คานา
รายงานผลการปฏิบัติงานเล่มนี้ ข้าพเจ้าได้จัดทาขึ้นเพื่อใชเ้ ป็นข้อมูลในการประเมิน
มาตรฐานนักทรพั ยากรบุคคล : Talent Trainer ซงึ่ เปน็ มาตรฐานทป่ี ระเมนิ ในระดับบุคคล จากบุคคล
เปา้ หมายการประเมิน ประกอบด้วย ผู้ปฏิบัติหน้าท่ีนักทรพั ยากรบุคคล และนักวชิ าการพัฒนาชุมชน
ทกุ คนของศูนยศ์ ึกษาและพฒั นาชุมชน 11 ศูนย์ และกลุม่ งาน/ฝา่ ย สถาบันการพัฒนาชุมชน นั้น
ในเน้ือหารายละเอียดจะประกอบด้วย ตัวบ่งช้ี เกณฑ์ เครอ่ ื งมือ/หลักฐาน โดยเปน็ ไป
ตามเน้ือหา ๓ ด้าน ดังน้ี 1. ด้านปฏิบัติการ (คะแนน 10 คะแนน) 1.1 ศึกษาข้อมูล ความรู้ งานวจิ ยั
หรอื แนวทางเก่ียวกับการบรหิ ารและการพัฒนาทรพั ยากรบุคคล หรอื ความรูท้ ี่เกี่ยวข้องกับงานตาม
บทบาทหน้าที่ (คะแนน 5 คะแนน) 1.2 ส่งเสรมิ สนับสนุน งานเกี่ยวกับการสรา้ งการรบั รูแ้ ละสรา้ ง
ความเข้าใจให้กับประชาชน(คะแนน 3 คะแนน) 1.3 ศึกษา วเิ คราะห์ ปญั หา ความต้องการและความ
จาเปน็ ในการพัฒนาทรพั ยากรบุคคล หรอื งานในบทบาทหน้าทคี่ วามรบั ผิดชอบ เพื่อหาแนวทางการ
ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม(คะแนน 2 คะแนน) 2. ด้านการวางแผน(คะแนน 10
คะแนน) 2.1 การวางแผนเพื่อบรหิ ารความเส่ียงทีอ่ าจเกิดขึ้นจากการทางาน(คะแนน 5 คะแนน) 2.2
กาหนดแผนพฒั นาตนเองและสามารถดาเนินการตามแผนให้สอดคล้องกับภารกิจ หน้าท่ี (คะแนน 5
คะแนน) 3. ด้านการประสานงาน (คะแนน 10 คะแนน) 3.1 การประสานความรว่ มมือ (คะแนน 10
คะแนน) 4. ด้านการบรกิ าร (คะแนน 10 คะแนน) 4.1 การให้คาปรกึ ษา (คะแนน 2 คะแนน) 4. 2 การ
จดั ทาองค์ความรู้ เอกสาร ตารา คู่มือ สื่อ เอกสารสรุปรายงานผล เอกสารเผยแพร่ (คะแนน 3
คะแนน) 4.3 การบรหิ ารจดั การงานตามภารกิจ/บทบาทหน้าที่ (คะแนน 5 คะแนน) โดยมีเกณฑ์การ
ประเมินมาตรฐานฯ มาตรฐานนักทรพั ยากรบุคคล : Talent Trainer คะแนนเต็ม 40 คะแนน และ
การผ่านเกณฑ์มาตรฐานจะต้องได้คะแนนไม่ต่ากว่ารอ้ ยละ 60 (คะแนน 24 คะแนน)
ข้าพเจ้าหวังเป็นย่ิงว่ารายงานผลการปฏิบัติงานเล่มน้ี จะได้รับการตรวจผลการ
ประเมินผล ในระดับทด่ี ีได้ ต่อไป
สุวรรณ มัควรรณ
พฤษภาคม 2565
สารบัญ
หน้า
1. ด้านปฏิบัติการ (คะแนน 10 คะแนน) 1
1.1 ศึกษาข้อมูล ความรู้ งานวจิ ยั หรอื แนวทางเก่ียวกับการบรหิ ารและการพฒั นา
ทรพั ยากรบุคคล หรอื ความรูท้ เี่ กี่ยวขอ้ งกับงานตามบทบาทหน้าที่
1.2 ส่งเสรมิ สนบั สนุน งานเก่ียวกับการสรา้ งการรบั รแู้ ละสรา้ งความเขา้ ใจให้กับ
ประชาชน
1.3 ศึกษา วเิ คราะห์ ปญั หา ความต้องการและความจาเป็นในการพฒั นา
ทรพั ยากรบุคคล หรอื งานในบทบาทหน้าท่คี วามรบั ผิดชอบ
๒. ด้านการวางแผน (คะแนน 10 คะแนน) ๑๑
2.1 การวางแผนเพื่อบรหิ ารความเสี่ยงทอี่ าจเกิดขึน้ จากการทางาน
2.2 กาหนดแผนพฒั นาตนเองและสามารถดาเนินการตามแผนให้สอดคล้อง
กับภารกิจ หน้าที่
๓. ด้านการประสานงาน (คะแนน 10 คะแนน) ๕๘
3.1 การประสานความรว่ มมือ
๔. ด้านการบรกิ าร (คะแนน 10 คะแนน) ๖๖
4.1 การให้คาปรกึ ษา
4.2 การจดั ทาองค์ความรู้ เอกสาร ตารา คู่มือ ส่ือ เอกสารสรปุ รายงานผล เอกสาร
เผยแพร่
4.3 การบรหิ ารจดั การงานตามภารกิจ/บทบาทหน้าท่ี
1
มาตรฐานนักทรพั ยากรบคุ คล (Talent Trainer)
มาตรฐานนักทรัพยากรบุคคล : Talent Trainer เป็นมาตรฐานที่ประเมินในระดับบุคคล บุคคล
เป้าหมายการประเมิน ประกอบด้วย ผู้ปฏิบัติหน้าท่ีนักทรัพยากรบุคคล และนักวิชาการพัฒนาชุมชนทุกคน
ของศนู ยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชน 11 ศูนย์ และกล่มุ งาน/ฝ่าย สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน
ตัวบ่งชี้ เกณฑ์ เครื่องมือ/หลักฐาน
1. ด้านปฏบิ ตั ิการ (คะแนน 10 คะแนน)
1.1 ศึกษาข้อมูล ความรู้ 1. ศกึ ษาขอ้ มลู ความรู้และแนวทาง - เอกสารหลักฐานความรู้และแนวทางท่ี
งานวจิ ัย หรือ แนวทาง ท่เี กย่ี วข้อง กบั การพฒั นาทรัพยากร เกยี่ วข้องกบั การพัฒนาทรพั ยากรบุคคลการเข้า
เกย่ี วกับการบริหารและการ บุคคลหรอื ร่วมกิจกรรมในรูปแบบเอกสาร คมู่ อื สอ่ื
พัฒนาทรัพยากรบุคคล หรอื งานในบทบาทหน้าท่ี ผา่ นการเรยี นรู้ ออนไลน์ อบรม สัมมนา เช่น ภาพถ่าย เกยี รติ
ความรู้ทเ่ี กยี่ วข้องกบั งาน ในรปู แบบเอกสาร คูม่ ือ สอื่ รูปแบบ บัตร แบบตอบรบั การเข้าอบรม แบบสรุปองค์
ตามบทบาทหนา้ ท่ี ออนไลน์ การอบรม ความรู้ ฯลฯ อยา่ งน้อย 3 เรอ่ื ง
(คะแนน 5 คะแนน) หรือ การสัมมนา อยา่ งน้อย 3 เรอ่ื ง - เอกสารหลักฐานทแี่ สดงใหเ้ หน็ ถงึ การจดั
2. จัดเก็บความรู้ที่ได้เป็นหมวดหมู่ หมวดหมู่ความรู้ เชน่ ภาพถา่ ย ตวั อยา่ ง
สามารถนามาประยุกตใ์ ชไ้ ด้ในการ เอกสาร ชุดความรู้ คู่มือ
ทางาน - เอกสารหลักฐานทแ่ี สดงใหเ้ ห็นถึงการ
3. มีการถ่ายทอด เผยแพร่ความรู้ให้ ถา่ ยทอดความรู้ให้กบั ผูอ้ ืน่ เช่น ภาพถ่าย การ
ผู้อนื่ สามารถนาไปปรับใช้ไดอ้ ย่าง ถอดบทเรยี น เอกสาร ส่ือออนไลน์ ฯลฯ
เหมาะสม ทง้ั ในรูปแบบออนไลน์และ
ออฟไลน์
๑. จดั ทำ แนวทำงกำรพฒั นำบุคลำกรกรมกำรพฒั นำชุมชน โดยกำรศึกษำด้วยตนเอง ปี
๒๕๖๕ ด้วยกำรเรยี น E-learning ก.พ. และ TDGA
กรมกำรพัฒนำชุมชน กำหนดแนวทำงกำรพัฒนำทักษะด้ำนดิจทิ ัลของข้ำรำชกำรและบุคลำกรภำครฐั เพ่ือกำร
ปรบั เปล่ียนเป็นรฐั บำลดิจทิ ัล ตำมที่คณะรฐั มนตรเี ห็นชอบในหลักกำรรำ่ งแนวทำง กำรพัฒนำทักษะด้ำนดิจทิ ัลของ
ข้ำรำชกำรและบุคลำกรภำครฐั เพ่ือกำรปรบั เปล่ียนเป็นรฐั บำลดิจิทัล ตำมท่ีสำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพล
เรอื น (สำนักงำน ก.พ.) เสนอ โดยพิจำรณำกำหนดทักษะด้ำนดิจทิ ลั สำหรบั ข้ำรำชกำรและบุคลำกรภำครฐั กลุ่มต่ำง ๆ
6 กลุ่ม ได้แก่ ผู้บรหิ ำรระดับสูง ผู้อำนวยกำรกอง ผู้ปฏิบัติงำนด้ำนนโยบำยและวชิ ำกำร ผู้ปฏิ บัติงำนด้ำนบรกิ ำร
ผู้ปฏิบัติงำนด้ำนเทคโนโลยีดิจิทัล และ ผู้ปฏิบัติงำนอื่น ซึ่งปฏิบัติงำนในหน่วยงำนภำครฐั และกำรปรบั เปล่ียน
องค์กรไปสู่กำรเป็นรฐั บำลดิจทิ ัล เป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะเรม่ ิ แรก (Early) ระยะกำลังพัฒนำ (Developing) และ
ระยะสมบูรณ์ (Mature)
เพื่อให้กำรดำเนินกำรเปน็ ไปด้วยควำมเรยี บรอ้ ย กรมกำรพัฒนำชุมชน จงึ ขอให้จงั หวดั มอบหมำยสำนักงำน
พัฒนำชุมชนจงั หวดั ดำเนินกำรดังน้ี
2
1. กำรประเมินทักษะด้ำนดิจทิ ลั ของบุคลำกร ผ่ำนระบบกำรประเมิน ดังนี้
1.1 กลุ่มเปำ้ หมำยระยะท่ี 1 กำหนดให้ข้ำรำชกำรสังกัดกล่มุ งำนสำรสนเทศกำรพฒั นำชุมชน ทกุ ระดับ ของ
สำนักงำนพัฒนำชุมชนจงั หวดั ดำเนินกำรประเมินตนเอง ระหวำ่ งวันท่ี 1 - 31 มกรำคม 2565
1.2 กลุ่มเปำ้ หมำยระยะที่ 2 กำหนดให้ข้ำรำชกำรในสังกัดกรมกำรพัฒนำชุมชนทกุ คน นอกเหนือจำก
กลุ่มเป้ำหมำยตำมข้อ 1.1 ดำเนินกำรประเมินตนเอง ระหวำ่ งวันที่ 1 – 28 กุมภำพันธ์ 2565
1.3 ชอ่ งทำงกำรประเมินทกั ษะด้ำนดิจทิ ลั สำมำรถเข้ำประเมินผ่ำนเวบ็ เบรำวเ์ ซอร์ ของสถำบันคุณวฒุ ิ
วชิ ำชพี (องค์กำรมหำชน) http://dg-sa.tpqi.go.th
1.4 ให้ผู้เข้ำรบั กำรประเมินดผู ลกำรประเมินของตนเองจำกระบบและใชผ้ ลกำรประเมิน ในกำรเลือกรำยกำร
หลักสูตรที่เหมำะสมในกำรพฒั นำตนเอง
2. กำรส่งเสรมิ ให้บุคลำกรในสังกัดดำเนินกำรพัฒนำตนเองผ่ำนระบบกำรเรยี นรทู้ ำงไกล(E-learning) ดังนี้
2.1 ระบบศูนยก์ ำรเรยี นรทู้ ำงส่ืออิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณำกำร ของสำนักงำน ก.พ.
(Link : https://learningportal.ocsc.go.th/learningportal)
2.2 ระบบกำรพัฒนำทกั ษะด้ำนดิจทิ ลั ของข้ำรำชกำรและบคุ ลำกรภำครฐั เพื่อกำรปรบั เปลี่ยนเป็นรฐั บำล
ดิจทิ ลั (TDGA E - learning) ของสถำบันพฒั นำบุคลำกรภำครฐั ด้ำนดิจทิ ลั (TDGA)
(Link : https://tdga.dga.or.th/index.php/th/)
3. กรมกำรพัฒนำชุมชน จดั ทำแนวทำงกำรพัฒนำบุคลำกรผ่ำนระบบกำรเรยี นรทู้ ำงไกล กรมกำรพัฒนำชุมชน ปี
2565 ด้วยกำรเรยี น E - Learning ของสำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรอื น (สำนักงำน ก.พ.) และ E -
Learning ของสำนักงำนพัฒนำรฐั บำลดิจทิ ลั (องค์กำรมหำชน) (TDGA) ซง่ึ มีรำยละเอียดกำรจำแนกบุคลำกรตำม
กลุ่มกำรพัฒนำ กำรกำหนดรำยวชิ ำพัฒนำตนเองแยกตำมตำแหน่ง กำรเข้ำสู่ระบบกำรประเมินทกั ษะด้ำนดิจทิ ลั กำร
เข้ำสู่บทเรยี นออนไลน์ ตลอดจนกำรรบั ใบประกำศนียบตั รแบบออนไลน์ เม่ือจบหลกั สูตรแล้ว เพื่อให้บุคลำกรใชเ้ ป็น
แนวทำงในกำรพัฒนำตนเอง โดยดำวน์โหลดแนวทำงได้ตำม QR Code ด้ำนล่ำงนี้
แนวทำงกำรพัฒนำบุคลำกรฯ
3
4
๒. กำรฝกี อบรม PMAT หลกั สูตร “กลยุทธก์ ำรพัฒนำบุคลำกรในยุค Digital”
เพอ่ื พฒั นำกระบวนกำรสรำ้ งหลกั สูตร ด้วย หลกั กำรออกแบบของ ADDIE model
5
๓. จดั ทำค่มู ือ แนวทำงกำรทำ E-book พรอ้ มขึ้น bookcase ด้วยโปรแกรม Anyflip
ถ่ายทอด เผยแพร่ความรู้ให้บุคลากรสถาบนั การพัฒนาชุมชน สามารถนาไปปรบั ใช้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ลิงค์ :E-book
https://anyflip.com/ertxl/uwwg/
6
๔. จดั ทำหลักสูตร : เปน็ ค่มู ือกำรฝึกอบรมแบบออนไลน์ อบรมแกนนำขับเคลือ่ นหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง
เพอ่ื ใชฝ้ กึ อบรมแกนนำขับเคลื่อนหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพยี ง ในกำรพฒั นำวถิ ีชวี ติ สู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง
๕.จดั ทำหลักสูตร :เปน็ ค่มู ือวทิ ยำกรฝึกอบรมแบบออนไลน์ โครงกำรพัฒนำพืน้ ทต่ี ้นแบบกำรพฒั นำ
คุณภำพชวี ติ ตำมหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นำ โมเดล” (งบเงนิ กู้ฯ)
1.2 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ งาน มีการประยุกต์ใช้สื่อ เทคโนโลยี หรอื เคร่ืองมือ 7
เกี่ยวกับการสรา้ งการรับรู้และ ในการเผยแพร่ข้อมูล หรือความรู้ ใหเ้ กิดประโยชน์ - เอกสารหลักฐานท่ีแสดงถึง
การสร้าง พัฒนาส่ือ เคร่ืองมอื หรอื
สรา้ งความเข้าใจใหก้ บั ต่อประชาชน ท้งั ทางตรงและทางอ้อม ประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยใี ห้เกดิ
ประโยชน์ตอ่ การทางาน
ประชาชน อย่างน้อยปีละ ๓ ช้นิ งาน อย่างน้อยปีละ ๓ ช้ินงาน เชน่
ภาพถา่ ย ชดุ ความรู้ การถอด
(คะแนน 3 คะแนน) บทเรียน เอกสารทางวิชาการ
ตวั อยา่ งสอื่
- เอกสารหลกั ฐานทแ่ี สดงให้เหน็ ว่า
การถา่ ยทอดองค์ความร้เู รือ่ งสือ่ ให้
ผู้อ่ืนสามารถนาไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์
เชน่ ภาพถา่ ย เอกสารทางวชิ าการ
การประชาสัมพันธ์ทั้งในรปู แบบ
ออนไลน์ ออฟไลน์ ฯลฯ
๑. กำรจดั ทำ คอรส์ เรยี น กำรพฒั นำหลักกสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง ด้วย E-book
ลิงค์ :E-book
https://anyflip.com/ruxye/twmb/
8
๒.จดั ทำ E-book ค่มู ือกำรฝกึ อบรมแบบออนไลน์ อบรมแกนนำขบั เคล่ือนหมู่บำ้ นเศรษฐกิจพอเพียง
เพอ่ื ใชฝ้ ึกอบรมแกนนำขบั เคลือ่ นหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพยี ง ในกำรพัฒนำวถิ ีชวี ติ สู่ระบบเศรษฐกิจพอเพยี ง
ลิงค์ E-book
https://anyflip.com/ruxye/cagk/
๓.จดั ทำ E-book ค่มู ือวทิ ยำกรฝึกอบรมแบบออนไลน์ โครงกำรพฒั นำพื้นทต่ี ้นแบบกำรพัฒนำคุณภำพ
ชวี ติ ตำมหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นำ โมเดล” (งบเงนิ ก้ฯู )
ลิงค์ E-book
https://anyflip.com/ruxye/yxmg/
9
๔.จดั ทำหลักสูตร “ไฟ” ๖ มิติมหัศจรรย์ สู่วถิ ีศรแี สงธรรม (วัดปำ่ ศรแี สงธรรม จ.อุบลรำชธำนี)
10
ตวั บง่ ช้ี เกณฑ์ เครอื่ งมอื /หลักฐาน
1. ดา้ นปฏบิ ตั กิ าร (ตอ่ )
1.3 ศึกษา วเิ คราะห์ ปญั หา 1. ศึกษา วเิ คราะห์ ดาเนินการเกย่ี วกบั ข้อมลู - เอกสารหลกั ฐานที่แสดงถงึ ตัวอยา่ ง
ความตอ้ งการและความ สารสนเทศ เพ่ือวเิ คราะห์ความตอ้ งการและความ ของข้อมลู สารสนเทศท่นี ามาใชใ้ น
จาเปน็ ในการพฒั นาทรัพยากร จาเปน็ ของผู้รบั บริการ/กลุ่มเป้าหมาย (ศพช./วพช.) การวเิ คราะห์หาความต้องการและ
บคุ คล หรอื งานในบทบาท และงานในบทบาทหนา้ ที่ (กลุม่ งานฯ/ฝา่ ย สพช.) ความจาเป็นของผ้รู บั บรกิ าร/
หน้าท่ีความรบั ผิดชอบ เพอ่ื 2. มแี นวทางการพฒั นาหรือแกไ้ ขปัญหา เพื่อ กลุ่มเป้าหมาย เช่น ผลสรปุ แบบ
หาแนวทางการป้องกนั และ ตอบสนองความต้องการและความจาเป็นของ ประเมนิ ความตอ้ งการความพึงพอใจ
แกไ้ ขปัญหาได้อยา่ งเหมาะสม ผู้รบั บรกิ าร/กลมุ่ เป้าหมาย และงานในบทบาทหนา้ ที่ ของผรู้ ับบรกิ าร การถอดบทเรียน
(คะแนน 2 คะแนน) ฐานข้อมูลบุคลากร ฐานข้อมูลตาม
ภารกิจงาน ฯลฯ
- เอกสารหลกั ฐานแนวทางการ
พฒั นาหรือแกไ้ ขปญั หา
- ภาพถ่ายทเี่ ก่ยี วข้อง
-สรปุ ผลกำรประเมินทกั ษะด้ำนดิจทิ ัลของข้ำรำชกำรและบุคลำกรภำครฐั เพอ่ื กำรปรบั เปลีย่ นเปน็ รฐั บำลดิจทิ ลั
๑. เพือ่ ศกึ ษา วเิ คราะห์ ดาเนินการเกีย่ วกบั ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อวเิ คราะห์ความตอ้ งการและความจาเปน็ ของ
ผู้รบั บรกิ าร/กล่มุ เปา้ หมาย
๒. เพือ่ ไดท้ ราบและหาแนวทางการพฒั นาหรือแก้ไขปัญหา เพอื่ ตอบสนองความต้องการและความจาเป็นของ
ผู้รบั บริการ/กลุ่มเป้าหมาย และงานในบทบาทหน้าท่ี
11
https://docs.google.com/spreadsheets/d/1SaOFMTXAQVt9aK0BCWlOyA-bssIfYs_-/edit?usp=sharing&ouid=116034945827525704411&rtpof=true&sd=true
2. ด้านการวางแผน (คะแนน 10 คะแนน)
2.1 การวางแผนเพ่ือบริหาร 1. มกี ารประเมินความเสี่ยงท่ีอาจเกิดข้ึนจากการ - เอกสารหลักฐานตามแบบรายงาน
ความเสี่ยงที่อาจเกิดข้ึนจาก ดาเนินกิจกรรม โครงการ หรือ กระบวนการทางาน การบริหารจดั การความเสย่ี งตาม
ภารกจิ ท่ีไดร้ ับมอบหมาย อย่างนอ้ ย
การทางาน ตามภารกจิ ที่ได้รับมอบหมาย 1 กจิ กรรม
(คะแนน 5 คะแนน) 2. มกี ารกาหนดมาตรการควบคุมหรือผลกระทบที่
อาจจะเกิดขึน้
ได้รบั มอบหมำยในกำรจดั ทำ รำยละเอียด กำรวำงแผนเพือ่ บรหิ ำรควำมเสี่ยงที่อำจเกิดขึ้นได้จำกกำรทำงำน จดั กำร
ควำมรใู้ นงำนพัฒนำชุมชน ปงี บประมำณ พ.ศ. 2565 ของกลุ่มงำนจดั กำรควำมรู้
ดังรำยละเอียดตำมแบบ ด้ำนล่ำงดังนี้
12
แบบรำยงำนกำรจดั เตรยี มข้อมูลโครงกำรสำหรบั นำเสนอต่อคณะทำงำนบรหิ ำรจดั กำรควำมเส่ียง
เพื่อประเมินควำมเส่ียงของโครงกำรทไี่ ด้รบั อนุมัติในชว่ งไตรมำส 1
********************
โจทย์ คำตอบ
1. โครงกำร จดั กำรควำมรงู้ ำนพัฒนำชุมชน ปีงบประมำณ พ.ศ. 2565
2. งบประมำณ 4,052,300 บำท (ส่ีล้ำนห้ำหม่ืนสองพันสำมรอ้ ยบำทถ้วน)
3. วธิ ดี ำเนินโครงกำร ( ) แบบใหม่ ( ) แบบเก่ำ
4. วตั ถปุ ระสงค์ของโครงกำร 1 ส่งเสรมิ บุคลำกรในกำรเปน็ นักจดั กำรควำมรใู้ นงำนพัฒนำชุมชนมืออำชพี
2 เพื่อสรำ้ งเครอื ข่ำยนักจดั กำรควำมรงู้ ำนพัฒนำชุมชน
5 5. ควำมสำคัญของโครงกำร 3 ส่งเสรมิ ให้เกิดกระบวนกำรจดั กำรควำมรู้ และจดั เก็บองค์ควำมรรู้ ะดับพ้ืนที่
4 เพื่อเพ่ิมชอ่ งทำงกำรเรยี นรู้ และพฒั นำคลังควำมรใู้ นกำรพัฒนำชุมชนในรูปแบบ
6. ลักษณะของปญั หำ ออนไลน์
ท่ีเคยเกิดข้ึนกับ
โครงกำรในลักษณะ ( ) ต่อประชำชน ( ) ระดับน้อย ( )ระดับกลำง ( ) ระดับสูง
เดียวกัน
( ) ต่อกรมกำรพัฒนำชุมชน ( ) ระดับน้อย ( )ระดับกลำง ( ) ระดับสูง
1. ระบบทีมงำน (Team Work) ท่มี ีควำมหลำกหลำย อยูต่ ่ำงสังกัดกัน และมีควำม
หลำกหลำยของทศั นคติ ทำให้กำรทำงำนเกิดควำมล่ำชำ้ ไม่เข้ำใจกัน
2. กลุ่มเป้ำหมำยมกี ำรเปลี่ยนแปลง เน่ืองจำกกังวลเรอ่ ื งสถำนกำรณ์กำรแพร่
ระบำดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID-19) ทำให้ภำครฐั ได้มีมำตรกำร
ควบคุมกำรแพรร่ ะบำด จงึ ทำให้กลุ่มเปำ้ หมำย จำเปน็ ต้องให้คนอื่นมำแทน หรอื
มอบคนทอ่ี ยูใ่ กล้หรอื อยู่ในพื้นท/่ี สถำนท่ี ประชุม/อบรม มำแทน ทำให้กำรบรรลุ
เป้ำหมำยตัวชวี้ ัด ยงั ค่อนข้ำงไม่เปน็ ไปตำมแผนของโครงกำรเทำ่ ที่ควร
3. เนื่องจำกเป็นกำรอบรมแบบใหม่ แบบผสมผสำน (blended training) แบบ
onsite และ online ทีมงำนยงั ไม่ค้นุ เคย กับระบบ และบำงพ้ืนที่ มีปัญหำด้ำน
สัญญำณ WiFi ทำให้งำนล่ำชำ้ ไม่เข้ำใจกัน
7. ควำมเสี่ยงท่คี ำดวำ่ สถำนกำรณ์กำรแพรร่ ะบำดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID-19) ยงั มี
จะเกิดขึ้นกับโครงกำรนี้ กำรแพรร่ ะบำดอย่ำงต่อเนื่อง ทำให้ต้องปรบั วธิ กี ำรทำงำน กำรติดต่อประสำนงำน
ในสถำนกำรณ์ปจั จุบนั กัน ต้องแข่งกับเวลำ และต้องทำงำนให้สำเรจ็ โดยเรง่ ด่วนหรอื เรง่ รบี ทำให้
โครงกำรไม่เปน็ ไปตำมเปำ้ หมำยหรอื แผนเท่ำท่คี วรจะเป็น
ชอ่ื ..........................................................................ผู้รำยงำน
(นำยสุวรรณ มัควรรณ)
ตำแหน่ง นกั วชิ ำกำรพัฒนำชุมชนชำนำญกำร
วนั ที่ 7 มกรำคม 2565
13
2.2 กาหนดแผนพัฒนา จดั ทาแผนการพฒั นาตนเองโดยมกี ิจกรรมท่สี รา้ ง - มีเอกสารแผนการพัฒนาตนเอง
ตนเองและสามารถดาเนนิ การ ความท้าทาย แปลกใหม่ และพัฒนางานไดอ้ ย่าง พรอ้ มหลักฐานประกอบ เช่น
ตามแผนให้สอดคล้องกับ สร้างสรรค์ตามบทบาทหน้าท่ี อยา่ งนอ้ ย 70 ชั่วโมง เกยี รตบิ ตั ร ชดุ ความรู้ เอกสารทาง
ภารกิจ หน้าที่ วชิ าการ สรปุ ผลการพัฒนาตนเอง
(คะแนน 5 คะแนน) อยา่ งน้อย 70 ชั่วโมง
๑. กำรฝกี อบรม หลักสูตร “กลยุทธก์ ำรพัฒนำบุคลำกรในยุค Digital” จำนวน ๘ วัน คำนวณตำมหลัก IDP วันละ ๗
ชวั่ โมง รวมนับได้ ๕๖ ชวั่ โมง
14
๒. รว่ มเป็นวทิ ยำกรกำรฝกึ อบรม ฐำนคนรกั ษ์แม่ธรณี (ดิน)และวทิ ยำกรโคก หนอง นำ พัฒนำชุมชน ในกำรอบรม
ข้ำรำชกำรท่ีดีกระทรวงมหำดไทย จำนวน 4 วันๆ ๗ ชวั่ โมง รวม ๒๘ ชวั่ โมง
๑. รนุ่ ๘๖ : ระหวำ่ งวนั ท่ี 6 - 7 เมษำยน ๒๕65 ๒. รนุ่ 87 : ระหวำ่ งวนั ที่ 23 - 24 เมษำยน ๒๕65
15
๒. กำรเรยี น E-learning ของสำนักงำน ก.พ. และ TDGA
ลงทะเบยี นเรยี น จำนวน ๔ วชิ ำ ๆ ละ 3 ชว่ั โมง
๔. เทคโนโลยสี ำรสนเทศในยุคปจั จุบัน ของ TDGA
16
๓. กำรอ่ำนหนงั สือ จำนวน ๑๐ เรอ่ ื ง ๆ ละ 2 ชวั่ โมง รวม ๒๐ ชว่ั โมง
๑. E-Learning ข้ันตอนกำรดำเนินงำนในกำรพัฒนำระบบ E-Learning (Steps for E-Learning Development)
ข้ันตอนกำรดำเนินงำนในกำรพัฒนำระบบ E-Learning
กำรดำเนินงำนพัฒนำระบบกำรเรยี นรู้ E-Learning เรม่ ิ จำกกำรกำหนดข้ันตอนกำรกำหนดกำรทำงำน หน้ำทีค่ วำม
รบั ผิดชอบ รูปแบบในกำรดำเนินงำน และรูปแบบข้อมลู ทจ่ี ะได้ เพ่ือนำไปลงระบบ E-Learning สรปุ ผลกำร
ดำเนินงำนดังนี้
1. แต่งตั้งคณะทำงำนพัฒนำระบบกำรเรยี นรู้ E-Learning มีหน้ำที่วเิ ครำะห์ปัญหำควำมต้องกำรและข้อเสนอ
กำหนดกำรทำงำนด้ำนกำรจดั กำรควำมรใู้ ห้เปน็ ระบบ เน้นควำมรทู้ ี่ใชใ้ นกำรทำงำน ในเบ้ืองต้นคณะทำงำนฯ
ประกอบด้วย ประธำนคณะทำงำน, คณะทำงำน, ทมี ทำงำนระบบกำรเรยี นรู,้ ทีมพัฒนำระบบกำรเรยี นรู้ E-
Learning เป็น เลขำคณะทำงำน โดยคณะทำงำนท่แี ต่งต้ังมีหน้ำทีป่ ระกอบด้วย
- กำหนดนโยบำยในกำรจดั กำรเรยี นรู้ เน้นในส่วน E-Learning
- กำหนดหัวข้อและเรอ่ ื งหลักสูตร ท่ีควรมีเพื่อให้กำรทำงำนเกิดประสิทธภิ ำพดียิง่ ขึ้น
- สนับสนนุ กำรเรยี นรใู้ นองค์กรผ่ำนระบบ E-Learning
- ติดตำมประเมินประสิทธภิ ำพกำรพัฒนำระบบกำรเรยี นรู้ E-Learning และปรบั ปรุงกำรดำเนินงำน
17
2. กำหนดแผนและจดั กำรประชุมคณะทำงำนระบบกำรเรยี นรู้ เพื่อกำหนดวำงแผนกำรทำงำนรว่ มกัน แนะนำ
ตัวแทนของกลมุ่ ให้ทรำบวัตถปุ ระสงค์ขั้นตอนวธิ ปี ฏิบตั ิเปำ้ หมำยในกำรทำงำน และรวบรวมแนวคิดเพ่ือปรบั ปรงุ กำร
ทำงำนรว่ มกัน
3. จดั ทมี ทำงำนจำกตัวแทนทกุ กลุ่มให้รว่ มดำเนินกำร กำหนดตัวแทนที่รบั ผิดชอบและดูแลกำรลงข้อมูลและ
ประสำนงำนระบบขอ้ มูลผู้เข้ำรว่ มกิจกรรม เน้นหน้ำทดี่ ูแลในส่วนทีเ่ ป็นงำนของกลุ่มตัวเองเป็นหลัก กำรมีตัวแทน
กลุ่มจะเป็นศูนย์ประสำนงำนที่ดี งำ่ ยในกำรติดต่อประสำนงำน และกำรติดตำมจดั เก็บข้อมูลทม่ี ีควำมต่อเนื่อง
4. คณะทำงำนระบบกำรเรยี นรู้ กำหนดและออกแบบหลกั สูตรกำรเรยี นรโู้ ดยจดั กลุ่มควำมรทู้ ตี่ ้องใชใ้ นงำนสำนัก
กำหนดรหัสให้กับวชิ ำท่มี ี เพ่ือใชใ้ นกำรบรหิ ำรหลักสูตรและแยกผู้รบั ผิดชอบในแต่ละเรอ่ ื งตำมควำมชำนำญงำน
5. กำหนดทมี โครงกำรพฒั นำระบบกำรเรยี นรู้ E-Learning เพ่ือดูแลงำนเฉพำะมีหน้ำท่ที ำงำนด้ำนเป็นเลขำ
คณะทำงำน และจดั เก็บติดตำมรวบรวมข้อมูลควำมรไู้ ว้ท่เี ดียว รวมทง้ั พัฒนำระบบเทคโนโลยสี ำรสนเทศให้มีควำม
ทันสมัยปลอดภัยและบรหิ ำรจดั กำรข้อมูลนำเสนอ คณะทำงำนระบบกำรเรยี นรู้
6. กำหนดแนวปฏิบตั ิและนโยบำย ในกำรจดั กำรที่จะนำเอกสำรในระบบ E-Learning ข้ึนบนระบบเพ่ือให้สำมำรถ
ใชไ้ ด้งำ่ ยเชน่ เอกสำรกำรบรรยำย ผลกำรศึกษำโครงกำรต่ำงๆ เอกสำรรำยงำนศึกษำทเ่ี ก่ียวกับโครงกำร เป็นต้น
และกำหนดนโยบำยส่งเสรมิ กำรเข้ำมำใชง้ ำนระบบ E-Learning เน้นให้บรกิ ำรดำวน์โหลดผ่ำนเครอื ข่ำย เพื่อลด
ปญั หำกำรจดั พิมพเ์ อกสำรทม่ี ีค่ำใชจ้ ำ่ ยสูงและมีจำนวนจำกัด
7. กำหนดหน้ำท่ีในงำนเรยี นรู้ แนวทำงขั้นตอนกำรดำเนินงำนเพื่อให้ควำมรแู้ ก่ผู้เรยี นโดยประกำศให้ชดั เจนเปน็
มำตรฐำนใชร้ ว่ มกัน และกำหนดผู้ดูแลรบั ผิดชอบจดั กำรระบบ E-Learning
8. สรำ้ งควำมค้นุ เคยให้กับทมี งำนและผู้ใช้ ทนี่ ำเอำระบบเข้ำมำดำเนินกำรโดยพยำยำมนำเสนอให้เห็นประโยชน์ของ
กำรใชง้ ำนระบบข้อดีทมี่ ี, ข้อเสียทเี่ คยมี และควำมแตกต่ำงในด้ำนดีทจี่ ะเกิดในกำรปรบั เปล่ียนกำรดำเนินกำร และมี
แผนกำรดำเนินงำนค่อยปรบั เปลี่ยน กำหนดระยะเวลำกำรทำงำนท่ีชดั เจนและเหมำะสม เพ่ือให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องทมี่ ี
ควำมค้นุ เคยกับกำรทำงำนในระบบเดิม ได้ค่อยปรบั ตัวและสำมำรถทำงำนเข้ำกับระบบใหม่ได้ต่อไป
ทีม่ ำภำพและรวบรวมโดย
-------------------------------------------------
18
1. Link : https://www.ocsc.go.th/digital_skills2
ทกั ษะด้านดิจทิ ลั ของข้าราชการและบุคลากรภาครฐั เพอื่ การปรบั เปลยี่ นเปน็ รฐั บาลดิจทิ ลั ตาม (ว6/2561)
เป้าหมายของทกั ษะด้านดิจทิ ลั ของขา้ ราชการและบุคลากรภาครฐั เพอ่ื การปรบั เปลยี่ นเปน็
รฐั บาลดิจทิ ลั ตาม ว6/2561
คณะรฐั มนตร ีในการประชุมเม่ือวันที่ 26 กันยายน 2560 มีมติเห็นชอบในหลักการ แนวทางการพัฒนา
ทกั ษะด้านดิจทิ ลั ของขา้ ราชการและบุคลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปลย่ี นเป็นรฐั บาลดิจทิ ลั ตามทส่ี านักงาน
ก.พ. เสนอ โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือให้ภาครฐั มีกาลงั คนทมี่ ีทกั ษะด้านดิจทิ ลั ทเ่ี หมาะสมทจ่ี ะเปน็ กลไกขบั
เคล่ือนทสี่ าคัญในการปรบั เปลีย่ นภาครฐั เปน็ รฐั บาลดิจทิ ลั และเพอื่ ให้ขา้ ราชการและบุคลากรภาครฐั
สามารถปรบั ตัวให้เทา่ ทนั กับการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี มีความพรอ้ มทจ่ี ะปฏิบัติงานตามบทบาท
และพฤติกรรมทีค่ าดหวังในบรบิ ทของการปรบั เปลีย่ นเปน็ รฐั บาลดิจทิ ลั และสามารถนาเทคโนโลยีดิจทิ ลั
มาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์สูงสุดได้
ในการนี้ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น (ก.พ.) กาหนดทกั ษะด้านดิจทิ ลั ของข้าราชการ
และบุคลากรภาครฐั ทปี่ ระกอบด้วย ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และคุณลกั ษณะอ่ืน และ
กาหนดให้ข้าราชการและบุคลากรภาครฐั กลุ่มใดควรได้รบั การพัฒนาทกั ษะด้านดิจทิ ัลใด รวมทง้ั ได้
มอบหมายให้สถาบันคุณวฒุ ิวชิ าชพี (องค์การมหาชน) รว่ มกับสานักงาน ก.พ. จดั ทารายละเอียดทกั ษะ
ด้านดิจทิ ลั ของขา้ ราชการและบุคลากรภาครฐั ด้วย
สาระสาคัญ
1. ทกั ษะด้านดิจทิ ลั มีวตั ถุประสงค์เฉพาะเพอ่ื การสรา้ งและพัฒนาบุคลากรให้ปรบั เปลย่ี นเปน็ รฐั บาล
ดิจทิ ลั โดยเปน็ รฐั บาลดิจทิ ลั มีลักษณะทสี่ าคัญ 3 ประการ คือ
1) รฐั บาลแบบเปดิ และเชอ่ื มโยงกัน (Open and Connected Government)
2) รฐั บาลทมี่ ีความทนั สมัยและยดึ ประชาชนเปน็ ศูนย์กลาง (Smart Government for Citizen)
3) รฐั บาลทม่ี ีวฒั นธรรมดิจทิ ลั ภาครฐั (Digital Culture)
19
ทกั ษะด้านดิจทิ ลั เปน็ ทกั ษะทวั่ ไป (Generic Skills) เพ่อื การปรบั เปล่ียนเป็นรฐั บาลดิจทิ ลั ไม่ใชท้ กั ษะ
เฉพาะทางสาหรบั วชิ าชพี (Professional Skills)
ทกั ษะด้านดิจทิ ลั ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่
ความสามารถ หมายถึง กลมุ่ พฤติกรรมทบ่ี ุคลากรภาครฐั ควรแสดงออกเพอ่ื ให้ปฏิบตั ิตามบทบาทและ
พฤติกรรมท่ีคาดหวงั ตามท่ีระบุไว้ในมติคณะรฐั มนตร ีวนั ที่ 26 กันยายน 2560 เรอ่ ื ง แนวทางการพัฒนา
ทกั ษะด้านดิจทิ ลั ของขา้ ราชการและบุคลากรภาครฐั เพอ่ื การปรบั เปลี่ยนเป็นรฐั บาลดิจทิ ลั ได้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ โดยมีการแบง่ ความสามารถเปน็ 7 กล่มุ ความสามารถ ได้แก่
กลุ่มที่ 1 ความสามารถด้านความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั (Digital Literacy)
กลุม่ ท่ี 2 ความสามารถด้านการควบคมุ กากับ และการปฏิบตั ิตามกฎหมาย นโยบาย และ
มาตรฐานการจดั การด้านดิจทิ ลั (Digital Governance, Standard, and Compliance)
กลมุ่ ที่ 3 ความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจทิ ลั เพอ่ื ยกระดับศักยภาพองค์กร (Digital
Technology)
กลุม่ ท่ี 4 ความสามารถด้านการออกแบบกระบวนการและการให้บรกิ ารด้วยระบบดิจทิ ลั
(Digital Process and Service Design)
กลมุ่ ที่ 5 ความสามารถด้านด้านการบรหิ ารกลยุทธแ์ ละการจดั การโครงการ (Strategic and
Project Management)
กลุ่มท่ี 6 ความสามารถด้านผู้นาดิจทิ ลั (Digital Leadership)
กลุ่มที่ 7 ความสามารถด้านการขับเคลื่อนการเปลีย่ นแปลงด้านดิจทิ ลั (Digital
Transformation)
ความรู้ หมายถึง ความเข้าใจเชงิ วชิ าการและวชิ าชพี ทขี่ ้าราชการและบุคลากรภาครฐั ควรต้องมีเพอ่ื ให้
ปฏิบัติตามบทบาทและพฤติกรรมทค่ี าดหวังในการปรบั เปลย่ี นเปน็ รฐั บาลดิจทิ ลั
ประสบการณ์ หมายถึง ส่ิงทขี่ ้าราชการและบุคลากรภาครฐั เคยปฏิบัติ เคยกระทา เคยสัมผัส หรอื ได้พบ
เห็นมาในอดีตทจ่ี ะสนับสนุนให้การปฏิบตั ิตามบทบาทและพฤติกรรมท่ีคาดหวงั
คุณลักษณะ หมายถึง ความชอบ และแรงจูงใจของบุคลากรทสี่ ่งผลต่อความพึงพอใจในการทางานและ
ความสาเรจ็ ในงาน อันจะมีส่วนสนับสนุนการปฏิบัติตามบทบาทและพฤติกรรมท่ีคาดหวังในการ
ปรบั เปล่ยี นเปน็ รฐั บาลดิจทิ ลั ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
ทกั ษะด้านดิจทิ ลั นี้ นาสมรรถนะทางการบรหิ ารของขา้ ราชการพลเรอื นสามัญ ตามหนงั สือสานักงาน ก.พ.
ที่ นร 1008/ว 27 ลงวนั ที่ 29 กันยายน 2552 เรอ่ ื ง มาตรฐานและแนวทางการกาหนดความรู้
ความสามารถ ทกั ษะ สมรรถนะทจ่ี าเปน็ สาหรบั ตาแหนง่ ข้าราชการพลเรอื นสามัญ จานวน 4 สมรรถนะ
จาก 6 สมรรถนะมาใชใ้ นการน้ีด้วย ได้แก่
วสิ ัยทศั น์ (Visioning)
การวางกลยุทธภ์ าครฐั (Strategic Orientation)
ศักยภาพเพือ่ นาการเปล่ยี นแปลง (Change Leadership)
การสอนงานและมอบหมายงาน (Coaching and Empowering Other)
20
ทกั ษะด้านดิจทิ ลั มีการจาแนกตามความพรอ้ มและพัฒนาการของส่วนราชการและหน่วยงานของรฐั ในการ
ปรบั เปลย่ี นเปน็ องค์กรดิจทิ ลั 3 ระยะ ได้แก่
ระยะเรม่ ิ ต้น (Early Stage)
ระยะกาลังพัฒนา (Developing Stage)
ระยะสมบูรณ์(Mature Stage)
และตามกลุ่มข้าราชการและบุคลากรภาครฐั 6 กล่มุ ได้แก่
ผู้บรหิ ารส่วนราชการ (Executive)
ผู้อานวยการกอง (Management)
ผู้ทางานด้านนโยบายและวชิ าการ (Academic)
ผู้ทางานด้านบรกิ าร (Service)
ผู้ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยี (Technologist)
ผู้ปฏิบตั ิงานกลุ่มอื่น (Others)
บุคลากรภาครฐั บุคคลใดจะมีทกั ษะด้านดิจทิ ลั กลมุ่ ใดให้พิจารณาจากบทบาทและพฤติกรรมทีค่ าดหวงั ใน
การปรบั เปลีย่ นเปน็ รฐั บาลดิจทิ ลั ตามทกี่ าหนดในมติคณะรฐั มนตรวี นั ที่ 26 กันยายน 2560 เรอ่ ื ง(รา่ ง)
แนวทางการพัฒนาทกั ษะด้านดิจทิ ลั ของขา้ ราชการและบุคลากรภาครฐั เพอื่ ปรบั เปลยี่ นเปน็ รฐั บาลดิจทิ ลั
ประกอบกับหน้าที่ความรบั ผิดชอบและลกั ษณะงานท่ปี ฏิบัติของบุคคล
กิจกรรมสาคัญ
การสัมมนาเชงิ ปฏิบัติการ ชแ้ี จงส่วนราชการเก่ียวกับ แนวทางการพฒั นากาลังคนให้มีทกั ษะด้านดิจทิ ลั
เพื่อการไปสู่ดิจทิ ลั ไทยแลนด์
21
ศาสตรพ์ ระราชาในหลวงร. 9 แก้ปญั หาดินเปรย้ ี ว ดินเค็ม ดินดาน ให้
กลับมาปลูกพืชได้อีกครง้ั
ดิน ถือเปน็ ปจั จยั การผลิตทสี่ าคัญอยา่ งหนงึ่ เคียงค่กู ับ “นา้ ” ในการทาเกษตร ต่อให้มี
ทรพั ยากรน้าอุดมสมบูรณ์ แต่มีดินทเี่ ลว กลา่ วคือโครงสรา้ งแน่น อัดตัวเปน็ ก้อน ปราศจาก
ธาตุอาหารทจี่ าเปน็ ต่อการเติบโตของพชื ก็เปน็ การยากต่อการปลกู พืชไม่วา่ พืชชนิดใด ๆ
22
นอกจากนี้ ปญั หาเรอ่ ื งดินนบั เป็นปัญหาสาคัญต่อเกษตรกรไทยเปน็ อย่างมาก ในแต่ละพ้ืนทก่ี ็
ประสบปญั หาเก่ียวกับดินแตกต่างกันไป ไมว่ า่ จะเปน็ ดินเปรย้ ี ว ดินเค็ม ดินดาน ดินทรายท่ี
ต้องอาศัยความรูใ้ นการปรบั ดินให้เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชในแต่ละชนิด พระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
“ทรงเป็นปราชญ์แห่งน้าและดินแห่งโลก” ทรงมีแนวพระราชดาร ิทส่ี าคัญหลายโครงการใน
ด้านการอนุรกั ษ์และฟ้ ืนฟดู ิน จนเม่ือปี 2556 ทปี่ ระชุมใหญ่สมชั ชาสหประชาชาติ มีมติให้วันที่
5 ธนั วาคมของทุกปเี ปน็ “วนั ดินโลก” และต่อมาในปี 2558 กาหนดให้เปน็ “ปแี ห่งดินสากล”
หนงึ่ ในพระราชดารทิ พี่ ระราชทานให้กับเกษตรกรไทยในการดูแลและรกั ษาดินอกี ทางหนง่ึ น่ัน
คือ “การห่มดิน” ทรงมีรบั สง่ั ให้ “ห่มดิน อย่าเปลอื ยดิน” เพ่อื ให้ดินมีความชุม่ ชนื้ จุ ลิ น ท ร ี ย์
ทางานได้ดี ส่งผลให้ดินทาการเกษตรได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ป้องกันการชะลา้ ง พงั ท ล า ย
ของดิน
และพฒั นาทรพั ยากรดินให้เกิดแรธ่ าตุ ทงั้ นี้การห่มดินมีอยูด่ ้วยกันหลายวธิ กี าร เชน่ ใชฟ้ าง
และเศษใบไม้มาห่มดิน การใชพ้ รมใยปาล์มซงึ่ ทามาจากปาล์มทผี่ ่านการรดี นา้ มันแล้ว เรม่ ิ จาก
การนาทะลายปาลม์ มาตะกุยให้เปน็ เส้นๆ ก่อนจะเอาไปอดั ให้เปน็ แผน่ เป็นผ้าห่มดินนอกจาก
ประโยชน์ที่กลา่ วไปแลว้ การห่มดินยงั จะชว่ ยคลุมหน้าดินไมใ่ ห้วัชพืชขนึ้ รบกวนต้นไมพ้ ชื หลกั
อีกด้วย
23
การห่มดิน ถือเป็นวธิ กี ารทเี่ พิม่ อินทรยี วัตถุให้กับดินหรอื เปน็ การปรบั ปรุงดินก่อนการ
เพาะปลูก ดินท่ดี ีสังเกตจะมเี ชื้ อ s าเกิดขนึ้ และต้องใชร้ ว่ มกับนา้ หมกั ชี ว ภ า พ จะทาให้ดิน
มคี วามสมบูรณ์ขึน้ การปลกู หญา้ แฝกไปด้วยใบแฝกก็ตัดมาห่มดินได้ การห่มดินเพื่อให้จุ ลิ น
ท ร ีย์ในดินมคี วามอุดมสมบูรณ์ ถ้าเปลือยดินไว้ จะทาให้จุ ลิ น ท รยี เ์ หลือน้อย และต้นไมจ้ ะ
ไม่สามารถเจรญิ เติบโตได้
การแก้ปัญหาดินเค็มด้วยทฤษฎีการ “ห่มดิน”
24
ขนั้ ท่ี 1 ทาการพรวนหน้าดินให้มีความรว่ นซุย อากาศและน้าถ่ายเทได้สะดวก
25
ข้ันท่ี 2 ปอ้ งกันและรกั ษาความชน้ื ในดินโดยการโรยเ ม ล็ ดถั่วเขยี วลงไปในดิน เพื่อชว่ ยรกั ษาระบบ
นิเวศ
ขน้ั ท่ี 3 หลังจากโรยถั่วเขยี วเสรจ็ แล้วให้พชื พั น ธทุ์ มี่ คี วามทนเค็ม เชน่ ขา้ วหอมมะลิ 105 ขา้ วแดง
น้อย ถ่ัว แค โรยผสมลงไปกับถ่ัวเขียว
ขน้ั ที่ 4 นาเศษหญา้ ใบไม้ ฟางข้าวหรอื วสั ดุธรรมชาติอื่นๆ แต่ถ้าเปน็ ฟางข้าวจะให้ผลดีทส่ี ุด นามาปก
คลมุ ดินไวเ้ พอื่ รกั ษาความชนื้ ในดินไม่ให้ระเหยออกไป
26
ขน้ั ที่ 5 ให้อาหารดินโดยการโรยปุย๋ อินทรยี ์แบบแห้งและแบบนา้ ลงบนฟางข้าวท่ี คลมุ ดินไวห้ รอื
สามารถใชน้ า้ หมักชี ว ภ า พรส จดื (ปุย๋ น้ารสจดื ) โดยมีอัตราส่วน ปุย๋ นา้ 1 ลิตร ต่อนา้ 100 ส่วน รด
ให้ทวั่ ฟางขา้ วทคี่ ลมุ ไว้
เมื่อถ่ัวเขยี วเจรญิ เติบโตขน้ึ จะทาให้มีการปกคลุมดินอีกชนั้ รวมถึงฟางข้าว ทาให้แสงแดดไมส่ ามารถ
ส่องถึงพน้ื ดินได้ดินทอี่ ยูใ่ ต้ฟางขา้ วและถั่วเขยี วจงึ มีความอุดมสมบูรณ์ ทง้ั ธาตุอาหารและความชนื้
และไม่ดูดความเค็มขึน้ มานั่นเอง
แหลง่ ทม่ี า https://www.kasetnana.com
27
วธิ กี ารบารุงดิน ด้วยการห่มดิน แห้งชาม นา้ ชาม
ดิน
“ถึงแม้วา่ ดินจะมแี ค่หินและทราย แต่หินและทรายมีธาตุอาหารสาหรบั พืชพอสมควร
เพยี งแต่ไมม่ ี จุลินทรยี ์ มาชว่ ยกันทาให้ดินมจี ุลนิ ทรยี ์
โดยการอยา่ ปอกเปลอื กเปลอื ยดินให้ห่มดิน”
พระราชดารสั ในหลวง รชั กาลท่ี 9 ณ ศูนยศ์ ึกษาพัฒนา ห้วยทราย อ.ชะอา จ.ประจวบคีรขี ันธ์
หลกั กสิกรรมธรรมชาติ
อย่าปลอกเปลอื ก เปลอื ยดินให้ห่มดิน
เลยี้ งดินให้ดินเลยี้ งพืช ด้วยการ ห่มดิน + แห้งชาม + นา้ ชาม
28
ประโยชน์ของการห่มดิน ( ยิ่งแล้งยิง่ ห่มหนา )
1. รอ้ น-ชน้ื เปน็ ทอ่ี ยูอ่ าศัยของจุลนิ ทรยี ์ ( รา, แบคทเี รยี )
2. เก็บความชน้ื หน้าดิน ปอ้ งกันการระเหยของน้าในดิน
3. เม่ือเน่าเป่ อื ยเปน็ อาหารของสัตว์หน้าดิน ทช่ี ว่ ยพรวนดินและถ่ายมูลเปน็ ปุย๋ เชน่ ไส้เดือน, แมลงแกลบ
4. เม่ือย่อยสลายกลายเปน็ ” ฮวิ มัส ” ปุย๋ ชนั้ ดี
วตั ถุอินทรยี ์ทใ่ี ชห้ ่มดิน
ใชว้ ัสดุอินทรยี ์วัตถทุ ม่ี ีมากในพื้นทหี่ ่มดิน เชน่
ภาคเหนือ : ซงั ขา้ วโพด, ต้นขา้ วโพด
ภาคใต้ : กากกาแฟ, ทะลายปาล์ม, ใบปาล์ม,
ภาคอีสาน กลาง ตะวนั ออก ตะวันตก : ฟาง
ประโยชน์ของจุลินทรยี ์
ตรงึ ไนโตรเจนจากอากาศ N2 78%, O2 21%, Co2 + อืน่ ๆ 1% ในอากาศทัว่ ไปนนั้ จะประกอบ
ไปดว้ ย - แก๊สไนโตรเจน (N2) 78% - ออกซเิ จน (O2) 21% - แกส๊ และสารอนื่ ๆ อีก 1 % อาทเิ ชน่
อาร์กอน (Ar) ฮเี ลียม (He) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) นา้ (H2O) ไฮโดรเจน (H2)
๑. ชว่ ยย่อยเศษซากพชื / ซากสัตว์
๒. ชว่ ยย่อยแรธ่ าตุจากหิน ลูกรงั ทราย เชน่ เหล็ก สังกะสี แมงกานีส แคลเซยี ม ฟอสฟอรสั เปน็ ต้น
๓. สรา้ งฮอรโ์ มนให้พืช เชน่ ไซโตไคนิน จบิ เบอเรลลนิ อ๊อกซเิ จน
๔. สรา้ งสารปอ้ งกันโรคพืช ราขาว
“ห่มดิน…เลีย้ งดิน ให้ดินเลย้ี งพชื ”
วธิ กี ารห่มดิน / คลุมดิน
1. ห่มดินบรเิ วณคันบ่อ ขอบบอ่ และบรเิ วณตะพกั / ชานบ่อ ทนั ทีทร่ี ถแม็คโครออกเพอื่ ปอ้ งกันคันบอ่
ชานบอ่ พงั ทลายจากการกัดเซาะของนา้ ฝน
2. ห่มดินด้วยฟาง เศษหญา้ หรอื ใบไม้ รอบโคนต้นไม้ประเภทไม้ยืนต้น โดยเวน้ ให้ห่างจากโคนต้นไม้
1 คืบ ห่มหนา 1 คืบ–1 ฟุต ทาเปน็ วงเหมือนโดนัท โรยด้วยปุย๋ คอก (มูลสัตว)์ บาง ๆ และรดด้วย
น้าหมักชวี ภาพผสมนา้ เจอื จาง อัตราส่วน 1 : 50-100
3. ห่มดินในทดี่ ินผืนใหม่ทเ่ี พง่ิ ขุดปรบั พื้นท่ี หรอื ดินทเ่ี สื่อมสภาพ เพอ่ื ปรบั ปรุงคณุ ภาพของดินก่อน
เรม่ ิ การเพาะปลูก ด้วยการห่มฟาง เศษหญา้ หรอื ใบไม้ ให้หนาอยา่ งน้อย 1 ฟตุ ทง้ั แปลง แล้วโรย
ด้วยปุย๋ คอก แลว้ ราดรดด้วยน้าหมักชวี ภาพผสมน้าเขม้ ขน้ อัตราส่วน 1 : 10 โดยวธิ นี ี้ เปน็ การ
ระเบดิ ดินทแ่ี ห้งแข็ง ให้มีความชุม่ ชนื้ ( ฟางห่มคลมุ ดินเพอื่ ลดการระเหยของน้าในดิน ปุย๋ คอกทใ่ี ส่
เพ่ือเพม่ิ อินทรยี วัตถุ นา้ หมักทาหน้าทย่ี อ่ ยสลายทงั้ ปุ๋ยและฟาง ให้กลายเปน็ อินทรยี วตั ถไุ ด้เรว็ ขึ้น )
ซงึ่ วธิ นี ้ีอาจต้องใชเ้ วลา 3 เดือนขึ้นไป โดยยงั ไม่ควรปลกู พืชใด ๆ เพราะนา้ หมักทเ่ี ขม้ ข้นอาจทาให้
ต้นไม้ตายได้
4. การห่มดินควรห่ม 6 เดือน – 1 ปี / ครงั้ แต่ห่มแบบข้อ 2 ข้อ ( ขอ้ 3 ใชส้ าหรบั ทเ่ี พง่ิ ขุดใหม่ )
29
การบารุงดิน “แห้งชาม นา้ ชาม”
o แห้งชาม ก็คือ ปุย๋ แห้ง ได้จากมูลสัตว์ หรอื การนาเศษวัชพชื เศษพชื มาหมักรวมกับมูลสัตว์ก็จะได้
ปุย๋ แห้งเชน่ กัน
o นา้ ชาม ก็คือปุย๋ หมักน้าสูตรปรบั ปรุงดิน หรอื ปุย๋ น้ารดจดื น่ันเอง ได้จากการหมักพืชรสจดื
การบารุงดิน แห้งชาม : คลิกดู >>> วธิ กี ารทาปุย๋ หมักแห้ง
2. การบารุงดิน น้าชาม : คลิกดู >>> วธิ กี ารทาปุย๋ หมักน้าสมุนไพร7รส
วธิ กี ารคานวณ ขนาดพื้นทเ่ี พาะปลูก
สูตร : ขนาดทดี่ ิน – ถนน – ทางเดิน – พนื้ ท่ปี ลกู บา้ น – พื้นทขี่ ุดบ่อ – พน้ื ทข่ี ุดคลองไส้ไก่ = ขนาด
พืน้ ทเ่ี พาะปลูก
ตัวอยา่ ง
1. มีทดี่ ินขนาด รม.
2. ใชพ้ ื้นทข่ี ุดบ่อ + คลองไส้ไก่ )
3. ใชพ้ ื้นทป่ี ลูกบ้าน + ถนน + ทางเดิน = )
4. จะเหลือพนื้ ทสี่ าหรบั การเพาะปลกู = )
วธิ กี ารคานวณปรมิ าณวัตถอุ ินทรยี ์ทใี่ ชห้ ่มดิน ในท่ีน้ีจะยกตัวอย่างการใช้ “ฟางขา้ ว”
ตัวอยา่ ง
1. ฟางข้าว 1 ก้อน ขนาด 30x40x100 ซม.
2. ฟาง 1 ก้อน สามารถใชห้ ่มดินหนา 1 คืบ – 1 ฟตุ / พนื้ ที่ 2 ตรม.
3. 1 ไร่ มีพ้นื ท่ี 1,600 ตรม. ต้องใชฟ้ าง 1,600/2 = 800 ก้อน
4. ฟางอัดก้อน 1 สิบลอ้ บรรทกุ ได้ 350 ก้อน
5. ถ้าต่อพ่วงจะบรรทกุ ได้ 700-800 ก้อน
6. สมมุติ ฟาง ราคา 60 บาท / 1 ก้อน
7. ต้องการห่มดิน พื้นที่ 1 ไร่ จะต้องใชฟ้ าง 800 ก้อน ( 1 สิบล้อ + 1พ่วง )
8. งบประมาณทใี่ ช้ 800×60 = 48,000 บาท ( จากตัวอย่างนี้เปน็ ราคาฟางไม่รวมค่าขนส่ง )
9. ถ้าต้องห่มดินขนาดพ้ืนทเ่ี พาะปลูก 10 ไร่ x 48,000 = 480,000 บาท
วธิ กี ารคานวณปรมิ าณ “ปุย๋ คอก” วัตถอุ ินทรยี ์ทใี่ ชห้ ่มดิน
ตัวอยา่ ง
1. อัตราการใชป้ ุย๋ คอก 1 กก. / 1 ตรม.
2. 1 ไร่ มีพ้ืนท่ี 1,600 ตรม. เทา่ กับต้องใชป้ ุย๋ คอก 1.6 ตัน
3. 1 สิบลอ้ บรรทกุ ได้ 500 กระสอบ
4. ต่อเพมิ่ 1 พ่วงจะได้ 900-1,000 กระสอบ
30
5. ปุย๋ คอก 1 กระสอบ บรรจุ 30 กก.
6. สมมุติปุย๋ คอกราคากระสอบละ 25 บาท
7. เทา่ กับปุย๋ คอกราคา กิโลกรมั ละ 1.2 บาท
8. พน้ื ท่ี 1 ไร่ ต้องการใชป้ ุย๋ คอก 1.6 ตัน = 1,600 กก.
9. พื้นที่ 1 ไร่ จะต้องใชป้ ุย๋ คอก 1,600 กก. / 30 กก. = 54 กระสอบ
10. พืน้ ท่ี 1 ไร่ ต้องใชง้ บประมาณสาหรบั ปุย๋ คอก 54 x 25 = 1,350 บาท
11. ถ้าต้องการโรยปุย๋ คอกพื้นทเ่ี พาะปลกู 10 ไร่ ต้องใชป้ ุย๋ คอก 10 x 54 = 540 กระสอบ
12.พน้ื ทเ่ี พาะปลูกสิบไรจ่ ะใชง้ บประมาณในการซอื้ ปุย๋ คอก 540 x 25 = 13,500 บาท
วธิ กี ารคานวณงบประมาณในการห่มดิน หากต้องการโรย “ปุย๋ คอก และ ใชฟ้ างห่มดิน”
ตัวอย่าง
1. พื้นทเ่ี พาะปลูก 1 ไร่ ใชฟ้ าง 800 ก้อน x สมมุติราคาก้อนละ 60 บาท = 48,000 บาท
2. พน้ื ทเี่ พาะปลูก 1 ไร่ ใชป้ ุย๋ คอก 54 กระสอบ x สมมุติราคากระสอบละ 25 บาท = 1,350 บาท
3. การห่มดิน โดยการโรยปุย๋ คอก 1 กก. / พ้ืนที่ 1 ตรม. และ ใชฟ้ าง 1 ก้อน ( 30x40x100 ซม ) /
พน้ื ท่ี 2 ตรม.
4. จะต้องใชง้ บประมาณต่อไร่ 48,000 + 1,350 = 49,350 บาท
5. ถ้าต้องการห่มดิน พื้นทเี่ พาะปลูกขนาด 10 ไร่ จะต้องใชง้ บประมาณ 49,350 x 10 = 493,500 บาท
6. ราคานี้ยงั ไม่รวมค่าขนส่งปยุ๋ คอก และ ฟาง และเปน็ ราคาสมมุติ ทา่ นต้องนาไปปรบั ประยุกต์ใช้
คานวณกับราคาจรงิ ของปุ๋ยคอก และฟางเพ่อื ให้ทราบงบประมาณทต่ี ้องใชจ้ รงิ
วธิ กี ารคานวณนา้ หมักชวี ภาพรสจดื
ตัวอย่าง
1. พื้นทเี่ พาะปลูก 1 ไร่ ใช้ น้าหมักชวี ภาพ 200 ลิตร / ไร่
2. สาหรบั พน้ื ทขี่ ุดใหม่เพิง่ ปรบั พ้ืนทเ่ี สรจ็ ต้องการรปรบั สภาพดินผสมในอัตราเขม้ ข้น 1: 10
3. พ้ืนท่ี 1 ไรจ่ ะต้องใชน้ า้ หมกั 20 ลิตร : น้า 200 ลิตร
4. ถ้าพ้ืนทเี่ พาะปลูก 10 ไร่ ต้องใช้ นา้ หมักรสจดื 200 ลิตร : น้า 2,000 ลติ ร
5. และทงิ้ ไวโ้ ดยไม่ปลูกอะไรเปน็ ระยะเวลา 3 เดือนข้นึ ไป เพราะเปน็ สูตรเขม้ ข้น
สรุปขั้นตอนการห่มดิน
1. ใชฟ้ างขา้ วคลมุ ดิน สูง 1 คืบ – 1 ฟุต
2. โรยปุย๋ คอกบาง ๆ เว้นรอบโคนพืชเปน็ โดนัท
3. รดด้วยน้าหมักชวี ภิ าพ รสจดื
4. ไม้ยืนต้น, พืชไร่ อัตราส่วน 1: 200
5. ไม้ดอก ไม้ประดับ อัตราส่วน 1: 300
6. ถ้าพื้นทข่ี ุดใหม่ต้องการปรบั สภาพดิน หรอื ดินแห้งเสีย อัตราส่วน 1:10
7. ควรห่มดินทุก ๆ 6 เดือน – 1 ปี
31
แนวคิด (Main Idea)
การฝกึ อบรมเป็นกลยุทธท์ ่สี าคัญในการพัฒนาคุณภาพองค์การโดยเน้นการพัฒนาทรพั ยากรบุคคลให้
เกิดความรแู้ ละประสบการณ์ เพื่อให้เกิดความรแู้ ละอยูร่ ว่ มกันได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ดังน้ันกิจกรรมในการฝึกอบรม
จงึ เป็นหน้าทสี่ าคัญท่ที ุกคน ทกุ ฝ่ายต้องเรยี นรแู้ ละมีส่วนรว่ ม อีกทงั้ เห็นความสาคัญ ซง่ึ ผลท่เี กิดแก่องคก์ าร คือ
บุคลากรและองค์การมีคณุ ภาพ
สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
1. แสดงความรเู้ กี่ยวกับการฝกึ อบรม
2. เลือกกลยุทธจ์ ากการฝกึ อบรมเพื่อเพมิ่ ประสิทธภิ าพการทางาน
6.1 ความหมายของการฝกึ อบรม
ความหมายของการฝกึ อบรมมีหลายความหมาย ดังน้ี
การฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการต่างๆ ท่ใี ชเ้ พื่อชว่ ยให้ข้าราชการมีความรู้ ทักษะ และทศั นคติที่
จาเปน็ ในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ และเพ่ือให้เกิดความรว่ มมือกันระหวา่ งข้าราชการในการปฏิบัติงานรว่ มกันใน
องค์การ” เมื่อมองการฝึกอบรมในฐานะท่ีเป็นแนวทางในการพัฒนาข้าราชการตามนโยบายของรฐั หากเปน็ การเพิ่ม
ขีดความสามารถในการปฏิบตั ิงานหรอื เพ่ิมขีดความสามารถในการจดั รูปขององค์การ
การฝกึ อบรม หมายถึง “การถ่ายทอดความรูเ้ พ่ือเพ่มิ พูนทักษะ ความชานาญ ความสามารถ และทัศนคติในทางท่ี
ถูกท่คี วร เพ่ือชว่ ยให้การปฏิบตั ิงานและภาระหน้าทต่ี ่างๆ ในปัจจุบันและอนาคตเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมากข้ึน”
การฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมอย่างมีระบบ เพื่อให้บุคคลมีความรู้ ความเขา้ ใจ มี
ความสามารถท่ีจาเป็น และมีทศั นคติทีด่ ีสาหรบั การปฏิบัติงานอยา่ งใดอย่างหนงึ่ ของหน่วยงานหรอื องคก์ ารนั้น”
การฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการในอันท่ีจะทาให้ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมเกิดความรู้ ความเข้าใจ
ทัศนคติ และความชานาญ ในเรอ่ ื งหนง่ึ เรอ่ ื งใด และเปล่ียนพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ทก่ี าหนดไวจ้ ะเห็นได้วา่
ความหมายของการฝกึ อบรมมีมากมาย ข้ึนอยู่กับวา่ จะพิจารณาจากแนวคิด (Approach) ใดทเี่ กี่ยวกับการฝกึ อบรม
กล่าวโดยสรปุ ความหมายของการฝึกอบรม
การฝึกอบรม คือ กระบวนการทีท่ าให้ผู้เข้ารบั การอบรมเกิดการเรยี นรใู้ นรปู แบบหน่ึง เพื่อเพิ่มพูนหรอื
พัฒนาสมรรถภาพในด้านต่างๆตลอดจนการปรบั ปรงุ พฤติกรรม อันนามาซงึ่ การแสดงออกทส่ี อดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้
6.2 วัตถปุ ระสงค์ของการฝึกอบรม
การฝึกอบรมนั้นหากจะพูดว่ามีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อการพัฒนาองค์การเปน็ สิ่งถกู ต้อง หากได้พิจารณาใน
รายละเอียดสามารถแบง่ ได้เป็นลักษณะใหญ่ๆ ดังน้ี
1. เพื่อแก้ไขปญั หาทเ่ี ก่ียวข้องกับบุคลากรซง่ึ เป็นสาเหตุหลักของการจดั ให้มีการฝึกอบรมโดยทั่วๆ ไป
2. เพ่ือเตรยี มรบั การเปล่ียนแปลงในอนาคต เชน่ การเปล่ียนแปลงวธิ ปี ฏิบตั ิงานหรอื กรรมวธิ ใี นการผลิต
ต่างๆ หรอื การฝกึ อบรมเพ่ือให้เรยี นรเู้ ก่ียวกับเครอ่ ื งจกั ร เครอ่ ื งมือ หรอื เทคโนโลยีใหม่ๆ ขององค์การ
3. ต้องการเพิ่มขดี ความสามารถของบุคลากรทม่ี ีอยู่ให้เข้าสู่ระดับมาตรฐานหรอื ระดับทพ่ี ึงประสงค์เพื่อให้
มีความรทู้ ันกับเทคโนโลยีต่างๆ ที่ก้าวหน้าอย่างรวดเรว็
4. เตรยี มการรบั มือกับการแข่งขันท่ที วคี วามรนุ แรงขึ้น เพื่อนาความรตู้ ่างๆ มาเตรยี มพรอ้ มพัฒนา
ตนเอง พัฒนาองค์การ หรอื อาจจะสรปุ วัตถุประสงค์ในด้านต่างๆ ดังนี้
(1) การเพิ่มปรมิ าณผลผลิต
(2) การพัฒนาคุณภาพของผลผลิต
(3) การลดต้นทุนของงาน
(4) ลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุอันจะส่งผลต่อการลดต้นทุนทเี่ ก่ียวข้อง
(5) การลดอัตราการหมุนเวยี นและการขาดงานของบุคลากร
32
รปู ที่ 6.1 การพัฒนาคณุ ภาพของผลผลิตผ่านโครงการอบรม
6.3 ประโยชน์ของการฝึกอบรม
1. บุคลากรหรอื กลุ่มบุคลากรสามารถพัฒนาขดี ความสามารถของตนเองเน่อื งจากได้รบั ประสบการณ์
การเรยี นรู้ สามารถนาความรไู้ ปใชใ้ นการทางานให้ประสบผลสาเรจ็ หรอื ชว่ ยเพ่ิมประสิทธภิ าพในการทางาน
2. การได้ปรกึ ษาหารอื กันในส่วนของผู้เก่ียวข้องในองค์การ เชน่ ผู้เข้ารบั การฝึกอบรม หัวหน้างาน
ผู้บงั คับบัญชา ผู้บรหิ ารระดับสูงขององค์การ หรอื ผู้ทเ่ี ก่ียวข้องทกุ ระดับ รว่ มกันหาแนวทางในการแก้ปญั หาและการ
ปรบั ปรุงการทางาน
3. ผู้เข้ารว่ มการฝกึ อบรมได้ยกระดับความรแู้ ละทกั ษะให้เกิดการปรบั ทศั นคติ
4. ชว่ ยลดระยะเวลาในการเรยี นรงู้ าน
5. ชว่ ยลดภาระหน้าทีข่ องหัวหน้างาน
6. ชว่ ยกระตุ้นบุคลากรให้ปฏิบัติงานเพ่ือความก้าวหน้าของตน
6.4 บทบาทที่สาคัญของผ้รู บั ผิดชอบจดั การฝกึ อบรม
6.4.1 ข้อปฏิบตั ิของผู้รบั ผิดชอบจดั การฝึกอบรม
1. ต้องยอมรบั ความมีคณุ ค่าของผู้เข้าอบรมแต่ละคน และจะต้องเคารพในความรสู้ ึกนึกคิด
และความเห็น ตลอดจนประสบการณ์ของผู้เข้ารว่ มด้วย
2. พยายามทาให้ผู้เข้ารบั การอบรมตระหนักด้วยตนเองว่ามีความจาเป็นทจ่ี ะต้องปรบั
พฤติกรรม (ท้งั ด้านความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และทศั นคติ) โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ด้วยการเรยี นรหู้ รอื การ
แก้ปญั หา
3. ควรจดั สิ่งแวดล้อมทางกายภาพให้สะดวกสบาย (เชน่ ท่นี ั่ง อุณหภูมิ แสงสวา่ ง การถ่ายเท
อากาศ ฯลฯ) ให้เอ้ือต่อการปฏิสัมพันธใ์ นกลุ่มผู้เข้ารว่ มอบรม
4. สรา้ งความสัมพันธอ์ ันดี ให้เกิดความรสู้ ึกไวเ้ น้ือเชอื่ ใจ และความชว่ ยเหลือเกื้อกลู ซง่ึ กัน
และกัน สนับสนุนให้มีกิจกรรมท่ตี ้องมีการให้ความรว่ มมือรว่ มใจกันและกัน ในขณะเดียวกันควรพยายามหลีกเลี่ยง
การแข่งขัน
5. ควรเปดิ โอกาสให้ผู้รว่ มอบรมมีส่วนรว่ มในเรอ่ ื ง ดังต่อไปน้ี
(1) การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ในการเรยี นรตู้ ามความต้องการของผู้รว่ มอบรม โดย
สอดคล้องกับความต้องการขององค์การ ของผู้ดาเนินการอบรม และของเนื้อหาวชิ าด้วย
(2) การกาหนดกิจกรรม รวมท้ังการเลือกวัสดุอุปกรณ์ และวธิ กี ารอบรม
(3) การกาหนดมาตรการ เกณฑ์การอบรมซง่ึ เปน็ ท่ยี อมรบั รว่ มกัน รวมท้งั รว่ มกันกาหนด
เครอ่ ื งมือและวธิ กี ารวดั ผลความก้าวหน้าเพ่ือให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์
6. ชว่ ยผู้รว่ มอบรมให้รจู้ กั พฒั นาข้ันตอนและวธิ กี ารในการประเมินตนอง หรอื วเิ คราะห์และ
ประเมินผลโครงการฝกึ อบรมตามเกณฑ์ทไี่ ด้กาหนดไวแ้ ล้ว
33
6.4.2 คุณสมบัติของผู้รบั ผิดชอบจดั การฝึกอบรม
ผู้สอน วทิ ยากร หรอื ผู้อานวยความสะดวก (Facilitators) การจดั ฝกึ อบรม
1. มีความรู้
2. รจู้ กั ปรบั ตัวให้เหมาะสม
3. มีความจรงิ ใจ
4. มีอารมณ์ขัน
5. มีความสนใจ
6. การสอนทม่ี ีความชดั เจน
7. การให้ความชว่ ยเหลือผู้เข้าอบรมแต่ละคน
8. มีความกระตือรอื รน้
รูปที่ 6.2 วทิ ยากรและผ้เู ข้าอบรม
6.5 คุณสมบตั ิของผู้รบั ผิดชอบจดั การฝึกอบรม
6.5.1 การหาความจาเปน็ ในการฝึกอบรม
การหาความจาเป็นในการฝึกอบรม หมายถึง การค้นหาปญั หาท่เี กิดข้ึนในองค์การ โดยวเิ คราะห์
กลุ่มเปา้ หมาย จานวน และพฤติกรรมที่เกิดข้ึน โดยวธิ กี ารสารวจ การสังเกต การทดสอบ หรอื อื่นๆ เพื่อพิจารณาให้
ถ่องแทว้ ่า ปัญหาท่เี กิดข้ึนเพราะอะไร จาเปน็ ที่จะต้องให้เทคนิคการฝึกอบรมหรอื ไม่
6.5.2 การกาหนดวัตถปุ ระสงค์ในการฝกึ อบรม
การกาหนดวัตถปุ ระสงค์ของการฝกึ อบรมน้ันสามารถบอกผู้จดั โครงการฝึกอบรมให้รถู้ ึงจุดหมาย
ปลายทางของการฝกึ อบรมนั้นๆ วา่ ต้องการบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ด้านใดบา้ ง เชน่ ด้านการเพิ่มพูนความรู้ ด้านทักษะการ
ทางาน หรอื ด้านทศั นคติ
6.5.3 การสรา้ งหลักสูตรฝกึ อบรม
การสรา้ งหลักสูตรฝกึ อบรมเป็นการนาปัญหาทค่ี ้นพบมากาหนดเปน็ หลักสูตรเพ่ือทาการ
ฝึกอบรม ซงึ่ หลกั สูตรประกอบด้วย
1. วตั ถปุ ระสงค์ของหลักสูตร
2. หมวดวชิ า หัวข้อวชิ า
3. วตั ถุประสงค์ของแต่ละหัวข้อวชิ า
4. เนื้อหา เทคนิค/วธิ กี าร ระยะเวลา การเรยี งลาดับหัวข้อวชิ า
6.5.4 การกาหนดโครงการฝกึ อบรม
การกาหนดโครงการฝึกอบรมเพื่อให้ทราบกรอบการปฏิบตั ิงาน จากนั้นเสนอโครงการเพ่ือขอ
อนุมัติจากผู้บรหิ าร เพ่ือ
1. ให้ผู้บรหิ ารพิจารณาตรวจรา่ งโครงการก่อนทจ่ี ะนาไปฝกึ อบรม
2. ให้ผู้บรหิ ารอนุมัติงบประมาณสาหรบั ใชใ้ นการดาเนินงาน
34
6.5.5 การบรหิ ารโครงการฝกึ อบรม
1. ความสาคัญของการบรหิ ารโครงการอยู่ท่ผี ู้รบั ผิดชอบโครงการฝึกอบรม
2. การบรหิ ารโครงการมี 3 ระยะ คือ
(1) ก่อนการดาเนินโครงการ
(2) ระหวา่ งดาเนินโครงการ
(3) หลังการดาเนินโครงการ
6.5.6 การประเมนิ /ติดตามผลการฝกึ อบรม
การประเมิน/ติดตามผลการฝกึ อบรม มีประเด็นในการประเมิน คือ
1. ทัศนคติทัว่ ไปของผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม
2. ความคิดเห็นเก่ียวกับสถานที่ ระยะเวลา และสิ่งที่อานวยความสะดวกต่างๆ
3. คณุ สมบัติและวธิ กี ารท่วี ทิ ยากรแต่ละคนใชใ้ นการฝกึ อบรม
4. ข้อดีและข้อเด่น หรอื ข้อบกพรอ่ งต่างๆ พรอ้ มข้อเสนอแนะ
6.6 กระบวนการฝกึ อบรม
6.6.1 แบ่งโดยยึดชว่ งเวลาในการทางาน มี 2 ประเภท คือ
1. ฝกึ อบรมก่อนทางาน
2. ฝึกอบรมระหวา่ งทางาน
6.6.2 แบง่ โดยยึดลักษณะวธิ กี ารฝึกอบรม มี 3 ประเภท คือ
1. ฝกึ ปฏิบัติงานปกติในท่ีทางาน
2. ฝกึ อบรมนอกสถานท่ที างาน (ฝกึ อบรมแบบห้องเรยี น)
3. ฝกึ อบรมแบบผสม
6.6.3 แบง่ ตามจานวนผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม มี 2 ประเภท คือ
1. ฝกึ อบรมเปน็ รายบุคคล
2. ฝกึ อบรมเป็นคณะ
6.6.4 แบ่งตามลักษณะของกลุ่มเปา้ หมาย มี 2 ประเภท คือ
1. ระดับแนวนอน ความรทู้ ว่ั ๆ ไปในแผนกเดียวกัน
2. ระดับแนวต้ัง ความรเู้ ฉพาะงาน
6.6.5 แบ่งตามวตั ถุประสงค์การฝึกอบรม มี 3 ประเภท คือ
1. เพือ่ แก้ไขปญั หาทีเ่ กิดขึ้น (ขัดข้อง)
2. เพอื่ ปอ้ งกันปญั หาทีจ่ ะเกิดข้ึนในอนาคต (ป้องกัน)
3. เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพสูงขึ้น (พัฒนา)
การพัฒนาบุคลากรด้วยการจดั โครงการฝึกอบรมน้ันจะส่งผล และเอื้ออานวยประโยชน์ให้กับองค์การหรอื หน่วยงานได้
เพียงใด ยอ่ มข้ึนอยูก่ ับความรคู้ วามสามารถและทัศนคติทม่ี ีต่องานของบุคลากรผู้รบั ผิดชอบจดั การฝึกอบรมเปน็ สาคัญ หากจะให้
สามารถปฏิบัติงานด้านการบรหิ ารงานฝึกอบรมได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ นอกเหนือไปจากจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ
กระบวนการฝึกอบรมและหลักการบรหิ ารงานฝึกอบรมแต่ละข้ันตอนแล้ว ผู้รบั ผิดชอบงานฝึกอบรมควรจะต้องมีความรพู้ ้ืนฐานทาง
สังคมศาสตรแ์ ละพฤติกรรมศาสตรแ์ ขนงต่างๆ อย่างกวา้ งขวาง เชน่ สังคมวทิ ยา จติ วทิ ยา และศาสตรก์ ารจดั การ ซง่ึ จะชว่ ย
เอ้ืออานวยให้สามารถกาหนดหลักสูตรและโครงการฝกึ อบรมได้ง่ายข้ึน มีความรเู้ กี่ยวกับหลักการบรหิ ารบุคคลและการพัฒนา
บุคคลด้วยวธิ กี ารอื่นๆ นอกเหนือไปจากการฝกึ อบรม มีความเข้าใจถึงหลักการเรยี นรขู้ องผู้ใหญ่ เพื่อให้สามารถปฏิบตั ิต่อผู้เข้า
อบรมได้อยา่ งเหมาะสม ตลอดจน เข้าใจถึงหลักการวจิ ยั ทางสังคมศาสตรอ์ ยู่บ้างพอที่จะทาการสารวจ เพ่ือรวบรวมและวเิ คราะห์
ข้อมูลท่ีจาเป็นในการบรหิ ารงานฝกึ อบรมได้ นอกจากน้ัน ผู้ดาเนินการฝึกอบรมยงั จาเปน็ ที่จะต้องมีความสามารถในการสื่อสาร ท้ัง
35
ด้านการเขียนและการพูดในทช่ี ุมนุมชน ตลอดจนมีมนษุ ย์สัมพันธท์ ่ีดีเพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกับกลุ่มผู้เข้าอบรมและ
ประสานงานกับผู้ท่เี กี่ยวข้องอ่ืนๆ ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพด้วย
6.7 ประเภทการฝึกอบรม
การฝึกอบรมเปน็ กิจกรรมท่ีองค์การมอบหมายให้หน่วยงานหรอื กลุ่มบุคลากรรบั ผิดชอบดาเนินการ อาทิ เชน่
6.7.1 การจดั ฝึกอบรมเองภายในองค์การ (In House Training)
การจดั ฝึกอบรมภายในองค์การเปน็ การจดั ฝกึ อบรมให้บุคลากรภายในองค์การได้เข้าอบรม
พรอ้ มๆ กัน ครง้ั ละจานวนมาก (Class Room Training) โดยการดาเนินการตามขั้นตอนในการจดั โครงการ
ฝึกอบรมเพ่ือพฒั นาบุคลากร
6.7.2 การส่งบุคลากรไปอบรมภายนอกองค์การ
6.7.3 การจดั ประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการ (Workshop)
การจดั ประชุมเชงิ ปฏิบัติการมักเป็นการยกปัญหาท่ีมีอยูม่ าให้ศึกษาหรอื ทดลองปฏิบตั ิ และอาจใช้
เป็นแนวปฏิบตั ิหลังการประชุมฯ
6.7.4 ดูงาน
ดูงานเป็นการไปขอฟังคาบรรยายสรุปถึงลักษณะการจดั ระบบงาน และวธิ กี ารปฏิบัติงานจรงิ ของ
หน่วยงานอื่นๆ ทส่ี นใจศึกษา ณ ทต่ี ้ังของหน่วยงานน้ัน
6.7.5 การฝึกอบรมในขณะปฏิบัติงานจรงิ
การฝึกอบรมในขณะปฏิบตั ิงานจรงิ หรอื ท่เี รยี กวา่ การฝกึ อบรมในท่ีทาการปกติ (On the Job
Training) ได้แก่
1. การเสนอแนะหรอื การให้คาปรกึ ษา (Coaching/Counseling) หมายถึง การท่ี
ผู้บังคับบญั ชาควบคุมดูแลให้บุคลากรลงมือปฏิบัติงานจรงิ โดยให้คาปรกึ ษาแนะนาอย่างใกล้ชดิ การเสนอแนะน้ีอาจ
หมายความรวมถึง การเปน็ พเ่ี ล้ียง ซงึ่ ไม่จาเปน็ จะสอนเฉพาะเรอ่ ื งงานเท่านั้น อาจรวมทงั้ เรอ่ ื งเกี่ยวกับบุคคล หรอื
การวางตัวในองค์การด้วยก็ได้
2. การสอนงานหรอื นิเทศงาน (Job Instruction/Job Supervision) หมายถึง การท่ี
ผู้บงั คับบญั ชาสอนงานให้แก่ผู้ปฏิบัติงานในสังกัด โดยเนน้ ถึงการแบ่งงานออกเป็นขั้นตอน และการท่ผี ู้บงั คับบญั ชา
จะต้องสาธติ หรอื แสดงวธิ กี ารปฏิบตั ิงานให้เข้าใจก่อน แล้วจงึ ควบคุมดูแลให้ปฏิบตั ิงานตามอย่างถกู ต้อง
6.8 สาเหตุท่ที าให้การฝกึ อบรมไม่ประสบความสาเรจ็
1. ผู้บรหิ ารระดับสูงหรอื ผู้ท่มี ีอานาจในการตัดสินใจไม่เห็นคณุ ค่าของการฝกึ อบรมหรอื มีความสนใจใน
ลักษณะไฟไหม้ฟาง ขาดความต่อเนื่องและขาดการสนับสนุนอย่างแทจ้ รงิ เป็นลักษณะของการจดั ให้เสรจ็ ๆ ไป
2. ผู้บรหิ ารไม่สนับสนนุ ให้มีการนาความรู้ ทักษะ และการจดั การทไี่ ด้รบั จากการฝกึ อบรมไปใชใ้ นการ
ทางานทาให้เกิดความสูญเสียในการลงทุนค่าใชจ้ า่ ย
3. การกาหนดเนื้อหาในหลักสูตรหรอื ระยะเวลายังไม่เหมาะสม ไม่ชดั เจน ไม่ครอบคลุมเนื้อหาจะต้องมี
การวางแผนหรอื กาหนดเป้าหมายที่ชดั เจน
6.9 สาเหตุทที่ าให้การฝกึ อบรมประสบความสาเรจ็
1. การกาหนดเปา้ หมายทชี่ ดั เจน
2. จะต้องทาให้ผูเ้ ข้ารว่ มการฝกึ อบรมมีบรรยากาศของการฝกึ อบรมทไ่ี ม่เครยี ด สนุกสนานเพลิดเพลิน
กับกิจกรรมท่ีวทิ ยากรถ่ายทอดและกระตุ้นให้อยากรู้ สรา้ งการเรยี นรใู้ ห้เกิดขึ้นในห้องเรยี นในบรรยากาศของความ
เปน็ กันเอง
36
3. วทิ ยากรจะต้องเป็นผู้มีความรแู้ ละประสบการณ์ในการทางาน มีความสามารถในการถ่ายทอด
4. มีการประเมินความรูค้ วามสามารถในการถ่ายทอดความรูค้ วามสามารถทงั้ ของวทิ ยากรและผลสัมฤทธ์ิ
ในการเรยี นรขู้ องผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมและการบรรลุเปา้ หมายของโครงการฝกึ อบรมนัน้ ด้วย
รูปที่ 6.3 บรรยากาศกาการอบรม
6.10 การฝกึ อบรมทีป่ ระสบผลสาเรจ็
1. มีการกาหนดเป้าหมายทช่ี ดั เจน
2. จะต้องทาให้ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมมีบรรยากาศของการอบรมท่ีไม่เครยี ด สนุกสนานเพลิดเพลินกับ
กิจกรรมทีว่ ทิ ยากรถ่ายทอดและกระตุ้นให้อยากรู้ สรา้ งการเรยี นรใู้ ห้เกิดข้ึนในห้องเรยี นในบรรยากาศของความเปน็
กันเอง
3. วทิ ยากรจะต้องเป็นผู้มีความรแู้ ละประสบการณ์ในการทางาน มีความสามารถในการถ่ายทอด
4. มีการประเมินความรคู้ วามสามารถในการถ่ายทอดความรคู้ วามสามารถ ท้ังของวทิ ยากรและ
ผลสัมฤทธใิ์ นการเรยี นรูข้ องผูเ้ ข้ารบั การฝึกอบรมและการบรรลุเป้าหมายของโครงการฝกึ อบรมนั้นด้วย
องค์ประกอบของหลักสูตร (Curriculum Component)
องค์ประกอบของหลักสูตรทาให้ผู้ใชห้ ลักสูตรทราบแนวทางในการนาหลกั สูตรไปใชไ้ ด้อย่างสอดคล้องและเหมาะสม
กับเจตนารมณ์ของหลักสูตร พอสรปุ จากแนวคิดเก่ียวกับองค์ประกอบของหลักสูตร ดังนี้
1. จุดมุ่งหมายของหลกั สูตร (Curriculum Aims)
หมายถึง ความตั้งใจหรอื ความคาดหวังที่ต้องการให้เกิดขึ้นในตัวผู้ท่จี ะผ่านหลกั สูตร
จุดมุ่งหมายของหลักสูตรมีความสาคัญเพราะเปน็ ตัวกาหนดทิศทางและขอบเขตใน
การให้การศึกษาแก่ผเู้ รยี น
2. เน้ือหา (Content)
หมายถึง เนื้อหาประสบการณ์การเรยี นรตู้ ่าง ๆ ทค่ี าดว่าจะชว่ ยให้ผู้เรยี นพัฒนา
ไปสู่จุดมุ่งหมายท่ีกาหนดไว้ โดยดาเนินการตั้งแต่การเลือกเน้ือหาและประสบการณ์
การเรยี งลาดับเนื้อหาสาระ พรอ้ มทง้ั การกาหนดเวลาเรยี นท่ีเหมะสม
3. การนาหลักสูตรไปใช้ (Curriculum Implementation)
หมายถึง การนาหลักสูตรไปสู่การปฏิวตั ิ ซงึ่ ประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ
(การจดั ทาวัสดุหลักสูตร ได้แก่ ค่มู ือครู เอกสารหลักสูตร แผนการสอน และแบบเรยี น ฯลฯ)
, การจดั เตรยี มความพรอ้ มด้านบุคลากรและสงิ่ แวดล้อม (การจดั โต๊ะเก้าอ้ี ห้องเรยี น
วัสดุอุปกรณ์ในการเรยี น จานวนครแู ละสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ), การดาเนินการสอน
37
4. การประเมินผลหลักสูตร (Evaluation)
หมายถึง การหาคาตอบว่า หลักสูตรสัมฤทธผิ ลตามทก่ี าหนดไวใ้ นจุดมุ่งหมายหรอื
ไม่มากน้อยเพียงใดและอะไรเป็นสาเหตุ
ลักษณะของหลักสูตรที่ดี
1. ตรงตามความมุ่งหมายของการศึกษา
2. ตรงตามลักษณะของพัฒนาการของเด็กในวยั ต่างๆ
3. ตรงตามลักษณะวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและเอกลกั ษณ์ของชาติ
4. มีเน้ือหาสาระของเรอ่ ื งสอนบรบิ ูรณ์เพียงพอทีจ่ ะชว่ ยให้นักเรยี นคิดเปน็ ทาเป็นและมพี ัฒนาการในทุกด้าน
5. สอดคล้องกับชวี ติ ประจาวนั ของผูเ้ รยี น
6. หลักสูตรท่ดี ี ควรสาเรจ็ ขึ้นด้วยความรว่ มมือของทกุ ฝา่ ย
7. หลกั สูตรท่ดี ี จะต้องยืดหยุน่ ได้ตามความเหมาะสมกับสภาพการณ์ต่าง ๆ
8. หลักสูตรที่ดีจะต้องให้นักเรยี นได้เรยี นรตู้ ่อเนื่องกันไป และเรยี งจากความยากงา่ ยไม่ให้ขาดตอนจากกัน
9. หลักสูตรทด่ี ีจะต้องเปน็ ประสบการณ์ที่เก่ียวกับชวี ติ ประจาวันของเด็ก
10. ต้องเพิ่มพูนและสง่ เสรมิ ทกั ษะเบือ้ งต้นท่ีจาเปน็ ของเด็ก
11. หลักสูตรท่ีดีย่อมส่งเสรมิ ให้เด็กเกิดความรู้ ทกั ษะ เจตคติ ความคิดรเิ รม่ ิ มีความคิดสรา้ งสรรค์ในการดาเนินชวี ติ
12. หลักสูตรทดี่ ีจะต้องส่งเสรมิ ให้เด็กทางานอิสระและทางานรว่ มกันเปน็ หมู่คณะ
13. หลักสูตรที่ดีย่อมบอกแนวทาง วธิ สี อน และอุปกรณ์สื่อการสอนประกอบเนื้อหาสาระทจ่ี ะสอนไวอ้ ยา่ งเหมาะสม
14. หลักสูตรทดี่ ียอ่ มมกี ารประเมินผลอยู่ตลอดเวลา
15. หลักสูตรที่ดีจะต้องจดั ประสบการณ์ให้เด็กเกิดความรู้ ความเข้าใจ และมีโอกาสแก้ปญั หาต่าง ๆ
16. หลักสูตรทีด่ ี ต้องส่งเสรมิ ให้เด็กรจู้ กั แก้ปญั หา
17. หลักสูตรท่ีดี ต้องจดั ประสบการณ์ทม่ี ีความหมายต่อชวี ติ ของเด็ก
18. หลักสูตรที่ดีต้องจดั ประสบการณ์และกิจกรรมหลายๆ อย่าง
19. หลักสูตรท่ดี ีจะต้องวางกฎเกณฑไ์ ว้อยา่ งเหมาะสมแก่การนาไปปฏิบัติและสะดวกแก่การวดั และประเมินผล
@@@@@@@@@@@@@@@@
38
วธิ ที ำน้ำหมัก สมุนไพร 7 รส มูลนิธกิ สิกรรมธรรมชำติ
“เล้ียงดิน ให้ดินเลยี้ งพืช”
กำรทำนำ้ หมักอินทรยี ์ชวี ภำพจำกสมุนไพร 7 รส ทใี่ ชป้ ระโยชน์ทำงกำรเกษตร มีวธิ ที ำทเ่ี หมือนกัน
ทกุ รส แตกต่ำงกันทวี่ ตั ถุดิบหลัก คือ สมุนไพรแต่ละชนิด ซง่ึ มีประสิทธภิ ำพแตกต่ำงกัน ดังน้ัน จงึ
ต้องเลือกใชใ้ ห้ตรงกับควำมต้องกำรของเรำ
“นำ้ หมักอินทรยี ์ชวี ภำพ คือ อำหำรของจุลินทรยี ์ ไม่ใชจ่ ุลนิ ทรยี ์ แต่เปน็ อำหำรจุลินทรยี ์ จะ
ทำให้จุลินทรยี แ์ ขง็ แรงและเพ่ิมจำนวน ชว่ ยในกำรย่อยสลำยอินทรยี ว์ ัตถุอยำ่ งรวดเรว็ ”
สมุนไพร 7 รส
1. สมุนไพรท่มี ี รสจดื : บำรุงดิน บำบดั น้ำ บำบัดของเสีย เชน่ ข้ำว, ยำ่ งนำง, ผักบุ้งไทย, รวง
ขำ้ ว, ผกั ตบชวำ, หน่อกล้วย
2. สมุนไพรทมี่ ี รสขม : สรำ้ งภมู คิ ุ้มกันเชอ้ื ไวรสั และเชอื้ แบคทีเรยี เชน่ ฟ้ำทะลำยโจร, สะเดำ,
บอระเพ็ด, หญ้ำใต้ใบ, เสลดพงั พอน, ขีเ้ หลก็
3. สมุนไพรที่มี รสฝำด : ป้องกันเชอื้ รำในโรคพืช เชน่ เปลือกแค, เปลอื กมังคุด, ใบฝรงั่ , ใบ
ทบั ทมิ , เปลือกลกู เนียง
4. สมุนไพรที่มี รสเมำเบื่อ : ปอ้ งกันแมลง ฆ่ำหนอน เพล้ยี และแมลงอื่นๆ เชน่ หำงไหล, ขอบ
ชะนำงแดง-ขำว, สลัดได, แสยก, หนอนตำยหยำก, ใบน้อยหน่ำ, พญำไรใ้ บ, เม็ดมะกลำ่
5. สมุนไพรทม่ี ี รสหอมระเหย : ปอ้ งกันและไล่แมลง เปล่ยี นกลน่ิ ต้นพืช เชน่ ตะไครห้ อมไล่ยุง,
ตะไครบ้ ้ำน, สำบเสือ, โหระพำ, กะเพรำ, ผกั ช,ี กะทกรก
6. สมุนไพรทมี่ ี รสเผ็ดรอ้ น : ป้องกันและกำจดั แมลง ทำให้แมลงแสบรอ้ น เชน่ พรกิ , พรกิ ไทย,
ขำ่ , กระเทยี ม, ดีปลี
7. สมุนไพรทมี่ ี รสเปรย้ ี ว : ปอ้ งกันไล่แมลง เชน่ เปลอื กส้ม, มะนำว, มะกรูด, มะขำม, สับปะรด,
มะเฟือง, ตะลิงปลงิ
39
40
วธิ ที ำนำ้ หมักอินทรยี ช์ วี ภำพจำกสมุนไพร 7 รส และส่วนผสม
1. ถังหมักทำจำกวสั ดุทไ่ี มถ่ ูกกัดกรอ่ นป้องกันไมใ่ ห้แสงและอำกำศเข้ำได้ ( ถังพลำสติก โอ่งมี
ฝำล็อค 200 ลิตร ) สีน้ำเงนิ มีเข็มขัดลอ็ ค
2. พชื แต่ละรสทเี่ รำต้องกำรหมกั 3 ส่วนเทยี บเป็นกิโลกรมั หั่นเปน็ ชนิ้ เลก็ ๆ
3. หวำน สำคัญถ้ำน้ำตำลน้อยจะทำให้เน่ำ นำ้ ตำลชนิดต่ำงๆ 1 ส่วน หรอื 1 กก. ยกเว้นน้ำตำล
ทรำยขำว, กำกน้ำตำล แนะนำน้ำตำลทค่ี นกินได้เชน่ นำ้ ตำลทรำยแดง, น้ำตำลป๊ บี , น้ำตำล
ปกึ , นำ้ ตำลอ้อย
4. น้ำหมักเก่ำ ทห่ี มกั จำกพืชรสจดื 1 ส่วน, 1 กก, 1 ลติ ร ไปเรง่ ปฎิกิรยิ ำให้ยอ่ ยเรว็ ขนึ้ ไม่ใส่ได้
แต่จะยอ่ ยชำ้ ต้องหมักนำนขน้ึ
5. น้ำเปล่ำ น้ำสะอำด 10 กิโลกรมั = 10 ลิตร
6. สรุปอัตรำส่วน พืช 3 กก + หวำน ( น้ำตำล ) 1 กก + นำ้ หมักเก่ำ ( รสจดื ) 1 ลติ ร + น้ำ
สะอำด 10 ลิตร ( ถ้ำใชอ้ ้อยสด ใชอ้ ัตรำเทำ่ กับพืช 1:1 เชน่ พืช 3 กก ใชอ้ ้อยสด 3 กก )
7. หำกจะหมักเพ่ิมขน้ึ สำมำรถปรบั ได้จำกอัตรำส่วนด้ำนบนเพ่ิมจำนวนได้
8. ทกุ สูตรข้นั ตอนกำรทำเหมอื นกัน เปล่ยี นแค่พืชอย่ำงเดียว
9. ถ้ำใชห้ น่อกลว้ ย ใชห้ น่อกลว้ ยได้ทกุ ชนิด ใชห้ น่อทส่ี ูงประมำณ 1 เมตร
10. เททกุ อยำ่ งลงในถังคนให้เขำ้ กัน+น้ำหมักรสจดื เก่ำจะเกิดจุลนิ ทรยี ท์ ำปฎิกิรยิ ำยอ่ ยกัน
ก่อน หมักไว้ 15 วนั แล้วค่อยเปดิ เติมนำ้ นับต่อไปอีก 30 วนั
11. 3 วันมำเปิดระบำยแก๊สครง้ั หนง่ึ ถ้ำมีหนอนไมต่ ้องตกใจเดี๋ยวมันจะตำยและยอ่ ยสลำยอยูใ่ นน้ี
12. เดือน1 เปน็ แก๊ส, เดือน 2 เปน็ กรด, เดือนท่ี 3 เปน็ แอลกอฮอล์
13. สำคัญทสี่ ุดอย่ำให้แสงกับอำกำศเขำ้ เปน็ เวลำนำนมันถึงจะเรม่ ิ ย่อย เม่ือเรม่ ิ ยอ่ ยจะเกิด
แก๊ส ต้องคอยมำเปดิ ระบำยแก๊สออก ( ต้องมชี อ่ งวำ่ งด้ำนบนระหว่ำงฝำกับน้ำหมัก
ประมำณ 10% ของถัง ถ้ำไม่มีชอ่ งวำ่ งจะบวมและฝำแตก )
14.พอครบ 3 เดือน หรอื จะ 4, 5, 6 เดือน ก็ได้ไม่เป็นไร แล้วค่อยเอำน้ำไปใช้ เน้นน้ำหมักรส
จดื เปน็ หลกั เพรำะจะใชเ้ ยอะ
15.ใชไ้ ด้นำนจนกวำ่ จะมีกล่ินเหม็น ถ้ำมีกล่นิ เหม็นแปลวำ่ จุลินทรยี ก์ ินน้ำตำลหมดแล้ว ให้
ละลำยน้ำตำล 100 ลติ ร / น้ำตำล 1 กก แลว้ คน ให้เข้ำกันแลว้ ปล่อยทงิ้ ไว้ 10-20 วัน
16.ถ้ำกลนิ่ กลับมำสภำพเดิมแปลวำ่ นำ้ ตำลพอดีแลว้ นำไปใชต้ ่อได้
17. ถ้ำกลน่ิ ยงั ไมก่ ลับมำเหมือนเดิมยังเหม็นอยู่ ให้ลองเติมเพ่ิมอีก 0.5 กก คนแล้วรอดูอกี
10 วัน ถ้ำกลิ่นยงั ไม่กลับมำเหมือนเดิม แสดงว่ำ นำ้ ตำลยังไม่พอให้เติมน้ำตำลอกี 0.5 กก
คนให้เข้ำกัน รอ 10 วนั ไปเรอ่ ื ยๆ จนกว่ำกลิน่ จะกลับมำไม่เหม็นเหมือนเดิมจงึ นำไปใชต้ ่อได้
41
วธิ คี ำนวณทำน้ำหมัก ถัง 200 ลิตร
สูตร 3:1:1:10 = 15 ส่วน + ชอ่ งวำ่ ง 1 ส่วน = 16 ส่วน
200 ลติ ร / 16 ส่วน = 12.5 ลิตร ( กิโลกรมั ) / 1 ส่วน
พืช : 3 ส่วน x 12.5 = 37.5 กก.
หัวเชอื้ ( น้ำหมกั รสจดื เก่ำ ) : 1 ส่วน = 12.5 ลติ ร
นำ้ ตำลทรำยแดง : 1 ส่วน = 12.5 กก.
น้ำสะอำด : 10 ส่วน x 12.5 = 125 ลติ ร
คนให้เข้ำกันสม่ำเสมอถ้ำคนไมเ่ ข้ำกันจะเน่ำ ต้องคนให้น้ำตำลละลำย
วธิ ใี ชน้ ำ้ หมักอินทรยี ์ชวี ภำพ
1. ใชร้ ดรำดดิน บำรงุ ดิน น้ำหมักรสจดื 1 : น้ำ 200 ( ถ้ำเปน็ สะระแหน่ ต้องใช้ 1: 2,000 )
2. ใชฉ้ ีดพ่นใบ น้ำหมกั 1 : 400
3. ใชบ้ ำบัดน้ำในบ่อ น้ำหมักรสจดื 10 ลติ ร : บอ่ นำ้ 1 ไร่
4. ฉีดพ่นพ้ืนคอกสัตว์ ดับกลิ่นสง่ิ ปฎิกลู รำดชกั โครก น้ำหมักรสจดื 1 : นำ้ 200
5. ไล่แมลงวัน : 1/100
6. ฆำ่ หญ้ำ : 1/10 + เกลอื
ตัวอย่ำง
ถ้ำใชบ้ ัวรดน้ำขนำด 10 ลิตร จะใชน้ ำ้ หมัก 50 ซซี ี หรอื ประมำณ 3 ชอ้ นโต๊ะ
เคลด็ ลับ
เอำของทมี่ ใี นพ้ืนท่ี ท้องที่ เพื่อให้เรำพึ่งพำตนเองให้ได้มำกทส่ี ุด ถ้ำเรำพึ่งตนเองได้มำก
เทำ่ ไหร่ ต้นทนุ เรำจะลด แลว้ ต้นทนุ ทเี่ รำลด มันปลอดภัย เปน็ ของทเ่ี รำมีเอง ไม่มีสำรพษิ
ตกค้ำง ไม่มสี ำรเคมี มนั จะทำให้เรำทำแล้วเหลือมำกขึ้น
จุลนิ ทรยี ห์ น่อกลว้ ย ต้องใชใ้ ห้หมดภำยใน 1 เดือนมิเชน่ น้ันเชอ้ื จุลินทรยี จ์ ะตำย หรอื
เชอ้ื จุลินทรยี ์จะลดลงไปเรอ่ ื ยๆ
https://www.youtube.com/watch?v=d7kY-4Mn0sI&t=40s
42
วธิ ที ำปุ๋ยหมกั แห้ง ( แห้งชำม ) มลู นิธกิ สิกรรมธรรมชำติ
1. วธิ ที ำปุย๋ หมกั แห้ง ( แห้งชำม ) มูลนิธกิ สิกรรมธรรมชำติ
ปุ๋ย - อินทรยี วัตถุ
ปุย๋ หมกั แห้งอินทรยี ช์ วี ภำพ
สูตรมลู สัตว์
ส่วนประกอบ
มลู สัตว์ หรอื ปยุ๋ คอก 1 กระสอบ
อินทรยี ว์ ตั ถุ ( แกลบ เศษใบไม้ หรอื ซงั ขำ้ วโพด ฯลฯ ) 1 กระสอบ
แกลบดำ หรอื ถ่ำนแกลบ 1 กระสอบ
รำอ่อน 1 กระสอบ
น้ำสะอำด 10 ลิตร (ถ้ำวตั ถดุ ิบแห้งมำกก็สำมำรถเพิ่มปรมิ ำณขน้ึ )
หัวเชอื้ จุลนิ ทรยี ์เขม้ ขน้ 1 ลติ ร
วธิ ที ำ
1. เทอินทรยี ว์ ัตถุ สลับกบั มูลสัตว์ หรอื ปุ๋ยคอก จนได้ควำมสงู กองประมำณ 90 ซม.
2. ผสมคลุกเคล้ำให้เขำ้ เปน็ เน้ือเดียวกัน
3. ผสมนำ้ กับหัวเชอ้ื จุลนิ ทรยี เ์ ขม้ ขน้ ให้เขำ้ กัน รดลงบนกองวตั ถุอินทรยี ์ และผสม
ให้เขำ้ กันจนมคี วำมชน้ื ประมำณ 35% โดยทดลองกำดู จะเกำะกันเปน็ ก้อนได้
แต่ไมเ่ หนียว และเมอื่ ปลอ่ ยทงิ้ ลงพนื้ จำกควำมสงู ประมำณ 1 เมตร ก้อนปุ๋ยจะ
แตก แต่ยังมีรอยน้ิวมอื เหลืออยู่
43
4. คลกุ เคล้ำให้เขำ้ กันดี ตักปุย๋ ใส่กระสอบ และมดั ปำกถงุ ให้แน่น
5. กองกระสอบปุย๋ ซอ้ นกันเปน็ ชนั้ ๆ และควรวำงเรยี งกระสอบให้ห่ำงกนั เพอ่ื ให้
ควำมรอ้ นสำมำรถระบำยออกได้ทง้ั 4 ด้ำน เพอื่ ไม่ต้องกลบั กระสอบทกุ วัน
6. ทง้ิ ไว้ประมำณ 5-7 วัน ตรวจดูว่ำมีกลน่ิ หอมและไมม่ ไี อรอ้ น ก็สำมำรถนำไปใช้
งำนและเก็บรกั ษำไว้ได้นำน
วธิ ใี ช้
ควรใชต้ ้ังแต่ในขน้ั ตอนของกำรเตรยี มดิน โดยผสมคลกุ เคล้ำกับดินในแปลง เสรจ็
แลว้ คลุมดินด้วยฟำงใบไมห้ รอื กิ่งไม้ และควรหมักดินทง้ิ ไว้ 7 วนั จงึ จะเรม่ ิ ลงมอื ปลกู
พชื (ในกรณีทเ่ี ปน็ นำขำ้ วพชื ไรแ่ ละพชื ผกั )
อัตรำกำรใช้
นำขำ้ ว 200 กิโลกรมั : 1 ไร่
พืชไร/่ ผัก 2 กำมือ : 1 ตำรำงเมตร
ไม้ยนื ต้นพชื สวน 1 กิโลกรมั : 1 ตำรำงเมตร
ขอ้ แนะนำ
ในกำรใชป้ ุ๋ยหมกั แห้งอนิ ทรยี ์ชวี ภำพให้ได้ผลดีนั้น หลงั จำกหว่ำนหรอื คลกุ ผสมปุ๋ย
หมกั แห้งกับดินแลว้ ควรคลมุ ดินด้วยฟำง เศษหญำ้ หรอื เศษใบไม้ จำกน้ันใชป้ ยุ๋ น้ำ
หมกั อินทรยี ช์ วี ภำพรดลงไป ในอัตรำส่วน 1 : 200 จะชว่ ยให้ดินรว่ นซุยและฟขู นึ้ ทำ
ให้รำกพืชเติบโตได้ดี
44
45
46
47