาฬ เป็นหมู่บ้านนวัตวิถี “ภูสิงห์สามวาน” เป็นสถานที่ท่องเที่ยว
ท่ีชาวต่างชาตินิยมเข้ามาท่องเที่ยว จังหวัดหนองคาย มีกลุ่มแม่บ้านโฮมสเตย์หรือร้านอาหารท่ีมี
ชาวต่างชาตเิ ข้ามาใช้บริการเป็นประจา จึงต้องการส่ือสาร แนะนาสถานที่ท่องท่อง แนะนาสินค้าให้กับ
ชาวต่างชาติ นอกจากน้ี ผู้เรยี นอยากใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ เพือ่ ทบทวนภาษา ให้มีความรู้พื้นฐาน
เกี่ยวกับคาศัพท์ภาษาอังกฤษ อยากเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เช่น จังหวัดบึงกาฬ ต้องการต่อยอดกลุ่มอาชีพ
การทาไม้กวาดดอกหญ้า เพ่ือขายสินค้าออนไลน์และแนะนาสินค้าให้แก่ชาวต่างชาติ จังหวัดชัยภูมิ
เรียนร้เู กี่ยวกบั คาศพั ท์ท่เี ก่ยี วขอ้ งทางการเกษตรท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน การแนะนา การขายสินค้าให้กับ
ชาวต่างชาติ

2.1.5 ภาคใต้ ผู้เรียนมีความสนใจ และความต้องการในการส่ือสารภาษาอังกฤษ เพ่ือนา
ความรูไ้ ปพฒั นาตนเองและพัฒนาการประกอบอาชีพ รวมถึงต้องการส่ือสารกับชาวต่างชาติ ท้ังน้ีความ
สนใจ ต้องการของผู้เรียนแต่ละคนจะแตกต่างกันไปตามบริบทของพื้นท่ีและอาชีพ เช่น จังหวัดภูเก็ต
พน้ื ทเี่ ป็นสถานท่ีท่องเที่ยวท่ีสาคัญของประเทศ ผู้เรียนใน กศน.อาเภอกระทู้ เป็นกลุ่มพนักงานโรงแรม
ต้องการนาภาษาองั กฤษไปใชใ้ นการประกอบอาชพี อยา่ งชดั เจนในจงั หวัดพังงา กศน.ตะกั่วปุา พ้ืนท่ีเป็น
สวนและท่ีอยู่อาศัยเป็นส่วนใหญ่ ผู้เรียนต้องการนาความรู้ไปใช้ในการสื่อสารกับนักท่องเท่ียวเป็น
เบ้ืองต้น นอกจากนั้น ผู้เรียนอยากใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ อยากทบทวนภาษา อยากมีความรู้
ฟื้นฟคู วามรภู้ าษาอังกฤษของตนเอง อยากเรยี นรสู้ ง่ิ ใหม่ ๆ

จากประเด็นดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสาเหตุจูงใจการเข้า
ร่วมกิจกรรม เนื่องจากมีความสนใจ และต้องการในการส่ือสารภาษาอังกฤษเพ่ือนาความรู้ไปใช้ใน

81

ชีวิตประจาวันเพื่อพัฒนาตนเอง พัฒนาอาชีพ และต่อยอดกลุ่มอาชีพในการขายสินค้าออนไลน์และ
แนะนาสินค้าให้กับชาวต่างชาติ รวมท้ังสร้างความเช่ือม่ันให้กับตนเองในการส่ือสารภาษาอังกฤษกับ
ชาวต่างชาติ ตลอดจนเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์เพ่ือการทบทวนความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
คาศพั ท์ภาษาอังกฤษ และต้องการเรยี นรสู้ ิ่งใหม่ ๆ

2.2 ด้านความคาดหวงั หรอื เป้าหมายจากการเข้ารว่ มกจิ กรรม
2.2.1 ภาคตะวันออก ผู้เรียนต้องการทบทวนภาษาอังกฤษ และเพ่ิมเติมความรู้ อยาก

สอ่ื สารภาษาองั กฤษได้เพอื่ จะได้นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ใช้ในการสื่อสารและค้าขายกับชาวต่างชาติ
ตลอดจนการส่ือสารกับคนงานที่เป็นคนต่างด้าวท่ีใช้ภาษาอังกฤษได้ดี นาความรู้ไปต่อยอดการทา
ตลาดออนไลน์

2.2.2 ภาคกลาง ผู้เรียนต้องการทบทวนภาษาอังกฤษ และเพิ่มเติมความรู้ ภาษาอังกฤษ
ทาให้กลา้ พดู ภาษาองั กฤษ และกล้าแสดงออกมากขึ้น สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้จริง
เช่น การนาความรู้ไปสอนหลานที่เรียนอนุบาล เพื่อการขายสินค้าจากสวนผลไม้ของตนเองด้วยการ
บอกและกาหนดราคาผลไม้ของตนเองได้ สามารถนาความรู้ท่ีได้ไปใช้ส่ือสารพูดกับนักท่องเที่ยวท่ีมา
ติดต่อสอบถามได้ ทาให้ขายสินค้าได้เพ่ิมขึ้น มีรายได้เพิ่ม หรือบางคนในเรื่องคาดหวังก่อนมาเรียน
น้อย แตผ่ ลลัพธท์ ีไ่ ดร้ ับมาก เพราะก่อนมาเรียนคิดว่าการจัดการเรียนการสอนคงเป็นรูปแบบให้เขียน
ให้อ่านในห้องเรียนอย่างเดียว แต่เมื่อมาเรียน แต่เม่ือมาเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงนอกสถานท่ีได้สนทนา
กับชาวต่างชาตจิ ริง ทาให้เกดิ ความประทบั ใจ

2.2.3 ภาคเหนือ ผู้เรียนอยากเพ่ิมความมั่นใจ และกล้าที่จะสื่อสารกับชาวต่างชาติมาก
ยิ่งขึ้น เช่น คณะดูงานต่างชาติท่ีมาแลกเปล่ียนวัฒนธรรมกับมหาวิทยาลัยแม่ไจ้ และจะมาศึกษา
เส้นทางธรรมชาติ ทุกปี นักท่องเที่ยวท่ีมาใช้บริการนวดแผนไทย และชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ใน
หมู่บา้ น นอกจากน้ีจะนาความรู้ไปใช้ในการขายของออนไลน์

2.2.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้เรียนต้องการทบทวนภาษาอังกฤษ คาศัพท์พ้ืนฐาน
และเพ่ิมเติมความรู้ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
การส่ือสารและค้าขายกับชาวต่างชาติ ตลอดจนเพื่อพัฒนาและสร้างอาชีพเสริมให้กับตนเอง และนา
ความร้ไู ปต่อยอดการทาตลาดออนไลน์และการศึกษาตอ่

2.2.5 ภาคใต้ ผู้เรียนมีความคาดหวังในการนาภาษาอังกฤษมาใช้ในการประกอบอาชีพ
มากที่สุด เนื่องจากกลุ่มเปูาหมายทั้งสามจังหวัดเป็นสถานท่ีท่องเท่ียวที่มีชื่อเสียงของประเทศ
บางส่วนต้องการทบทวนภาษาอังกฤษ และเพิ่มเติมความรู้ อยากสื่อสารภาษาอังกฤษได้ เพ่ือจะได้
นาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ใช้ในการสือ่ สารและคา้ ขายกบั ชาวต่างชาติ ตลอดจนการสือ่ สารกับคนงานท่ี
เป็นคนตา่ งด้าวทใี่ ช้ภาษาองั กฤษไดด้ ี

จากประเด็นดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความคาดหวังหรือ
เปูาหมายจากการเข้าร่วมกิจกรรม โดยผู้เรียนคาดหวังในการนาความรู้ท่ีได้รับมาใช้ในการสื่อสาร

82

ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน และการประกอบอาชีพ เช่น ค้าขายกับชาวต่างชาติ ขายสินค้าจาก
สวนผลไมข้ องตนเอง ตอ่ ยอดการทาตลาดออนไลน์ สอื่ สารกับนักท่องเท่ียวท่ีมาติดต่อสอบถาม ส่ือสาร
กับคนงานท่ีเป็นคนต่างด้าว สอนหลานที่เรียนอนุบาล และการศึกษาต่อ รวมท้ังผู้เรียนยังได้ทบทวน
ความรู้ภาษาอังกฤษ คาศัพท์พื้นฐาน เพ่ิมเติมความรู้ ได้ฝึกปฏิบัติจริงนอกสถานที่ และได้สนทนากับ
ชาวตา่ งชาตจิ ริงเพอ่ื เป็นการเพ่มิ ความมน่ั ใจ และกล้าสอื่ สารกบั ชาวต่างชาตมิ ากยิ่งข้นึ

2.3 ดา้ นการรบั รูก้ ารประชาสัมพนั ธข์ อ้ มูล
2.3.1 ภาคตะวันออก ครู กศน.ในพ้ืนที่ออกประชาสัมพันธ์ โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการ

ส่ือสารด้านอาชีพจากการประกาศของผู้นาชุมชน เสียงตามสาย หอกระจายข่าวในหมู่บ้าน การ
ประชาสัมพันธ์แบบเพื่อนชวนเพื่อนมาเรียน หรือ กศน.สัตหีบ มีการติดตามหน้าเพจเฟซบุ๊ก กศน.
อาเภอสัตหีบ เพือ่ เปน็ ชอ่ งทางการประชาสมั พันธ์

2.3.2 ภาคกลาง ผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่ได้รับข้อมูลจากการประชาสัมพันธ์ของครู
กศน.ในพ้ืนท่ีทางสื่อออนไลน์ เฟซบุ๊ก และกลุ่มไลน์ การประชาสัมพันธ์ของผู้นาชุมชน กศน.อาเภอ
การแจง้ เป็นหนังสือราชการถงึ หน่วยงานต่างๆ เรอ่ื งการประชาสมั พนั ธก์ ารจัดโครงการไปยังหน่วยงาน
เครือข่ายในพื้นที่ จากกลุ่มผู้เรียนกลุ่มอาชีพ จากไลน์กลุ่มเพื่อน จากเพจองค์การบริหารส่วนตาบล
จากญาติ จากเฟซบุ๊ก ของ กศน.อาภอ เจ้าหน้าของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล และจากการ
ประชุมของหม่บู า้ น

2.3.3 ภาคเหนือ ครู กศน.ตาบล/ครูอาสา ลงพ้ืนท่ีประชาสัมพันธ์ด้วยตนเอง จากผู้นา
ชุมชนที่ประกาศออกเสียงตามสายในหมู่บ้าน จากการประชุมประจาเดือนของ อาสาสมัคร
สาธารณสขุ ประจาหมบู่ า้ น (อสม.) และจากภาคเี ครือข่ายซ่ึงเป็นโรงเรยี นกวดวชิ า

2.3.4 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ครู กศน.ในพ้ืนที่ประชาสัมพันธ์ โครงการภาษาอังกฤษ
เพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ จากการประกาศของผู้นาชุมชนผ่านหอกระจายข่าวหมู่บ้าน
การประชาสัมพันธ์แบบเพื่อนชวนเพ่ือน การประชาสมั พันธโ์ ดย ครู กศน.ตาบล ในพื้นท่ี

2.3.5 ภาคใต้ ส่วนใหญ่ ครู กศน.ในพ้ืนที่ออกประชาสัมพันธ์ โครงการภาษาอังกฤษเพื่อ
การสือ่ สารด้านอาชพี โดยขอความร่วมมอื จากเครอื ข่าย ทั้งใช้วิธีการประกาศเสียงตามสาย หอกระจาย
ข่าวในหมู่บ้าน เชิญชวนในที่ประชุมต่างๆ ของเครือข่าย การประชาสัมพันธ์แบบเพื่อนชวนเพ่ือนมา
เรยี น นกั ศึกษา กศน.กลมุ่ ตา่ งๆ โดยวิธีใชส้ ือ่ ออนไลน์ กล่มุ ไลน์ เฟซบุก๊ เพจต่างๆ

จากประเด็นดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการ
สอื่ สารดา้ นอาชพี ของสถานศึกษามกี ารรับรู้การประชาสัมพนั ธข์ ้อมูลผ่านสอื่ ตา่ ง ๆ ดังน้ี

1) สื่อบุคคล ได้แก่ ผู้นาชุมชน ครูและนักศึกษา กศน. ญาติ เจ้าหน้าท่ีของโรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตาบล อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) การประชุมของหมู่บ้าน การ
ประชมุ ประจาเดือน กลมุ่ ผเู้ รยี นกล่มุ อาชีพ และการประชาสัมพันธแ์ บบเพ่ือนชวนเพื่อนมาเรยี น

2) ส่อื สิ่งพมิ พ์ ได้แก่ หนังสือราชการท่สี ่งถึงหน่วยงานภาคีเครือขา่ ย

83

3) สอ่ื ออนไลน์ ไดแ้ ก่ เพจเฟซบกุ๊ และกลมุ่ ไลน์ตา่ งๆ
4) ส่อื อ่นื ๆ ได้แก่ ประกาศเสียงตามสาย และหอกระจายข่าวในหมู่บ้าน

2.4 ดา้ นความสอดคล้องของกิจกรรมกบั ความต้องการของผ้เู รยี น
2.4.1 ภาคตะวันออก หลกั สูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพท่ีแต่ละสถานศึกษา

จัดการเรียนการสอนสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนที่ต้องการสื่อสารภาษาอังกฤษด้วยประโยค
ง่าย ๆ ท่ีใช้ในการสื่อสารเบ้ืองต้นกับอาชีพนั้นๆ เช่น การท่องเที่ยวในพื้นที่ชุมชน กลุ่มนวดแผนไทย
กลุ่มอาชีพเน้นการค้าขาย หรือหลักสูตรภาษาอังกฤษสาหรับอาชีพด้านการท่องเที่ยว ได้แก่ การบอก
เส้นทางสถานท่ีท่องเที่ยว การซื้อขายสินค้า การคิดเงินการทอนเงิน เน้นการกล้าแสดงออกสร้าง
สถานการณ์จาลองให้ผู้เรียนได้ฝึกพูด และที่ กศน.อาเภอพนัสนิคม ผู้เรียนได้สื่อสารกับเจ้าของภาษา
เพราะครูผู้สอนเป็นชาวต่างประเทศซ่ึงสามารถส่ือสารภาษาไทยได้ และมีครู กศน.ตาบล ช่วยแปล
ใหก้ บั ผ้เู รียนเพิม่ เติม เป็นตน้

2.4.2 ภาคกลาง หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพที่แต่ละสถานศึกษา
จัดการเรียนการสอนจัดกิจกรรมสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มผู้เรียน ด้วยการใช้การส่ือสาร
ภาษาอังกฤษด้วยประโยคง่ายๆ และเหมาะกับอาชีพของแต่ละคน เช่น อาชีพค้าขาย ช่างเสริมสวย
พนักงานขับรถรับจ้าง เจ้าหน้าที่อุทยาแห่งชาติ เป็นต้น เน่ืองจากผู้เรียนส่วนใหญ่ มีความรู้พื้นฐาน
ภาษาอังกฤษน้อยเมื่อได้มาเรียนรู้ทาให้มีความรู้เพิ่มขึ้นมีความม่ันใจขึ้น กล้าแสดงออก กล้าพูด
ภาษาองั กฤษมากขึ้น อกี ทงั้ ยังมกี ารฝึกปฏิบตั จิ รงิ โดยการออกไปเรียนรู้นอกสถานท่ีได้ฝึกปฏิบัติพูดกับ
นักท่องเทีย่ วชาวต่างชาติ

2.4.3 ภาคเหนือ ส่วนใหญ่สถานศึกษาจัดได้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนที่
ต้องการส่ือสารภาษาอังกฤษเบ้ืองต้นกับอาชีพน้ัน ๆ เช่น อาสาสมัครในชุมชนท่ีจะพาคณะดูงานที่มา
แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม กับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ศึกษาเส้นทางธรรมชาติ กลุ่มนวดแผนไทย กลุ่มอาชีพ
เนน้ การใหบ้ รกิ ารและค้าขาย

2.4.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพที่แต่ละ
สถานศึกษาจดั กระบวนการเรียนร้สู อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของผู้เรยี น ท่ีต้องการสื่อสารภาษาอังกฤษ
ด้วยประโยคง่าย ๆ สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันหรือการประกอบอาชีพได้จริง
เชน่ หลักสตู รภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเท่ียว หมู่บ้านนวัตวิถี “ภูสิงห์สามวาน” กลุ่มแม่บ้านโฮมสเตย์
และร้านอาหาร หลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการค้าขาย เป็นต้น ซึ่งผู้เรียนสามารถแนะนาสถานที่และ
บอกเส้นทางการทอ่ งเทีย่ ว การแนะนาสินค้า การขายสนิ ค้า การคดิ เงนิ การทอนเงิน ให้กับชาวต่างชาติ
ได้ หลักสตู รภาษาอังกฤษเพ่ือการเกษตรและกลุ่มอาชีพการทาไม้กวาดจากดอกหญ้า ผู้เรียนรู้คาศัพท์
ง่าย ๆ ท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน การซ้ือขายสินค้า โดยเน้นการกล้าแสดงออก สร้างสถานการณ์จาลองให้
ผู้เรียนได้ฝึกพูด โดย กศน.อาเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย และ กศน.อาเภอคอนสาร จังหวัด

84

ชัยภูมิ ผูเ้ รียนไดเ้ รียนรกู้ บั วิทยากรชาวตา่ งชาติ ซ่ึงทาให้ผู้เรยี นได้ส่ือสารกับเจ้าของภาษาโดยตรง โดยมี
ครู กศน.ตาบล เปน็ ผู้ช่วยในการจดั กิจกรรมให้กับผู้เรียนเพิ่มเตมิ เป็นต้น

2.4.5 ภาคใต้ สถานศึกษามีหลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพสอดคล้องกับ
ความต้องการของผู้เรยี นโดยสามารถนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวันและใชใ้ นการประกอบอาชพี ได้

จากประเด็นดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษาได้สารวจความต้องการของ
ผู้เรียนก่อนจะจัดทาหลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ
จงึ ทาใหม้ ีเนื้อหาสาระความรู้ทส่ี อดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนสามารถนาไปใช้ใน
ชีวติ ประจาวันและใช้ในการประกอบอาชพี ได้

2.5 ด้านการนาความรไู้ ปใช้ในชีวิตประจาวัน
2.5.1 ภาคตะวันออก ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในการพัฒนาการประกอบอาชีพ นาไปใช้ใน

การสื่อสารชีวิตประจาวัน หรือการประกอบอาชีพค้าขายหรือขายสินค้าออนไลน์ที่มีการส่ือสารกับ
ชาวตา่ งชาติ และไดน้ าไปใชใ้ นการจดั รายการวทิ ยุ และสอ่ื สารกบั นกั ท่องเท่ียว

2.5.2 ภาคกลาง ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในการพัฒนาการประกอบอาชีพ นาไปใช้ในการ
ส่ือสารชีวิตประจาวัน หรือการประกอบอาชีพค้าขาย และได้นาไปใช้ในการส่ือสารกับนักท่องเที่ยว
เช่น การขายผลไม้ ผู้เรียนสามารถขายผลไม้จากในสวนของตนเองให้กับนักท่องเท่ียวโดยไม่ต้องผ่าน
พ่อค้าคนกลาง เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติ สามารถนาความรู้ที่ได้ ไปใช้สื่อสารกับนักท่องเที่ยวท่ีมา
ติดต่อสอบถามข้อมูล ได้โดยไม่ต้องรบกวนคนอ่ืน แต่หากมีประโยคท่ียาว ก็ใช้วิธีการใช้แอปพลิเคชัน
สปิคสเตท แปลภาษาได้

2.5.3 ภาคเหนือ ผู้เรียนส่วนใหญ่นาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพนวดแผนไทย
การคา้ ขายตอ่ รองสนิ ค้ากบั นักทอ่ งเทีย่ ว ขายสนิ ค้าออนไลน์ท่มี ีการสือ่ สารกบั ชาวตา่ งชาติ การทักทาย
สื่อสารกับชาวต่างชาติในหมู่บ้านและมีส่วนน้อยที่ไม่ได้นาความรู้ไปใช้ เนื่องจากในหมู่บ้านไม่มี
ชาวตา่ งชาตอิ าศยั อยู่เลย

2.5.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในการพัฒนาการประกอบอาชีพ
และสื่อสารกับนักท่องเที่ยว นาไปใช้ในการสื่อสารชีวิตประจาวัน หรือการประกอบอาชีพค้าขายหรือ
ขายสนิ ค้าออนไลน์ทีม่ ีการสอื่ สารกบั ชาวต่างชาติ

2.5.5 ภาคใต้ ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ การพัฒนาอาชีพมากที่สุด
นอกนั้นบางส่วนนาไปใช้ในการสื่อสารชีวิตประจาวันซ่ึงส่วนใหญ่กลุ่มน้ีจะเป็นแม่บ้าน บางส่วนใช้ใน
การทบทวนความรู้ จะเป็นกลุ่มของผู้สูงอายุที่เกษียณราชการ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐท่ีให้ความสนใจ
และเหน็ ความสาคัญของการใชภ้ าษา

จากประเด็นดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้นาความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน โดยผู้เรียนได้นาความรู้ไปใช้ในการพัฒนาการประกอบอาชีพนวดแผนไทย จัดรายการ
วิทยุ ค้าขายหรือขายสินค้าออนไลน์ที่มีการสื่อสารกับชาวต่างชาติ สื่อสารกับนักท่องเที่ยวที่มาติดต่อ

85

สอบถามข้อมูล การค้าขายต่อรองสินค้ากับนักท่องเท่ียว และการทักทาย สื่อสารกับชาวต่างชาติใน
หม่บู า้ น

2.6 ด้านปญั หาอปุ สรรค
2.6.1 ภาคตะวันออก บางพื้นที่การประชาสัมพันธ์ยังมีน้อย ระยะเวลาในการเรียนน้อย

ผู้เรียนมาจากหลายกลุ่มอาชีพ มีคาศัพท์ที่ผู้เรียนต้องการเรียนไม่เหมือนกัน ความสามารถในการ
เรียนรู้ต่างกันทาให้บางคนเรียนได้เร็ว บางคนเรียนได้ช้า มีภารกิจอื่นแทรกเข้ามาทาให้ไม่ได้เข้าเรียน
ตรงเวลา ผ้เู รยี นมอี ายุแตกตา่ งกนั ต้งั แต่ 24-64 ปี ทาให้ใช้เวลาเรียนต่างกัน บางคนเรียนได้เร็ว บางคน
เรยี นไดช้ า้ สถานทเ่ี รียนตอ้ งเดินทางไกลทาใหเ้ กิดความล่าช้าในการเดินทาง

2.6.2 ภาคกลาง ทางานประจาไม่สามารถมาเรียนต่อเนื่องได้ บางพ้ืนท่ี การ
ประชาสัมพันธ์ยังมีน้อย ระยะเวลาในการเรียนน้อย ความสามารถในการเรียนรู้ต่างกันทาให้บางคน
เรียนได้เร็ว บางคนเรียนได้ช้า มีภารกิจอื่นแทรกเข้ามาทาให้ไม่ได้เข้าเรียนตรงเวลา ผู้เรียนมีอายุ
แตกตา่ งกนั ต้งั แต่ 16-74 ปี ทาให้ใชเ้ วลาเรยี นตา่ งกนั

2.6.3 ภาคเหนือ ผู้เรยี นมาจากหลายกลมุ่ อาชีพ มีความร้พู ้ืนฐานต่างกัน ความสามารถใน
การเรียนรู้ตา่ งกนั จึงต่างกนั บางคนเรียนรู้ไดช้ า้ จาคาศัพท์ไม่คอ่ ยได้ บางครั้งวทิ ยากรให้ใช้สมาร์ตโฟน
ซ่ึงบางคนใช้ไม่คล่อง นอกจากนี้ ผู้เข้าอบรมมาร่วมกิจกรรมไม่ต่อเน่ือง เข้ารับการอบรมท้ังวันไม่ได้
เนื่องจากบางคนมีภารกิจจาเป็นและบางคนเรียนได้ไม่เต็มที่ เน่ืองจากระหว่างเรียนมีลูกค้ามาใช้
บริการนวดแผนไทย

2.6.4 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ กลุ่มผู้เรียน มีพ้ืนฐานความรู้ และช่วงอายุท่ีแตกต่างกัน
ส่งผลให้เกิดการรับรู้ไม่เท่ากัน ผู้เรียนบางกลุ่ม ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ครบตามจานวนชั่วโมง
เนื่องจากตดิ ภารกจิ สง่ ผลให้การเรียนไมต่ ่อเนอ่ื ง และบางพน้ื ท่ผี ู้เรียนไม่สะดวกในการเดินทางเข้าร่วม
กิจกรรม เน่ืองจากสถานท่ีจัดกจิ กรรม มีระยะทางไกลจากบา้ นพกั อาศยั

2.6.5 ภาคใต้ ในอันดับต้น ๆ เป็นเรื่องวิทยากร ค่าตอบแทนวิทยากรค่อนข้างน้อย
โดยเฉพาะวทิ ยากรทม่ี ีจิตอาสา โดยมีค่าตอบแทนน้อย ค่อนข้างยาก ต้องขอความอนุเคราะห์วิทยากร
จากเครือข่ายทเ่ี ปน็ ข้าราชการประจา ทาให้ไม่สอดคล้องกับเวลาเรียน ผู้เรียนประกอบอาชีพแตกต่าง
กัน หาเวลาเรียนให้ตรงกันค่อนข้างยาก พ้ืนความรู้ผู้เรียนแตกต่างกัน การจัดการเรียนการสอน
ดาเนินการไปได้ยากหลักสูตรการสอนแต่ละสถานศึกษามีความหลากหลาย ระยะเวลาในการเรียน
น้อย สถานท่จี ดั การเรียนการสอนบางสถานศึกษา ไม่สะดวกในการเดินทาง ทาให้ผู้เรียนบางคนท่ีไม่มี
รถส่วนตัว หรือไม่สามารถขับรถด้วยตัวเองได้ทาให้เป็นอุปสรรคในการเรียนการสอน และขาดส่ือท่ีมี
ความหลากหลายในการเรยี นการสอนท่เี หมาะสมกับวัย

จากประเด็นดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีปัญหาและอุปสรรคใน
การเขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการภาษาองั กฤษเพือ่ การส่อื สารดา้ นอาชพี ของสถานศึกษา ดังนี้

1) มกี ารประชาสัมพนั ธ์กิจกรรมนอ้ ยเกนิ ไป

86

2) ระยะเวลาในการจดั อบรมน้อยเกนิ ไป
3) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีช่วงอายุ อาชีพ และพ้ืนฐานในการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกัน ทาให้เกิด
การรับรู้ไมเ่ ท่ากนั
4) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่สะดวกในการเดินทางเข้าร่วมกิจกรรม เนื่องจากสถานที่จัด
กิจกรรมมรี ะยะทางไกลจากบา้ นพักอาศัย
5) ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมบางคนไมส่ ามารถใช้สมาร์ตโฟนเพอื่ ใช้ประกอบการเรยี นรู้ได้
6) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ครบตามจานวนชั่วโมงและไม่ต่อเน่ือง
เนอื่ งจากตดิ ภารกจิ ส่วนตวั และต้องประกอบอาชพี

2.7 ด้านข้อเสนอแนะ
2.7.1 ภาคตะวันออก อยากให้มีการต่อยอดการเรียนภาษาอังกฤษในชุมชน ขยายผล

ให้กับคนในชุมชนมากขึ้น อยากให้มีการเรียนต่อเนื่อง และให้มีการฝึกการใช้ภาษาอังกฤษจาก
สถานการณ์จริง อยากให้มีหลักสูตรสอนภาษาอังกฤษอืน่ ๆ เพมิ่ อีก

2.7.2 ภาคกลาง อยากให้มีการต่อยอดการเรียนภาษาอังกฤษในชุมชน ขยายผลให้กับคน
ในชมุ ชนมากขึน้ อยากให้มีการเรยี นตอ่ เนื่อง ตอ้ งการใหล้ ดเวลาเรยี นต่อวันลงมาจาก 5 ชั่วโมง เหลือ
3 ชวั่ โมง แต่ขยายวันเรียนเพิ่มข้ึนเพ่ือแก้ปัญหาให้กับกลุ่มผู้เรียนได้มาเรียน อยากให้มีหลักสูตรสอน
ภาษาอังกฤษอื่นๆ เพิ่มอีก เช่น ภาษาจีนเพราะมีนักท่องเท่ียวชาวจีนเข้ามาท่องเที่ยวมาก แต่
ประชาชนในพนื้ ทีช่ มุ ชนไม่สามารถ สื่อสารกับนักทอ่ งเทยี่ วได้ และเปดิ สอนวิชามัคคุเทศก์น้อย เพื่อให้
คนในชุมชนทเ่ี รยี นสามารถนาความรไู้ ปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ใช้ในการแนะนาสถานที่ท่องเท่ียวในชุมชน
ของตนเอง

2.7.3 ภาคเหนือ อยากให้มีการฝึกปฏิบัติในสถานการณ์และสถานที่จริง (ภาษาอังกฤษ
เพื่อการสื่อสารด้านอาชีพพนักงานบริการท่ีพัก/แม่บ้าน - ทุ่งเสลี่ยม) ควรมีการอบรมให้กลุ่ม
อาสาสมัครนาเที่ยวรุ่นใหม่ เพ่ิมข้ึน (ภาษาอังกฤษเพ่ือการท่องเที่ยวและบริการ - ทับคล้อ) และควร
อบรมเพ่อื ทบทวนความรูใ้ ห้ผู้เข้าอบรมเดิม เพ่ิมเติมศัพท์ใหม่ ๆ อย่างต่อเน่ือง อยากให้มีการต่อยอด
การเรียนภาษาอังกฤษในชุมชน ขยายผลให้กบั คนในชุมชนมากขน้ึ

2.7.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอ้ งการให้มีการต่อยอดการเรียนภาษาอังกฤษในชุมชน
ยา่ งตอ่ เนือ่ งเพอื่ เป็นการพัฒนาให้เป็นรูปธรรม มีการจัดกิจกรรมในแต่ละตาบลเพื่อสะดวกในการเดิน
ทางเข้าร่วมกิจกรรม ต้องการวิทยากรชาวต่างชาติเพื่อเรียนรู้ภาษา และกล้าท่ีจะสื่อสารกับ
ชาวต่างชาติโดยตรง ผู้เรียนได้ศกึ ษาดูงานนอกสถานท่ีและฝึกการใช้ภาษาอังกฤษจากสถานการณ์จริง
และต้องการให้มีหลักสูตรภาษาอ่ืน ๆ เพิ่มเติม นอกเหนือจากภาษาอังกฤษ เช่น จีน เป็นต้น เพื่อให้
สอดคล้องกบั บรบิ ทของชุมชนแต่ละชมุ ชน

2.7.5 ภาคใต้ ควรมกี ารจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสม เพียงพอ แก้ไขระเบียบให้เอ้ือต่อ
การจัดอบรม โดยเฉพาะค่าตอบแทนวิทยากร ควรกาหนดคุณสมบัติของกลุ่มเปูาหมายท่ีเข้ารับการ

87

อบรมให้มีความชัดเจน การจัดกิจกรรม/โครงการท่ีเปิดสอนภาษาอ่ืนๆ ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและ
บริบทของพื้นที่ เช่น ภาษาพม่า ภาษาจีน ภาษายาวี หลักสูตรภาษาอังกฤษท่ีเป็นหลักสูตรกลาง
สถานศึกษาสามารถนามาปรับใช้ได้ การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษควรมีการต่อเน่ืองหรือมี
ระดับการเรียนต่อเนื่องกันเป็นระยะ สานักงาน กศน. ควรสนับสนุนส่ือท่ีหลากหลายและทันสมัยใน
การจัดการเรียนการสอน การหาสถานท่ีจัดการเรียนการสอนควรเป็นสถานที่ท่ีมีการคมนาคมสะดวก
อยากให้มีการต่อยอดการเรียนภาษาอังกฤษในชุมชน ขยายผลให้กับคนในชุมชนมากขึ้น อยากให้มี
การเรียนต่อเน่ือง และให้มีการฝึกการใช้ภาษาอังกฤษจากสถานการณ์จริง อยากให้มีหลักสูตรสอน
ภาษาองั กฤษอน่ื ๆ เพิ่มอีก

จากประเด็นดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีข้อเสนอแนะในการ
ดาเนนิ งานโครงการภาษาองั กฤษเพือ่ การสอ่ื สารดา้ นอาชีพของสถานศึกษา ดงั น้ี

1. ควรมกี ารจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสมและเพียงพอ
2. ควรมกี ารทบทวนความรู้ให้ผูเ้ ข้าอบรมเดิม เพ่ิมเตมิ ศพั ท์ใหม่ ๆ อย่างต่อเน่ือง รวมท้ังมี
การต่อยอดการเรยี นภาษาองั กฤษในชมุ ชนและขยายผลให้กับคนในชมุ ชนมากขึ้น
3. ควรมีการจัดกิจกรรมการศึกษาดูงานนอกสถานที่ ฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาอังกฤษใน
สถานการณแ์ ละสถานท่ีจรงิ
4. ควรลดเวลาเรียนตอ่ วนั ลงมาจาก 5 ช่ัวโมง เหลือ 3 ชั่วโมง แต่ให้ขยายวันเรียนเพิ่มข้ึน
เพ่อื แก้ปัญหาใหก้ บั กลุม่ ผู้เรยี นได้มาเรียน
5. ควรมีหลักสูตรอบรมภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาจีน ภาษาพม่า ภาษายาวี เป็นต้น เพื่อให้
สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของชมุ ชนแตล่ ะชุมชน
6. ควรจดั กิจกรรมในแต่ละตาบลเพือ่ สะดวกในการเดินทางเข้าร่วมกิจกรรม
7. ควรสนับสนุนวิทยากรชาวต่างชาตเิ พือ่ จะได้เรียนร้ภู าษาอังกฤษจากเจ้าของภาษา และ
ให้ผเู้ ขา้ อบรมกลา้ ท่ีจะสือ่ สารกับชาวตา่ งชาติโดยตรง
8. ควรสนบั สนุนสอื่ การเรยี นรู้ทห่ี ลากหลายและทนั สมัยในการจดั การฝกึ อบรม

ตัวอยา่ งการสัมภาษณผ์ ู้เข้ารว่ มการอบรม
ผู้เข้ารว่ มการอบรมทป่ี ระสบความสาเรจ็ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาอาชีพและใช้ใน

ชีวิตประจาวันของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองตรัง สานักงาน
กศน. จงั หวดั ตรงั มีดงั น้ี (ละออง ภู่กลาง และรานี น้อยสกลุ , 2562)

1. คุณพรองค์อินทร์ ธาระธนผล อาชีพดีเจ/สมาคมส่ือมวลชนเพ่ือการ
ท่องเที่ยว ได้ผ่านการอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพพนักงาน
ขายสินค้า จานวน 40 ช่ัวโมง ณ กศน.อาเภอเมืองตรัง เนื้อหาสาหรับ
พนักงานขายสินค้า กลุ่มผู้มีอาชีพค้าขาย ท้ังขายหน้าร้านและขายของ
ออนไลน์ ซึง่ เมอื่ ผา่ นการอบรมสามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ในการ

88

ประกอบอาชีพและดาเนินชีวิตประจาวันทาให้เรียนรู้
การใช้ภาษาอังกฤษในการขายและการดูแลบริการ
ลูกค้า ซึ่งคุณพรองค์อินทร์ กล่าวว่า “การพยายามที่
จะเข้าใจภาษาอ่ืนนอกเหนือไปจากภาษาหลักของเรา
จะทาให้เราอยใู่ นจุดท่ีง่ายต่อการคน้ พบตัวเอง และสิ่ง
ที่เราชอบจริง ๆ เม่ือเราเปิดใจต่อวัฒนธรรมอื่น และตั้งใจเรียนรู้จนประสบความสาเร็จ จะทาให้เรา
รสู้ ึกดกี บั ตัวเองมากขึ้น งา่ ยข้ึน เกิดแรงบันดาลใจ และมเี ปา้ หมาย นอกจากน้ี การมีทักษะด้านภาษาท่ี
ดี โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ก็จะทาให้เรารู้สึกม่ันใจมากขึ้น ในการเข้าสังคม ดังนั้น อย่ากลัว อย่าอาย
จนไมก่ ลา้ ลงมือทาอะไรใหม่ ๆ เพราะบทเรียนทเ่ี ราได้จากความผิดพลาดคือ ส่ิงท่ีสอนให้เราพัฒนาขึ้น
หากไมล่ องแลว้ จะรไู้ ดอ้ ยา่ งไรวา่ ส่งิ เหลา่ นน้ั ผดิ หรือถกู การเรียนภาษาอังกฤษกเ็ ชน่ เดียวกนั ”

2. คุณปาริชาติ วงศ์วิวัฒน์ อาชีพธุรกิจร้านปักผ้า/ขายสินค้าแฮนด์เมด ได้ผ่านการอบรม
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพพนักงานขายสินค้า จานวน 40 ชั่วโมง ณ กศน.อาเภอเมืองตรัง

ซ่ึงคุณปาริชาติ กล่าวถึงการเข้ารับการอบรมครั้งนี้ว่า “เกิดจากหน่ึงใน
ปัญหาของการเรียนภาษาอังกฤษท่ีเคยเกิดขึ้นกับตัวเองคือ ไม่สามารถ
นามาใช้ส่ือสารได้ในชีวิตจริง และปฏิเสธไม่ได้เลยว่าภาษาอังกฤษเข้ามา
เป็นส่วนหน่ึงในชีวิตประจาวัน ไม่ว่าจะด้านการทางาน หรือแม้แต่การ
ท่องเท่ียว หลังจากตระหนักถึงความสาคัญในจุดน้ี จึงได้พยายามฝึก
ภาษาองั กฤษ ลองมาหลายวิธกี ไ็ มไ่ ด้ผล จึงตัดสินใจไปเรียนภาษาที่ กศน.
อาเภอเมืองตรัง บรรยากาศในห้องเรียนนั้นเป็นไปด้วยความสนุกสนาน
เฮฮา แต่อัดแนน่ ไปดว้ ยความรู้ คุณครแู ตล่ ะคนมีวิธีการสอนที่แปลกใหม่ในแบบของตัวเองผ่านกิจกรรม
กลุ่ม คู่ หรือเด่ียว ทาให้ผู้เรียนไม่รู้สึกเครียด จึงสามารถซึมซับสิ่งที่เรียนได้อย่างเต็มท่ี ไม่ใช่แค่การ
ทอ่ งจาเพื่อนาไปสอบ แต่สามารถนาไปใชไ้ ด้จริงนอกห้องเรยี น”

ส่วนที่ 3 การประเมินผลการดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ไดน้ าเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู แบง่ เปน็ 3 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 สถานภาพผตู้ อบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 การดาเนนิ งานโครงการภาษาองั กฤษเพือ่ การส่อื สารด้านอาชีพ
ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือ
การสื่อสารดา้ นอาชีพ
ซ่ึงมรี ายละเอียดดังนี้

89

ตอนที่ 1 สถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นการนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพผู้ตอบ

แบบสอบถาม ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลสามารถสรปุ ไดด้ ังตารางท่ี 4.27

ตารางที่ 4.27 สถานภาพผ้ตู อบแบบสอบถาม

สถานภาพ จานวน (คน) รอ้ ยละ

1. เพศ

1.1 ชาย 263 24.60

1.2 หญงิ 806 75.40

รวม 1,069 100.00

2. อายุ

2.1 น้อยกว่าหรือเท่ากบั 30 ปี 54 5.10

2.2 31-40 ปี 309 28.90

2.3 41-50 ปี 368 34.40

2.4 50 ปขี ึน้ ไป 338 31.60

รวม 1,069 100.00

3. ตาแหนง่ ปัจจุบัน

3.1 ผู้บริหารสถานศึกษา 317 29.70

3.2 ครู 737 68.90

3.3 อ่นื ๆ 15 1.40

รวม 1,069 100.0

4. ระดบั การศกึ ษา

4.1 ปรญิ ญาตรี 649 60.70

4.2 ปรญิ ญาโท 412 38.50

4.3 ปริญญาเอก 6 0.60

4.4 อ่ืน ๆ 2 0.20

รวม 1,069 100.00

5. ระยะเวลาการปฏิบัตงิ านในสถานศกึ ษา

5.1 น้อยกวา่ หรอื เท่ากบั 10 ปี 427 39.90

5.2 11-15 ปี 223 20.90

5.3 16-20 ปี 148 13.80

5.4 20 ปีขน้ึ ไป 271 25.40

รวม 1,069 100.00

90

จากตารางที่ 4.27 สถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมด จานวน
1,069 คน (ร้อยละ 100.00) ส่วนมากเป็นเพศหญิง จานวน 806 คน (ร้อยละ 75.40) โดยส่วนมากมี
อายุระหว่าง 41-50 ปี จานวน 368 คน (ร้อยละ 34.40) ตาแหน่งครู จานวน 737 คน (ร้อยละ
68.90) ทงั้ นี้ มีระดบั การศึกษาในระดบั ปริญญาตรี จานวน 649 คน (ร้อยละ 60.70) และมีระยะเวลา
การปฏิบตั งิ านในสถานศกึ ษาน้อยกว่าหรือเทา่ กบั 10 ปี จานวน 427 คน (รอ้ ยละ 39.90)

ตอนท่ี 2 การดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ เป็นการนาเสนอ

ข้อมูลเก่ียวกับการดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

สามารถสรปุ ได้ดงั ตารางท่ี 4.28

ตารางที่ 4.28 การดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพ่อื การสือ่ สารด้านอาชีพ

ลาดบั การดาเนนิ งานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร ระดบั การปฏบิ ตั ิ

ที่ ด้านอาชีพ ̅ S.D. แปลผล
1. สถานศึกษามีการสารวจความต้องการการเรียนรู้ของ 4.25 0.67 มาก

กลุ่มเปูาหมาย เพ่ือนามากาหนดขอบเขตเนื้อหาการเรียนรู้

และจดั ทาหลกั สตู รการอบรมของแตล่ ะอาชีพให้เหมาะสม

ในแตล่ ะบริบทของพื้นท่ี

2. สถานศึกษามีการวางแผนการดาเนินงานโครงการร่วมกับ 4.33 0.67 มาก

ภาคเี ครอื ขา่ ย

3. สถานศึกษาได้รับการจัดสรรงบประมาณในการดาเนินงาน 4.31 0.74 มาก

โครงการอย่างเพียงพอต่อการจดั อบรมโครงการ/กิจกรรม

4. สถานศึกษามีการจัดทาโครงการอบรมภาษาอังกฤษ 4.40 0.73 มาก

เพือ่ การสอื่ สารด้านอาชีพ พร้อมหลักสูตรบรรจุในแผนปฏิบัติ

การประจาปขี องสถานศกึ ษา

5. สถานศึกษามีการประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงาน 4.58 0.59 มากทส่ี ดุ

โครงการใหบ้ ุคลากรได้รบั ร้รู ่วมกนั

6. สถานศึกษามีการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการ/โครงการ/ 4.60 0.57 มากที่สุด

กจิ กรรม

7. สถานศึกษามีการประสานเครือข่ายในการดาเนินงาน 4.49 0.60 มาก

โครงการ

8. สถานศึกษามีการประชาสัมพันธ์การอบรมโครงการ/กิจกรรม 4.12 0.72 มาก

ผ่านส่ือต่างๆ ที่ทันสมัยและหลากหลาย เช่น ส่ือออนไลน์

เว็บไซต์ เป็นตน้ ให้กบั ประชาชนในพืน้ ทไ่ี ด้ทราบโดยทว่ั ถึงกนั

9. สถานศึกษามีการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับ 4.30 0.62 มาก

91

ลาดบั การดาเนนิ งานโครงการภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร ระดบั การปฏิบัติ

ท่ี ด้านอาชีพ ̅ S.D. แปลผล

หลักสูตรการอบรม และกล่มุ ผูเ้ ขา้ รว่ มการอบรม

10. สถานศึกษามกี ารจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย 4.25 0.66 มาก

11. สถานศึกษามีการจัดทาสื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสมเพื่อใช้ 4.16 0.67 มาก

ในการจัดอบรมโครงการ/กจิ กรรม

12. สถานศึกษามีการประเมินผลความพึงพอใจ และประเมิน 4.37 0.62 มาก

ตามวตั ถุประสงคข์ องหลักสูตร หลงั การฝกึ อบรม

13. สถานศึกษามกี ารติดตามและประเมนิ ผลโครงการ 4.17 0.70 มาก

14. สถานศึกษามีการนาผลของการประเมินโครงการ ผลการ 4.13 0.70 มาก

นิเทศ กากับ ตดิ ตามผลมาปรบั ปรงุ และพัฒนาการดาเนินงานให้

มปี ระสิทธิภาพ

15. สถานศึกษามีการยกระดับการจัดการเรียนรู้ในการอบรม 4.12 0.68 มาก

โครงการ/กิจกรรมให้มีคุณภาพ โดยนาสภาพปัญหา

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา จากการประเมินโครงการ

ผลการนิเทศกิจกรรม มาสู่การจัดทาโครงการ/กิจกรรม

เพอ่ื การพัฒนาอย่างตอ่ เน่ือง

รวม 4.30 0.66 มาก

จากตารางที่ 4.28 การดาเนินงานโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ พบว่า
ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅= 4.30, S.D. = 0.66) ข้อที่มีค่าเฉล่ียสูงสุดและอยู่ในระดับมากที่สุด
คือ สถานศึกษามีการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการ/โครงการ/กิจกรรม ( ̅= 4.60, S.D. = 0.57)
รองลงมา คือ สถานศึกษามีการประชุมช้ีแจงแนวทางการดาเนินงานโครงการให้บุคลากรได้รับรู้
ร่วมกัน ( ̅= 4.58, S.D. = 0.59) และข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าท่ีสุดและอยู่ในระดับมาก คือ สถานศึกษามี
การยกระดับการจัดการเรียนรู้ในการอบรมโครงการ/กิจกรรมให้มีคุณภาพ โดยนาสภาพปัญหา
ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนา จากการประเมินโครงการผลการนิเทศกิจกรรม มาสู่การจัดทาโครงการ/
กิจกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ( ̅= 4.12, S.D. = 0.68) และสถานศึกษามีการประชาสัมพันธ์
การอบรมโครงการ/กิจกรรมผ่านสื่อต่าง ๆ ที่ทันสมัยและหลากหลาย เช่น ส่ือออนไลน์ เว็บไซต์ เป็น
ตน้ ให้กับประชาชนในพ้นื ท่ไี ด้ทราบโดยทัว่ ถงึ กัน ( ̅= 4.12, S.D. = 0.72)


Click to View FlipBook Version