The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ที่นี่บ้านโคกล่ามแสงอร่าม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by datapidthong, 2022-02-04 03:23:38

ที่นี่บ้านโคกล่ามแสงอร่าม

ที่นี่บ้านโคกล่ามแสงอร่าม

Keywords: ที่นี่บ้านโคกล่ามแสงอร่าม

บทนำ� : เสียงจากชาวบา้ นโคกลา่ ม-แสงอร่าม 
“ทน่ี บี่ า้ นโคกลา่ ม-แสงอรา่ ม” ตำ� บลกดุ หมากไฟ อำ� เภอหนองววั ซอ จงั หวดั อดุ รธานี
หมู่บ้านของเราโอบล้อมไปด้วยแนวเขายาวที่มาของค�ำว่า “โคกล่าม” และน่ันคือ
ภาพท่ีพวกเราชาวโคกล่ามเห็นชินตามาหลายปี แต่เพียงไม่ก่ีสิบปีมานี้ หลายอย่าง
เปลีย่ นแปลงไป จากยุคบกุ เบกิ เขา้ หกั ร้าง ถางพง จับจองพน้ื ท่ี จากหยาดเหงื่อแรงกาย...
ความเหนอื่ ยยากของคนรนุ่ ปู่ รนุ่ พอ่ ทไี่ ดเ้ ขา้ มาตงั้ ถน่ิ ฐานอยทู่ น่ี ี่ มาจนถงึ ยคุ แหง่ การเดนิ ทาง
แสวงหา เมอ่ื คนหนมุ่ สาว พากนั ทงิ้ บา้ นเรอื นออกไปเพอ่ื คน้ หาเสน้ ทางของตวั เอง เดนิ ตาม
ความฝันหวังว่าเส้นทางข้างหน้าจะเป็นเส้นทางแห่งความส�ำเร็จ ร�่ำรวยเงินทองและม่ังมี
บา้ งเดนิ หนา้ เข้าสเู่ มอื ง บา้ งเสยี่ งแสวงโชคไปยงั ดนิ แดนหา่ งไกลคร่ึงโลก

ภารกิจของผู้กล้าแห่งโคกล่าม-แสงอร่ามในวันน้ัน คือ การเดินดุ่มออกไปข้างหน้า
ไปเผชญิ โชค เผชญิ ภยั ยงั ตา่ งแดน แลกกบั เงนิ ตราทสี่ ง่ มาเพอ่ื ปากทอ้ งทร่ี อคอยอยขู่ า้ งหลงั
แม้รู้ว่าหนทางนั้นไกลห่างจากความสบายแต่พวกเขาก็ไม่เคยย่อท้อ จนเมื่ออรุณรุ่งของ
การเดนิ ทางไปทำ� งานต่างประเทศเริม่ หร่ีจางแสงลง หลายคนพบวา่ เงินทองทแ่ี ลกกับการ
จากบ้าน จากครอบครัวน้ันมันมีค่ามากเกินไปที่จะแลก หลายคนแม้ส่งเงินกลับมาที่บ้าน
ได้มากมายแต่อะไรคือความหมายของครอบครัว และเม่ือวัยล่วงเลยผ่านหลายคนก็หมด
โอกาสท่จี ะไปทำ� งานต่างประเทศได้แลว้

วนั นีบ้ า้ นโคกลา่ ม-แสงอรา่ ม จึงกา้ วเข้าสู่ยคุ สมยั แห่งความเปลย่ี นแปลงอีกคร้งั แต่
ครงั้ นเี้ กดิ จากการเปลยี่ นแปลงของพวกเรากนั เอง เปน็ ความเปลยี่ นแปลงทสี่ ำ� คญั ทพี่ วก พอ้ ง
นอ้ งพี่ พรอ้ มใจกนั จบั มอื กนั ชกั ชวนกนั ลกุ ขน้ึ มากำ� หนดอนาคตของพวกเรากนั เอง แกป้ ญั หา
ของเรากันเอง พวกเรารบั ฟงั ปรกึ ษา ถกเถียงและหาทางออก เลือกและตัดสินใจ จนวนั นี้
พวกเราชาวโคกลา่ ม-แสงอรา่ ม รสู้ กึ ยนิ ดแี ละเตม็ ใจทจี่ ะบอกวา่ ทกุ ผนื นาทพ่ี ลกิ ฟน้ื คนื ชวี ติ
ทกุ พชื พนั ธท์ุ เี่ ตบิ โตในพนื้ ทนี่ ี้ ทกุ ฝกั ขา้ วโพด ทกุ เมลด็ ขา้ วทง่ี อกงามทา่ มกลางวงลอ้ มของ
แนวเทอื กเขาโคกลา่ ม เกดิ จากน�้ำพกั น้�ำแรง และความสามคั คขี องพวกเรา ชาวโคกลา่ ม-
แสงอร่าม และพร้อมอย่างยิ่งท่ีจะเปิดบ้านของเราให้กับชาวอุดรและคนจากท้องถ่ินอื่นๆ
ได้เข้ามาร่วมเรียนรู้เพ่ือน�ำแนวคิด วิธีการ ความรู้ท่ีเราได้กลับไปพลิกฟื้นคืนความอุดม
สมบรู ณใ์ หก้ บั ผนื แผน่ ดนิ ไทย ใหม้ พี ออยู่ พอกนิ และยงั่ ยนื เหมอื นกบั ทพี่ วกเราชาวโคกลา่ ม-
แสงอร่าม ท�ำส�ำเรจ็ มาแล้ว

จากใจพี่นอ้ งชาวโคกล่าม-แสงอรา่ ม

บทที่ ๑ : “น้�ำ” คอื ชวี ิต

บา้ นโคกล่าม-แสงอร่าม กเ็ หมือนกบั ทอี่ นื่ ๆ คอื ยังชีวติ ด้วยการท�ำนา ท�ำไร่ ปลกู ผกั
เราเล้ียงหมู เลี้ยงไก่ เลี้ยงหม่อนไหมเป็นสิ่งที่ท�ำกันมาจากรุ่นไหนก็ไม่รู้ได้ รู้แต่ว่าวิถีชีวิต
กเ็ ป็นเชน่ น้ีแต่เราเกิด เราเห็นมาแต่เล็กแต่นอ้ ย ยามว่างผู้หญงิ ก็จะทอผ้า ส่วนพวกผูช้ าย
คนเฒา่ คนแก่ กจ็ ะพากนั สานกระบงุ ตะกรา้ กระตบิ๊ เอาไวใ้ ชใ้ นครวั เรอื น บางทกี ไ็ ดข้ ายบา้ ง
พอไดเ้ งนิ มาเลย้ี งดกู นั เองในครวั เรอื น พออยกู่ นั มาได้ แตก่ ารทำ� นาทนี่ ก่ี เ็ หมอื นกบั ทกุ ทเี่ มอ่ื
ลกู หลานทำ� นาเยอะขน้ึ เรอื่ ยๆ นำ�้ ทจ่ี ะใชท้ ำ� นากไ็ มพ่ อ แมว้ า่ จะเปน็ การทำ� นาปลี ะครง้ั กย็ งั
ไม่ค่อยจะพอ แต่พวกเราก็ไม่ย่อทอ้

ปี ๒๕๓๙ เรารวมตัวกันท�ำโครงการ “น้�ำจ้อก” เพื่อหาทางแก้ปัญหาขาดแคลนน�้ำ
โดยตัดเอาไม้ไผ่จากในป่า มาท�ำเป็นประปาภูเขา เอาน�้ำจากบนภูมาใช้ ปีน้ันหมู่บ้านเรา
ได้รับรางวัล จากพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้น
ในฐานะหมบู่ า้ นทนี่ �ำเอาธรรมชาตมิ าใชไ้ ดอ้ ยา่ งดเี ยยี่ ม ทา่ นวา่ ทง้ั ไมท่ ำ� ลายและยงั สง่ เสรมิ
น�ำมาใช้ประโยชน์ได้ ยิ่งชาวบ้านได้ประโยชน์โดยใช้น�้ำจากป่าได้ ชาวบ้านก็จะยิ่งรักษาไว้
ปีน้ันท�ำให้พวกเราภาคภูมิใจมาก ความรู้สึกว่าได้ท�ำสิ่งที่ย่ิงใหญ่มีค่ามากกว่าเงินรางวัล
ทม่ี ากมายถงึ กวา่ ๓๐๐,๐๐๐ บาทกต็ าม

จากนน้ั ดว้ ยความพยายามของพวกเราชาวโคกลา่ ม-แสงอรา่ มทร่ี ว่ มกนั คดิ รว่ มกนั ทำ�
ดว้ ยความสามคั คี เปน็ เวลากวา่ ๑๖ ปี ทพ่ี วกเราผา่ นความลำ� บากยากเขญ็ มาดว้ ยกนั เราได้
เรียนรู้ประสบการณ์มากมาย และวันนี้พวกเราสามารถเอ่ยปากด้วยความภาคภูมิใจว่า
ชาวโคกลา่ ม-แสงอรา่ มมองเหน็ ทางออกจากปญั หา ดว้ ยการทำ� งานรว่ มกนั ของพวกเราเอง
หากไดม้ าเยย่ี มเยยี นบา้ นโคกลา่ ม-แสงอรา่ มแหง่ นี้ ทกุ ทา่ นจะไดร้ บั ความประทบั ใจกลบั ไป
จากความตัง้ ใจของพวกเราทีอ่ ยากทำ� ใหบ้ ้านของเราเปน็ หมบู่ า้ นท่ีน่ามอง สะอาดและเปน็

ระเบยี บ บนวถิ ชี วี ติ ทยี่ งั คงความเรยี บงา่ ยและสงบสขุ โดยนอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียงลงสกู่ ารปฏิบตั ิ

วนั น้ี ชาวบา้ นโคกลา่ ม-แสงอรา่ ม มนี ำ�้ ใชอ้ ยา่ งเพยี งพอจากทอ่ นำ้� ทต่ี อ่ จากอา่ งเกบ็ นำ้�
หว้ ยคลา้ ย อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ เปน็ นำ�้ จากทอ่ ทพ่ี วกเราลงแรงขดุ กนั ขนึ้ มาเองและ
บริหารจัดการแบ่งปันน้�ำกันเอง มีองค์ความรู้ด้านการเกษตรท่ีพวกเราต้ังใจไปเรียนรู้และ
น�ำมาถ่ายทอด วิถีการท�ำการเกษตรด้วยการลงแขกกลับมาอีกคร้ัง หลังนาเราปลูกพืช
ทง้ั ขา้ วโพด ฟกั ทอง แตงกวา ผกั บงุ้ และเหด็ เรามอี าหารเพยี งพอจากการเลยี้ งหมู เลย้ี งเปด็
เลีย้ งววั กิจกรรมต่างๆ เหลา่ นล้ี ้วนเป็นกิจกรรมทชี่ าวบา้ นร่วมกนั คดิ รว่ มกนั ทำ� เพิ่มเตมิ
จากการท�ำนาเพยี งปลี ะครงั้ ในอดีต

...เรือ่ งราวดๆี เหลา่ น้เี กิดข้นึ เมอ่ื โครงการปิดทองหลงั พระฯ โดยสถาบันสง่ เสริมและ
พัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำริเข้ามาช่วยสนับสนุนด้วยการ
กระตุ้นหนุนเสริมให้พวกเราร่วมกันคิดหาทางออกจากปัญหาที่ประสบด้วยตัวเอง ด้วย
การมอบองค์ความรู้ ด้วยการเป็นท่ีปรึกษาแก้ไขปัญหาและด้วยการประสานหน่วยงานท่ี
เก่ยี วขอ้ งในด้านตา่ งๆ เพ่อื แกป้ ญั หาเรอ่ื งของการจดั การน้ำ� อยา่ งยั่งยืน

“...หลกั สำ� คญั ตอ้ งมนี ำ�้ นำ�้ บรโิ ภคและนำ�้ ใช้ นำ้� เพอื่ การเพาะปลกู เพราะชวี ติ อยทู่ นี่ นั่
ถา้ มนี ำ�้ คนอยไู่ ด้ ถา้ ไมม่ นี ำ้� คนอยไู่ มไ่ ด้ ไมม่ ไี ฟฟา้ คนอยไู่ ด้ แตถ่ า้ มไี ฟฟา้ ไมม่ นี ำ�้ คนอยไู่ มไ่ ด”้
พระราชดำ� รสั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ เมอื่ วนั ท่ี ๑๗ มนี าคม ๒๕๒๙ ณ พระต�ำหนกั
จติ รลดารโหฐาน สวนจติ รลดา เปน็ การแสดงใหเ้ หน็ ชดั ถงึ ความสำ� คญั ของ “นำ้� ” ทม่ี ตี อ่ ทกุ ชวี ติ
หากมนี ำ�้ ทเ่ี พยี งพอทกุ ชวี ติ กจ็ ะสามารถมคี วามเปน็ อยทู่ ี่ “กนิ ดี อยดู่ ”ี ขน้ึ เพราะนำ�้ คอื ชวี ติ
ดงั ที่พวกเราชาวบ้านโคกลา่ ม-แสงอรา่ มไดพ้ ิสจู น์ให้เห็นแลว้

ชาวบา้ นโคกล่าม-แสงอร่าม
พุทธศักราช ๒๕๕๕

บทที่ ๒ : กวา่ จะมาเปน็ วนั น้ี
บา้ นโคกลา่ ม บา้ นแสงอรา่ ม สองหมบู่ า้ นทมี่ อี าณาเขตใกลช้ ดิ ตดิ กนั และมสี ายสมั พนั ธ์
เหนียวแน่น ด้วยเติบโตมาจากเครือญาติ พี่น้อง เพ่ือนฝูงที่เดินทางมาลงหลักปักฐาน ณ
ท่ีราบเชิงเขาทเ่ี รยี งตวั เปน็ แนวยาวจึงเป็นทีม่ าของชอ่ื บ้านโคกล่าม

“ท้ัง ๒ หมู่บ้าน มาอยู่ท่ีนี่ก็ต้ังแต่ปี ๒๔๙๓ สมัยนั้นยังไม่เป็นหมู่บ้านเป็นแต่บ้าน
มีผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านช่ือว่า นายบุญเพ็ญ คนกลาง เป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านขึ้นกับกุดหมากไฟ
ตำ� บลหมากหญา้ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั อดุ รธานี อยตู่ อ่ มากส็ รา้ งบา้ นเมอื ง ขยายขนึ้ มาในนามวา่
บ้านโคกล่าม เพราะว่าโนนมันยาวเลยเรียกว่าโคกล่าม อยู่ต่อมาปี ๓๘ มาแยกหมู่บ้าน
ออกเป็น ๒ หมู่บ้าน คอื บ้านโคกล่ามและแสงอรา่ มต่อกนั มา”

นายสมยั มะแพน ปราชญช์ าวบ้านของบา้ นโคกล่าม-แสงอรา่ ม บอก
เล่าเรอื่ งราวยอ้ นร�ำลึกความหลงั คร้ังเมอ่ื ตง้ั หมูบ่ ้าน

ชาวบ้านท่ีนี่พ้ืนเพเดิมน้ันเป็นคนจาก อ�ำเภอโนนสังข์ อ�ำเภอ
น�้ำพอง จังหวัดขอนแก่น (พ้ืนท่ีจังหวัดหนองบัวล�ำภูใน
ปัจจุบัน) เดินทางรอนแรมข้ามป่าเขามาหักร้างถางพงอยู่
บรเิ วณน้ี ตง้ั แตค่ รงั้ สมยั พน้ื ทแี่ ถบนย้ี งั เตม็ ไปดว้ ยชา้ งและ
เสอื ขนาดทวี่ า่ นายสมยั มะแพนซง่ึ เปน็ หนงึ่ ในผนู้ ำ� ชาวบา้ น
จดจ�ำได้ว่า คร้ังหน่ึงเสือเข้ามากัดวัวนายเปชาวบ้าน
โคกลา่ มตายไป ๓ ตวั เปน็ เสอื ตวั ใหญ่มาก ชาวบ้าน
ทตี่ อนนนั้ กย็ งั มไี มม่ ากนกั ตอ้ งรวมตวั กนั จดุ ขไ้ี ตข้ น้ึ มา
ไลเ่ สอื จงึ ไดห้ นไี ป สว่ นชาวบา้ นนนั้ กต็ อ้ งอยกู่ นั อยา่ ง
ระแวดระวัง จะเลี้ยงหมาไว้เฝ้าบ้านก็ไม่ได้ เพราะ

4

เสือมาคาบหมาไปกินหมด เข้าป่าท�ำนาก็
ต้องกังวลกับไข้ป่า ไข้มาลาเรียที่ชุกชุมและ
คร่าชวี ติ ชาวบ้านยคุ บกุ เบิกไปจ�ำนวนหนึ่ง

“สมัยนั้นวัดก็ยังไม่ได้มี บ้านก็ยังเป็น
บ้านป่า บ้านดงอยู่ นาน...กว่าจะมาตั้งวัด
ปา่ เลไลย์ ตอนปี ๒๔๙๖ บา้ นกวา้ งขวางขนึ้
ก็มีนายสนมาบริจาคท่ีดินเพ่ิมให้วัด อยู่ติด
กบั นาชาวบา้ นกเ็ ลยพากนั มาสรา้ งวดั เรยี กวา่
วดั ปา่ เลไลย์ จำ� ไดว้ า่ มลี งิ อาศยั อยใู่ นวดั ๕๐๐ กวา่ ตวั เปน็ ลงิ ปา่ ” ลงุ สมยั มะแพน ยอ้ นอดตี
เกือบ ๖๐ ปีอยา่ งแจม่ ชัด

ลงหลัก ปักฐาน บา้ นโคกล่าม-แสงอรา่ ม

เมอ่ื หมบู่ า้ นขยายใหญข่ น้ึ ชาวบา้ นกพ็ ากนั ถากถางทท่ี าง เพอื่ ทำ� ไร่ ทำ� นามากขน้ึ ทท่ี ำ�
กินก็ห่างไกลจากแหล่งน�้ำมากขึ้นไปอีกเร่ือยๆ แต่เพราะมีภูเขาเป็นแนวยาวปริมาณน�้ำท่ี
ไหลลงมาจากเขาต่อปีจึงมีปริมาณพอสมควร หากแต่...จะน�ำน้�ำนั้นมาใช้ได้อย่างไร น่ีคือ
ปัญหาทชี่ าวบ้านตอ้ งเผชญิ

ค�ำตอบแรกของการจัดการน้�ำที่ชาวบ้านโคกล่าม-แสงอร่ามค้นพบเป็นค�ำตอบแรก
ก็คือการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านและส่ิงท่ีมีอยู่มากตามธรรมชาติ น่ันคือ “ไม้ไผ่”
ไผ่จ�ำนวนมากถูกตัดเอามาต่อกันเข้า เพื่อรองรับน�้ำจากภูเขาต่อท่อเป็นทางยาวเข้ามาสู่
หมู่บ้าน ชาวบ้านโคกล่าม-แสงอร่ามยามน้ันรู้สึกต่ืนเต้นดีใจท่ีเรี่ยวแรงท่ีร่วมแรงร่วมใจกัน
ลงไป กลายมาเป็นน�้ำกิน น�้ำใช้ในครัวเรือน เสียงน้�ำจากระบบประปาไม้ไผ่ไหลรินลงเป็น
สายดัง จ้อก จอ้ ก ชาวบ้านจึงพากันเรียกขานระบบประปาไมไ้ ผ่ของหมู่บา้ นว่า “นำ�้ จ้อก”
และการรว่ มกนั คดิ รว่ มกนั ทำ� รว่ มกนั ลงแรงจนไดม้ าซงึ่ “นำ�้ จอ้ ก” นกี้ ไ็ ดน้ ำ� ความภาคภมู ใิ จ
มาใหก้ บั ชาวบา้ นโคกลา่ ม-แสงอรา่ ม แตแ่ มว้ า่ ชาวบา้ นโคกลา่ ม-แสงอรา่ มยามนนั้ จะพอมี
น�้ำใชใ้ นครัวเรอื นได้สะดวก สบาย แต่ส�ำหรบั การทำ� ไร่ ท�ำนาแลว้ ปริมาณน้ำ� ฝนท่ตี กลงมา
ในแตล่ ะปี รวมกบั ปรมิ าณนำ้� ทเ่ี กบ็ ไวใ้ นหนอง ในบงึ ยามแลง้ กแ็ ทบจะเรยี กไดว้ า่ ...ไมพ่ อกนิ
อย่าได้ไปคิดหวังอะไรเลยกับการท�ำนาปีละ ๒ คร้ัง หรือการเพาะปลูกพืชหลังการท�ำนา
ยิ่งฝนนอ้ ย ยงิ่ แล้ง การท�ำนา ทำ� ไร่ก็ย่งิ ยากแคน้ ชาวบ้านโคกล่าม-แสงอร่ามกลุ่มหน่ึง จึง
นยิ มเดนิ ทางไปทำ� งานตา่ งประเทศ เชน่ เดยี วกบั พน่ี อ้ งชาวอดุ รอกี หลายรอ้ ย หลายพนั ครวั
เรอื น หนมุ่ ๆ ในหมบู่ า้ นเรมิ่ เดนิ ทางออกไปวนั ละคน สองคน แมว้ า่ จะสง่ เงนิ กลบั มาไดเ้ ปน็
กอบเปน็ กำ� แตก่ ต็ อ้ งแลกกบั การพลดั พรากจากครอบครวั จากบา้ นเกดิ เรอื นนอนไป แตเ่ มอื่
ไม่มีทางเลือกการเดินทางไปท�ำงานเมืองนอกก็ยังคงเป็นค�ำตอบที่ดีท่ีสุดในยามนั้น จาก

5

ตะวนั ออกกลาง ขา้ มฟากมาฝ่ังเอเชยี ไตห้ วนั สงิ คโปร์ คือเปา้ หมาย แตบ่ างคนก็เดนิ ทาง
รอนแรมไปท�ำงานไกลจนถึงอิสราเอลและประเทศแถบตะวันออกกลางอื่นๆ จนเมื่ออายุ
เกินเกณฑ์ใช้แรงงานนั่นแล้ว หลายคนถึงจะได้มีโอกาสกลับบ้าน นั่นคือเรื่องราวเฉกเช่น
เดยี วกับที่เกิดขึ้นในทุกพื้นทข่ี องจังหวัดอดุ ร

พอ่ เฒา่ สมยั มะแพน เฝา้ ดูความเปลยี่ นแปลงน้ีดว้ ยคำ� ถามในใจ
“ท�ำอยา่ งไร ถงึ จะใหล้ กู หลานเรา กินดอี ยู่ดีไดน้ อ๊ ...”
“ถ้ามีน้�ำก็คงจะดี”...คิดได้ดังนั้นแล้ว พ่อสมัย มะแพน ก็ตั้งใจมั่นว่าจะต้องหาน้�ำมา
ใหล้ กู ใหห้ ลานชาวโคกลา่ ม-แสงอรา่ มใหไ้ ด้ และเพราะเปน็ คนเกา่ คนแก่ ของพน้ื ที่ พอ่ เฒา่
จึงรจู้ กั ตน้ ไม้ทกุ ตน้ ลำ� ห้วยทกุ หว้ ยบนโคกลา่ ม ร้วู ่าสามารถที่จะท�ำอา่ งเก็บนำ้� ไวไ้ ด้
“ตอนนนั้ พอ่ กเ็ หน็ วา่ น�้ำมนั เยอะนะแตเ่ รากป็ ลอ่ ยน�้ำไหลไป พอหนา้ แลง้ จะหาน�้ำอาบ
ก็ไมม่ ี มานนั่ คดิ ๆ ดูว่า ใครจะมาชว่ ยเราได้หนอ ก็คิดถึงครบู าทา่ นหนึง่ ท่านช่ือวา่ ครบู าไก่
เป็นพระมาจากทางกาฬสินธุ์ พระธุดงค์มา ที่ไหนเดือดร้อนเขาก็จะนิมนต์ท่านไป พ่อกับ
ผู้ใหญ่บ้านและคณะกรรมการหมู่บ้านก็ท�ำเรื่องขอไปโดยท่านช่วยแต่งให้เป็นเน้ือหาสาระ
มีใบปะหนา้ เขยี นไปถวายบงั คมในหลวง ขอกราบใตฝ้ า่ ละอองธลุ ีพระบาท เมตตาสงสาร
พวกเราชาวบ้านโคกล่าม-แสงอรา่ ม กเ็ ลยได้ตามวัตถปุ ระสงค์ทขี่ อไป”

อา่ งเก็บน�ำ้ ห้วยคลา้ ย...นำ�้ จากพระเมตตา

“โครงการอ่างเก็บน�้ำห้วยคล้าย อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดอุดรธานี”
เป็นโครงการท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับเป็นโครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ เม่ือวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๖ และปรับปรุงแล้วเสร็จเมื่อ
ปี ๒๕๕๑ แต่ถึงกระน้ันชาวบ้านโคกล่าม-แสงอร่ามก็ยังไม่สามารถใช้ประโยชน์จากน�้ำ
ที่เก็บไว้ได้อย่างเต็มที่ เนื่องจากระบบการส่งน�้ำและระบบการบริหารจัดการน�้ำยังไม่เอื้อ
อำ� นวยตอ่ การนำ� นำ้� เขา้ มายงั พน้ื ทไี่ ร่ นา ของชาวบา้ นโดยเฉพาะชาวบา้ นทม่ี พี นื้ ทเี่ พาะปลกู
อยู่ติดกับอ่างเก็บน้�ำห้วยคล้าย เพราะพื้นที่นาสูงกว่าล�ำห้วย ชาวบ้านโคกล่าม-แสงอร่าม
จงึ ไดแ้ ต่หาทางชว่ ยเหลอื ตัวเอง บา้ งกต็ ิดเครื่องสบู น้ำ� น�ำน�้ำมันมาแลกเป็นขา้ ว ต้นทุนค่า
เพาะปลกู จงึ สงู มาก ไมส่ ามารถทำ� นาไดม้ ากกวา่ ปลี ะครง้ั ชวี ติ ความเปน็ อยจู่ งึ ยงั คงกระพรอ่ ง
กระแพร่งเหมอื นเดมิ

ชาวบา้ นโคกลา่ ม-แสงอรา่ ม พยายามแกไ้ ขปญั หาน้ี โดยการปรกึ ษากบั เจา้ หนา้ ทขี่ อง
กรมชลประทาน เพ่อื หาแนวทางทจ่ี ะนำ� น้ำ� มาใชใ้ นพื้นท่ี ไดม้ า ๒ แนวทาง คือ การท�ำราง
สง่ นำ้� ซ่ึงต้องทำ� ถนนขนาดกวา้ ง ๓-๔ เมตรเขา้ ไปในพ้ืนท่ขี องชาวบ้าน และการขดุ วางท่อ
ซง่ึ ไมเ่ สียพนื้ ทเ่ี พาะปลกู แตก่ ต็ ้องใชง้ บประมาณในการซอ่ มบำ� รงุ สงู เพราะเปน็ การวางท่อ
ใต้ดิน แนวคดิ ทั้ง ๒ ทาง จงึ ยังคงค้างคา ไมไ่ ด้นำ� มาปฏบิ ัติ

6

กวา่ จะได้นำ้� มาทำ� นา

จนเมอื่ วนั หนงึ่ มรี ถตกู้ ระจกทบึ แลน่ ผา่ นเขา้ มาในหมบู่ า้ น ชาวบา้ นหลายคนสงสยั แต่
แอบเกบ็ คำ� ถามไวใ้ นใจ บา้ งกค็ ดิ วา่ คงจะเปน็ “คนของทางการ” มาดแู ลอา่ งเกบ็ นำ้� ...จนเมอ่ื
วนั ท่ี ๒๘ มกราคม ๒๕๕๔ บคุ คลทม่ี ากบั รถตคู้ นั นนั้ จงึ ปรากฏกายหลงั จากทม่ี าสำ� รวจขอ้ มลู
ชาวบ้านเป็นรอบที่ ๔ แล้ว นั่นก็คือ “มรว.ดิศนัดดา ดิศกุล ” เลขาธิการมูลนิธิปิดทอง
หลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ� ริ หรอื ทชี่ าวบา้ นเรยี กกนั ตดิ ปากวา่ “คณุ ชายดศิ ”
นัน่ เอง

“ตอนนนั้ คณุ ชายดศิ กม็ าทน่ี หี่ ลายครง้ั แลว้ แตไ่ มม่ คี นรู้ ทา่ นยงั มาบอก
ใหบ้ ญุ มากลงไปดำ� เอาดนิ ใตน้ ำ้� กน้ อา่ งมาให้ ตอนนนั้ บญุ มากกไ็ มร่ ู้ แลว้ กไ็ ม่
กลา้ ลงไปเพราะนำ�้ ลกึ กเ็ ลยมาบอกผมวา่ มกี รมชลประทานมาจะเอาดนิ
กน้ อา่ ง นำ้� ลกึ ไมก่ ลา้ ไปดำ� ให้ ตอนนนั้ จรงิ ๆ กเ็ ปน็ คณุ ชายดศิ นน่ั แหละที่
ลงมาคยุ กบั บญุ มาก กอ่ นหนา้ นนั้ ทกุ ครง้ั ทม่ี าคณุ ชายกจ็ ะมาจอดรถดู
วถิ ชี าวบา้ นว่าเขากินยงั ไง อย่ยู ังไง คุณชายรู้แมก้ ระทัง่ วา่ ตอนเช้า
ชาวบา้ นมารา้ นคา้ ซอ้ื อะไรไปบา้ ง ผกั พรกิ มะเขอื ปู ปลา ชาวบา้ น
ซ้อื ท้ังหมด ทั้งๆ ท่ีชาวบ้านสามารถปลูกกินเองได้”

อดลุ ย์ เจรญิ สขุ ชาวบา้ นแสงอรา่ ม บอกเลา่ ถงึ ความเปน็ มา
โครงการบริหารจัดการน�้ำอย่างยั่งยืนอ่างเก็บน�้ำห้วยคล้ายอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ
จ.อุดรธานี โครงการต่อยอดจากโครงการอ่างเก็บน้�ำหว้ ยคลา้ ยฯ ส�ำทบั ดว้ ยคำ� จากปาก
บญุ มาก ซง่ึ ปจั จบุ นั เปน็ หนงึ่ ในพน้ื ทตี่ วั อยา่ งของโครงการฯ

“คณุ ชายมาถามผมวา่ ปกตทิ ำ� อะไร ผมกต็ อบวา่ ทำ� นาปอี ยา่ งเดยี ว แลว้ คณุ ชายกถ็ าม
ผมวา่ อยากไดน้ ำ้� ไหม ผมกบ็ อกวา่ อยากไดน้ ำ้� อยากทำ� นาปลกู พชื ไดอ้ กี ทกุ คนตอ้ งอยากรวย
อยากท�ำ ตอนนน้ั คุณชายก็อยู่บนรถต้คู ุยเสรจ็ แล้วกเ็ ลยข้ึนไปดูอ่างเก็บนำ�้ ”

วนั ท่ี ๒๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๔ เปน็ วนั ทช่ี าวบา้ นโคกลา่ ม-แสงอรา่ มจำ� ขน้ึ ใจ เพราะ
เปน็ วนั ทพ่ี วกเขาตอ้ งตดั สนิ ใจ เมอ่ื คณุ ชายดศิ ยนื่ ขอ้ เสนอวา่ ชาวบา้ นตอ้ งลงแรงเพอ่ื แลกกบั
“นำ้� ” ทจี่ ะไดม้ าทำ� นาโดยการตอ่ ทอ่ นำ� น�ำ้ จากอา่ งเก็บนำ้� ห้วยคล้ายเข้ามาส่ทู ่ีนาชาวบา้ น

“คุณชายดิศลงพ้ืนท่ีแล้วถามชาวบ้านว่า ถ้าโครงการน้ีเข้ามาจะเอาไหม ชาวบ้านก็
บอกว่า ‘เอา’ คุณชายกบ็ อกวา่ ถา้ เอาพวกคณุ ทำ� เองนะ ชาวบ้านก็นั่งงง....อ้าวแลว้ เราจะ
ทำ� ยงั ไง ทา่ นกพ็ ดู ชดั เจนวา่ มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ มอี ปุ กรณใ์ หแ้ ตว่ างแนวทอ่ ตา่ งๆ ชาวบา้ น
จะต้องลกุ ขึ้นมาขดุ เอง ชาวบา้ นกถ็ ามว่า เอารถแบคโฮลตวั เลก็ มาขดุ ได้ไหม ทา่ นกบ็ อกว่า
ท�ำอย่างนน้ั ก็ได้แตช่ าวบ้านก็จะไมเ่ กดิ ความหวงแหน เพราะมนั งา่ ยไป”

7

คำ� ถามที่คณุ ชายดิศใหไ้ ว้กบั ชาวบา้ น ทำ� ให้ชาวบ้านหนั หน้าเข้ามาปรกึ ษากนั ผ้ใู หญ่
ของทง้ั ๒ หมบู่ า้ น คอื ผใู้ หญส่ ดุ ใจ เจรญิ สขุ ผใู้ หญบ่ า้ นโคกลา่ ม และผใู้ หญเ่ สวต จนั ทรห์ อม
ผู้ใหญ่บ้านหมู่ ๑๑ บ้านแสงอร่าม ท้ังสองเรียกประชุมลูกบ้านเพ่ือร่วมปรึกษาหารือกัน
ชาวบ้านได้ขอ้ สรุปว่า ถ้าอยากไดน้ ้�ำทำ� นากต็ อ้ งรว่ มแรงร่วมใจกัน โครงการแรกทีช่ าวบา้ น
ลงมอื ทำ� คอื การขดุ ลอกหว้ ยคำ� เข ลำ� หว้ ยเกา่ แกซ่ ง่ึ ถกู วชั พชื และปา่ ออ้ ทบั ถม ขนาดทว่ี า่ คนท่ี
โตมากับพ้ืนที่อายุถึง ๔๖ ปี ยังไม่เคยมีโอกาสได้เห็นน้�ำในห้วยเพราะเศษวัชพืชท่ีทับถม
กันแน่นหนา หนาขนาดที่ว่า “เอาช้างลงไปเดินได้ทั้งตัว” และเหตุการณ์คร้ังนั้นก็เป็นจุด
เปลีย่ นแปลงส�ำคญั ของชาวบา้ นโคกล่าม-แสงอร่าม

“คณุ ชายลองใจชาวบา้ นวา่ ‘ถา้ พวกคณุ เอาจรงิ พวกคณุ ลองไปถางหว้ ยคำ� เขดสู ’ิ หว้ ย
คำ� เข เนอ้ื ที่ ๗ ไร่ ปรากฏวา่ ชาวบา้ นรวมกนั มากวา่ ๒๐๐ หลงั คาเรอื น มากนั อยา่ งนอ้ ยบา้ นละคน
เอาข้าวหอ่ มากนิ กัน มารว่ มกนั ทำ� คร่ึงวนั เทา่ นั้นก็เสรจ็ ” บุญมากเลา่ ถึงเหตุการณท์ ีพ่ ิสจู น์
พลังความเขม้ แขง็ ของชาวบ้าน

จากผืนน�้ำใสของห้วยค�ำเขที่สะท้อนแสงแดดจ้ายามบ่ายวันนั้น ก็เป็นจุดเร่ิมของ
“โครงการบริหารจัดการน�้ำอย่างย่ังยืนอ่างเก็บน�้ำห้วยคล้าย อันเน่ืองมาจากพระ
ราชดำ� ริ จงั หวดั อดุ รธาน”ี ซงึ่ เปน็ โครงการทป่ี ระสบความสำ� เรจ็ ดว้ ยแนวทาง “บรู ณาการ”
ทแี่ ทจ้ รงิ โดยเรม่ิ จากการ “ระเบดิ จากขา้ งใน” ดว้ ยความเขม้ แขง็ ความสามคั คขี องชาวบา้ น
สนบั สนนุ ดว้ ยองคค์ วามรจู้ ากหนว่ ยงานทม่ี คี วามรจู้ รงิ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สนบั สนนุ
งบประมาณ บุคลากร และเคร่ืองมือ เครื่องใช้ ส่วนองค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน ฐานะ
เจ้าของพื้นที่ ก็สนับสนุนน้�ำมันเพื่อการขับเคล่ือนเครื่องจักร โมเดลน้ีเองที่กลายมาเป็น
โมเดลสำ� คญั ในการพฒั นาทงั้ พนื้ ทแี่ ละพฒั นาคนไปพรอ้ มๆ กนั ...“อดุ รโมเดล” จงึ ปรากฏขน้ึ
ณ ผนื ดนิ ท่ีเคยแหง้ แลง้ ท่บี า้ นโคกลา่ ม-แสงอรา่ ม แหง่ นี้

ถา้ ประชาชนไม่ลกุ ขึ้นมาท�ำเองก็ไม่เกิด แมน่ บ่
‘ปลกู กลว้ ยหา้ หนอ่ มะละกอหา้ ตน้ บอ่ ด บอ่ ยาก’ ก็
อยากให้ลูกหลานรับฟัง คนที่ไม่รับฟังจะท�ำตัวเป็น
‘บกั ลวง กบั อลี ืน’ ก็ไม่เป็นไร...

พอ่ สมยั มะแพน
ปราชญช์ าวบา้ นโคกล่าม-แสงอรา่ ม

ผู้ม่งุ ม่นั หาน้ำ� ให้ลูกหลาน
แม้บ้านตัวเองจะยงั ไมไ่ ด้รับนำ�้ จากโครงการก็ตาม...

8

องค์ความรดู้ า้ นการเกษตร จากพ่อสมัย มะแพน
พอ่ สมยั มะแพน นอกจากจะเปน็ ปราชญช์ าวบา้ น ผชู้ ท้ี ศิ ทางและวางหลกั คดิ แลว้
พ่อสมัยยังมีองค์ความรู้ด้านการเกษตรท่ีหลากหลายและหนึ่งในองค์ความรู้ที่ได้จาก
โครงการฯ คือการท�ำปยุ๋ ยเู รียจากปัสสาวะ หรอื ทีเ่ รยี กว่า “ยเู รยี มนุษย์”

นำ�้ หมกั ยูเรยี มนษุ ย์
ยเู รียมนษุ ย์ (น�้ำปัสสาวะ) ๑ ลิตร
กากน�ำ้ ตาล ๙ ลิตร
ผสมส่วนประกอบหมักไวใ้ นทีร่ ม่ ประมาณ ๒๐ วนั

อัตราการใช้
• นำ้� หมกั ยเู รยี มนษุ ย์ ๑ ลติ ร ตอ่ นำ�้ ๘๐ ลติ ร ฉดี พน่ ผกั สวนครวั เชน่ พรกิ คะนา้

ตน้ หอม ผกั ชี ผกั กวางตุ้ง ผกั กาดหอม ฯลฯ
• นำ้� หมกั ยเู รยี มนษุ ย์ ๑ ลติ ร ตอ่ นำ�้ ๘ ลติ ร เทราดลงในแปลงนา สำ� หรบั นาขา้ ว
• น�ำ้ หมักยูเรยี มนษุ ย์ ๑ ลติ ร ต่อนำ�้ ๘ ลิตร รดน�้ำบรเิ วณโคนตน้ ไม้ ส�ำหรับพชื

ยนื ตน้

บุญมาก สงิ หค์ ำ� ปอ้ ง

ตน้ แบบแปลงเกษตรตัวอยา่ งของชุมชน

บา้ นเลขที่ ๒๖ หมู่๑๑ ต.กดุ หมากไฟ อ.หนองววั ซอ จ.อดุ รธานี
โทรศพั ท์ ๐๘๔ ๓๓๒๗ ๓๖๐

พ้ืนทเี่ กษตร ปลูกข้าว ๑๙ ไร่, พชื หลังนา ๒๑ ไร่
ปลกู ขา้ วโพดฟกั ทองผกั บงุ้ พชื เกษตรอนื่ ๆ
ไดแ้ ก่ ตะไคร้ ผกั หวาน มะเขอื พรกิ ขา่ กลว้ ย
ปศสุ ัตว์ เล้ยี งหมูจนิ หวั และหมเู หมยซาน
อน่ื ๆ เล้ียงปลา
องค์ความรู้ การทำ� “ตะบนั นำ�้ ” เพอื่ นำ� นำ�้ จากบอ่ ขน้ึ
มารดแปลงเกษตรท่ีสูงกว่าระดับน�้ำ,
การเล้ียงหมูจินหัว และหมูเหมยซาน,
การท�ำน้ำ� สม้ ควนั ไม้

9

ก่อนหนา้ ทโ่ี ครงการจะเขา้ มา บญุ มาก สงิ หค์ ำ� ปอ้ ง ชาวบา้ นโคกลา่ ม-
กไ็ ม่ได้ทำ� อะไรมาก ปๆี นงึ ก็ แสงอรา่ ม ทมี่ พี นื้ ทแ่ี ปลงนาตดิ กบั อา่ งเกบ็ นำ้�
ทำ� นาข้าว ปลกู มันสำ� ปะหลงั หว้ ยคลา้ ยฯ แตใ่ นอดตี นนั้ ไมส่ ามารถนำ� นำ้�
พอโครงการเข้ามาเราก็มที ุกอยา่ ง มาใชไ้ ด้ จนกระทงั่ โครงการปดิ ทองหลงั พระฯ
เข้ามาท�ำโครงการบริหารจัดการน�้ำอย่าง
ยง่ั ยนื ฯ บญุ มากจงึ เปน็ เกษตรกรคนแรกๆ ท่ี
ได้เข้าร่วมโครงการ และเป็นตัวอย่างความ
ส�ำเร็จให้กับชาวบ้าน

“ก่อนหน้าท่ีโครงการจะเข้ามาก็ไม่ได้ท�ำอะไรมาก ปีๆ นึงก็ ท�ำนาข้าว ปลูกมัน
สำ� ปะหลงั พอโครงการเขา้ มาเรากม็ ที กุ อยา่ ง เมอ่ื กอ่ นไมไ่ ดป้ ลกู มะละกอจะตำ� สม้ ตำ� แตล่ ะที
ก็ไปซื้อมาท�ำ แต่ตอนนี้ตลาดจะต้องมาซ้ือผมแล้ว อย่างผักนี่ก็มีแทบทุกอย่างสามารถ
ท่ีจะเก็บมาท�ำอาหารได้เลย อยากจะกินอะไร ไม่ต้องเข้าไปซื้อ ตอนนี้ก็มี พริก มะเขือ
มะละกอ โหระพา ฟกั ทอง ข้าวโพด แมงลกั สะระแหน่ ผกั ชี หอม ผักชะอม มีหลายอยา่ ง
หลากหลายผสมผสานกันไป ท�ำกนั ๒ คน ไดพ้ ออยู่ พอกนิ เพือ่ นบ้านได้มาอาศัยกนิ ด้วย
แลว้ เรากเ็ ลยี้ งหมนู ่ี ลกู ๒ ครอกแลว้ ครอกแรกหลงั จากทข่ี องลงุ ไดม้ ากแลว้ กข็ ายลกู ใหพ้ น้ื ท่ี
อื่นซื้อไปเลี้ยง ๑๔,๓๐๐ บาท ส่วนครอกที่เห็นน้ีก็ยังไม่ถึงเดือนเลย เวลาเราเล้ียงหมู
เราเลี้ยงแบบพ้ืนบ้านไม่เน้นในเร่ืองของหัวอาหาร แต่เลี้ยงด้วยหยวกกล้วยจากโครงการ
หลวง ซง่ึ เปน็ ขอ้ บงั คบั ใครอยากไดล้ กู หมไู ปเลยี้ งตอ้ งปลกู กลว้ ยใหไ้ ดก้ อ่ น ๕๐ ตน้ เอาไวเ้ ปน็
อาหารหมู เม่ือก่อนเราก็เลี้ยงหมูแต่ใช้หัวอาหาร เป็นการเลี้ยงเป็นธุรกิจ แต่เลี้ยงส่วนตัว
แบบนไ้ี มม่ ใี ครทำ� พอมาทำ� กเ็ รยี บงา่ ย ไมต่ อ้ งไปหาซอ้ื อาหาร เอาเศษอาหารจากบา้ น เอา
ต้นกลว้ ยทตี่ ัดลูกไปแล้วมาใหก้ ็ได้ นอกจากนัน้ ก็มี เป็ด ไก่ หมู ปลา นอกจากนน้ั ทีน่ ี่มปี ลกู
ผกั สวนครวั ทกุ อยา่ ง ทน่ี เี่ ลยี้ งไสเ้ ดอื นดว้ ย เปน็ ฟารม์ เลย้ี งไสเ้ ดอื น เอามลู มนั ไปชว่ ยทำ� ดนิ ให้
ดี เลยี้ งไสเ้ ดอื นไวใ้ หเ้ ปด็ ไก่ แลว้ กม็ ผี กั สวนครวั ดว้ ย มนั เปน็ สว่ นหนงึ่ ทชี่ ว่ ยยอ่ ยสลายทำ� ให้
ดินมคี ณุ ภาพทดี่ ีและได้ปยุ๋ ทีด่ ที ส่ี ดุ ” บญุ มากเล่าถงึ การทำ� เกษตรผสมผสานแบบรอบด้าน

“ปตระะหบยันดันเ้ำ�ง”นิ ภูมปิ ัญญาชาวบา้ น ประหยดั พลงั งาน

ชว่ งเมษายนกอ่ นเขา้ ฤดทู ำ� นา ควรบำ� รงุ ดนิ ดว้ ยพชื หลงั นา
เชน่ ถว่ั โสน ปอเทอื ง แตเ่ นอื่ งจากพนื้ ทนี่ าเปน็ ทสี่ งู บญุ มากใชว้ ธิ ี
ขุดบ่อรองรับน้�ำจากโครงการปิดทองหลังพระฯ จากนั้นสูบน้�ำ
ขึ้นนาท่ีสูงสุดด้วย “ตะบันน�้ำ” ก่อนปล่อยน้�ำไหลลงตามความ
ลาดชันส่แู ปลงนาดา้ นลา่ ง

10

“ตะบันน้�ำท่ีเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านมาใช้ ไม่ต้องใช้น้�ำมัน ไม่ต้องใช้ไฟฟ้า ซ่ึงใช้ใน
ทหี่ า่ งกนั ๑๒ เมตร จากระยะหา่ ง ลา่ งขนึ้ บนสามารถนำ� นำ้� ขนึ้ ไปใชไ้ ด้ บอ่ นเ้ี มอื่ กอ่ นนำ�้ เปน็
สขี าวเพราะเปน็ ลกู รงั เรามวี ธิ กี ารปรบั สภาพนำ้� โดยเอาฟางจากนามาโยนลงไปในนำ้� แลว้ ก็
เอาปุ๋ยคอกลง พอมันทำ� ปฏิกิรยิ าจะท�ำใหน้ �ำ้ เปลีย่ นสีจากสขี าวๆ มาเป็นสใี สๆ เลี้ยงปลา
กไ็ ด้ ตะบนั นำ้� ไปเลย้ี งพชื ผกั กไ็ ด้ ตน้ ทนุ “ตะบนั นำ้� ” ใชว้ สั ดหุ าไดจ้ ากตลาด ทง้ั หมดประมาณ
๓,๔๐๐ บาท ไมต่ อ้ งใช้น�ำ้ มันแลว้ ”

การนำ� นำ�้ สม้ ควนั ไมไ้ ปใชใ้ นการเกษตรเพอื่ ปอ้ งกนั โรค แมลงศตั รพู ชื เพอ่ื ใหก้ าร
ท�ำเกษตรอนิ ทรยี ค์ รบวงจร โดยไม่ใชส้ ารเคมีฆ่าแมลง

อัตราการใช้
น�้ำส้มควนั ไม้ ๑๐ มิลลลิ ติ ร
น�้ำเปลา่ ๒๐ ลิตร
ฉดี พน่ ๑ คร้งั ต่อสัปดาห์ สามารถปอ้ งกันแมลงศตั รพู ชื ได้
เทคนคิ พิเศษของบญุ มาก : น�ำใบสะเดามาขยี้ใส่ในถังที่รองรับน�้ำ เพื่อเพ่ิม
ประสิทธิภาพของนำ้� สม้ ควนั ไม้

11

อคารยอุบ๔ค๗รวั เปสีนาอดุ ร นายบญุ ธรรม เสนาอดุ ร

บา้ นเลขท่ี ๑ หมทู่ ่ี ๓ ต.กดุ หมากไฟ อ.หนองววั ซอ จ.อดุ รธานี
โทรศพั ท์ ๐๘๓ ๑๔๘๓ ๙๗๕

พน้ื ทีเ่ กษตร ปลกู ขา้ ว ๒๙ ไร,่ พชื หลังนา ๑ ไร่ ๑ งาน ปลูก
ข้าวโพด ฟกั ทอง ถั่วลสิ ง พืชเกษตรอน่ื ๆ ได้แก่
ตะไคร้ มะเขอื โหระพา พรกิ กระเพรา แค มะมว่ ง
ปศสุ ตั ว์ เลีย้ งหมู
อืน่ ๆ เล้ยี งปลา เลยี้ งไก่
องคค์ วามร ู้ การนำ� ข้ีค้างคาวมาหมกั เพ่ือทำ� น้ำ� หมัก

ครอบครัวเสนาอุดร เป็นอีกหนึ่งครอบครัวท่ีผ่านความล�ำบาก ทุกข์ยาก แต่เม่ือมี
โครงการฯ เข้ามา ชีวติ กเ็ ปล่ียนไปจากหนา้ มอื เปน็ หลังมือ

“กอ่ นหนา้ นนั้ เรากต็ อ้ งซอ้ื ทกุ อยา่ ง ในชวี ติ ประจำ� วนั เราไมป่ ลกู เลย กอ่ นหนา้ โครงการ
จะเขา้ มา เราทำ� นา พอเลกิ นากไ็ มไ่ ดท้ ำ� อะไรอยเู่ ฉยๆ แฟนเขากไ็ ปหารบั จา้ ง รบั เหมาทำ� งาน
กอ่ สรา้ งบ้าน ได้เงนิ มากไ็ ปซอื้ ของกนิ ท่ีตลาด ไปที่นากไ็ ม่ได้มีอะไรมีแต่หญ้า พอโครงการ
เขา้ มาเขาก็มาแนะนำ� วา่ ให้ปลกู พืชหลงั นา เอาพนั ธ์มุ าให้ เขามาถามกอ่ นว่าอยากท�ำอะไร
อยากท�ำจรงิ ไหม เรากบ็ อกวา่ ...ท�ำจรงิ จะปลกู ใหต้ ลอดเลยแหละ อยากปลูกมานานแล้ว
แต่ไม่มีคนมาแนะน�ำ ไม่มีน้�ำ ปลูกแล้วก็ไม่รู้ว่าจะไปขายท่ีไหน พอเขาแนะน�ำให้ได้ความ
คิดดีๆ ก็เลยย่งิ ท�ำ ท�ำแลว้ กไ็ ด้กนิ ไดข้ าย ตอนนี้สามี บุญธรรมเลิกกินเหล้าเดด็ ขาด กลาย
เปน็ คนอยกู่ บั ทนี่ าไมย่ อมกลบั บา้ นแลว้ เพราะวา่ ทำ� แลว้ มนั ได้ ขายได”้ ภรรยานายบญุ ธรรม
บอกเลา่ เร่ืองราวด้วยน้�ำเสียงแหง่ ความสุข ไปพรอ้ มๆ กบั พาลกู ชายและลกู สาวน่ังตกปลา
เพ่ือนำ� ไปทำ� อาหารเยน็

ทนี่ า ๒๙ ไร่ ของครอบครวั เสนาอดุ ร ไดม้ โี อกาสเพาะปลกู หมนุ เวยี น จากการท�ำนาปี
ละครั้ง สกู่ ารปลกู ฟกั ทอง แตงกวา โหระพา ผกั บุ้ง โดยพืชผกั ทีป่ ลกู นนั้ เตบิ โตงดงาม ดว้ ย
ปยุ๋ หมกั ทม่ี าจากขห้ี มทู เี่ ลย้ี งไว้ เปน็ หมจู ากโครงการทน่ี ำ� มาใหเ้ ลยี้ ง ปที แี่ ลว้ ครอบครวั นมี้ รี าย
ได้เพิ่มข้ึน ๑๐,๐๐๐ กว่าบาท แต่เคล็ดลับส�ำคัญท่ีท�ำใหพ้ ชื ผกั งดงาม ไม่ได้มาจากปุ๋ยหมัก
ข้ีหมูเพียงอย่างเดียว แต่เพราะพวกเขาน�ำเอาองค์ความรู้ที่ได้ไปผนวกกับประสบการณ์ได้
เปน็ นวัตกรรมใหม่ทีพ่ ิสจู น์ดว้ ยตวั เองแลว้ วา่ เหน็ ผลดจี รงิ นั่นคอื ปุย๋ หมกั สตู ร “ข้ีค้างคาว”
จากโคกล่ามนน่ั เอง

12

นำ้� หมักสตู รขคี้ า้ งคาว สตู รเฉพาะของบา้ นโคกลา่ ม-แสงอร่าม
สตู รท่ี ๑
มลู ค้างคาว ๑ กโิ ลกรัมตอ่ น�้ำเปลา่ ๑๐ ลติ ร หมักทงิ้ ไวป้ ระมาณ ๒๐ วัน
อัตราการใช้ : นำ�้ หมกั มลู คา้ งคาว ๑๐ มลิ ลลิ ติ ร ผสมนำ�้ ๒๐ ลติ ร ฉดี พน่ อาทติ ย์
ละ ๑ ครง้ั
สูตรท่ี ๒
มูลคา้ งคาว ๑ กโิ ลกรัม
ผักใบเขียว ๑ กิโลกรัม
กากนำ้� ตาล ๑ ลติ ร
น�ำ้ เปล่า ๑๐ ลิตร
น�ำส่วนผสมทัง้ หมด ผสมเขา้ ดว้ ยกัน หมกั ไว้ ๒๐ วัน แลว้ เตมิ น�ำ้ เพ่มิ ๑๐ ลิตร
หมักต่ออีก ๓๐-๙๐ วนั
อัตราการใช้ : นำ้� หมกั มลู คา้ งคาว ๑๐ มลิ ลลิ ติ ร ผสมนำ้� ๒๐ ลติ ร ฉดี พน่ อาทติ ย์
ละ ๑ คร้ัง

13

นอาายงุห๔น๖อู วปนี ใจตรง

บา้ นเลขท่ี ๙๙ หมู่ ๓ ต.กดุ หมากไฟ อ.หนองววั ซอ จ.อดุ รธานี
โทรศพั ท์ ๐๘๗ ๔๙๐๕ ๑๘๗

พ้ืนท่เี กษตร ปลูกข้าว ๖ ไร่ พชื หลงั นา ๒ ไร่ ไดแ้ ก่
ข้าวโพด ฟักทอง แตงกวา
ปศสุ ตั ว์ เลย้ี งหมู
องค์ความรู้ การปลูกแตงกวา

ปลูกแตงกวา ๑ งาน ขายไดว้ ันละ ๕๐๐ บาท

14

หนูอวน ใจตรง จากอดีตท่ีเคยท�ำนา
ไดป้ ลี ะครง้ั แตเ่ มอื่ มโี ครงการฯ เขา้ มาวถิ ชี วี ติ
กเ็ ปลย่ี นไป วนั นรี้ ายไดข้ องครอบครวั ใจตรง
มาจากการปลูกพืชหลังนา ในช่วงรอเวลา
การหว่านไถอีกรอบ

“ปนี ก้ี ข็ ายแตงไป ได้ ๑,๐๐๐ กวา่ บาท
เท่าท่ีปลูกไว้ เก็บอาทิตย์เดียวก็หมดแล้ว
เรม่ิ ปลกู เมอ่ื วนั ที่ ๒๖ มกรากใ็ ชเ้ วลาปลกู ไม่
ถงึ ๒ เดือน ปลูกแตงกไ็ มม่ อี ะไรมาก ขอให้
มีน�้ำ ใส่ปุ๋ยคอกนิดหน่อยก่อนปลูกลงรอง
ใตห้ ลมุ มปี นู ขาวมาใสใ่ หป้ รบั ปรงุ ดนิ จากนน้ั
กร็ ดน�้ำไมถ่ ึง ๒ เดือนก็เก็บขายได้ แตงกวา
จริงๆ เขามีอายุ ๔๕ วันก็ได้ผลผลิตแล้ว
ผลผลิตดจี รงิ ๆ เนยี่ จะเก็บได้วันเว้นวนั แต่
ว่าตอนน้ีเก็บได้ทุกวันเลย ไม่ได้เว้นวันเลย หนอู วน : ก�ำลงั โรยปนู ขาว ปรับดิน อยู่ในไร่

ท�ำแตงในพ้ืนท่ีงานเดียว ก็เก็บขายในหมู่บ้านยังไม่ได้ไปขายตลาดเลยหมดแล้ว... รายได้
เหรอ ตอนแรกทอ่ี อกเกบ็ ขายได้วันละ ๑๐๐ ตอนนก้ี ็ตอ่ วันขายได้ ๕๐๐ บาท หลงั จากนน้ั
ก็ได้วันละ ๑๐๐ กว่าทุกวัน ปลูกงานเดียวเท่านั้นแหละ นี่คิดแต่เงินนะแต่ปุ๋ยที่อยู่ในดิน
ไม่ได้คิดนะ ปุ๋ยท่ีลงไปในนา...ปรับดินไปเรื่อยๆ นาปีหน้าจะได้ผลดีข้ึนด้วย แล้วแตงน่ีถ้า
ดูแลดีๆ นะอยู่ได้นาน” หนูอวน เล่าด้วยความภาคภูมิใจถึงรายได้ที่มาจากน�้ำพัก น�้ำแรง
และเม่ือยอ้ นถงึ อดตี ทีผ่ ่านมาก็พบวา่ ชา่ งแตกตา่ งกนั มากมายนกั

“เมื่อก่อนเราไม่รู้เลยว่าน�้ำอยู่ไหนเลย ถึงจะมีน้�ำจากอ่างเก็บน้�ำแต่ว่าเวลาท่ีน�้ำมา
ก็ไมร่ ะบายมาถงึ ทางน้ี น�ำ้ มันนอ้ ย กข็ อกนั ทกุ คนกอ็ ยากได้น้ำ� มาตกกล้า คนทีอ่ ย่ตู น้ น้�ำ
เขากไ็ มอ่ ยากให้ พอโครงการมานำ้� มากแลว้ ทนี่ กี้ ม็ าตกลงกนั วา่ วนั ไหนใครเอา วนั ไหนใครได้
อาทิตยน์ ้ีเอาสัก ๒-๓ คน อาทิตยอ์ ่ืนก็อีกบา้ นนงึ กน็ ่าจะจัดการไดอ้ ยู่” หนูอวนเลา่ ถงึ การ
จดั การน้�ำด้วยการทำ� ประชาคม

วันนี้ หนูอวน ใจตรง เป็นหน่ึงในเกษตรกรตัวอย่างของบ้านโคกล่าม-แสงอร่าม
ด้วยการปลูกพืชหลังนาสารพัดท้ังแตงกวา ข้าวโพด ฟักทอง ด้วยพ้ืนที่เล็กๆ เพียงไม่ก่ีไร่
กลบั สรา้ งรายได้ทง่ี ดงามให้กบั ครอบครวั ใจตรง เปน็ แรงบนั ดาลใจใหพ้ วกเขายงิ่ ลงแรงพลกิ
ผนื ดินใหก้ ลบั มาอุดมสมบรู ณ์อกี ครัง้

15

นายคำ� ภู หมีกลุ

บา้ นเลขท่ี ๘ หมู่ ๑๑ ต.กดุ หมากไฟ อ.หนองววั ซอ จ.อดุ รธานี

พน้ื ท่ีเกษตร ปลกู ขา้ ว ๒๑ ไร่ พชื เกษตรอน่ื ๆ ละมดุ
กระทอ้ น พรกิ มะเขอื พชื หลงั นา ๒ ไร่
ไดแ้ ก่ ขา้ วโพด ฟกั ทอง ฟักแฟง
ปศุสัตว์ เลย้ี งหมู
องคค์ วามร ู้ น้ำ� หมักชีวภาพ

ค�ำภู หมีกุล หมอดินอาสาประจ�ำหมู่บ้านโคกล่าม-แสงอร่าม มีหน้าที่ส�ำคัญท่ีเขา
มุ่งม่ันท�ำด้วยจิตอาสา ไม่ได้มีค่าจ้าง ค่าแรง น่ันคือ หน้าที่ “หมอดิน” ทุกครั้งท่ีชาวบ้าน
เดอื ดรอ้ นเรอ่ื งคณุ ภาพของดนิ ดนิ เปรยี้ ว ดนิ เคม็ เขาจะทำ� หนา้ ทใ่ี หข้ อ้ มลู ไปจนถงึ นำ� สง่ ดนิ
ไปตรวจเพ่ือวเิ คราะห์หาสว่ นผสมของดินทีท่ �ำให้ดนิ แปลงน้ันๆ ไม่เหมาะแกก่ ารเพาะปลกู
จากนนั้ แนะนำ� ใหท้ ำ� นำ้� หมกั จลุ นิ ทรยี ช์ วี ภาพไวใ้ ชเ้ อง เพอื่ บำ� รงุ สขุ ภาพของดนิ อนั เปน็ ทงั้ ท่ี
อย่อู าศัยและแหล่งอาหารของพชื

“เลย้ี งดนิ ใหด้ นิ เลยี้ งพชื ” ค�ำกลา่ วทเ่ี ชอื่ มโยงองคค์ วามรขู้ องชาวบา้ นทพี่ ยายามศกึ ษา
จนเขา้ ใจธรรมชาตวิ ่าแท้จรงิ แล้วการบ�ำรงุ พชื อาจท�ำไดโ้ ดยการบ�ำรงุ ดนิ โดยมองไปทภี่ าพ
รวมมากกว่าเร่งใหป้ ุ๋ยหรอื อาหารแก่ตน้ พชื เทา่ นนั้ เพราะพชื ท่แี ข็งแรงย่อมเกดิ จากการกนิ
อาหารทสี่ มบรู ณ์ มที ง้ั แรธ่ าตหุ ลกั คอื NPK และแรธ่ าตรุ องตา่ งๆ หลายสบิ ชนดิ ทมี่ อี ยใู่ นดนิ
เหมือนกบั คนและส่งิ มีชีวิตอน่ื ๆ ท่ีตอ้ งกินท้ังอาหารหลกั และอาหารเสริม

หมอดินอาสา จึงท�ำหน้าที่เช่นเดียวกับหมอรักษาสุขภาพคน แต่เป็นไปเพื่อรักษา
สขุ ภาพตน้ ไม้ทสี่ าเหตุ

“ผมเปน็ คนทีน่ ี่ สนใจเรือ่ งดนิ มาตลอดเพราะเห็นเองเลยไงว่าเมือ่ กอ่ นนดี้ ินดนี ะ แต่
หลังๆ มานี่แค่ ๑๐ ปีทผ่ี า่ นมาเอง เราใช้ปุ๋ยเคมีเยอะ แตก่ ่อน ๓๐-๔๐ ปที ่ีแล้วนปี้ ลกู ขา้ ว
ไม่ได้ใชห้ รอกนะป๋ยุ เคมี แลว้ ข้าวก็งามดีไมค่ อ่ ยเปน็ โรค แขง็ แรงดี แต่พอมาใช้ปุ๋ยเคมีกเ็ ร่ิม
เปน็ โรค ดนิ กด็ าน พฒั นาทด่ี นิ เขาเรม่ิ มาจดั ตง้ั “หมอดนิ อาสา” อยา่ งนอ้ ยตอ้ งมบี า้ นละ ๑ คน
เพอื่ ประสานงานกบั พฒั นาทดี นิ จงั หวดั บางครงั้ เขากจ็ ะเอาไดโนไมท์ หรอื เอาปอเทอื งมาแจก
พร้อมสอนวิธีปรับปรงุ ดนิ แบบทีเ่ รยี กวา่ ปยุ๋ พืชสด สว่ นอกี วธิ ีนงึ ที่ทำ� ได้ง่ายๆ คอื หยุดการ

16

เผาตอซัง แต่เปลี่ยนเป็นไถกลบตอซังไปด้วยเลย ซังข้าวก็ไม่ต้องเผา เผาแล้วดินมันเสีย
ผมไม่เผาแต่คนอื่นเขาก็เผาอยู่ ผมไปแนะน�ำไม่ให้เผาบางคนเขาก็เช่ือบางคนเขาก็ไม่เช่ือ
เขาบอกว่าเผาให้ไข่แมลงตาย แต่ผมว่าไข่แมลงน่ะมันไม่ตายหรอก เพราะว่ามันอยู่ในดิน
ความรอ้ นไม่ถงึ หรอก พอฝนตกมากอ็ อกมาใหม”่ คำ� ภู หมีกุล บอกเล่าถงึ ความชนื่ ชอบใน
ดินของตัวเองมาแต่ไหนแต่ไร และส�ำทับว่า “...ตอนหลังก็ต้องใส่ ๒ ไร่ต่อกระสอบ ไร่ละ
๒๕ กโิ ลประมาณนนั้ แตต่ ามปกตกิ จ็ ะใช้ ๒๐ กโิ ลตอ่ ไร่ ราคากระสอบละ ๘๐๐ บาทพอเรา
ท�ำนาข้าวใส่รอบเดียวพอ เพราะว่าดินมนั ดอี ยู่ ยาฆ่าแมลงไมต่ อ้ งใส่ พอเรามาทำ� ปุ๋ยหมกั
คา่ ปุย๋ ไร่ละ ๘๐๐ กห็ ายไป เพราะวา่ เราใชน้ ำ้� หมักแล้วกเ็ ศษฟาง กท็ ำ� ใหด้ นิ อดุ มสมบรู ณ์ด”ี

เทคนคิ การกำ� จดั ยูคา
ต้นยูคาลิปตัส กลายมาเป็นไม้ยอดฮิตในบ้านเรามาพักหน่ึงแล้ว ด้วยความที่
เปน็ ตน้ ไมท้ ตี่ น้ ตงั้ ตรงสวยงาม มใี บไมม่ ากนกั และมเี นอื้ ไมท้ เี่ หมาะสมสำ� หรบั ทำ� ไมแ้ บบ
ท�ำงานก่อสร้าง ท�ำงานเฟอร์นิเจอร์และอ่ืนๆ จึงท�ำให้เกิดการปลูกอย่างแพร่หลาย
จนมาพบว่าการปลกู ยคู านั้นท�ำใหด้ ินดาน แหง้ แลง้ เร็วกว่าปกติ จงึ มกี ารรณรงค์ไมใ่ ห้
ปลกู ยคู าลปิ ตสั กัน
“เวลาปลูกข้าว มันก็ดูดน้�ำ ดูดปุ๋ยกินหมด ข้าวไม่ได้กินหรอกข้างๆ เวลาน้�ำขัง
แปบ็ เดยี วนำ�้ กห็ ายหมดแลว้ ยคู าดดู นำ้� ไปนกี่ จ็ ะตดั ทงิ้ หมดแลว้ ไมเ่ อาแลว้ แตว่ า่ ตดั มนั
กไ็ มต่ ายนะ เขาบอกวา่ ตอ้ งหยอดราวนอ์ พั นแี่ สดงวา่ เขาทำ� จรงิ นะ เพราะเมอ่ื กอ่ นหนา้ นี้
เขาโฆษณาวา่ ตดั ทเี ดยี วแลว้ ไมต่ อ้ งปลกู หนอ่ อกี นะ” คำ� ภู หมกี ลุ เลา่ ขำ� ขำ� กบั เรอื่ งราว
ท่เี กดิ ขึน้ จรงิ แตเ่ ปน็ ความจรงิ บนความเจบ็ ปวด

ท�ำนาต้องอดทน ท�ำไป ท�ำไป ๘ ปี รู้ผล เพราะว่ามันต้องใช้เวลานะ
หัวใจส�ำคัญคือ ต้องขยันหน่อย ไม่ต้องขยันหลาย ขยันนิดหน่อยพอ
ค่อยท�ำ ค่อยไป สม�่ำเสมอ อดทนอย่าใจร้อน

17

น�ำ้ หมักชวี ภาพ
สตู รที่ ๑ หมกั เศษอาหาร
เศษอาหาร ๓๐ กโิ ลกรัม
กากน้ำ� ตาล ๕ ลิตร
นำ� สว่ นผสมท้งั หมดหมักรวมกันทงิ้ ไวไ้ ม่ต�่ำกว่า ๑๕ วนั
อตั ราการใช้ นำ�้ หมกั ที่กรอง ๕ ลิตรผสมน้ำ� ๒๐ ลติ ร
สูตรที่ ๒ น้�ำหมักปุย๋
ฟาง ๑๐๐ กิโลกรัม
ป๋ยุ คอก (มูลววั ) ๑ กระสอบ
ปยุ๋ ยเู รยี ๑ กิโลกรัม
น�ำ้ หมักเศษอาหารหรือ หัวเช้อื พด.๒ ๑๐ ลิตร
ใสฟ่ างในรางไมข้ นาด ๒X๒ เมตรสงู ๑ ฟตุ โรยดา้ นบนดว้ ยปุ๋ยคอก รดน้�ำหมัก
เศษอาหาร หรือน�ำ้ พด.๒ ให้ช่มุ ทับอีกชน้ั ด้วยฟางและราดนำ้� หมักหรอื หวั เชอื้ พด.๒
ซ�้ำ ทำ� ชัน้ แบบเดยี วกนั ประมาณ ๒-๓ ชน้ั จากน้ันคลมุ ด้วยผา้ ท้งิ ไว้ ๓ วนั เปดิ ผา้ ออก
คลกุ เคลา้ สว่ นผสมตา่ งๆ ใหเ้ ข้ากนั คลมุ ทงิ้ ไว้เหมือนเดมิ ทง้ิ กองฟางหมกั ไวอ้ กี ๗ วนั
สามารถเปิดน�ำไปใช้เป็นปุ๋ยบำ� รงุ พชื ไดด้ ี ท�ำใหพ้ ืชแข็งแรงสมบรู ณ์
เคล็ดลบั : เกษตรกรไมค่ วรเผาตอซงั แตค่ วรใชน้ ำ้� หมกั เศษอาหาร ฉดี พน่ ตอซงั
กอ่ นไถกลบจะชว่ ยยอ่ ยสลายตอซงั ใหเ้ ปน็ ปยุ๋ พชื สด ชว่ ยบำ� รงุ ดนิ ได้

18

อนาายยุเ๕ทีย๒มปปี ระโยตัง

บา้ นเลขที่ ๒๙ หมู่ ๓ ต.กดุ หมากไฟ อ.หนองววั ซอ จ.อดุ รธานี
โทร. ๐๘๗ ๔๒๘๔ ๒๓๒

พื้นท่ีเกษตร ปลกู ขา้ ว ๑๔ ไร่ ปลกู พชื หลงั นา ๒ ไร่ ไดแ้ ก่
ข้าวโพด เห็ดฟาง มะเขือเทศ
ปศสุ ัตว์ เลยี้ งวัว
“นายฮ้อย” อาชีพเก่าแก่แต่โบราณ ท่ีปรากฏอยู่ในเร่ืองเล่าตลอดจนนวนิยายที่
เกยี่ วขอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ ของคนอสี าน เรอ่ื งราวของกลมุ่ ชายฉกรรจท์ มี่ อี าชพี คา้ ววั คา้ ควาย ตอ้ ง
ผา่ นดา่ นทดสอบมากมายเมอ่ื ตอ้ นควายไปขายยงั ทต่ี า่ งๆ ทงั้ อนั ตรายจากสตั วป์ า่ การเดนิ ทาง
ผ่านท้องถ่ินทุรกันดาร ต้องต่อสู้กับหัวขโมยท่ีจะมาลักวัว ควายไป ค�ำ “นายฮ้อย” จึงให้
ภาพลกั ษณ์ของชายฉกรรจท์ ีพ่ ร้อมเผชญิ โลก
วันน้ีเมื่อโลกเปล่ียนแปลงไปวิถีของนายฮ้อยก็เปล่ียนตาม แม้ยังคงสวมหมวกใบเท่
แบบนายฮ้อยในต�ำนาน แต่วิธีการแลกเปล่ียนควายก็ง่ายดาย ด้วยการติดต่อส่ือสารผ่าน
ช่องทางไร้สาย...เทยี ม ประโยตัง กเ็ ปน็ หนง่ึ ในเครอื ขา่ ยนายฮ้อยแห่งภาคอีสาน ทีส่ บื ทอด
ตำ� นานการซอ้ื ขาย แลกเปลี่ยน วัว ควาย มาจนถึงทุกวันนี้ และนน่ั ท�ำให้เขาเปน็ หน่งึ ใน
ผทู้ มี่ อี าชพี ทเี่ ปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั นนั่ คอื “การคา้ ววั และการนำ� พอ่ พนั ธว์ุ วั ไปผสมพนั ธ”์ุ
“เร่ืองค้าวัวเราก็ท�ำมานาน เมื่อก่อนเลี้ยงควาย ๓๐ กว่าตัว ต่อมาขายควายไปซ้ือ
รถไถคนั นงึ ราคา ๕๑๐,๐๐๐ บาท เป็นรถไถคนั เล็กแล้วจากน้ันกเ็ อารถไถไปหากิน ได้เงนิ
มาก็มาซ้ือวัวมาเลี้ยงอีก เพราะว่าวัวบ้านเรามันจะหมดแล้ว” เทียม ประโยตังเล่าถึงวิถีท่ี
เปลยี่ นแปลง จากควาย กลายเป็นควายเหล็กและกลับกลายเปน็ วัวอกี ครงั้

19

วัวแต่ละตัวที่เขาซื้อมา จะคัดเลือกวัวที่แข็งแรง อายุประมาณ ๑ ปี ราคาประมาณ
๑๑,๐๐๐-๒๐,๐๐๐ บาทแล้วแต่อายุและความสมบูรณ์ของวัว จากน้ันน�ำมาเล้ียงตาม
ธรรมชาติ โดยสร้างคอกไวใ้ หห้ ลบแดด หลบฝน เชา้ ขึน้ มากต็ ้อนออกมาปล่อยใหแ้ ละเลม็
กินหญ้าในท้องนา เย็นย�่ำค�่ำลงก็ต้อนกลับไปนอนในคอก ถ้าตัวไหนดูท่าไม่แข็งแรงหรือ
“เลี้ยงไม่เชื่อง” ก็ขายออกไป แต่ถา้ ตัวไหนเลี้ยงเชื่องดี ให้จบั ให้จูง ก็เล้ียงไว้

“ที่ท�ำมานี่เล้ียงวัวได้รายได้ดีท่ีสุด ตัวนึงได้ก�ำไรราว ๑๐,๐๐๐ กว่าบาท ก็เอามากิน
หญา้ แถวๆ นี้ พออายไุ ด้ ๒ ปกี ว่ากข็ าย เดก็ นอ้ ยก็มหี น้าทีเ่ ล้ยี งวัว บางทีก็เปน็ ตากับยาย
เชา้ เอาววั ออกไปเย็นเอาเขา้ คอก ถา้ เพ่อื นๆ นายฮอ้ ยด้วยกนั โทรมาหาวา่ จะมีคนซ้ือวัวก็
จะบอกเขาไปวา่ เรามวี วั มกี ต่ี วั ราคาเทา่ ไหร่ ถา้ เขาตกลงกเ็ อาววั ไปสง่ กนั รบั เงนิ มากเ็ ทา่ นน้ั ”

ปจั จบุ นั นายเทยี ม ประโยตงั มวี วั อยทู่ งั้ สน้ิ ๑๓ ตวั ปลอ่ ยใหห้ ากนิ เองตามธรรมชาติ
โดยมีเด็กๆ ลูกหลานคอยท�ำหน้าท่ีเล้ียงวัวและอาจจะเป็นคนรุ่นต่อไปท่ีจะสืบทอดอาชีพ
นายฮ้อยในอนาคต

เทคนิคการเลย้ี งพ่อวัวพันธุ์
ววั พนั ธท์ุ นี่ ายเทยี ม เลยี้ งคอื พนั ธอ์ุ เมรกิ นั บรามนั ทกี่ ำ� ลงั เปน็ ทนี่ ยิ ม ราคาพอ่ พนั ธ์ุ
ตกถงึ ตวั ละ ๖๐,๐๐๐ กวา่ บาท แตแ่ มว้ า่ ราคาจะสงู การเลยี้ งววั “พอ่ พนั ธ”์ุ กเ็ ปน็ อาชพี
ทที่ ำ� รายไดใ้ หอ้ ยา่ งงดงาม โดยเทคนคิ การเลยี้ งววั พอ่ พนั ธ์ุ นอกจากทำ� คอกใหไ้ วใ้ ตถ้ นุ
บา้ น ดแู ลอยา่ งดแี ลว้ อาหารพอ่ พนั ธย์ุ งั ไมใ่ ชห่ ญา้ แบบเดยี วกบั ทเ่ี ลย้ี งววั ตวั อนื่ ๆ แตเ่ ปน็
กล้วยกบั รำ� ที่นายเทียมใสใ่ จนำ� มาใหเ้ ป็นพิเศษ
รายไดจ้ ากการเล้ียงพ่อพนั ธุ์ วัว
• นำ� ววั ไปผสมพันธุ ์ คร้ังละ ๕๐๐ บาท
• ค่านำ้� มนั รถ คา่ เดนิ ทาง ครัง้ ละ ๑๐๐-๒๐๐ บาท (ตามแตร่ ะยะทาง)
ววั พอ่ พนั ธต์ุ วั หนง่ึ ๆ สามารถผสมพนั ธไ์ุ ดม้ ากกวา่ วนั ละ ๑ ครง้ั และชว่ งทโ่ี ตเตม็ ท่ี
นายเทยี มเลา่ วา่ พอ่ พนั ธข์ุ องตนตอ้ งเดนิ ทางไปผสมพนั ธท์ุ กุ วนั มากกวา่ วนั ละ ๑ บา้ น
และเคยต้องเดินทางไปถึง ๓ บ้านในวันเดียว เพราะความต้องการพ่อพันธุ์มีสูงมาก
น่นั เอง

ถ้าขยนั อดทน รับรองไม่มที างจน

นายเทยี ม ประโยตงั เปน็ หนงึ่ ในชาวบา้ นโคกลา่ ม-แสงอรา่ ม ทป่ี ระกอบอาชพี มากกวา่
๑ อยา่ ง นอกจากการคา้ ววั และทำ� นาแลว้ นายเทยี มยงั มชี อ่ื เรอ่ื งการปลกู เหด็ ฟาง แบบตง้ั กอง

20

กบั พนื้ ดนิ ปลกู พืชหลงั นาหลากชนิด อกี ทง้ั
เป็นพ่อค้า แม่ค้าในตัวเอง โดยเช้าข้ึนมา
นายเทียมและภรรยาจะออกไปเก็บเห็ดใน
แปลง เกบ็ ผกั สวนครวั และหกั ขา้ วโพดมาตม้
เพ่ือน�ำไปจ�ำหน่ายยังตลาดหนองวัวซอ ใน
แตล่ ะวนั จะไดเ้ หด็ กวา่ ๖-๗ เขง่ นำ� ไปขายท่ี
ตลาดหนองววั ซอไดร้ ายไดถ้ งึ วนั ละ ๔,๐๐๐ –
๕,๐๐๐ บาท ไมร่ วมกบั ขา้ วโพดทต่ี ม้ ไปขาย
ตลาดนดั ในราคา ๗ ฝกั ๒๐ บาทซง่ึ กข็ ายหมด
ทุกวันเชน่ กัน

“ท�ำเห็ดก็มีต้นทุนแปลงละ ๒,๐๐๐-
๒,๒๐๐ บาท เป็นค่ากากมันส�ำปะหลังแต่
เพราะวา่ เรามรี ถเองกล็ ดลงมาเหลอื ประมาณ
๑,๕๐๐-๑,๖๐๐ บาท ตอ่ ๒๐ แปลง แปลงนงึ
มี ๘ แถวพอเหด็ ออกรวมๆ แลว้ ขายไดเ้ ปน็
กำ� ไร ๗,๐๐๐-๑๐,๐๐๐๐ กวา่ บาทต่อรอบนึง ใช้เวลาประมาณไมถ่ งึ เดอื น เพราะว่าเราปลูก
แบบหมุนเวียน ท�ำครั้งละหลายแปลงพอแปลงนี้จะหมด ก็เริ่มเก็บแปลงน้ันหมุนเวียนไป
ทำ� ใหม้ รี ายไดท้ กุ วนั พอเรม่ิ รอบเหด็ ออกรอบหลงั ๆ ไมค่ อ่ ยสวยเรากไ็ มเ่ อาไปขายแลว้ เกบ็
แจกจา่ ยพนี่ อ้ ง เพอ่ื นบา้ นกนิ เราขายเฉพาะเหด็ ชดุ แรกๆ แลว้ เหด็ ของเราขาว ดอกใหญก่ ข็ ายดี
ไปขายหนองวัวซอจนขายไมไ่ หว เอาไปเทา่ ไหร่ก็ขายหมดเราขายเห็ดแถมข้าวโพดต้มบา้ ง
อะไรบา้ ง ขายดี” นายเทียม เลา่ ถึงการท�ำมาหากิน ทท่ี ำ� ผลผลติ ออกมาเท่าไหร่ก็ขายหมด
วันนี้ของครอบครัวประโยตัง ดูจะเป็นวันที่เต็มไปด้วยความส�ำเร็จ เสียงหัวเราะของ
ภรรยานายเทียมดังแทรกเข้ามาเร่ือยๆ ตลอดระยะเวลาการพูดคุย แต่ก่อนหน้าน้ีใช่ว่า
หนทางเดนิ ชวี ติ จะราบเรยี บ นายเทยี มกเ็ หมอื นกบั คนอนื่ ๆ อกี หลายคน ทช่ี วี ติ หนั เหไปหา
เหลา้ ยาปลาปง้ิ จนเม่ือวันหนึง่ เขามองเหน็ ลกู แลว้ ก็ “คดิ ได้” วา่ จะกินเหลา้ จนวนั หนง่ึ ลูก
ลกุ ขน้ึ มากนิ เหลา้ รว่ มวงกบั พอ่ หรอื อยา่ งไร เพยี งคดิ ไดเ้ ทา่ นก้ี ต็ ดั สนิ ใจเลกิ เหลา้ โดยเดด็ ขาด
นับแต่วันน้ันแล้วหันมาทุ่มเทเรี่ยวแรงทั้งหมดให้กับการท�ำมาหากิน จนวันนี้กล่าวได้ว่า
นายเทยี ม ประโยตัง ประสบความส�ำเรจ็ ในอาชีพทีห่ ลากหลาย
“ถา้ ขยนั น่ี ไมม่ วี นั จนนะ ลกู หลานไปทำ� งานเมอื งนอก ยงั ไมไ่ ดเ้ ทา่ เราเลย ของเขามแี ต่
รบั เปน็ รายเดอื น แตข่ องเรารบั ทกุ วนั ” เทยี ม ประโยตงั กลา่ วปดิ ทา้ ยถงึ เคลด็ ลบั ความสำ� เรจ็

21

เทคนิคการเพาะเห็ดฟางแบบกองดนิ
วตั ถดุ บิ สำ� คญั ของการเพาะเหด็ แบบ

กองดิน คือ กากมันส�ำปะหลังที่เหลือใช้
ในขบวนการผลติ แปง้ มนั ซง่ึ จะมอี ยู่ ๓ ชนดิ
ไดแ้ ก่ กากดนิ กากลา้ ง และกากแปง้ กากดนิ
จะได้จากการท�ำความสะอาดหัวมัน
สำ� ปะหลงั ครง้ั แรก กอ่ นนำ� เขา้ สขู่ บวนการ
ผลติ จะมเี ศษดนิ เศษเปลอื กนอก ลกั ษณะ
เปน็ เหมอื นดนิ นำ้� หนกั มากกากลา้ ง ไดจ้ าก
การลา้ งหรอื เปยี กลา้ ง จะไดจ้ ากการทำ� ความสะอาดครงั้ ท่ี ๒ ลกั ษณะจะมนี ำ�้ ปนออกมา
สารอาหารที่เห็ดต้องการมีมาก ส่วน กากแป้งหรือกากเปยี กจะไดจ้ ากขบวนการผลติ
สุดท้าย จะมลี ักษณะเปียกชุ่มมากสีออกขาว เนือ้ ละเอยี ด มสี ารอาหารยังคงเหลอื อยู่
มาก สตู รของการผสมกากมันในแต่ละโรงงานจะไม่เหมอื นกนั สว่ นสูตรของนายเทยี ม
นั้นใช้ กากดินผสมกับกากเปยี กและกากลา้ งรวมกนั ทงั้ ๓ ชนดิ
วตั ถุดบิ ส�ำหรับการเพาะเห็ดฟาง
๑. กากมันสำ� ปะหลงั ผสมแล้วจากโรงงาน
๒. ไม้แบบขนาด ๖๐ X ๓๐ สงู ๒๐ ซม.
๓. ไมโ้ ครง (ไม้ไผผ่ า่ ซกี กวา้ ง ๑ น้วิ ยาว ๑.๖๐ เมตร)
๔. ฟางตากแหง้ สนิท เกบ็ ไว้โดยไมเ่ ปยี กชืน้ ห้ามใช้ฟางสกปรก หรอื ฟางขนึ้ รา
๕. พลาสตกิ ส�ำหรับคลุมกองฟาง
๖. เชื้อเห็ด
๗. ปยุ๋ คอก เพอ่ื เป็นอาหารส�ำหรบั เหด็
วิธีการเลอื กพ้นื ทส่ี �ำหรบั เพาะเห็ดฟางแบบกองดิน
การเลือกสถานท่ีเพาะเห็ดเป็นหน่ึงในหัวใจส�ำคัญ เนื่องจากการเพาะเห็ดฟาง
แบบกองที่ส�ำคัญคือจะต้องไม่เป็นพ้ืนที่ดินเค็ม นอกจากน้ันจะต้องค�ำนึงถึงสภาพ
แวดลอ้ มดว้ ย ทส่ี ำ� คญั คอื ตอ้ งปราศจากยาฆา่ แมลง ยากนั เชอ้ื รา เปน็ ทโ่ี ลง่ นำ�้ ไมท่ ว่ มมี
การระบายนำ้� ไดด้ ี และตอ้ งเปน็ ทไี่ มเ่ คยใชเ้ พาะเหด็ ฟางมากอ่ น การทำ� เหด็ กองลานจะ
ทำ� กองดนิ หมนุ เวยี นยา้ ยทไ่ี ปเรอื่ ยๆ โดยดนิ ทเี่ คยเพาะเหด็ ฟางแลว้ จะสลบั หมนุ เวยี น
ไปปลูกผักต่างๆ แทนเพราะกากที่เหลือจากการผลิตเห็ดจะกลายเป็นปุ๋ยให้กับพืชผัก
และหากต้องการเวียนกลับมาเพาะเห็ดฟางกองดินบนพื้นที่นั้นอีก  จะต้องขุดดิน
ตากแดดจดั ไว้ ๗ วนั เพอื่ ฆา่ เช้อื โรคตา่ งๆ ปอ้ งกันโรคโดยเฉพาะเชอ้ื รา

22

วธิ ีการเพาะเห็ดฟาง
๑. การต้งั กองดิน
๑.๑ มันสำ� ปะหลงั ๑ รถบรรทกุ ไดป้ ระมาณ ๒.๓-๒.๔ ตนั กองตามจุดตา่ งๆ
ทีจ่ ะทำ� กองเหด็ (ปรมิ าณนท้ี �ำได้ ๒๐ แปลง แปลงละ ๘ กองดิน)
๑.๒ นำ� บล็อกไมท้ ีเ่ ตรียมไว้มาเตรียมการตั้งกองดิน โดยตักกากมันใส่ในถงั สี
เพอื่ กะนำ�้ หนกั ใหเ้ ทา่ กนั ปรมิ าณ ๑ ถงั สตี อ่ บลอ็ ก เทกากมนั แลว้ เหยยี บ
ใหแ้ นน่ ก่อนยกบล็อกข้นึ จะได้กองดินส�ำหรับเพาะเห็ด ๑ กอง
๑.๓ เลอ่ื นบลอ็ กไปใหห้ า่ งจากกองดนิ แรก ๑๐-๑๕ ซม. กอ่ นตง้ั กองดนิ ตอ่ ไป
ทำ� เช่นนจ้ี นครบ ๘ กองดนิ เรยี กว่า ๑ แปลงเห็ด ท�ำซ�้ำจนได้ ๒๐ แปลง

ขณะต้ังกองดินหากกากมันส�ำปะหลังแห้งเกินไป ให้รดน้�ำพอเปียก ไม่ให้กอง
ดนิ แตก

๒. การเตรยี มเชอื้ เหด็
๒.๑ เตรียมเชื้อเห็ดดว้ ยการผสม ส่วนผสมตามอตั ราสว่ น ดังนี้
แปง้ ขา้ วเจา้ ๕๐ กรัม
เชอ้ื เหด็ ฟาง ๒ ถุง
หวั อาหารเห็ดฟาง ๑ ช้อน
รำ� ๕๐ กรมั
(อัตราสว่ นส�ำหรับแปลงเหด็ ฟาง ๑ แปลง)
๒.๒ ผสมสว่ นผสมทง้ั หมดใหเ้ ขา้ กนั นำ� ไปโรยบรเิ วณแปลงเหด็ ฟางเปยี กทขี่ น้ึ
บลอ็ กไว้แลว้ โดยโรยใหท้ ั่วทั้งทเี่ ป็นบลอ็ กและส่วนพื้น
๒.๓ รดน�้ำให้ทัว่ แปลงเหด็ พอใหช้ มุ่
๓. การดแู ล และการเกบ็ ผลผลติ
๓.๑ เมื่อต้ังกองดินและโรยเชื้อเห็ดจนท่ัวแล้ว ให้คลุมด้วยแผ่นพลาสติกให้

23

มิดชดิ โดยคลมุ ๒ ชั้น ใชป้ ลายขา้ งหน่งึ ซอ้ นทับปลายพลาสตกิ อีกด้าน
บรเิ วณดา้ นบนของกองเหด็

๓.๒ คลุมทบั ด้วยกองฟางอกี ช้นั หนง่ึ
๓.๓ ปดิ ไวใ้ หม้ ดิ ชดิ เปน็ เวลา ๓ วนั แลว้ จงึ เปดิ เพอื่ ใหม้ อี ากาศเขา้ ไปในแปลง
เหด็ ฟางเลก็ นอ้ ย สงั เกตจะพบการเดนิ ของเชอ้ื เหด็ เหน็ เปน็ เสน้ ใยคลา้ ย
ใยแมงมมุ เต็มไปหมด
๓.๔ ข้ึนโครงไม้ไผ่เพื่อให้มีอากาศภายใน จากน้ันน�ำพลาสติกคลุมบนโครง
ไมไ้ ผ่อีกชั้นหน่งึ นำ� ฟางกลบซำ�้ อกี ชั้น พกั ไว้อกี ๓-๔ วนั เปดิ ให้อากาศ
อีกครง้ั ดกู ารเติบโตของเหด็ ระยะนีจ้ ะเห็นเป็นเมด็ ขาว
๓.๕ หลงั จากนนั้ ๔-๗ วนั สามารถเรมิ่ เกบ็ เหด็ ได้ ขน้ึ อยกู่ บั สภาพอากาศ เหด็
ชอบอากาศร้อนแล้ว ท�ำใหโ้ ตเรว็
๔. ผลผลิตและการจ�ำหน่าย
๔.๑ ปรมิ าณเหด็ ทเ่ี กบ็ ได้ ตอ่ แปลงประมาณเฉลยี่ แปลงละ ๓ กโิ ลกรมั ตอ่ วนั
โดยสามารถเกบ็ เหด็ ได้ ๓ รอบขน้ึ ไปหากไดร้ ับการดแู ลท่ีดี เหด็ รอบ ๒
อาจมปี รมิ าณลดลงกว่ารอบท่ี ๑ แต่เม่อื ถงึ รอบที่ ๓ จะกลบั มีปริมาณ
เพิ่มขน้ึ อกี ครงั้
๔.๒ ปรมิ าณเหด็ ทง้ั หมดทเี่ กบ็ ไดต้ อ่ แปลง ประมาณ ๒๐ กก. ระยะเวลารอบละ
๑๕ วัน
๔.๓ การจ�ำหนา่ ย ใช้การขายด้วยตวั เองทต่ี ลาดนดั ทำ� ใหไ้ ด้ราคา เพราะสูตร
แปง้ ขา้ วเจา้ จะเพม่ิ ความขาวใหก้ บั เหด็ เคยจำ� หนา่ ยไดถ้ งึ ราคากโิ ลกรมั ละ
๘๐ บาท แต่โดยเฉล่ียแลว้ ราคาเหด็ ฟางจะอยทู่ ี่ ๔๐-๖๐ บาท
รายได้จากการเพาะเห็ดฟางแบบกองดนิ
นายเทียม ประโยตัง มีต้นทุนต่อรอบการด�ำเนินการ (๒๐ แปลง) ประมาณ
๑,๕๐๐-๑,๖๐๐ บาท เป็นคา่ กากมนั ตันละ ๓๕๐ บาท และค่าเชือ้ เหด็ สว่ นฟางและ
ปยุ๋ คอกหามาไดจ้ ากทน่ี า และทำ� ปยุ๋ คอกเอง โดยนายเทยี มใชร้ ถตวั เองไปบรรทกุ กากมนั
จากโรงงานซึ่งท�ำให้ค่าใช้จ่ายถูกลง แต่ถ้าเกษตรกรรายอ่ืนๆ ที่ไม่มีรถบรรทุกจะต้อง
วา่ จา้ งรถด้วย ต้นทุนตอ่ ๒๐ แปลงจะอยูท่ ่ี ๒,๐๐๐-๒,๒๐๐ บาท หรือเฉลย่ี แปลงละ
๑๐๐-๑๒๐ บาท
• เฉลี่ยต้นทุนการตง้ั กองดินเพือ่ เพาะเห็ดฟาง ๑๐๐-๑๒๐ บาท
• รายได้จากการจำ� หน่ายตอ่ รอบ/แปลง ๘๐๐-๑๒๐๐ บาท
• ตอ่ ปปี ลกู เหด็ ได้ ๖ รอบหมนุ เวยี นไปในพนื้ ที่ มรี ายไดเ้ ฉลยี่ ๑๐๐,๐๐๐ กวา่ บาท

24

เคลด็ ลับการท�ำเห็ดฟางกองดนิ ของนายเทยี ม คือ ท�ำเป็นรอบๆ ตอ่ เนือ่ งกันไป
ทำ� ใหม้ รี ายไดห้ มนุ เวยี น แปลงละ ๒๐ กองดนิ จะไดร้ ายไดท้ กุ วนั วนั ละ ๔,๐๐๐-๕,๐๐๐
บาท จากการเก็บผลผลิตไปขายที่ตลาดหนองวัวซอ โดยเห็ดจะขึ้นดีหรือไม่ข้ึนอยู่กับ
อากาศ สว่ นการจำ� หนา่ ยเห็ด ราคาจะดีหรือไม่ข้นึ อยกู่ ับปริมาณของเหด็ ที่มีเกษตรกร
ไปจำ� หนา่ ยในตลาดนั้นๆ

นางกนษิ ฐา ดว้ งคำ� ภา

บา้ นเลขท่ี ๒๔ หมู่ ๓ ต.กดุ หมากไฟ อ.หนองววั ซอ จ.อดุ รธานี
โทร. ๐๘๖ ๒๔๑ ๙๐๐๙

พน้ื ที่เกษตร ปลูกข้าว ๑๘ ไร่ ปลูกพืชเกษตรอ่ืนๆ
ได้แก่ มะม่วง พริก ตะไคร้ เสาวรส
ปลูกพืชหลังนา ๒ ไร่ ไดแ้ ก่ ขา้ วโพด
ฟกั ทอง เหด็ ฟางกองดนิ
ปศสุ ัตว์ เล้ียงหมู เป็ด ไก่ ปลา
กิจกรรมเพ่มิ เตมิ ท�ำเตาเผาถ่าน เรม่ิ เกบ็ น�้ำสม้ ควันไม้

กนษิ ฐา ดว้ งคำ� ภา เปน็ หนงึ่ ในชาวบา้ นโคกลา่ ม-แสงอรา่ ม ทเ่ี ฝา้ ตดิ ตามดคู วามคบื หนา้
ของโครงการของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระ
ราชด�ำริ เร่ิมแตค่ รั้งมีการประชุมกันครงั้ แรกของหมู่บา้ น เธอกเ็ ป็นหน่ึงในผทู้ ีใ่ หค้ วามสนใจ
มารว่ มออกแรงเปน็ อาสาสมคั ร แมว้ า่ ทนี่ าจะไมไ่ ดอ้ ยใู่ นพน้ื ทรี่ บั นำ�้ จากโครงการในระยะแรก
แต่เพราะกนิษฐาเองกต็ ระหนักดีถงึ ความสำ� คัญของ “นำ�้ ” ต่อการท�ำการเกษตร เพราะใน
บรเิ วณทนี่ าของเธอไดร้ บั นำ้� จากหว้ ยขเ้ี กยี แมจ้ ะมปี รมิ าณไมเ่ พยี งพอตอ่ การทำ� เกษตรทง้ั ปี
แต่กย็ ัง “พอมี”

การทำ� การเกษตรของกนษิ ฐาทำ� แบบ “คนขยนั ” คอื อยากกนิ อะไรกป็ ลกู เอา โดยไมไ่ ด้
คดิ วา่ ปลกู ไวเ้ พอื่ ขาย ไมไ่ ดค้ ดิ ทำ� เปน็ ธรุ กจิ แตป่ ลกู ไวเ้ พอ่ื กนิ ในครอบครวั แจกเพอื่ นฝงู บา้ ง
ลูกหลานบ้าง บางครั้งผักหวานป่าจากโคกล่ามยังได้เดินทางไกลไปจนถึงเมืองชลบุรีที่ซึ่ง
ครอบครัวขยายฐานรากไปลงหลักที่น่ัน และด้วยความเป็นคนขวนขวายหาความรู้ใหม่ๆ
อยู่เสมอ เม่อื โครงการฯ เข้ามาเธอจงึ เฝา้ ตดิ ตามอย่างใจจดจ่อ

25

“ตอนทค่ี ณุ ชายมาแรกๆ เขาบอกวา่ เขาจะสนบั สนนุ ตรงทมี่ อี า่ ง ใครมนี าอยใู่ ตอ้ า่ งให้
ไปลงทะเบยี น นาเราไมไ่ ดอ้ ยใู่ ตอ้ า่ ง เรากช็ ะเงอ้ แลว้ ชะเงอ้ อกี วา่ ใครมาหนอ เขามาทำ� อะไร
เราเป็นคนอยากรู้ อยากเหน็ ยืดคอแล้ว ยืดคออกี พอเขาเปิดโครงการช่วงขยายผลกร็ ีบไป
สมคั รกอ่ นเลย เพราะวา่ เปน็ คนอยากรอู้ ยากเหน็ วา่ จะทำ� อะไรยงั ไง สนใจวา่ ทที่ ำ� เกษตรอยู่
นมี่ นั จะมวี ธิ ที ดี่ กี วา่ ทท่ี ำ� อยไู่ หม เขามาประชมุ กนั ตอนแรกมแี ค่ ๒๘ แปลง ตอนนข้ี ยายผล
ออกมาแลว้ โอย๊ ...ดีใจ ปีแรกยงั ขยายไม่เรว็ อยา่ งว่าแหละต้องเป็นรอบฤดูกาลเปน็ ขน้ั ตอน
ตอนนี้นำ้� ยงั มาไมถ่ งึ อาศัยน้ำ� ท่ีติดห้วย แต่ไดค้ วามรูม้ าขยายผลที่น”ี่ กนษิ ฐาบอกเลา่ ด้วย
น�้ำเสยี งทย่ี งั สะทอ้ นความตน่ื เต้นในวนั น้ัน

องคค์ วามรทู้ เี่ ธอไดร้ บั จากการขยายผลโครงการทนี่ ำ� มาใชจ้ รงิ นน้ั หลากหลาย ทส่ี ำ� คญั
คอื การเรยี นรเู้ รอื่ ง ปยุ๋ ยเู รยี มนษุ ย์ ทไ่ี ดจ้ ากการหมกั นำ�้ ปสั สาวะกบั สมนุ ไพร และกากนำ้� ตาล
การทำ� นำ�้ หมกั จลุ นิ ทรยี ส์ ตู รตา่ งๆ การปลกู ปา่ นำ� ไมม้ าทำ� ถา่ น ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั การเผาถา่ น
ดว้ ยเตาแบบดงั้ เดมิ ทพ่ี ชี่ ายเธอทำ� อยแู่ ลว้ ตลอดจนการทำ� ปศสุ ตั ว์ เลย้ี งเปด็ เทศและเลยี้ งหมู

ปุย๋ ยเู รยี มนุษย์
วตั ถุดิบ
๑) น�ำ้ ปสั สาวะ จ�ำนวน ๑๐ ลติ ร
๒) กากน้�ำตาล จำ� นวน ๒ ลติ ร
นำ� วัตถดุ บิ ทัง้ ๒ ชนดิ มาผสมรวมกนั หมกั ไว้ ๑๐-๑๕ วนั สังเกตวา่ มฝี า้ ขาวขน้ึ
แสดงวา่ ปยุ๋ ทห่ี มกั ไวไ้ ดท้ พ่ี รอ้ มใชง้ านแลว้ อตั ราสว่ นการใชส้ ำ� หรบั พชื ผกั สวนครวั ใชผ้ สม
น�้ำในอตั ราสว่ น ๑:๑,๐๐๐ ลติ ร ฉีดพ่นทกุ ๗ วันจะช่วยเรง่ อตั ราการเจรญิ เตบิ โตของ
พชื และช่วยให้พืชมคี วามตา้ นทานโรคได้ดี
การเล้ียงหมู
หมูพันธ์ุ “เหมยซาน” หรอื “มติ รสัมพันธ์” เปน็ หมจู ากประเทศจีนซ่งึ ไดท้ ลู เกลา้
ถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อน�ำมาเผยแพร่ให้กับ
เกษตรกรได้เลี้ยงต่อไป หมูเหมยซาน เป็นหมูท่ีกินอาหารท่ีคุณภาพต�่ำได้ มีลูกดก
ประมาณ ๑๖- ๒๑ ตวั /แม/่ ครอก ทนตอ่ สภาพอากาศหนาวชนื้ ของทสี่ งู ไดด้ ี เปน็ หนมุ่ สาว
เรว็ (๔-๖ เดอื น) มเี นอ้ื นอ้ ยมนั มาก เมอ่ื นำ� มาผสมกบั หมพู นั ธอ์ุ นื่ ๆ จะไดล้ กู ผสมทมี่ เี นอ้ื
เพมิ่ ขน้ึ ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยฮอ่ งไครอ้ นั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ ไดศ้ กึ ษาทดลอง
โดยน�ำมาผสมกับพ่อพันธ์ดรู ็อคเจอร์ซ่ี และพนั ธล์ุ าร์จไวท้ ์ เพอื่ ใหไ้ ด้ลกู ผสมเหมยซาน
ท่ีมีเนอื้ เพิม่ ขึ้น และเหมาะสมกบั สภาพภมู ิอากาศของภาคเหนือ

26

การจัดการเลยี้ งดู
ในสภาพพน้ื ทส่ี งู ซงึ่ มอี ากาศหนาวเยน็ และพน้ื ทจี่ �ำกดั ควรเลยี้ งในหลมุ (หมหู ลมุ )
เพอื่ ใหไ้ ด้ปยุ๋ มลู หมูไว้ใช้ และสร้างความอบอนุ่ ให้แก่หมไู ดด้ ี ในสภาพพ้นื ที่ราบเชิงเขา
ควรเปน็ คอกพนื้ คอนกรตี หรอื พน้ื ไม้ เพอื่ สะดวกในการทำ� ความสะอาด อาหารทใี่ ชค้ วร
หาไดใ้ นทอ้ งถน่ิ เชน่ ตน้ กลว้ ย ใบกระถนิ รำ� ขา้ ว ปลายขา้ ว ขา้ วโพด ผกั ผลไมต้ า่ งๆและ
ผสมกับหัวอาหารส�ำเร็จรูปเล็กน้อย เพ่ือมิให้หมูขาดสารอาหารและโตเร็ว มีการฉีด
วัคซีนปอ้ งกนั โรค และถา่ ยพยาธสิ มำ�่ เสมอ

การลงทนุ รวม ๔,๘๐๐ บาท
• ค่าหมูอายุ ๒ เดือน ๔ ตัวๆละ ๑,๒๐๐ บาท
• ค่าอาหาร (ตวั ละ ๗๕ กก.) ๓๐๐ กก.ๆ ละ ๑๘ บาท รวม ๕,๔๐๐ บาท
• ค่าเวชภัณฑ์ (วคั ซีน,ยาถา่ ยพยาธิ) รวม ๑,๐๐๐ บาท
• ค่าใช้จา่ ยอ่นื ๆ (อปุ กรณ์การเล้ียง,ไฟฟ้า,น�้ำมันเชือ้ เพลงิ )
รวม ๓,๐๐๐ บาท
รวมทงั้ สิน้ ๑๔,๒๐๐ บาท

ผลตอบแทน รวม ๑๙,๒๐๐ บาท
• คา่ ขายหมู (อายุ ๖ เดอื น หนักตวั ละ ๖๐ กก.) รวม ๗,๒๐๐ บาท
กก.ละ ๔๐ บาท ปลี ะ ๒ ร่นุ รวมทงั้ ส้ิน ๒๖,๔๐๐ บาท
• ค่าปยุ๋ คอก (๓๐ กระสอบๆ ละ ๓๐ กก.)
๙๐๐ กก.ละ ๔ บาท ๒ คร้งั /ปี


(ข้อมลู จากศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาหว้ ยฮ่องไคร้อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำริ)

แมว้ า่ จะไดร้ บั องคค์ วามรมู้ าเหมอื นๆ กนั แตค่ วามสำ� เรจ็ ทเี่ กดิ ขนึ้ กบั แตล่ ะคนยอ่ มไม่
เหมอื นกนั สง่ิ หนง่ึ ทเี่ ปน็ เคลด็ ลบั ความสำ� เรจ็ นน้ั กนษิ ฐากลา่ ววา่ “อยา่ งทค่ี ณุ ชายวา่ มนั ตอ้ ง
ระเบดิ จากข้างใน หมายถงึ เราอยากลุกขนึ้ มาท�ำเอง ไม่ตอ้ งให้ใครมาบงั คบั เพือ่ ตวั เราเอง
แลว้ ถา้ ถามวา่ อะไรทำ� ใหเ้ ราระเบดิ จากขา้ งในนะ กต็ อ้ งบอกวา่ เราดแู บบจากพอ่ กบั แม่ พอ่
กบั แมเ่ ปน็ คนขยนั ไมค่ อ่ ยนง่ิ ดดู ายขนาดวา่ เปน็ ไขอ้ อดๆ แอดๆ กย็ งั ไมอ่ ยเู่ ฉยๆ ยงั ทำ� โนน่
ท�ำนี่ ก็เลยดวู า่ พอ่ กแ็ กแ่ ล้วแมก่ ็แก่แล้วเขายงั ท�ำ เรายังไมเ่ ปน็ ไร เราทำ� ไมไม่ท�ำ วันน้พี ่อก็
ยงั ทำ� อยู่ อายเุ ทา่ กบั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั นะ ๘๕ ปแี ลว้ แมก่ เ็ ทา่ พระราชนิ แี ตแ่ ก

27

ยงั แขง็ แรง ปกตกิ จ็ ะมานี่ พอ่ นต่ี อนนม้ี โี รคประจำ� ตวั กท็ ำ� งานอยทู่ บี่ า้ น ทำ� ของแกไปเรอื่ ยๆ
หยบิ ท�ำอะไรได้กท็ �ำ บางทีกท็ �ำสุม่ ไก่ บางทีกท็ ำ� ไมก้ วาด ตอกนี้คือตอกมดั ขา้ ว พอ่ กท็ �ำให้
นะนี่ ตดั ไมไ้ ปใหแ้ กแลว้ แกกท็ ำ� ให้ เราก็เอามามัด กภ็ ูมใิ จทีพ่ อ่ แม่ เปน็ คนขยนั เราเปน็ ลูก
จะไม่มเี ชื้อสักหนอ่ ยเหรอ”

บัญชคี รัวเรอื น ช่วยใหเ้ ราพอกิน พอใช้ พอเกบ็

หนงึ่ ใน “ตวั ชว่ ย” ทที่ ำ� ใหก้ นษิ ฐารวู้ า่ งานทท่ี ำ� แตล่ ะงานสรา้ งเปน็ รายไดก้ ลบั มาเทา่ ไหร่
เกิดจากการท�ำบัญชีครัวเรือนอย่างสม่�ำเสมอ และเป็นสิ่งท่ีได้รับมาจากค�ำแนะน�ำของ
โครงการ กนษิ ฐาเรม่ิ ทำ� บญั ชคี รวั เรอื นตงั้ แตป่ ี ๒๕๕๔ และท�ำตอ่ เนอื่ งตง้ั แตน่ น้ั มา โดยแยก
บัญชรี ายรบั รายจ่ายออกเป็นส่วนๆ เหมือนการท�ำงานเป็นแผนกๆ

“น่ีไงปีที่แล้วบันทึกไว้ว่า ส่วนของทุ่งนา ส่วนของการ
ท�ำเห็ดกองลาน น่ีเก็บเห็ดได้ นี่เก็บของขายได้ของโครงการ
ปีที่แล้วขายได้วันเดียว วันที่ ๑๕ ต่อวันนะมีรายได้รวม
๒๕๐+๑๑๕+๑๕๐+๔๓ = ๕๕๘ บาท วนั ท่ี ๑๙ ได้ ๔๘๕ บาท
วนั ที่ ๓๑ ได้ ๑๐๔ บาท และนีเ่ ปน็ บนั ทกึ รายไดส้ ว่ นของการ
เลยี้ งหมู เราไดล้ กู หมมู าวนั ที่ ๘ เมษายน วนั นงึ เราไดป้ ระมาณ
๑๐๐ ถงึ ๕๐๐ บาท แต่ปนี ี้ หมูทีค่ ลอดแล้วได้ ๑๒ ตัว ตัวเมยี
๖ ตัว ตัวผู้ ๖ ตัว ขายได้ตัวละ ๑,๐๐๐ บาท เพราะวา่ มนั หย่า
นมวนั นเ้ี ขากม็ าเอาไปวนั นเ้ี ลย เลยไมไ่ ดเ้ ลย้ี ง เขากเ็ ลยใหต้ วั ละ
๑,๐๐๐ บาท ตวั ผู้ ๖ ตัวเราขายไปแตต่ วั เมยี ไม่ขายเราคนื กองทุนไปตวั นงึ ถา้ มนั คลอดอีก
ก็คอ่ ยคืนกองทุนอกี รอบหนา้ ขายหมดเลย ใครอยากได้มาเอาไป เพราะวา่ จะไม่ไหวแล้ว
เพราะเราหั่นกลว้ ยไม่ทัน กล้ามข้ึนแลว้ ขา้ งนึง (ฮา)” กนษิ ฐาเลา่ กล้ัวเสียงหัวเราะ
บัญชีครัวเรือนท�ำให้ตระหนักถึง “ความพอดี พอเพียง” เหมือนที่กนิษฐาตระหนัก
ด้วยตัวเอง ว่าแม้จะเห็นว่าการเลี้ยงหมูน้ันท�ำรายได้ให้อย่างงาม แต่หากเล้ียงมากเกินไป
กจ็ ะกลายเปน็ ภาระ เพราะเมอ่ื ยา่ งเขา้ หนา้ ฝน แรงงานทมี่ อี ยเู่ พยี งสองคน สาม-ี ภรรยา จะตอ้ ง
ใช้ไปกับภารกิจหลักคือการท�ำนา การจะหาเวลามาห่ันต้นกล้วยให้หมูม้ือละครึ่งต้นกล้วย
ซอยละเอยี ดยบิ อย่างเธอน้นั ไมง่ ่าย เธอถงึ กับกลา่ ววา่ “ถา้ หนา้ แล้งเล้ียงหมู ๗ ตวั พอไหว
แต่ถ้าหน้าฝน หมูตัวเดียวก็เล้ียงไม่ไหวแล้ว” และนี่คือรากฐานของความไม่โลภ การรู้จัก
ประมาณกำ� ลงั ตน เปน็ พน้ื ฐานของการเตบิ โตอยา่ งยง่ั ยนื ตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง

28

อนาายงุห๕น๑เู ดปอื นี ชยั แสนฤทธ์ิ

บา้ นเลขท่ี ๑๑๖ หมู่ ๓ ต.กดุ หมากไฟ อ.หนองววั ซอ จ.อดุ รธานี
โทร. ๐๘๓ ๑๕๑๙ ๐๑๔

พืน้ ท่ีเกษตร ปลูกขา้ ว ๓ ไร่ ปลูกพืชเกษตรอืน่ ๆ ได้แก่
กล้วย ตน้ หอม มะเขอื เทศ พรกิ แตงกวา
ทำ� เหด็ ฟางกองดนิ ปลกู พชื หลงั นา๑ ไร่ไดแ้ ก่
ฟกั ทอง แตงกวา
ปศุสัตว์ เลย้ี งหมู

พ้นื ทเี่ ล็กๆ เพียงไมก่ ่ีไร่ ทแี่ ม่หนเู ดอื น ชัยแสนฤทธิ์ ไดล้ งแรงท�ำการเกษตร ปลูกผกั
ผสมผสานไว้กินใช้ในครัวเรือน ด้านหน้าแปลงผัก จะมองเห็นแปลงเห็ดฟางแบบกองลาน
ท่ีคลุมแปลงเอาไว้อย่างเป็นระเบียบ ถัดมาเป็นแปลงผักผสมผสานที่เพียงเดินเข้าไปชม
ใกล้ๆ ก็จะรู้ได้ทันทีว่าปราศจากสารพิษ ด้วยใบที่ปรากฏเป็นร่องรอยของการกลายเป็น
อาหารหนอนแมลงตา่ งๆ

แมห่ นูเดือนไมร่ สู้ กึ ว่า พืชผักทป่ี ลกู ไว้
จะเปน็ ปญั หาอะไร หากมแี มลงรบกวน เพราะ
เธอรู้ดีว่าถ้าไม่ใช้สารเคมี อย่างไรเสียก็ต้อง
มีแมลงมารบกวนบ้าง แม้ว่าจะได้พยายาม
ปลูกดอกดาวเรือง ดาวกระจายเพื่อใช้กล่ิน
ของดอกไม้ธรรมชาติเหล่าน้ีในการไล่แมลง
แลว้ กต็ าม แตเ่ พราะวา่ พรกิ ผกั มะเขอื เหลา่ นน้ั
เธอมีไว้เพื่อใช้ปรุงเป็นอาหารภายในครัว
เรอื น จะไมส่ วย ไม่งามบา้ งก็ชา่ งปะไร ขอแต่ให้ “ปลอดภัย” กบั ลกู หลานเทา่ นน้ั พอ

“เอาดาวเรอื งมาปลกู แลว้ เอาพชื ทแี่ มลงไมล่ งมาปลกู เชน่ โหระพา สะเดา แมงลกั ทม่ี นั
ไม่มแี มลงมาลง ก็ทำ� แบบน้ีแหละ ท่เี ห็นใบมนั หงิกๆ กค็ ิดวา่ มนั เปน็ ราน้�ำคา้ งหรือเพลย้ี ไฟ
น่ีแหละที่ท�ำให้ได้ผลไม่เต็มท่ี นี่ท่ีปลูกคือแตงร้าน แต่ว่าเราไม่ได้ฉีดสารเคมีเลยมีแมลงลง
มาก เดิมทีท่ีดินของเราใกล้ป่ามากแมลงก็จะลงมามาก ถ้ากลางทุ่งนาก็จะไม่ค่อยมีแมลง
ลงเทา่ ไหร่ ถา้ หนา้ แมลงมากจ็ ะไมไ่ ดผ้ ลผลติ เลยเพราะวา่ เราไมไ่ ดใ้ ชย้ าฆา่ แมลง ถา้ จะใชจ้ รงิ ๆ
ก็เป็นแค่ใช้สมุนไพรแค่ไล่แมลงเฉยๆ ไม่ใช่สารก�ำจัดแมลงแต่จะใช้พวกสมุนไพรใส่รากคูน
สะเดา ไหลแดง ฉดี ไลเ่ ปน็ แคย่ าไลไ่ มไ่ ดฆ้ า่ พอไลม่ นั ไปไมน่ านมนั กม็ าอกี เหมอื นเดมิ เรากใ็ ช้

29

วธิ ฉี ดี เรอ่ื ยๆ ฉดี ตงั้ แตต่ น้ ยงั นอ้ ยๆ มใี บสองสามใบ แตถ่ า้ เราไมไ่ ดฉ้ ดี เลยกจ็ ะมลี กั ษณะแบบ
ทเ่ี หน็ คอื หนอนแมลงมนั กนิ ใบ เพราะวา่ ชว่ งนเี้ รม่ิ เปน็ ชว่ งออกดอกออกผลแลว้ เราเลยไมไ่ ด้
ฉดี แลว้ เพราะวา่ เรากก็ นิ มนั ดว้ ย เพราะถงึ แมว้ า่ เราจะไมใ่ ชส้ ารเคมแี ตว่ า่ มนั กจ็ ะมรี สขมดว้ ย
สะเดาจะมรี สตกคา้ ง สว่ นไหลแดงมนั กเ็ ปน็ ฤทธเ์ิ มาเบอ่ื อยา่ งคนู นมี่ นั กส็ ามารถไลแ่ มลงได”้
แมห่ นูเดือน เลา่ ถงึ วิธกี ารไลแ่ มลงแบบบ้าน บา้ น โดยยึดหลกั “ไลเ่ ขาไป ไม่ฆา่ ใหเ้ ขาตาย”

มุมมองในการปลกู พชื ผกั ของแมห่ นเู ดือนสะทอ้ นถึงวถิ ชี วี ติ แตด่ ัง้ เดิมของชาวบ้าน
โคกลา่ ม-แสงอรา่ ม ทมี่ วี ถิ ที เ่ี รยี บงา่ ย ทา่ มกลางธรรมชาตทิ แ่ี วดลอ้ ม แมห่ นเู ดอื นเองกย็ งั คง
ยดึ อาชพี ทท่ี ำ� มาแตด่ งั้ เดมิ คอื ทำ� นาหาเลยี้ งชพี และปลกู ผกั ไวก้ นิ หมนุ เวยี นกนั ไป พรกิ บา้ ง
ถวั่ ฝกั ยาวบา้ น ถา้ จะมเี หลอื ขายกไ็ มไ่ ดไ้ ปถงึ ตลาดใหญๆ่ แตข่ ายอยใู่ นตลาดชมุ ชนแถวบา้ น
เท่านั้น แต่เมื่อมีโครงการฯ เข้ามาแม่หนูเดือนซึ่งมีอาชีพเลี้ยงหมูขายอยู่แล้วก็ได้เข้ากลุ่ม
เลย้ี งหมเู ป็นการเพ่ิมชอ่ งทางในการสร้างรายได้

เงอ่ื นไขของการเขา้ เปน็ สมาชกิ กลมุ่ เลยี้ งหมใู นโครงการฯ คอื จะตอ้ งปลกู กลว้ ยไวเ้ ปน็
อาหารหมู และท�ำเลา้ ให้หมกู อ่ น ซงึ่ แน่นอนว่าส�ำหรับแมห่ นูเดือนซึง่ ทำ� อาชพี เลีย้ งหมูอยู่
แล้ว สิ่งเหล่านี้อยูใ่ นวถิ ชี วี ิตประจำ� วัน

“พอโครงการเขาเข้ามาเร่ืองน�้ำมันก็ดีมากข้ึน พอเขากันน้�ำไว้ น้�ำก็ไหลลงมาถึงนี่
หมกู เ็ ลยี้ งไดด้ มี ากขน้ึ กน็ า่ จะมรี ายไดเ้ พมิ่ แตว่ า่ ตอนนยี้ งั ไมไ่ ดข้ าย มนั กจ็ ะเปน็ รายจา่ ย แมไ่ ด้
หมูโครงการมาตัวนึงเราก็ต้องเลี้ยง ๖ เดือน ก็ซื้อร�ำ ซื้อหัวอาหารมาผสมก็ต้องใช้เวลา
สักหน่อยเราเล้ียงตามมีตามเกิด พอเวลาขายก็ขายตามน�้ำหนัก พ่อค้าเขาจะมาจับไปให้
ราคากโิ ลละ ๔๐ บาทบา้ ง ๕๐ บาทบา้ ง แตไ่ มเ่ คยเกนิ ๔๕ บาทนะ” แมห่ นเู ดอื นเลา่ ถงึ การ
เลย้ี งหมโู ครงการและเมอื่ ถามถงึ การนำ� หมไู ปขาย คำ� ตอบกย็ งิ่ ตอกยำ�้ ถงึ ความเชอ่ื เรอื่ งบาป
บุญคณุ โทษที่ยงั คงอยใู่ นวถิ ี

“ตลาดเรากไ็ มไ่ ด้กวา้ งมากแตเ่ รากเ็ ป็นผเู้ ล้ียง เราก็ไมไ่ ดอ้ ยากขายมนั กเ็ ลยให้พ่อค้า
เขามาเอาไป เขาจะไปทำ� อะไรก็เร่อื งของเขา เรายังคนบา้ นนอกอยนู่ ะ ก็ไม่ได้อยากท�ำมนั
กใ็ ห้พอ่ คา้ มาจับ ตวั นงึ ได้ ๙๐ กโิ ลบ้าง ๑๐๐ กโิ ลบา้ งก็ขายไปตามนนั้ เพราะว่าเราไม่กลา้
ฆา่ มนั เนอะ แตว่ า่ เรากไ็ ดป้ ยุ๋ จากตรงนแ้ี ลว้ กไ็ มไ่ ดข้ าดทนุ ถา้ หมซู อ้ื มาเลย้ี งเราไมม่ กี ำ� ไรมาก
เพราะวา่ เราตอ้ งมตี น้ ทนุ ซอ้ื หมู แตถ่ า้ แมม่ นั ออกลกู เรากจ็ ะไดล้ กู มนั หมเู รามาเลยี้ งทหี ลงั
เขา กย็ ังไม่ได้ขาย ครอกทเี่ ขาเลยี้ งกันมาก่อนเขากไ็ ดก้ �ำไร ๗,๐๐๐-๘,๐๐๐ บาท เพราะว่า
เขาไดล้ กู หมู ๙ ตัว ถา้ เรามีแมพ่ นั ธ์มุ ันออกลูกเราก็ขายได้กำ� ไร ไม่เหมือนว่าเราเลีย้ งหมขู ุน
ก�ำไรมันน้อยเพราะว่าตอนท่ีหมูมันท้องมันก็ไม่ได้กินมาก เวลาที่มันคลอดออกมาก็ได้ลูก
๗-๘ ตวั พอหย่านมเล้ียงต่อ ๒๔-๒๕ วันกจ็ ับแยกกัน เล้ียงไปกข็ ายได”้

นอกจากแมห่ นเู ดอื นจะมรี ายไดจ้ ากการขายหมซู งึ่ ถอื เปน็ รายไดห้ ลกั แลว้ แตล่ ะวนั ยงั
มีรายได้จากการเก็บเห็ดฟางจากการท�ำเห็ดฟางกองดินจ�ำหน่าย เช่นเดียวกับครอบครัว

30

ประโยตงั ซงึ่ แมห่ นเู ดอื นเลา่ ถงึ การทำ� เหด็ ฟางวา่ “เหด็ ฟางกข็ ายไดเ้ ปน็ รอบๆ รอบแรกไดเ้ ยอะ
อยู่ ได้ ๕,๐๐๐ กวา่ บาทหกั เงนิ ลงทนุ ไป ๒,๐๐๐ กวา่ บาทกเ็ หลอื ๓,๐๐๐กวา่ เกบ็ ได้ ๒ รอบ
เพราะว่าตอนนั้นมันเริ่มเข้าหน้าหนาวแล้วอากาศมันเย็น เห็ดจะไม่สมบูรณ์ แต่ก็ได้เห็ด
๒ รอบ รอบ ๓ ไม่คอ่ ยมหี รอกถา้ ไดก้ ็จะได้รอบ ๒ น่ลี ะ่ ท่ีเป็นกำ� ไร ถ้ารอบ ๒ เราขายได้
๕,๐๐๐ กเ็ ปน็ กำ� ไรทงั้ ๕,๐๐๐ เลย แตว่ า่ มนั กแ็ ลว้ แตท่ ที่ เ่ี ราเลอื กทำ� ปที แี่ ลว้ ไมไ่ ดท้ ำ� ทตี่ รงนี้
รอบสองไดเ้ ทา่ กบั รอบแรกเลยนะ แตพ่ อยา้ ยมาทน่ี เ่ี หด็ รอบสองนอ้ ยลงกวา่ รอบแรกหนอ่ ย”

ครอบครัวกลับมาพรอ้ มหนา้ เม่ือโครงการฯ มาถงึ

แมว้ า่ รายไดจ้ ากการทำ� การเกษตรตา่ งๆ ของแมห่ นเู ดอื น จะไมไ่ ดม้ ากมายเมอื่ เทยี บ
กับการท�ำเกษตรอุตสาหกรรม แต่วิถีชีวิตของแม่หนูเดือนก็เพียงพอท่ีจะกล่าวได้ว่า ยังคง
รักษาวิถแี บบดั้งเดมิ และยืนอยบู่ นเส้นทางแหง่ ความพอเพียงมาโดยตลอด ทสี่ �ำคัญเมื่อมี
โครงการฯ เขา้ มาถึงหมู่บ้าน ครอบครัวชยั แสนฤทธิ์ก็ไดก้ ลบั มาอยู่พรอ้ มหนา้ พรอ้ มตากัน
อกี ครงั้ เม่อื “เปิ้ล” จตวุ รรณ ชัยแสนฤทธิ์ ลูกสาวทเ่ี คยเดนิ ทางเข้าไปท�ำงานในกรงุ เทพฯ
ตัดสินใจกลับมาท�ำงานที่บ้านหลังทราบข่าวโครงการฯ ต้องการรับสมัครเจ้าหน้าที่เพ่ือท�ำ
หน้าที่ประสานงานและเก็บข้อมูลโครงการฯ และวันนี้เปิ้ลยังน�ำความรู้ความสามารถท่ีได้
กลับมาท�ำหน้าที่เก็บข้อมูลความก้าวหน้าของโครงการ เพิ่มพูนองค์ความรู้เหล่าน้ันเข้าไป
ในตวั เอง ทง้ั การเพาะเมลด็ พนั ธพ์ุ ชื การเกบ็ รกั ษาเมลด็ พนั ธ์ุ และเปน็ เรยี่ วแรงสำ� คญั ในการ
ถ่ายทอดให้กับชาวบ้านโคกล่าม-แสงอร่าม ในฐานะลูกหลานที่อยากเห็นบ้านโคกล่าม-
แสงอรา่ ม ก้าวไปขา้ งหน้าอย่างยั่งยนื และมีภมู คิ ุ้มกนั จากความเจริญซง่ึ เปรียบเสมือนคลน่ื
ทถี่ าโถมทหี่ ากจะรบั มอื ไดก้ ม็ แี ตเ่ พยี งความรู้ และคณุ ธรรม ๒ เงอ่ื นไขตามแนวทางปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง ท่จี ะน�ำไปสคู่ วามมีเหตผุ ล พอประมาณและมภี มู ิคุ้มกนั ในตัว

31

นอาายงุส๔ุก๒ญั ญปาี ฉิมลี

บา้ นเลขที่ ๒๑ หมู่ ๓ ต.กดุ หมากไฟ อ.หนองววั ซอ จ.อดุ รธานี
โทร. ๐๘๗ ๔๓๗ ๐๒๕๕
พื้นท่ีเกษตร ปลูกขา้ ว ๑๕ ไร่ ปลกู พชื เกษตรอน่ื ๆ ได้แก่
มะมว่ ง กลว้ ย ปลกู พชื หลงั นา ๑ ไร่ ได้แก่
ฟกั ทอง แตงกวา ข้าวโพด
แสงแดดสายก�ำลังเร่ิมแผดความรอ้ นแรง แต่สุกัญญาวันนี้ไม่มีความกงั วลใจเกาะกนิ
หัวใจมากมายเหมือนเม่ือก่อน เพราะเธอรู้ว่า วันน้ีอนาคตได้ก�ำหนดใหม่แล้ว เมื่อสามีท่ี
คดิ วา่ จะตอ้ งพลดั พรากจากกนั ไปทำ� งานตา่ งประเทศ หาเงนิ สง่ กลบั มาเลยี้ งลกู นอ้ ยทง้ั ๒ ได้
กลบั มาอยรู่ ว่ มชายคาบา้ นเดยี วกนั อกี ครง้ั “ครอบครวั ” ทเี่ ปน็ ความหวงั กำ� ลงั ใจ เปน็ ทงั้ หมด
ของชีวติ ได้กลับมาร่วมพลกิ ผนื นาใหก้ ลายเป็นอาหาร เปน็ ยา เปน็ ความพอเพยี ง
ลูกชายเลก็ ๆ ๒ คนของสุกัญญา กำ� ลงั อยใู่ นวัยก�ำลงั โต ก่อนหน้านท้ี งั้ เธอและสามี
แทบจะมดื บอด เมอ่ื มองไปทางไหนกเ็ หน็ แตท่ งุ่ นาแหง้ แลง้ ปนี งึ ทำ� ขา้ วไดป้ ลี ะครง้ั หลงั ฝน
หมดฤดูไป จะเพาะปลูกท�ำมาหากินอะไรก็ไม่ได้ รายจ่ายท่ีรอคอยอยู่ทุกวันเป็นเหมือน
คมมดี ทจี่ อ่ เขา้ มาทคี่ อหอย ไหนจะหนส้ี นิ ทก่ี ยู้ มื มาลงทนุ ทำ� นา หมนุ เวยี นทบดอก ทบตน้ จน
แทบมองไม่เห็นทางสางหน้ีสินได้หมด จนเม่ือได้ข่าวโครงการปิดทองหลังพระฯ เขาจะ
เขา้ มาสนบั สนนุ ชาวบา้ นทม่ี นี าอยใู่ ตอ้ า่ งเกบ็ นำ�้ สกุ ญั ญาดใี จมากและเรม่ิ มองเหน็ ทางออก
จากปัญหา

32

“แตก่ อ่ นนำ้� ไมค่ อ่ ยอดุ มสมบรู ณ์ ปลกู อะไรกไ็ มพ่ อใช้ ทำ� อะไรกไ็ มไดผ้ ล เพราะวา่ นำ้� มนั
อยู่ไกลมาก แต่ว่าตอนน้ีน้�ำมันไปได้ท่ัวที่นาตอนนี้ท่ีท�ำกันสองคน ๒๙ ไร่ ก่อนโครงการ
มาแฟนกไ็ ปทำ� งานตา่ งประเทศได้ ๘ เดอื น พอมโี ครงการนกี้ ็กลับมา เลยคดิ ว่าโครงการนี้
ดนี ะ มีน�ำ้ มอี ะไรแลว้ ก็คดิ ว่าน่าจะทำ� การเกษตรดีกว่าเลยเรยี กแฟนกลบั มา” สกุ ัญญา หรือ
พ่นี อ้ ยหน่าเล่าถึงความเปน็ มา

การเดนิ ทางไปทำ� งานตา่ งประเทศเรมิ่
เป็น “ทางออก” ของหนุ่ม-สาวแห่งผืนดิน
อสี านมานานหลายสบิ ปี นบั แตค่ รงั้ เดนิ ทาง
ไปประเทศซาอดุ อิ าระเบยี เรอื่ ยมาจนถงึ ยคุ
กรงุ อะบดู าบใี นชว่ งน้ี เพราะวา่ คนทเ่ี ดนิ ทาง
ไปเมอ่ื กอ่ นนนั้ ทำ� ตวั อยา่ งใหเ้ หน็ วา่ สามารถ
ส่งเงินกลับมาได้เดือนละหลายหมื่น ให้พ่อ
ใหแ้ มป่ ลูกบ้านหลังใหญ่โต แต่วา่ นาทที โี่ ลก
เปลี่ยนแปลงไปแล้วนี้ โอกาสท่ีจะไขว่คว้า
เงินทองจ�ำนวนมากเช่นนั้นยังจะเป็นไปได้
อยู่หรือว่าการมุ่งหน้ากลับมาหาผืนแผ่นดิน
ไทยจะให้โอกาสทง่ี ดงามมากกว่า คำ� ตอบมี
แลว้ กบั ครอบครัวน้ี

“ไปอยทู่ โี่ นน่ เขากส็ ง่ เงนิ มาใหบ้ างเดอื นกไ็ ด้ ๑๕,๐๐๐ สงู สดุ กไ็ ด้ ๑๗,๐๐๐ บาท บางเดอื น
ก็ ๑๒,๐๐๐ บาทไมเ่ ทา่ กนั เราไปเมอื งนอกกล็ งทนุ หลายจะ้ ทงั้ คา่ นายหนา้ คา่ อะไรไป หกั โนน่
หักน่ีแล้วแทบจะไมพ่ อใชแ้ ต่ละเดอื น เพราะวา่ เรากก็ ู้ ธกส. ไป เขากห็ กั ไปรายเดอื น เดอื น
ละหมื่นถ้าเรามีมากเราก็ใส่ให้เขามากขึ้น เราก็หมดเร็ว” ภาพที่ชัดเจนของค่าใช้จ่ายแฝงท่ี
มากกวา่ ตวั เงนิ ทีเ่ หน็ กันเปน็ ดัง่ มายาทเี่ คลือบไว้เพยี งฉาก

จนเมอ่ื สกุ ัญญาเร่มิ ลงมือท�ำตามแนวคดิ “พชื หลังนา” ตามโครงการฯ ก็พบวา่ สิ่งท่ี
สัมผสั ไดจ้ ริง แปลงมาเป็นรายได-้ รายวันท่มี ัน่ คงจรงิ ๆ ปรากฏอยูต่ รงหน้าแล้ว “ถา้ เราท�ำ
แบบนี้ เราไมต่ อ้ งเปน็ หนี้ ทำ� ไดก้ เ็ ปน็ เงนิ เกบ็ ไปมนั กด็ กี วา่ กนั พอนำ้� มาเรากท็ ำ� เกษตร ทำ� ไป
เรอื่ ยๆ มีอะไรกล็ งไปเร่อื ยๆ ตอนนก้ี �ำลังลงแตงกวา ขา้ วโพด ฟกั ทอง แล้วก็อาสาเขา้ ไป
ท�ำงานโครงการไปดว้ ย ทำ� หลายอย่างกเ็ ลยท�ำมากไม่ได้ ตอนแรกไปช่วยเขาท�ำงาน ไม่ได้
เปน็ อสพ. แต่อยากไปชว่ ยเขา เหน็ เขาทำ� งานแล้วก็อยากไปชว่ ย เห็นวา่ โครงการนมี้ าดีก็
อยากไปลงแรงช่วย”

“ตอนแรกเลยท�ำฝายก้นั น�้ำ เรากไ็ ปช่วยกันท�ำ ๒-๓ บอ่ พวง แลว้ ก็มาขุดแนวทอ่ ถาง
ปา่ ออ้ พอถางเสรจ็ เขากเ็ อารถแบคโฮลมาลง แตว่ า่ ชาวบา้ นกช็ ว่ ยดว้ ยนะ ตานำ้� อยตู่ รงเขต

33

นแี่ หละ ทรี่ ะบายนำ้� ออก (spill way) กช็ ว่ ยกนั ขดุ แนวทอ่ ขดุ แลว้ กต็ อ่ เอง ทำ� เอง เขามาแนะนำ�
วา่ เราตอ้ งทำ� อยา่ งไรบา้ ง คอยบอกเราวา่ เวลาทำ� ตานำ�้ ทำ� ยงั ไง แตว่ า่ เขาไมไ่ ดม้ าลงมอื ชว่ ยนะ
เราทำ� เองท้ังหมด กภ็ ูมิใจ...ถ้าเปน็ โครงการอนื่ ๆ มาเราก็ไม่ไดไ้ ปชว่ ยเขาทำ� ไมไ่ ดร้ ่วมแรง
รว่ มใจ เขาได้งบประมาณมาเท่าไหร่เขากท็ �ำไป เราก็ไมไดม้ สี ่วนรว่ มเลย แตว่ า่ ทีท่ ำ� นีเ่ ราได้
มีสว่ นร่วม เราลงแรงไปเอง ไม่ได้คา่ จ้าง มนั กไ็ มไ่ ด้ใชเ้ งนิ มาก แต่ได้เพอื่ นกลับมาเพราะว่า
พอเราไปท�ำงานเราก็ห่อข้าวไป มีอะไรก็เอาไปกิน มีส้มต�ำก็ห่อไป หัวเราะสนุกสนานกัน
เม่ือก่อน ต่ืนข้ึนมาไปทางไหนก็ไม่ได้เห็นกัน แต่ตอนนี้ตื่นข้ึนมาแล้วก็ทักทายไปทางไหน
จะไปทำ� งาน กห็ อบเอาครกไป ตำ� สม้ ตำ� กนิ กนั กเ็ ลยเกดิ เปน็ การรจู้ กั กนั มากขนึ้ เมอื่ กอ่ นนี้
อย่ใู กลๆ้ กนั แคน่ ้ีก็ไมไดค้ ยุ กันนะ แตต่ อนนีก้ ส็ นกุ ดี คยุ กัน หลายคนกนิ ข้าวร่วมกนั กแ็ ซบ่
กนิ คนเดยี วกไ็ มอ่ รอ่ ย จอ่ ยๆ กนิ หลายคนกอ็ รอ่ ย นแี่ จว่ บอง นตี่ ำ� บกั ฮงุ้ นปี่ ง้ิ ปลาไปกนิ กนั
โครงการมากม็ คี วามสามคั คี สรา้ งสงั คม ชมุ ชนใหด้ ขี นึ้ บา้ นขา้ งๆ กม็ าบอกวา่ อยากจะยา้ ย
มาอยู่บ้านโคกล่ามนี่ บ้านโคกล่ามเจริญก�ำลังมีโครงการเข้ามาท่ีบ้านนี้ แต่เราก็ต้องท�ำให้
เปน็ ตัวอย่าง เราตอ้ งยนื ได”้

ค�ำกลา่ วของสกุ ญั ญา ฉิมลี สะท้อนความรูส้ กึ ลึกๆ ของชาวบ้านโคกล่าม ทผี่ ่านการ
ทา้ ทายในการแกไ้ ขปญั หารว่ มกนั และการรวมพลงั สามคั คที ำ� สง่ิ ทย่ี ากแสนยากใหเ้ กดิ ขน้ึ ได้
แต่ความท้าทายต่อไปของพวกเขาต่างตระหนักดวี า่ น่ันคอื “ท�ำอยา่ งไรใหย้ ่ังยืน”

“ถา้ โครงการไมอ่ ยู่ ตอนนเ้ี ราอยไู่ ดแ้ ลว้ นะ เมอื่ กอ่ นพอจะทำ� เกษตรอะไร กไ็ มม่ ตี ลาด
เราต้องไปขายเอง ไปติดต่อเอง ก็เจอพวกแม่ค้าเก่าที่เขาหวงของ หวงท่ีแต่ว่าตอนน้ีทาง
โครงการเขามาชว่ ยหาตลาดให้ จดั สถานทใี่ หอ้ ยา่ งดี มหี ลายตลาดไมใ่ ชต่ ลาดเดยี ว มคี ลองถม
หนองววั ซอ เมอื งทอง โพธศิ์ รี จนเดย๋ี วนไี้ มไ่ ดม้ ขี องมากพอทจี่ ะขาย ทำ� ไมพ่ อขายแลว้ สมยั กอ่ น
ทำ� มาไมร่ วู้ า่ จะหาตลาดทไ่ี หน ใครจะมาซอื้ อะไรเมอื่ กอ่ นเรากเ็ คยไปปรกึ ษาเขา ยนื่ ไปแลว้ ก็
หายไป เปน็ ธรรมดา แตว่ า่ โครงการนพี้ เิ ศษอยากเหน็ ตลาดกเ็ อาขนึ้ รถไปไปดตู ลาดสิ ทำ� ไม
จะขายไมไ่ ด้ ถา้ ทน่ี ข่ี ายไมไ่ ด้ กไ็ ปทอ่ี น่ื ๆ อกี ถา้ เราไปเองกส็ มุ่ สสี่ มุ่ หา้ ไป กม็ เี จา้ ของเขากจ็ ะ
บอกวา่ นกี่ ข็ องเรา นนั่ กข็ องเขา กต็ อ้ งยกยา้ ยออก หลายๆ ครง้ั พวกเรากไ็ มอ่ ยากไป แตว่ า่ ที่
เขามาสนับสนนุ ก็เพราะว่า เขากเ็ หน็ ความสามัคคีของบ้านเรา เราจะท�ำอะไรเรากร็ วมกลุ่ม
กันเป็นกลุ่มๆ กลุ่มตลาด กลุ่มปุ๋ย กลุ่มเมล็ดพันธุ์ผัก กลุ่มเล้ียงสัตว์ ก็จะจัดกันเป็นกลุ่ม
มรี ะเบยี บขอ้ บงั คบั ของแตล่ ะกลมุ่ ดแู ลกนั เอง มปี ระธาน มรี องประธาน เหรญั ญกิ แตล่ ะคนก็
แบง่ กันทำ� หน้าท่ีพอมีการบรหิ ารก็ยง่ั ยืนได้งา่ ย”

ชีวิตวันนี้ของครอบครัวฉิมลีเป็นครอบครัวที่มีความสุข ลูกทั้งสองก็ดีใจที่พ่อกลับมา
บา้ น ไมต่ อ้ งจากกนั ไปไกลถงึ ตา่ งประเทศ รายไดก้ เ็ พมิ่ มากขนึ้ เปน็ กอบเปน็ กำ� จากการทำ� นา
ทีเ่ คยไดข้ า้ วปลี ะ ๕ ตนั ปีนีก้ น็ ่าจะไดเ้ พม่ิ เป็น ๗ ตนั เพราะนำ�้ ทา่ ดกี ว่าแตก่ ่อน ข้าวทีไ่ ดก้ ็
เกบ็ ไวก้ นิ ทงั้ ปี เหลอื กเ็ อาไปขายหมดหนา้ นากป็ ลกู พชื หลงั นาหารายไดจ้ ากพชื อายสุ นั้ พวก

34

ผักบุ้ง แตงกวา ต้นหอม ข้าวโพด ท่ีให้ผลผลิตต้ังแต่ ๑๕ วันถึง ๔๕ วัน ส่วนปุ๋ยที่ใช้นั้น
กไ็ มไดซ้ อ้ื หาแตไ่ ดม้ าจากหมทู ี่เล้ียงไวจ้ ากกองทุนหมขู องโครงการเหมือนกนั แลว้ หากใคร
อยากจะคิดรวมกลุ่มกันท�ำอะไรข้ึนมาใหม่ๆ ขยายผลการเกษตรออกไปทางโครงการฯ
กพ็ รอ้ มทจ่ี ะสนบั สนนุ เพราะเหน็ แลว้ วา่ ชาวบา้ นโคกลา่ ม-แสงอรา่ ม เอาจรงิ และมองการณ์
ไกลพรอ้ มก้าวตอ่ ไปด้วยพลังสามคั คี

เทคนิคการปลกู แตงกวา
แตงกวาเปน็ พชื ทเ่ี ตบิ โตไดด้ ใี นทซ่ี งึ่ ไมร่ อ้ นจดั อณุ หภมู อิ ยรู่ ะหวา่ ง ๒๐-๓๐ องศา
จะเติบโตไดด้ ี แตท่ ส่ี ำ� คญั คือ แตงกวาเป็นพืชที่ตอ้ งการนำ้� มาก ขาดน้�ำไมไ่ ด้ เมอ่ื มีน�้ำ
พอเพียงแตงกวาจะให้ผลผลติ ท่ีดี
วิธีการเตรยี มดิน
๑) เตรียมดนิ สำ� หรบั ปลกู แตงกวา โดยควรเป็นลักษณะดนิ รว่ นปนทราย ระบาย
น�้ำไดด้ ี หากสงสัยว่าดนิ เปน็ กรดหรือด่าง สามารถสง่ ดินเข้าไปตรวจสอบผ่าน
“หมอดินอาสา” ไดเ้ พอ่ื น�ำคา่ ทีไ่ ด้มาปรับปรงุ ดินให้เหมาะสมต่อไป
๒) เตรียมดนิ โดยการไถพรวนดินตากแดดไว้ประมาณ ๗-๑๐ วนั เพ่อื ใหร้ ากหญ้า
และวชั พืชตาย และท�ำลายไข่แมลงศัตรพู ชื ในดนิ
๓) เตรยี มแปลงขนาดกว้างประมาณ ๑-๑.๒๐ เมตร ความยาวตามลกั ษณะพ้นื ท่ี
หว่านปุ๋ยคอกลงไปเพ่ือปรับโครงสร้างดินให้เหมาะกับการเจริญเติบโตของ
แตงกวา
๔) ก�ำหนดหลุมปลูกให้มีระยะห่างประมาณ ๖๐-๘๐ ซม. ระหว่างแถวห่างกัน
๑ เมตร
๕) คดั เลอื กพนั ธแ์ุ ตงกวาทมี่ คี วามสมบรู ณ์ หากใชเ้ มลด็ พนั ธจ์ุ ากหอ่ ตอ้ งดหู บี หอ่
ไม่ใหเ้ สยี หายหรอื โดนน�้ำ
๖) เตรยี มดนิ ส�ำหรับเพาะกล้า โดยใช้ ดิน ๓ สว่ นตอ่ ปุย๋ คอก ๑ สว่ น คลุกให้เข้า
กนั ใส่ถงุ ด�ำขนาด ๖ X ๑๐ เซนตเิ มตรหรือภาชนะส�ำหรบั เพาะกล้า
๗) ท�ำความสะอาดเมล็ดพันธุ์ จากนั้นน�ำไปแช่น�้ำไว้ ๔ ชม. แล้วจึงน�ำเมล็ดมา
บม่ ในผา้ ชบุ นำ�้ หมาดๆ นำ� ไปใสใ่ นถงุ พลาสตกิ รดั ปากถงุ ใหแ้ นน่ วางไวใ้ นทร่ี ม่
เมล็ดแตงกวาจะเร่ิมงอกราก เมื่อรากยาวราว ๐.๕ เซนติเมตรจึงน�ำไปเพาะ
ในถุงเพาะกล้าทีเ่ ตรยี มไว้ โดยหยอดเมลด็ งอกลงไปถงุ ละ ๑ เมลด็ แล้วหยอด
ดินกลบบางๆ
๘) เมื่อหยอดเมล็ดกล้าเสร็จให้น้�ำทันทีโดยการพ่นละอองฝอยเล็กสุด ให้น้�ำใน

35

ปรมิ าณพอเหมาะวนั ละ ๑ ครง้ั จนกวา่ ตน้ กลา้ จะเรมิ่ งอกใบจรงิ ๓-๔ ใบจงึ นำ� ไปลงหลมุ
ปลกู ระหวา่ งนเี้ ปน็ ชว่ งทต่ี น้ กลา้ ออ่ นแอ จะโดนรกุ รานดว้ ยโรคและแมลง หากพบตอ้ ง
ก�ำจัดทิ้งทันทีก่อนท่ีจะลามลงสู่ต้นกล้าอ่ืน หรือไปขยายผลในแปลงได้โดยช่วงเวลาที่
เหมาะสมต่อการย้ายกลา้ คอื ชว่ งเวลาเย็น

เทคนคิ การเพาะเมลด็ โดยการคดั พนั ธ์ุ เพาะกลา้ กอ่ นนม้ี คี วามสะดวกในเรอื่ งของ
การดแู ล และประหยดั เมลด็ พนั ธโ์ุ ดยเฉพาะเมอ่ื ใชเ้ มลด็ พนั ธท์ุ ม่ี รี าคาแพง แตเ่ กษตรกร
บางรายอาจใชว้ ธิ หี ยอดเมลด็ ลงไปในหลมุ ปลกู เลยกไ็ ด้ แตก่ ต็ อ้ งรดน้�ำเปน็ บรเิ วณกวา้ ง
และต้องตรวจสอบอตั ราการรอดของต้นกล้า

นาง นาง สอดศรี

บา้ นเลขท่ี ๑๐๒ หมู่ ๓ ต.กุดหมากไฟ อ.หนองววั ซอ จ.อุดรธานี
โทร. ๐๘๗ ๔๓๗๐ ๒๕๕

พืน้ ท่เี กษตร ปลูกข้าว ๗ ไร่ แค ตะไคร้ กระหล่�ำปลี
กระหล่�ำดอก ปลูกพืชหลงั นา ๑ ไร่ ๑ งาน
ได้แก่ ฟักทอง ขา้ วโพด ผักบุ้ง

ทกุ วนั นบี้ า้ นโคกลา่ ม-แสงอรา่ ม จดั ไดว้ า่ เปน็ ชมุ ชนที่
ดูแลกันเองไดท้ ัง้ หมู่บ้าน แทบจะไม่ตอ้ งซ้อื หาอาหารจาก
ภายนอกเข้าไป เพราะมีกิน มใี ช้ แลกเปลยี่ นซอื้ ขายกนั ใน
หมู่บ้าน ดังตัวอย่างพ่ีนาง สอดศรี ที่หาเลี้ยงชีพด้วยการ
ปลูกผกั สวนครวั ที่บ้านแล้วเกบ็ ใสร่ ถพ่วงไปขายตามบ้านเรือนในหมู่บา้ นน่นั เอง
“ถามวา่ ปลกู อะไรมง่ั ตอนนก้ี ป็ ลกู กระหลำ่� ทง้ั กระหลำ่� ปลี กระหลำ่� ดอก แลว้ กผ็ กั บงุ้ จนี
ปลกู มานานแลว้ พอโตเรากเ็ อาไปขายตามบา้ นในหมบู่ า้ นนแ่ี หละ เรข่ าย ขายเอง เอาใสร่ ถนำ้�
พ่วงมอเตอร์ไซค์ เอารถแต๊กพ่วงไป แต่ว่าปีนี้มีตัวช่วย ทุกปีขายเองแต่ลูกหล้ามาช่วยไป
ขายกระหลำ่� ใหแ้ มป่ นี แ้ี มก่ ด็ ใี จหลาย ปนี เี้ ขามาชว่ ยไมร่ เู้ หมอื นกนั วา่ ทำ� ไม เหน็ วา่ แมล่ ำ� บาก
แลว้ กแ็ มล่ า้ แลว้ เขากไ็ ปชว่ ยแม่ เขาไปขายตามแมค่ นกถ็ ามวา่ ทำ� ไมถงึ มาขายกระหลำ�่ แลว้
ตอนนเี้ ขากไ็ ปชว่ ยหลวงพอ่ ปรบั พนื้ ทท่ี ว่ี ดั ไปขบั รถไถ เขาชอบขบั รถแมก่ ไ็ มไ่ ดว้ า่ อะไรไปอยู่
ใกลพ้ ระ” พี่นางเลา่ เรือ่ งลูกชายทก่ี ลับมาช่วยงานบา้ น
พนื้ ทเ่ี พยี ง ๒ งานพน่ี างลงผกั บงุ้ กระหลำ่� ดอก กระหลำ�่ ปลี ปลกู เปน็ รอบๆ แตล่ ะรอบใช้
เวลา ๓ เดอื นมรี ายไดป้ ระมาณเดอื นละ ๓,๐๐๐ บาทหลงั จากหกั ตน้ ทนุ คา่ เมลด็ พนั ธ์ุ คา่ ปยุ๋
36

คา่ ยาไปแลว้ ซ่ึงเป็นตวั เลขต้นทนุ ก่อนหนา้ ท่พี ี่นางจะไดม้ ารูจ้ กั โครงการฯ ซง่ึ คาดหมายว่า
ตน้ ทุนนา่ จะลดลงไดเ้ พราะพี่นางจะเร่ิมท�ำน�้ำหมกั ชีวภาพ นำ�้ ยาไลแ่ มลงเอง

สตู รน�ำ้ หมักสมนุ ไพรไลแ่ มลง
วัสดสุ �ำหรับผลติ สารป้องกันแมลงศัตรพู ืช (จำ� นวน ๕๐ ลิตร)
๑. สมนุ ไพร ๓๐ กิโลกรัม
๒. นำ�้ ตาลหรือกากนำ้� ตาล ๑๐ กิโลกรัม
๓. น้�ำ ๓๐ ลติ ร
๔. สารเร่ง พด.๗ ๑ ซอง (๒๕ กรัม)

วธิ ที ำ�
๑. สบั พชื สมนุ ไพรให้เปน็ ชนิ้ เลก็ หรอื ทุบ
๒. ละลายสารเรง่ พด.๗ ในนำ้� ๓๐ ลิตร ในถงั หมักผสมใหเ้ ขา้ กันนาน ๕ นาที
๓. นำ� สมุนไพรและน�้ำตาล ผสมลงในถงั หมักคลกุ เคล้าใหเ้ ข้ากัน
๔. ปิดฝาไม่ตอ้ งสนิท ท�ำการหมกั เป็นเวลา ๒๐ วนั
อัตราการใช้
สารปอ้ งกันแมลงศตั รพู ืช : น้ำ� เทา่ กบั ๑ : ๒๐๐ ส�ำหรบั พชื ไร่ และไมผ้ ล
สารปอ้ งกนั แมลงศตั รูพชื : นำ้� เทา่ กับ ๑ : ๕๐๐ สำ� หรับพืชผัก และไม้ดอก

วิธกี ารใช้
นำ� สารปอ้ งกนั แมลงศตั รพู ชื ทเ่ี จอื จางแลว้ ๕๐ ลติ รตอ่ ไร่ สำ� หรบั ใชใ้ นพชื ไร่ พชื ผกั
และไมด้ อก และ ๑๐๐ ลติ รตอ่ ไร่ สำ� หรบั ใชใ้ นไมผ้ ล โดยฉดี พน่ ทใ่ี บ ลำ� ตน้ และรดลงดนิ
ทุก ๒๐ วนั หรอื ในชว่ งท่ีมีแมลงศัตรพู ชื ระบาดใหฉ้ ีดพ่นทกุ ๆ ๓ วัน ติดตอ่ กัน ๓ ครง้ั
ข้อควรระวงั
๑. เกบ็ สารเรง่ พด.๗ ไว้ในที่รม่
๒. เมอ่ื เปดิ ถุงแล้วใชใ้ หห้ มดในครง้ั เดียว
๓. กากวสั ดทุ เ่ี หลอื จากการหมกั ใหน้ ำ� ไปใสร่ ว่ มกบั การผลติ สารปอ้ งกนั แมลงศตั รู
พืชครั้งใหมต่ อ่ ไป
สารเรง่ พด.๗ หมายถงึ เช้อื จลุ ินทรยี ์ท่มี คี ุณสมบัติในการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการ
หมกั และยอ่ ยสลายวสั ดเุ หลอื ใชจ้ ากพชื สมนุ ไพร ในสภาพทไี่ มม่ อี อกซเิ จน เพอื่ ผลติ สาร
ปอ้ งกนั แมลงศตั รพู ชื มสี รรพคณุ ปอ้ งกนั แมลงศตั รพู ชื เชน่ เพลยี้ ชนดิ ตา่ งๆ หนอนเจาะ
ผลและลำ� ตน้ หนอนใยผกั หนอนชอนใบ หนอนคบื หนอนกระทู้ หนอนกอ ไรแดง และ
แมลงหว่ี เป็นต้น

37

อนาายยุห๕ล๓า่ นป้อยี ศรแี นน

หมู่ ๓ ต.กดุ หมากไฟ อ.หนองววั ซอ จ.อดุ รธานี
โทร. ๐๘๗ ๔๓๗๐ ๒๕๕

พ้ืนท่เี กษตร ปลกู ข้าว ๒๐ ไร่ พชื เกษตรอืน่ ๆ ๑๐ ไร่ อาทิ ออ้ ย
มะละกอ พรกิ ขา่ ตะไคร้ หมอ่ น ทเุ รยี น ขนนุ ฯลฯ
ปลูกพืชหลังนา ๓ ไร่ ไดแ้ ก่ ถัว่ ลสิ ง ขา้ วโพด พรกิ

ทน่ี าของชาวบา้ นโคกลา่ ม-แสงอรา่ มนนั้ ถา้ เดนิ ทางออกจากหมบู่ า้ นมงุ่ หนา้ สโู่ คกลา่ ม
จะพบทางแยกซา้ ยซงึ่ เปน็ คนละเสน้ ทางกับเส้นทางหลกั ท่จี ะไปอา่ งเก็บน�้ำหว้ ยคลา้ ย ตาม
ทางแยกสายนจ้ี ะพาขนึ้ ไปบนภเู ขาตดิ กบั เขตปา่ สงวนซงึ่ ชาวบา้ นไดอ้ าศยั หาผกั หวาน เหด็ ปา่
แมลงต่างๆ

ติดกับเชิงเขาแห่งนี้มีที่นาของนายหล่าน้อย และนางสว่าง ศรีแนน สองสามีภรรยา
ที่มาหกั ร้างถางพง จับจองพื้นทเี่ พ่ือท�ำการเกษตรและปศุสัตว์ จงึ ได้พนื้ ที่ตดิ กบั แหล่งนำ�้ ซ่ึง
สามารถสบู นำ�้ ขน้ึ มาใชท้ ำ� การเกษตรได้ และดว้ ยความเปน็ คนขยนั ทำ� ทกุ อยา่ ง สองคนสาม-ี
ภรรยา จึงเริม่ อาชีพด้วยการเลี้ยงววั ขาย แต่หลงั จากมโี ครงการเขา้ มาก็หนั เหมาสูก่ ารเพาะ
ปลกู ผักสวนครวั แลว้ นำ� ไปจ�ำหนา่ ยใหก้ บั เพอ่ื นบา้ นในหมบู่ ้านโคกล่าม-แสงอรา่ มน่ันเอง

“พอโครงการเขา้ มาเรากเ็ ลยปลูกผักมากขนึ้ อยากกนิ อะไรกป็ ลกู ไปตามท่เี ขามาแนะ
กด็ นี ะไม่ตอ้ งซอ้ื ทเ่ี ห็นนีแ่ หละปลูกทกุ อย่าง อย่างละนิดอย่างละหน่อย เหลือกนิ ก็ขายเอา
ไปขายตามบ้านพวกเรานี่แหละ คนมาเที่ยวทศ่ี นู ยเ์ รากไ็ ปขายเขา ปนี ้เี ราก็ ๕๒ แล้ว ลุงก็
๕๘ สองคนชว่ ยกนั ทำ� เกษตรกห็ นกั อยู่ เพราะทข่ี องเรามี ๒ แปลง แปลงนี้ ๕๗ ไรอ่ กี แปลง
๔๓ ไร่ ปล่อยเป็นปา่ บ้างทำ� ไมไ่ ดค้ รบ ทำ� ไมไ่ หว มีออ้ ยอยู่ ๑๐ ไร่ นา ๒๐ ไร่ นอกนั้นก็
ปลกู พชื หลงั นา ปลกู แกว้ มงั กรบา้ ง มะเขอื ยาวกป็ ลกู งา่ ยๆ เอาลกู มนั กองเอาไว้ พอมนั แหง้
ก็แยกเอาเม็ดไปปลกู มนั ก็ข้ึน” สว่าง ศรีแนน พดู ถงึ การท�ำเกษตรทด่ี เู หมอื นจะเป็นกจิ วัตร

ภารกจิ ของสองคนสามภี รรยากจ็ ะเรมิ่ จากตน่ื แตเ่ ชา้ มาใสบ่ าตรพระ จากนนั้ หอ่ ขา้ วมา
ท่ีนา ส่วนกบั ขา้ วกบั ปลานั้นไม่ตอ้ งหามา เพราะว่าทุกอย่างมาหาเอาจากท่ีนาได้ เพราะท่ี
แปลงนาน้ีอุดมสมบูรณ์จริงๆ มีท้ังบ่อปลา ผักสวนครัว ผลหมากรากไม้ก็มีให้เก็บกินได้
สารพดั

ทีส่ ำ� คัญ พชื ผกั สวนครัวทั้งหมดน้ันไม่เคยสมั ผสั กับยาฆา่ แมลง หรือแม้กระท่ังยาฆา่
หญ้าแม้แต่นอ้ ย

38

“เราไม่ได้ใช้ยาไม่ได้ใช้เคมีเลย ยาฆ่าหญ้าก็ไม่รู้จัก กลัว...ไม่อยากใช้ ก็อยู่แบบนี้
ท�ำกันแบบน้แี หละ ก็ไมไ่ ดฆ้ า่ อะไรเลยเพราะเราเห็นคนอน่ื ฉีดกไ็ ม่กลา้ เดินผ่านแลว้ พริกที่
ปลูกนนั่ กไ็ ม่ได้ฉีดยานะ มนั กเ็ ลยไม่คอ่ ยไดผ้ ลเทา่ ไหร่ ร่วงหมดแลว้ แมลงมาก็ปลอ่ ยมันไว้
อยา่ งนนั้ แหละ ปลกู ไวเ้ ยอะๆ เผอื่ นก เผอ่ื แมลง เผอื่ หนอน สารสะเดา สมนุ ไพรอะไรกไ็ มไ่ ดใ้ ช้
เขากแ็ นะนำ� มานะแตว่ า่ ไมไ่ ดท้ ำ� ถา้ หญา้ ขน้ึ เยอะมนั กแ็ ยง่ อาหารกนั อยกู่ เ็ อาหญา้ ออกใหม้ นั
กเ็ ขยี วขน้ึ หนอ่ ย เรากไ็ มไ่ ดป้ ลกู ไวข้ ายนะ เกบ็ กนิ ไดเ้ ลย ไมไ่ ดป้ ลกู ตง้ั ใจไปขาย เหลอื แลว้ ไป
ขาย” นางสว่างเล่าถึงความเช่ือเรื่องบาปบุญ และความกลัวอันตรายจากเคมีที่เป็นส่ิงยึด
ไว้ไม่ให้ทั้งสองคนเปลี่ยนจากการท�ำเกษตรแบบด้ังเดมิ ไปสกู่ ารใช้สารเคมีและยาฆา่ แมลง

การปลกู ผกั ผลไมข้ องทงั้ คู่ กเ็ ปน็ ไปในรปู แบบธรรมชาติ ไมไ่ ดย้ กแปลง ยกรอ่ งอะไรมาก
พอใจปลกู ตรงไหนกป็ ลกู ไป เราจงึ เหน็ มะเขอื เทศพนั ธพ์ุ น้ื บา้ นทเ่ี รยี กวา่ “พนั ธส์ุ ที อง” ขน้ึ ปะปน
อยู่กับดงพริกและมะเขือยาว กอกล้วยกอโตที่ปลูกไว้เล้ียงหมูขึ้นอยู่ริมน�้ำ และตลอดแนว
บอ่ นำ้� ต้นหม่อนตน้ สงู ใหญ่ก�ำลงั ใหผ้ ลผลติ สีม่วงอมแดงรสชาติหวาน

“เราก็อยากปลูกอะไรก็จ้ิมไปก่อนศูนย์เรียนรู้มาเราก็ท�ำ แต่ท�ำไม่เยอะ พอได้กิน
มะละกอนน่ั กป็ ลกู แตไ่ มไ่ ดข้ าย ถา้ เขามาซอ้ื กข็ าย ราคามนั ไมด่ กี ไ็ มเ่ กบ็ ไปขาย กป็ ลอ่ ยมนั ไป
ขา้ วโพดนนั่ กต็ ม้ ขายไดข้ าย ๗ ฝกั ๑๐ บาท พรกิ กท็ ำ� เปน็ ถงุ ถงุ เลก็ ๆ ก็ ๑๐ บาท เดนิ ขายไป
ตามบา้ นนแี่ หละ ไมข่ เ้ี กยี จ นก่ี ฟ็ กั ทอง ขนนุ กลว้ ยเลบ็ มอื นาง เราไดเ้ ปรยี บตรงทเ่ี รามนี ำ�้ ท่ี
ของเรามีน้�ำ ข้างล่างเขาไม่มีน้�ำก็ท�ำไมได้ แต่เราก็ใช้เคร่ืองทุ่นแรงใช้น�้ำมัน ดูดขึ้นมาก็มี
ตน้ ทนุ แตเ่ รากร็ ดนำ้� แค่ ๒-๓ วนั ครงั้ แลว้ กส็ บู ปลอ่ ยใหม้ นั ขนึ้ ทสี่ งู แลว้ ไหลลงไปในแปลงเอง”

ความรู้การเกษตรแบบด้ังเดิมที่ยังคงอยู่ในแปลงของครอบครัวศรีแนน แสดงให้เห็น
เป็นการห่มดินด้วยฟางข้าวท่ีปรากฏอยู่ท่ัวไปซึ่งสอดคล้องกับพระราชด�ำรัส “อย่าปอก
เปลือกเปลือยดิน” ขององคพ์ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว

“เอาฟางคลุมตน้ ไม้ ต้นไร่ เรากท็ ำ� มาแตไ่ หนแตไ่ ร คลมุ หญา้ คลมุ ความชุม่ ชืน้ จะได้
ไมต่ อ้ งรดน้�ำบอ่ ยๆ มหี มดนะทน่ี ี่ ขา่ ตะไคร้ ใบมะกรดู มะเขอื เทศ มะละกอ ขา้ วโพด กลว้ ย
ลำ� ไย พรกิ ออ้ ย มะนาว กระชาย มะเขอื ยาว หมอ่ น ทำ� นาดว้ ยดา้ นหลงั เลยี้ งหมดู ว้ ย ๔ ตวั
เอาไว้ขายด้วยเอาไว้ขายลูกด้วย มันก็ปลูกด้วยนะอยู่บนโน้น เล้ียงเป็ด เลี้ยงไก่ ปลูกผัก
หวาน ผกั หวานนตี่ น้ นอ้ ยๆ กจ็ มิ้ ขนึ้ แลว้ ถว่ั ดนิ นเี่ กบ็ ไปขายไดก้ โิ ลละ ๒๐ บาท” ภาพพชื พนั ธ์ุ
ธญั ญาหารทก่ี ระจดั กระจายกนั อยตู่ ลอดเสน้ ทาง สลบั กบั แปลงขา้ วโพด แปลงถว่ั ปรากฏอยู่
ตรงหนา้ ของนายหล้านอ้ ยท่กี �ำลังอธิบาย

การเพาะปลกู แบบผสมผสานของทง้ั สองคนนน้ั ตอ้ งการสง่ิ สำ� คญั คอื “ความขยนั ” สว่ น
ปจั จยั ธรรมชาตทิ ส่ี ำ� คญั ยง่ิ กค็ อื “นำ้� ” สว่ นผลผลติ ของทง้ั สองประการกแ็ สดงใหเ้ หน็ ชดั ดว้ ย
ความเปน็ อยทู่ พ่ี อเพยี งของครอบครวั น้ี แมจ้ ะยงั คงมคี า่ ใชจ้ า่ ยหลกั จากการซอื้ นำ้� มนั สำ� หรบั
เครอ่ื งจกั รกลการเกษตร แต่กล็ ดนอ้ ยลงมากเมอื่ เทยี บกบั การตอ้ ง “ซอ้ื ทกุ อย่างท่กี ิน” และ

39

เปน็ เครอ่ื งตอกย�ำ้ ว่า วถิ ีชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพยี งนน้ั หาใชข่ องใหม่ไม่ แตเ่ ป็นวถิ ขี องคน
ไทยทเ่ี ปน็ เชน่ นม้ี านานแล้วหากแตค่ นรุ่นใหม่เริม่ หลงลมื ปลอ่ ยท้งิ ให้สูญหายไป แต่ถ้าเรา
หนั กลับไปมองเราก็จะเหน็ ได้ว่า ค�ำ “บรรพบรุ ุษทา่ นทำ� ไว้ดแี ล้ว” นัน้ เป็นจรงิ เสมอมา

อนาายยุส๕ง๑ัด อปุตี ระศรี

บา้ นเลขที่ ๑๐๑ หมู่ ๓ ต.กดุ หมากไฟ อ.หนองววั ซอ จ.อดุ รธานี
พนื้ ท่ีเกษตร ปลกู ขา้ ว ๑๔ ไร่ พชื เกษตรอน่ื ๆ อาทิ กลว้ ย แตงกวา ถวั่ ปลกู พชื
หลังนา ๒ ไร่ ได้แก่ ถั่วฝกั ยาว แตงกวา

ทนี่ าผนื ใหญก่ วา่ ๑๔ ไร่ ตดิ ถนนหลกั ทตี่ ดั จากหมบู่ า้ นมงุ่ ตรงสอู่ า่ งเกบ็ นำ�้
หว้ ยคลา้ ย ขนาบดา้ นขวาของถนนยาวเกอื บครง่ึ ทาง เตม็ ไปดว้ ยแปลงพชื หลงั
นา ทงั้ ถว่ั ฝกั ยาว และแตงกวา คอื ทนี่ าของสงดั อตุ ระศรี ทใี่ ชเ้ งนิ จากการเกบ็
หอมรอมรบิ ดว้ ยเวลาหลายสบิ ปที เี่ ดนิ ทางจากบา้ นจากเมอื งไปทำ� งานในดนิ แดนตา่ งภาษา
พูด เพ่อื ให้ได้มีท่ีดนิ ท�ำกินเป็นของตัวเอง
วันน้ี ด้วยวัย ๕๑ ปี สงดั อตุ ระศรี หยุดพักอาชีพการขายแรงงานมาลงหลกั ปกั ฐานท่ี
บา้ นเกิด บ้านโคกลา่ ม-แสงอรา่ ม แหง่ น้ี
“ผมไปมา ๒-๓ ประเทศ ทา้ ยสดุ คอื ไป
อยู่ท่ีประเทศอิสราเอลไปท�ำการเกษตรอยู่
สวนส้มที่โน่นเป็นสวนส้มโมซาฟ เหมือน
บา้ นเรานแ่ี หละ ทไี่ ปเพราะวา่ ตอนนนั้ ยงั ไมม่ ี
อะไรเลยกเ็ ลยตง้ั ใจไปหาเงนิ ปี ๒๕๒๕ เรา
ก็เริม่ เดินทางไป ไปชว่ งแรกก็ ๔ ปี เรม่ิ จาก
ไปลเิ บยี ๔ ปี แลว้ กไ็ ปไตห้ วนั ๒ ปี ไปอสิ ราเอล
อกี ๓ ปี ก็พอมีรายได้ตกเดอื นละ ๒๐,๐๐๐
กวา่ บาทกห็ กั เงนิ ไวใ้ ชบ้ า้ งทเ่ี หลอื กส็ ง่ มาบา้ น
แล้วตอนหลังเขาก�ำหนดอายุด้วยเราเลย
ไปไมได้แล้วแต่ก็ได้เงินมาซื้อท่ีนาผืนนี้ ๑๔
ไร”่
40

เมอ่ื กอ่ นนท้ี น่ี า ๑๔ ไรแ่ มเ้ ปน็ กรรมสทิ ธ์ิ
ของสงดั แตก่ ไ็ มไ่ ดล้ งแรงทำ� เอง แตใ่ ชว้ ธิ กี าร
ปลอ่ ยใหเ้ พอ่ื นฝงู ญาตมิ ติ รในหมบู่ า้ นมาเชา่
ท�ำนาแบ่งข้าวกัน แต่เมื่อมีโครงการเข้ามา
สงดั กค็ ดิ วางแผนทำ� การเกษตรเพม่ิ ขนึ้ จาก
ทเ่ี คยทำ� งานรบั จา้ งทวั่ ไป กล็ งมอื ปลกู ถวั่ ฝกั ยาว
ปลูกฟักทอง มนั สำ� ปะหลัง และเลย้ี งหมู

“ตอนเปดิ โครงการปดิ ทองฯ คร้งั แรก เขามาเจาะบอ่ น้ำ� ให้กซ็ อื้ น้ำ� มันมาใสร่ ถไถเพื่อ
ดึงน�้ำขึน้ แตป่ ีนีผ้ มทำ� ไร่มนั กเ็ ลยท�ำฟักทองไม่ไหว เลยมาปลูกแตงเขียวมรกตแทน แลว้ ก็
ปลกู ผกั บงุ้ ผกั บงุ้ นท่ี งั้ กนิ แลว้ กข็ ายได้ ใหห้ มกู นิ กไ็ ด้ สว่ นแตงปนี น้ี า่ จะไมค่ อ่ ยไดผ้ ล เพราะวา่
น�้ำฝนเยอะ กอ็ าจจะเหลืองตายได”้

เทคนิคการปลกู แตงเขียวมรกต หรือแตงหยกบรู พา
แตงเขยี วมรกต หรอื แตงหยกบรู พา คอื แตงชนดิ เดยี วกบั ทเ่ี รยี กวา่ “ซกู นิ ี (Zucchini)”
มีถิ่นก�ำเนิดอยู่แถบเม็กซิโกลักษณะเหมือนแตงกวายาว แต่ผลโตและยาวกว่ามาก
เปลอื กมนั เงา เรยี บ ผวิ สเี ขยี วเขม้ สามารถน�ำมาปรงุ เปน็ อาหารไดท้ งั้ เปลอื ก ลกั ษณะ
คล้ายบวบของบา้ นเรา เมนทู ่ีนยิ มคือน�ำไปจ้ิมนำ้� พริก นำ� ไปผดั หรอื แกงเลียง
การปลกู แตงเขยี วมรกต ตอ้ งอาศยั สภาพพน้ื ทซี่ งึ่ เปน็ ทส่ี งู ดงั นน้ั จงึ เหมาะสำ� หรบั
พนื้ ทบี่ า้ นโคกลา่ ม-แสงอรา่ ม โครงการฯ จงึ ไดน้ ำ� พชื ผกั ทส่ี งู มาปลกู ทดลองสรา้ งรายได้
ให้กับกลุ่มชาวบ้านโคกล่าม และพบว่าแตงเขียวมรกตสามารถเตบิ โตได้ดี
ข้ันตอนการปลูกแตงเขยี วมรกต
๑) เตรยี มดนิ โดยพรวนดนิ ยกรอ่ ง ๑๕-๒๐ เซนตเิ มตร ตากแดดไว้ ๗-๑๐ วนั เพอื่
ฆา่ วชั พชื และไขข่ องแมลงในดนิ ดนิ ทเ่ี หมาะสมสำ� หรบั แตงเขยี วมรกต ควรเปน็
ดนิ ทร่ี ว่ นซยุ หนา้ ดนิ ลกึ ระบายนำ้� ไดด้ ี เกบ็ ซากวชั พชื ออกใหห้ มดกอ่ นหวา่ น
ปุ๋ยคอกลงเตรียมดิน คลกุ เคลา้ ใหท้ ัว่ อัตราปยุ๋ คอก ๕๐ กโิ ลกรมั /ไร่ พนื้ ที่ท่ี
เหมาะสมสำ� หรบั การปลกู แตงเขยี วมรกต ควรเปน็ พน้ื ทโี่ ลง่ มแี สงแดดสมำ�่ เสมอ
และมีน้ำ� เพยี งพอ
๒) เพาะกลา้ ตน้ แตงเขียวมรกตในถุงด�ำหรือ ถาดหลมุ ให้ไดต้ ้นกลา้ อายุ ๖-๘ วนั
๓) ปลูกแตงเขียวมรกตเป็นแถวเรียงเด่ียว ระยะปลูกระหว่างต้น ๐.๗-๑ เมตร
ระยะห่าง ระหว่างแถว ๑ เมตร

41

๔) การใหป้ ุ๋ยหลงั จากย้ายต้นกลา้ ลงปลกู แล้ว ใหป้ ุย๋ ในอตั ราส่วน ๑๐๐ กก./ไร่
๕) ควรให้น�้ำอย่างสม่�ำเสมอ แต่ไม่มากเกินไป ถ้าน�้ำเยอะแตงจะเหลืองและ
ตายได้
๖) แตงเขยี วมรกตจะตดิ ดอกในระยะเวลาประมาณ ๔๕ วนั จากนน้ั จะตดิ ผลหลงั
ดอกบาน ๕-๗ วันสามารถเดด็ ผลออ่ นไปรับประทานได้
แมว้ า่ เรอ่ื งราวของ สงดั อตุ ระศรี จะดเู หมอื นเกษตรกรธรรมดาทเี่ ขา้ รว่ มโครงการตาม
คำ� แนะนำ� ของเจ้าหน้าที่ หรอื ปรับเปลี่ยนวถิ ีชีวิตตามคำ� แนะนำ� แต่ยังมีเร่ืองราวลึกๆ บาง
เร่ืองของสงดั ท่ีเป็นเรือ่ งราวอนั จดุ ประกายของ “ความหวัง” ขนึ้ ในหวั ใจคน

หลงั จากสงดั อตุ ระศรี กลับมาท�ำการเกษตรและไดเ้ รียนรู้ “หลักคดิ ” จากโครงการฯ
เขากค็ ดิ วา่ ทำ� อยา่ งไรเขาจงึ จะชว่ ยเหลอื เพอ่ื นฝงู ได้ ทส่ี ำ� คญั เพอ่ื นคนหนง่ึ ทส่ี นทิ กบั เขามาก
และเขา้ รว่ มโครงการน้ี เพงิ่ จะไดร้ บั การตรวจวา่ มสี ารพษิ ในเลอื ดระดบั ๔ และเขา้ อยใู่ นกลมุ่
เสี่ยงทจี่ ะเป็นมะเร็ง หากเขาปล่อยให้เพ่ือนคนนน้ั ตอ้ งรบั จ้างฉีดยาต่อไป เขาจะนับวา่ เป็น
เพอ่ื นกนั ไดอ้ ยา่ งไร ทำ� ไมเขาจงึ จะเสยี สละทน่ี าจากหยาดเหงอ่ื แรงงานใหเ้ พอ่ื นทำ� นาไมไ่ ด้
คดิ ไดด้ งั นนั้ แลว้ สงดั จงึ “แบง่ ปนั ” ทดี่ นิ ตดิ เชงิ เขาใหก้ บั “สมบรู ณ์ ไชยลา” ไดม้ ที ด่ี นิ ท�ำแปลง
เพาะเหด็ โดยไมเ่ กบ็ คา่ เชา่ นอกจากนนั้ เขายงั แบง่ ทแี่ ปลงตา่ งๆ ใหค้ นอนื่ ๆ เชน่ ใหน้ อ้ งสาว
ผใู้ หญบ่ า้ นมาทำ� ขา้ วโพด และตอนนกี้ ไ็ ดข้ ยายไปยงั เพอ่ื นอกี คนของสมบรู ณท์ ไ่ี ดร้ บั อนญุ าต
ให้มา “ท�ำเหด็ ” ร่วมกนั

การให้ การแบง่ ปนั “โอกาส” และน้ำ� ใจระหวา่ งคนในชุมชนน้ีเอง จึงเปน็ สง่ิ ทมี่ คี ุณค่า
และทำ� ให้ความสุข ความงดงามดำ� รงอยู่

42

อนาายงุส๕ง๕ดอปนี ศรีโคตร

บา้ นเลขท่ี ๑๑๐ หมู่ ๓ ต.กดุ หมากไฟ อ.หนองววั ซอ จ.อดุ รธานี

พ้ืนที่เกษตร ปลกู ขา้ ว ๑๒ ไร่ พชื เกษตรอนื่ ๆ อาทิ พรกิ
ตน้ หอม ปลกู พชื หลงั นา ๒ ไร่ ไดแ้ ก่ ขา้ วโพด
ผักบุง้

ทา่ มกลางแสงแดดจา้ ของทอ้ งทงุ่ นายามสาย รา่ งสอง
รา่ งกำ� ลงั ครำ�่ เครง่ กบั การขดุ หลมุ หยอดขา้ วโพด เพอ่ื ซอ่ มแซม
ขา้ วโพดหลมุ ทไ่ี ม่แข็งแรง หรือถกู หนนู าตวั เลก็ แอบมาขโมยไปเกบ็ ไวเ้ ปน็ อาหาร
นางสง และทองสา ดอนศรโี คตร สองคน
พนี่ อ้ ง เขา้ หนุ้ รว่ มท�ำนากับนายอิน มะแพง
เป็นสามหุ้นช่วยกันปลูกพืชหลังนา เพราะ
ต่างก็รู้ว่าล�ำพังตัวเองคนเดียวภารกิจอาจ
จะหนกั เกนิ ไป หนทางของการรว่ มมอื กนั จงึ
เปน็ อกี แนวทางหนง่ึ ทดี่ นิ ๒ ไร่ จงึ รว่ มกนั ทำ�
๓ คน เชน่ เดยี วกบั เมอ่ื ลงแรงปลกู กใ็ ชว้ ธิ กี าร
ดั้งเดมิ คือ “ลงแขก”
“เร่มิ เลยเราก็มาประชุมกัน ถามกันว่า เราจะลงแขกนาคนน้ีวันนี้ดีไหม แลว้ จะเวียน
กนั ไป พวกเรากบ็ อกวา่ ดกี ม็ าช่วยกนั ทำ� เราไปชว่ ยเขา เขาก็จะมาชว่ ยเรา แลว้ สมัยกอ่ นที่
เราเดก็ ๆ ยงั มกี ารลงแขกชว่ ยกนั อยนู่ ะ อยตู่ อ่ มาๆ รนุ่ ลกู รนุ่ หลาน หายไปๆ มแี ตจ่ า้ งกบั จา้ ง
คนไมม่ เี งนิ ทำ� ไง ถา้ เปน็ สมยั นจี้ ะไปวานใครเขากไ็ มช่ ว่ ย ไมม่ เี งนิ ใหก้ ไ็ มม่ า แตถ่ า้ ไปบอกเขาวา่
ไปลงแขก เขากม็ า เพราะเขารวู้ า่ เดย๋ี วเรากไ็ ปชว่ ยเขา” แมส่ งเลา่ ทมี่ าของการกลบั มาของวถิ ี
“ลงแขก”
ภาพชาวบา้ นเดนิ เรยี งกนั ไปลงแขกของเจา้ ของนาทลี ะแปลงๆ โดยไมล่ งั เลใจวา่ แปลง
ไหนเป็นของใคร ไม่สนใจอามิสสินจ้าง แต่ค�ำนึงถึงว่าพวกเขาทุกคนต่างเป็นชาวบ้าน
โคกลา่ ม-แสงอร่าม ที่อยู่อาศัยบนแผ่นดนิ น้มี านาน เปน็ อีกความงดงามทีก่ ลับคนื มา และ
เม่ือได้ออกแรงร่วมกนั ความสมั พันธท์ ่ีดีก็กลบั คนื มา
“ตอนทลี่ งแขกคนมาหลายอยู่ ไปบอกเขาวา่ วนั ที่ ๑๔ จะลงแขกนะ เขากม็ ากนั เกอื บ
๓๐ คน ปลกู กนั ๔ แปลงของเจ้าของ ๔ คน แต่ว่าเวลาลงกเ็ ดนิ ดาหน้ากนั ไป ไมต่ อ้ งคดิ ว่า

43

แปลงใครเปน็ ของใคร ดาหน้ากันไปเลย กับขา้ วกบั ปลาก็หามากนิ รว่ มกัน คนทีม่ าก็หามา
ใครมีอะไรก็ห่อมากินกัน ม้ือนั้นกินกันอร่อยเลย ท�ำส้มต�ำกิน ไปกินที่นาตามากมีปลา
กระป๋องกบั ขา้ วหลายอย่างอยู่ กอ้ ยหอยก็มี สรปุ ว่าสนุกกนั มาก”

เทคนคิ การปลกู ขา้ วโพดหวาน
บ้านโคกล่าม-แสงอร่าม จะปลูกข้าวโพดหวาน ผสมไปพร้อมกับการปลูกแตง
เปน็ กศุ โลบายของการปรบั ปรงุ ดนิ หลงั การทำ� นา เพอื่ ใหป้ ยุ๋ หมกั ทห่ี วา่ นลงไปชว่ ยปรบั
สภาพดิน
๑. การปลูกข้าวโพดหวานให้ได้ผลดีน้ันต้องค�ำนึงถึง “ดิน” เป็นอันดับแรก การ
เตรยี มดินท�ำโดยการพลกิ ดนิ ตากแดดไว้ ๗ วนั เพื่อกำ� จดั วัชพืชและไข่แมลง
ในดิน
๒. หว่านปยุ๋ คอกเชน่ ปุ๋ยจากขี้หมลู งไปอัตราส่วน ๑ ตัน ตอ่ ๑ ไร่
๓. ปลูกข้าวโพดโดยวิธีการหยอดเมล็ดเป็นแถวระยะห่างระหว่างแถว ๗๕
เซนติเมตร ระหว่างตน้ ๒๕ เซนติเมตร ปลกู หลมุ ละ ๑ ตน้ ไร่หน่งึ ๆ จะไดต้ น้
ขา้ วโพดประมาณ ๗,๐๐๐-๘,๕๐๐ ตน้ โดยใชเ้ มลด็ พนั ธ์ุ ๑-๑.๕ กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่
๔. ใสป่ ยุ๋ รองพนื้ เปน็ ปยุ๋ คอก หรอื ปยุ๋ สตู รเสมอ ๑๕-๑๕-๑๕ อตั ราสว่ น ๕๐ กโิ ลกรมั
ต่อไร่ ใส่ปยุ๋ ท่ีก้นหลุมแลว้ กลบดินบางๆ กอ่ นหยอดเมล็ด
๕. หลงั จากขา้ วโพดมอี ายุ ๒๐-๒๕ วนั ใสป่ ยุ๋ ยูเรีย สตู ร ๔๖-๐-๐ ข้างต้นขา้ วโพด
อตั ราสว่ น ๒๕-๓๐ กิโลกรัม/ไร่
๖. การให้น้�ำ มีระยะที่ส�ำคัญคือ ๗ วันหลังปลูก เป็นระยะที่ข้าวโพดก�ำลังงอก
จ�ำเป็นต้องไม่ให้ขาดน�้ำ อีกระยะที่ส�ำคัญคือระยะออกดอก ส่วนเวลาปรกติ
ใหน้ ำ้� ทุก ๓-๕ วนั
๗. ขา้ วโพดหวานใชร้ ะยะเวลาในการปลกู ๗๐-๗๕ วนั สามารถเกบ็ เกย่ี วผลผลติ ได้
๘. ศัตรูพืชที่สำ� คญั คอื หนูนา หากเกิดการระบาดจะทำ� ลายผลผลิตเสียหายได้
เทคนคิ การแกท้ สี่ �ำคญั คอื กำ� หนดเวลาการปลกู ใหเ้ หมาะสม โดยปลกู หลงั เกบ็
เกย่ี วขา้ ว เพอ่ื ใหห้ นไู ปกนิ ขา้ วตกในนาแทนทจ่ี ะมากนิ เมลด็ ขา้ วโพดทห่ี วา่ นไว้

“ถา้ จะปลกู ขา้ วโพด ใหใ้ สข่ ห้ี มู ใสข่ หี้ มแู ลว้ ขา้ วโพดจะงามดี ดกี วา่ ขว้ี วั ดกี วา่ ยเู รยี อกี ถา้ เกดิ
มาต้นน้อยๆ ออดๆ แอดๆ ต้องใส่ขีห้ มมู ันจะงามดี จะเห็นเลยวา่ ตน้ เขยี วปดึ งามไว โดย
เราท้ิงข้ีหมูตากแห้งไว้วันสองวัน แล้วเอามากองใส่ต้นมันเลย เอาถ้วยที่เราไม่ได้ใช้มาตัก
ขหี้ มใู ส่โคนมันเลย ใส่แลว้ ก็เอาดินกลบลงไปหน่อย กม็ ันจะซึมลงไปในดนิ น�ำ้ มาจะซึมนำ้�
ขหี้ มลู งไป อาทติ ยเ์ ดยี วจะเหน็ ผลเลย โตเรว็ ปก้ึ ๆ แตม่ คี าถาสำ� คญั คอื “คน” เราทที่ ำ� นี่ ตอ้ ง
อดทน” แมส่ ง ดอนศรีโคตร บอกเคลด็ ลบั การปลูกข้าวโพด พรอ้ มคาถาส�ำคญั

44

อคา�ำยพุ ัน๗ธ๓์ บรปรี จง

บา้ นเลขที่ ๔๗ หมู่ ๓ ต.กดุ หมากไฟ อ.หนองววั ซอ จ.อดุ รธานี
โทร. ๐๘๖ ๒๒๔๘ ๗๙๕

พนื้ ที่เกษตร ปลกู ข้าว ๗ ไร่ พชื เกษตรอน่ื ๆ อาทิ พริก
มะเขอื เทศ ตน้ กก สำ� หรบั ทอเสอ่ื ปลกู พชื
หลงั นา ๒ ไร่ ไดแ้ ก่ ฟกั ทอง แตงกวา ถวั่ ฝกั ยาว

ตาคำ� พนั ธ์ุ บรรจง และคณุ ยายวยั ไลเ่ ลยี่ กนั คชู่ วี ติ สองสามภี รรยา ทย่ี งั คงทำ� มาหากนิ
กบั ผนื นาในวนั ทว่ี ยั ลว่ งเลยมาจนกวา่ ๗๐ ปี แตร่ า่ งกายทย่ี งั แขง็ แรง และภมู ปิ ญั ญาความรู้
ทไ่ี มเ่ คยหดหาย กเ็ ปน็ เสมอื นเครอื่ งพสิ จู นว์ า่ งานหนกั นนั้ ไมเ่ คยทำ� รา้ ยใคร หากแตบ่ ม่ เพาะ
เอาจติ วิญญาณท่ีแขง็ แกร่งให้กับรา่ งกาย

วนั นท้ี น่ี าของตาคำ� พนั ธ์ เปน็ ทด่ี นิ ซงึ่ มผี คู้ นมาเรยี นรดู้ งู านเปน็ จำ� นวนมาก เพราะเปน็
ท่นี าแปลงท่อี ยู่ติดกบั อ่างเก็บนำ้� ห้วยคล้าย และอยู่เยอ้ื งๆ กับสถานท่ที ำ� การซ่งึ ใช้ต้อนรบั
แขกบา้ น แขกเมอื งทมี่ าเยยี่ มเยอื นโครงการฯ แหง่ น้ี ตาคำ� พนั ธจ์ุ งึ ไดอ้ าศยั เกบ็ ผกั เกบ็ ผลผลติ
ไปขายท่ีศนู ย์ฯ ดว้ ยเช่นกัน และเม่อื ไดพ้ ูดคุยกับตาค�ำพันธ์ุก็เหมือนกับว่าเรือ่ งราวทีต่ าได้
เรยี นรู้ ซึมซบั เข้าสวู่ ถิ ีชวี ติ ของตาผนวกรวมเปน็ เนอ้ื เดียวกันอยา่ งไม่รตู้ ัว

“ท�ำเศรษฐกิจพอเพยี ง จะบอกว่าใหม้ มี ากมนั ก็ไมไ่ ด้มมี ากหรอก แต่พอไดก้ นิ ไมอ่ ด
อยากพรกิ กไ็ ดก้ นิ พรกิ อยากถวั่ อยากแตงกไ็ ดก้ นิ ขายกไ็ ดแ้ ตไ่ มม่ าก ทลี ะ ๒๐๐-๓๐๐ บาท
ทกุ วนั ก็ไดอ้ ย่างต่ำ� ๕๐-๖๐ บาท แต่อย่ไู ดเ้ พราะวา่ เราท�ำเองตามทฤษฎีเศรษฐกจิ พอเพียง
ของพระเจ้าอยหู่ ัว กน็ ี่หละ วันน้ีขายผกั หวานได้ ๔๐ บาท ยายไปเก็บมาจากบนภเู ขาโน่น
ก็ขายได้หลายอยู่ มีแต่เอาแรงลงไปหามาเก็บมา แล้วเอามาขาย บางวันก็ได้ ๑๐๐-๒๐๐
น่ีว่าจะขายมะขามเปียกท�ำเอาไว้แยะแล้ว แล้วก็ขายเส่ือสาดท่ีเราสานเองจากกกที่เก็บ
มาตากแห้งเอาไว้ ก็ตากตรงน้ี ขายตรงนี้แหละ” ตาค�ำพันธุ์เล่าถึงวิถีชีวิตท่ีสอดคล้องกับ
ความพอเพยี ง

รายไดท้ ไี่ มไ่ ดม้ ากมาย แตอ่ ยไู่ ดข้ องตา-ยาย มาจากการทอเสอ่ื กก ซงึ่ ยายทอกบั ลกู สาว
ไดว้ นั ละ ๒-๓ ผืน ส่วนกกนั้นกต็ ดั เอามาจากต้นกกท่ีปลกู ไวห้ ลายสิบปแี ล้ว น�ำมาตากแดด
ใหแ้ หง้ ราว ๓-๔ วันจากน้นั นำ� ไปสานเส่อื ท่ีใต้ถุนบา้ น ซ่ึงถึงแมว้ ่าจะขายเปน็ รายไดร้ ายวนั
แต่ตาค�ำพันธก์ ็ยงั ย�้ำเสมอว่า “อย่าทำ� เยอะ”

45

“ผมว่า อย่าไปท�ำมันมาก ท�ำแบบน้ี
แหละ ตากแดดแล้วกใ็ ชไ้ ดเ้ ลย คนตา่ งบา้ น
ต่างเมือง เขามาเท่ียวเขาเห็น เขาก็ซื้อไป
อยบู่ า้ นกข็ ายไดห้ ละ” สำ� ทบั ดว้ ยคำ� ของยายท่ี
กำ� ลงั งว่ นอยกู่ บั การปน้ั มะขามเปยี ก “เงนิ กบ็ ่
มหี ลายหรอก แคพ่ อไดก้ นิ บา้ ง”

การเขา้ มาของโครงการ นอกจากจะทำ�
ใหอ้ าชพี เสรมิ คอื การสานเสอ่ื กกของตายาย
มีรายได้เพ่ิมมากขึ้นแล้ว ยังเสริมกับอาชีพ
หลกั ของทงั้ สองคน

“โครงการเขา้ มากด็ ี ดีหลายอยา่ ง เขา
ก็เอาหมูมาให้เลี้ยง เอาเป็ดไก่ มาให้เลี้ยง
บอกให้ปลกู เกษตร มีผัก มกี ิน ไมไ่ ดใ้ สส่ าร
อะไร ตาขายแตงมาแล้วรอบหน่ึง ได้เงิน
๒,๐๐๐-๓,๐๐๐ บาท แลว้ ดนิ นถ่ี า้ ไถกลบดๆี
ปลกู ขา้ วโพดไดด้ ว้ ย มที อ่ี ยู่ ๗ ไร่ กท็ ำ� ตามท่ี
เขาแนะน�ำแต่ปลูกไม่หมดหรอก เพราะว่า
แรงตา ยาย สองคน ทำ� ไมไ่ หว แตก่ ว็ า่ จะปลกู
ขา้ วโพด แฟง มะเขือ อยา่ งละนิดละหนอ่ ย
พอได้กิน แต่ข้าวโพดนี่ก็จะปลูกมากหน่อย
เพราะว่าได้เงิน เอาไปขายตม้ ไป วนั นึงขาย
ได้ ๓๐๐-๔๐๐ กพ็ อไดอ้ ยขู่ ายหมดเพราะเรา
ปลกู พนั ธข์ า้ วเหนยี วเขานยิ ม ขายไดร้ าคาถา้
เขามารบั ก็ได้โลละ ๖๐๐ บาท”

ตาค�ำพันธ์เล่าเรื่องอาชีพและรายได้
ไปพร้อมกับ เร่ิมท�ำอาหารกลางวันส�ำหรับ
มอื้ นปี้ ลาขาว ๖-๗ ตวั ถกู นำ� มาแลแ่ บง่ ครง่ึ ตวั
วางเรียงลงไปบนตะแกรงไม้ไผ่สาน เลยไป
ดา้ นหลงั ควนั จากเตาสามเสา้ ทก่ี อ่ งา่ ยๆ จาก
ก้อนหินก�ำลังเร่ิมแสดงพลังความร้อน ตา
วุ่นวายอยู่กับการเรียงปลาลงในไม้ไผ่ก่อน
เงยหนา้ ข้นึ ตอกย้ำ� ว่า

46

“นไี่ ง ตอ้ งใชเ้ งินท่ีไหน มานากม็ ีปลามากนิ ป้งิ ด้วยไมไ้ ผ่แบบน้ี อังไว้เหนือเตาอยา่ ให้
โดนเปลวไฟ ไม่นานก็สุก หอมไม้ไผ่ กินได้ อยากได้ผักก็ไปเด็ดเอาเยอะแยะ ผักเราปลูก
ผกั ปา่ สารพัด จะกนิ สักเท่าไหร่” ตาย�ำ้ ความพอส�ำหรบั คนทง้ั คู่ กอ่ นจะเดินหายเข้าไปเก็บ
พริก และมะเขอื เทศซ่ึงทน่ี เ่ี รยี ก “มะเขอื เขีย๊ ะ” มาเตรยี มทำ� อาหารกลางวนั

นายสงวน เผา่ หอม

บา้ นเลขท่ี ๔๗ หมู่ ๓ ต.กดุ หมากไฟ อ.หนองววั ซอ จ.อดุ รธานี
โทร. ๐๘๗ ๔๒๓๕ ๖๓๙

พ้ืนท่ีเกษตร ปลกู ขา้ ว ๑๑ ไร่
ปศุสัตว ์ เลีย้ งเป็ด

“ลาบเปด็ อดุ ร” อาหารขึ้นช่อื ทีใ่ ครๆ ก็รจู้ กั แตท่ ำ� ไมคนอุดรไม่คอ่ ยเลี้ยงเป็ด?
ค�ำถามน้ี ผุดข้ึนระหว่างที่ก�ำลังคิดว่าตัวเองอยากท�ำโครงการอะไร เพ่ือที่จะไปตอบ
ให้กับ “คณุ ชายดิศ” ให้ไดเ้ มอื่ นึกถึงว่าตวั เองนนั้ เปน็ คนท่ีทำ� การเกษตรไม่เก่ง แถมทนี่ าทมี่ ี
กเ็ ปน็ ทเี่ ชา่ ถา้ อยากจะทำ� โครงการอะไรสกั โครงการจะเปน็ โครงการอะไร “เลย้ี งเปด็ ” จงึ เปน็
คำ� ตอบแรก
“มาเลยี้ งเปด็ เพราะวา่ ไมม่ นี าทที่ ำ� แลว้
ก็ไมเ่ กง่ ด้านปลูกพชื สวนครวั เพราะว่าก่อน
หน้านั้นเราเช่านาเขาทำ� พอไดก้ ิน แตม่ าปนี ้ี
ไมไ่ ดเ้ ชา่ แลว้ มเี งนิ ทนุ อยู่ ๓๐,๐๐๐ จากทขี่ าย
ขา้ วได้ ๑๕,๐๐๐ ลกู ไปทำ� งานชลบรุ สี ง่ มาให้
อกี ๑๕,๐๐๐ กค็ ดิ วา่ จะท�ำอะไรดี พอดีผมมี
พ้นื ฐานทเี่ ล้ยี งไก่ไว้แต่ไม่เคยเลีย้ งเปด็ ผมก็
เสนอกับคุณชายว่า ผมทำ� เกษตรไม่เก่ง ผม
ตอ้ งการเลย้ี งเปด็ ไดไ้ หม คณุ ชายบอกวา่ ‘เอาจรงิ นะ’ แลว้ กบ็ อกกบั ผใู้ หญเ่ สวต วา่ ผมขอผชู้ ว่ ย
คนน้ีไปฝกึ งานหนึง่ เดอื นนะ เมยี อนญุ าตหรอื เปลา่ ” สงวน เผ่าหอม เลา่ ถึงความเปน็ มา
เมื่ออยากเลี้ยงเป็ดเป็นก็ต้องเข้าฟาร์มเป็ด สงวนได้โอกาสเข้าไปเรียนรู้ที่ “ปนัดดา
ฟาร์ม” ฟาร์มเป็ดแห่งใหญ่ของอ�ำเภอเพ็ญซ่ึงเลี้ยงเป็ดเป็นธุรกิจ ซ่ึงท�ำให้เขาได้เรียนรู้ทุก
กระบวนการในการเลยี้ งเปด็ โดยไม่ปิดบงั

47

“ตอนแรกวา่ จะไปอยเู่ ดอื นหนงึ่ เจา้ ของฟารม์ ถามวา่ จะมาอยทู่ ำ� ไม แคอ่ าทติ ยเ์ ดยี วก็
รู้หมดแลว้ วธิ ีการฟัก วธิ กี ารเลีย้ ง หวั หน้านอ้ ย (เจา้ หน้าท่ีจากอบจ.) บอกว่าต้องอยอู่ ย่าง
นอ้ ย ๒ อาทติ ย์ กลบั มากร็ อ้ นวชิ า อยากรวู้ า่ ทำ� ยงั ไงเปด็ ถงึ จะไมต่ าย กลบั มาได้ ๗ วนั กเ็ ลย
ทดลองซ้ือมาเล้ียง ๖๗ ตัว ตอนเอามาเพง่ิ ออกจากไข่ได้ ๒ วัน ทดสอบความรู้ทเ่ี รียนมา”

สงวน เรมิ่ ทดลองเลยี้ งเปด็ โดยมพี เี่ ลยี้ ง คอื พแี่ อด๊ จากปนดั ดาฟารม์ คอยใหค้ ำ� แนะนำ�
และเขาก็กลบั ไปซ้ือลกู เป็ดจากปนัดดาฟารม์ มาเลยี้ งอกี ๙๐ ตวั นอกจากนัน้ ยังได้เป็ดพอ่
พนั ธแุ์ ม่พนั ธุบ์ าร์บารีมา ๖ ตวั ตัวเมยี ๕ ตัว ตัวผู้ ๑ ตัว

“ตวั ใหญซ่ อ้ื มารวม ๖ ตวั รวมกนั ราคา ๑,๓๖๐ บาท สว่ น ๙๐ ตวั ซอ้ื ตวั เลก็ มารวมกนั
๒,๒๕๐ บาท พวกเปด็ ปักกิง่ นนั่ เปน็ เงนิ เซ็นตวั ละ ๔๕ บาท แล้วมเี ปด็ ปกั ก่ิงอกี ๖๗ ตวั
ก็ตวั ละ ๔๕ บาทเหมอื นกนั เอามาเลย้ี งไดเ้ ดอื นกวา่ เป็ดปักก่ิงยงั ไม่มีตายสกั ตวั แตเ่ ป็ด
บารบ์ ารตี ายไปแลว้ ๔ ตวั เพราะวา่ ตอนมาไม่แข็งแรง แตก่ ็เป็นตวั ที่แถม เพราะว่าซ้อื เปด็
๑๐๐ ตัวเขาจะแถม ๔ ตัว ชว่ งทีจ่ ะตายคือ อาทิตย์ สองอาทิตยแ์ รก”

แมจ้ ะเพงิ่ ทดลองเลยี้ งเปด็ แตส่ งวน กม็ องเหน็ ความแตกตา่ งระหวา่ งการเลย้ี งเชงิ ธรุ กจิ
กับการเล้ียงแบบท่ีเขาท�ำ ท่ีปนัดดาฟาร์มนั้น จะใช้ร�ำและหัวอาหารเป็นหลัก แต่สามารถ
ลดต้นทุนไดด้ ว้ ยการเสรมิ อาหารท่ีหาได้จากทอ้ งถน่ิ คอื ตน้ กล้วยปัน่ กับน�้ำตาลหมกั หรอื
น้�ำตาลล้วน โดยจะต้องมีเครื่องปั่นเพ่ือปั่นส่วนผสมเข้าด้วยกัน คลุกให้เป็ดกินทดแทนหัว
อาหารหวาน ซึ่งสูตรน้ีสามารถใช้เล้ยี งหมูได้ด้วย

เคลด็ ลับการลดตน้ ทุนอาหารเป็ด
เตรยี มวัสดสุ ำ� หรบั ท�ำอาหาร
๑. กล้วย ๑๐๐ กโิ ลกรัม
๒. นำ�้ ตาลทรายแดง หรอื น้�ำตาลหมกั ๑ กิโลกรัม
๓. เกลอื เม็ด (ท�ำปลาร้า) ๑ กโิ ลกรัม

การเลย้ี งเปด็ ของสงวนกำ� ลงั เพง่ิ เรม่ิ ตน้ ทาง เขามองเหน็ หลายปญั หาทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ดว้ ย
เคร่ืองไม้ เครือ่ งมอื ที่ยังไมพ่ ร้อม อาทิ ตู้ฟัก ซ่ึงที่ปนัดดาฟาร์มมีพรอ้ ม ทัง้ ต้ฟู ัก และตเู้ กิด
ส่วนของเขานั้นยังไม่มีแต่เพียงแค่เริ่มๆ เขาก็วางแผนไว้ว่าจะไปลองขอยืมตู้ฟักไก่ด�ำของ
พี่แอ๊ด ปนัดดาฟาร์มมาใช้ก่อน ในขณะเดียวกันก็รอการขยายผลโครงการเลี้ยงเป็ดจาก
โครงการปดิ ทองหลงั พระฯ เพราะวา่ ตวั เขาเปน็ ผนู้ ำ� ท่ีได้ไปศึกษาเรียนรู้ และทดลองเล้ียงก่อน

48

กองทนุ เปด็ จะเกิด ดังน้นั ถ้าในหมู่บ้านมกี ลุม่ ผู้เลยี้ งเป็ดจ�ำนวนหน่งึ การมตี ู้ฟักและตเู้ กดิ
ประจ�ำหม่บู า้ นกไ็ ม่ใช่เร่อื งยาก

“กองทุนเป็ด ก็ก�ำลังจะเข้ามาผมเป็น
ประธานกลุ่ม โครงการปิดทองหลังพระฯ
ได้ไปจองลูกเป็ดไว้กับปนัดดาฟาร์มแล้ว
มัดจำ� ไว้เลย เพ่ือท่ีจะให้เอามาใหเ้ ลี้ยงแบบ
ขยายพันธุ์ เอาลูกมาให้เล้ียงในโครงการ
สมาชกิ ทล่ี งชอื่ ไปแลว้ กจ็ ะได้ โดยใชห้ ลกั การ
เหมือนเล้ียงหมู คือสมาชิกต้องเตรียม
โรงเรือนให้เสร็จก่อน เม่ือเป็ดมาถึงคณะ
กรรมการทงั้ ๗ คนตอ้ งรบั เปด็ ไปอนบุ าลไวก้ อ่ นอยา่ งนอ้ ย ๓ วนั เพราะเปด็ ชว่ งนจี้ ะออ่ นแอ
จากการเดนิ ทาง และเป็ดยงั เลก็ ถ้าเอาไปให้เขาเล้ียงเลย แล้วเกดิ คนเลยี้ งไมอ่ ยู่ ไม่ไดด้ แู ล
ต้องไปท�ำนาท�ำสวนเป็ดก็จะตาย ดังนั้นคณะกรรมการต้องเสียสละอนุบาลไว้ก่อน ๓ วัน
แล้วก็ค่อยเข้ามาคุยกับกลุ่มที่เข้ามาว่าตรงนี้จะมีค่าไฟค่าที่เท่าไหร่ก็ค่อยว่าไป” สงวน
บอกเลา่ ถงึ แนวทางการบรหิ ารงานกลุ่มกองทนุ เป็ดทคี่ ิดใครค่ รวญมาแล้วอยา่ งดี

บทท่ี ๓ : รว่ มแรง ร่วมใจ สามัคคี พลงั นเี้ ห็นผล

หากจะมคี นตงั้ คำ� ถามกบั พวกเราวา่ ความสำ� เรจ็ ของชาวบา้ นโคกลา่ ม-แสงอรา่ ม เกดิ ขนึ้
เพราะอะไร

ค�ำตอบคงมีเพียงคำ� ตอบเดยี ว คือ “ความสามคั คี”
เพราะความสามคั คขี องพวกเรา และความมงุ่ มนั่ ทจ่ี ะจดั การแกไ้ ขปญั หาของพวกเรา
เอง กลายเป็นหวั ใจของความความส�ำเรจ็ เมอ่ื พวกเราสามคั คีกนั และแสดงใหเ้ หน็ พลงั อัน
เกิดจากการ “ระเบดิ จากข้างใน” แสดงความม่งุ มั่นทจ่ี ะแกไ้ ขปัญหาดว้ ยตวั เอง มคี วามรับ
ผิดชอบจัดการชวี ติ ตวั เอง และมีความโอบออ้ มอารี ที่จะดูแลกนั และกนั ในชมุ ชน เมื่อนน้ั
การสนับสนุนจากหนว่ ยงานภายนอกก็จะเขา้ มาแสดงผลแห่งบุญให้ปรากฏ
หากพวกเราอ่อนแอ ไม่เข้มแข็ง ไม่สามัคคี แม้จะมีหน่วยงานรัฐ หน่วยงานเอกชน
หรอื องคก์ รใดๆ กต็ ามยน่ื มอื เขา้ มาชว่ ยเหลอื สง่ิ เหลา่ นนั้ กค็ งจะสญู เปลา่ ไป หรอื ทา้ ยทส่ี ดุ
พวกเราก็คงต้องหมดศักด์ิศรีด้วยการ “ขอ” ทุกทีไป แต่เพราะเรายืนหยัดอยู่ด้วยตัวเอง
ด้ินรนและแสดงความพยายามให้เห็นก่อน เราจึงได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานหลาย
หนว่ ยงาน ตงั้ แตห่ นว่ ยงานในพน้ื ทที่ งั้ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั (อบจ.) องคก์ ารบรหิ ารสว่ น
ตำ� บล (อบต.) และทส่ี ำ� คญั คอื สถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระ สบื สาน
แนวพระราชดำ� ริ ภายใตม้ ลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ� ริ ซง่ึ เปน็ สถาบนั แรก
ที่เข้ามาให้ความสนบั สนนุ พวกเรา และยังคงเป็นทป่ี รกึ ษาทกุ ยา่ งก้าว

50


Click to View FlipBook Version